SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 6
กลุ่ม ไร้สาระ ชื่อสมาชิกในกลุ่ม ด . ช .  ณัฐกรณ์  สนธินันทน์  ม .1/11  เลขที่  10 ด . ญ . ณัฐตะวัน  ณรงค์พันธ์  ม .1/11  เลขที่  14 ด . ญ . ณัฐพร  พงษ์สระพัง  ม .1/11  เลขที่  15 ด . ญ . ธัญจิรา  อัจจิมารังษี ม .1/11  เลขที่  20 ด . ญ .  วรรณวลี  ชื่นเปรม  ม .1/11  เลขที่  39
1.   รับประทานอาหารที่มีวิตามิน  B1  ไม่เพียงพอ 2.   รับประทาน อาหารคาร์โบไฮเดรตมากเกินไป ทำให้ร่างกายต้องใช้ วิตามิน  B  ไปมากในการเผาผลาญสารอาหารคาร์โบไฮเดรต จนร่างกายขาดวิตามิน  B 3.   การหุงต้มอาหาร ในความร้อนนานเกินไปทำให้ วิตามิน  B  ความร้อนทำลาย 4.   ผู้สูงอายุ อาจจะมีการดูด ซึมวิตามิน  B  ไม่ดี 5.  ผู้ที่ดื่มสุรา เป็นอาจิณ ทำให้วิตามิน  B  ถูกแอลกอฮอล์ทำลายหมด และวิตามิน  B  ดูดซึมเข้าไปไม่ได้ สา เหตุ ที่ ขาด วิ ตา มิน   B 1
เบื่ออาหาร นอนหลับยาก ความคิดสับสน สมองมึนงง อารมณ์แปรปรวน หากขาดรุนแรงอาจทำให้เกิดอาการทางการเคลื่อนไหวไม่สัมพันธ์กัน ชาตามปลายมือปลายเท้า มือ เท้า เป็นเหน็บ รุนแรงมากขึ้นอาจเป็นอัมพาต และโรคหัวใจวายได้ เมื่อทำงาน หรือออกกำลังกาย ก็จะรู้สึกเหนื่อยง่าย มีอาการซึมเศร้า ไม่ร่าเริง ความจำจะไม่ค่อยดี ปวดหัวบ่อย ๆ คลื่นไส้ อาเจียน อา การ เมื่อ ขาด วิต า มิน  B 1
การ ป้อง กัน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
สถิ ติ ของ คน เป็น โรค ขาด   B 1 การศึกษาสถิติของการขาดวิตามิน บี 1  ในกลุ่มอายุ  15–50  ปี ของหมู่บ้านชูชาติ ต . ลือ  อ . ปทุมราชวงศา จ .  อำนาจเจริญ จำนวน  157  คน โดยใช้เป็นแบบสัมภาษณ์ผู้ป่วยที่ขาดวิตามิน บี 1  ประกอบด้วย สัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคล ,  บันทึกการตรวจร่างกาย ,  บันทึกผลการตรวจทาง ห้องปฏิบัติการ  ,  สัมภาษณ์การบริโภคอาหารใน  24  ช . ม .  และสัมภาษณ์ลักษณะการปรุงอาหาร  วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการหาค่าความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  ผลการวิจัยพบว่า  หมู่บ้านชูชาติ  มีความชุกของการขาดวิตามิน บี 1  คิดเป็นร้อยละ  73.90  จำแนกระดับ  ETAK  พบ ระดับ  Low risk  ร้อยละ  34.40  ระดับ  Deficiency  ร้อยละ  3.20  จำแนกระดับ  TPPE  พบระดับ  Low risk  ร้อยละ   21.00  ระดับ  Deficiency  ร้อยละ  52.90  พบว่ากลุ่มตัวอย่างที่ขาดวิตามิน บี 1  จะไม่แสดงอาการผิดปกติ กลุ่มที่ได้รับวิตามิน บี 1  ไม่เพียงพอ  คิดเป็นร้อยละ  93.34  ชี้ให้เห็นถึงการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสัดส่วน โดยเฉพาะคาร์โบไฮเดรต  จำพวกข้าวที่ผ่านการขัดสีจนขาวและผ่านการแช่น้ำข้ามคืน ( ร้อยละ  63.70)  หรือมีการหุงแบบเช็ดน้ำ  ( ร้อยละ  15.30)  รวมทั้งการรับประทานปลาร้าดิบทุกวัน  โดยไม่ผ่านวิธีการทำให้สุก  ( ร้อยละ   63.70)  ก็จะเพิ่มการใช้ไทอะมิน เป็นโคเอนไซม์ ในการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรตเพื่อใช้เป็นพลังงานมากขึ้น  ส่งผลให้เกิดความเสี่ยงต่อการขาดวิตามิน บี 1
บรรณานุกรม http://general-columnist.blogspot.com http://healthdeena.blogspot.com http://guru.sanook.com

Mais conteúdo relacionado

Destaque (11)

Urban art best of 2011
Urban art   best of 2011Urban art   best of 2011
Urban art best of 2011
 
Flaix fm
Flaix fmFlaix fm
Flaix fm
 
BSB51107 Diploma of Management Brochure
BSB51107 Diploma of Management BrochureBSB51107 Diploma of Management Brochure
BSB51107 Diploma of Management Brochure
 
EXPERIENCIAS DE USUARIO: – EGO + EMPATÍA By: Luis Alveart
EXPERIENCIAS DE USUARIO:– EGO + EMPATÍA By: Luis AlveartEXPERIENCIAS DE USUARIO:– EGO + EMPATÍA By: Luis Alveart
EXPERIENCIAS DE USUARIO: – EGO + EMPATÍA By: Luis Alveart
 
Annual Report - Mr. Pravin Ujjain
Annual Report - Mr. Pravin UjjainAnnual Report - Mr. Pravin Ujjain
Annual Report - Mr. Pravin Ujjain
 
Communication
CommunicationCommunication
Communication
 
Uru Cure Carnaval 2012 Rio Cuarto
Uru Cure Carnaval 2012 Rio CuartoUru Cure Carnaval 2012 Rio Cuarto
Uru Cure Carnaval 2012 Rio Cuarto
 
Overflow
OverflowOverflow
Overflow
 
Culture of japan
Culture of japanCulture of japan
Culture of japan
 
LinkedIn for Business 101
LinkedIn for Business 101LinkedIn for Business 101
LinkedIn for Business 101
 
First line customer support
First line customer supportFirst line customer support
First line customer support
 

Semelhante a 2003

โรคขาดโปรตีน กลุ่ม Fanta gan g 2003
โรคขาดโปรตีน กลุ่ม Fanta gan g 2003โรคขาดโปรตีน กลุ่ม Fanta gan g 2003
โรคขาดโปรตีน กลุ่ม Fanta gan g 2003
bankger
 
โรคขาดโปรตีน
โรคขาดโปรตีนโรคขาดโปรตีน
โรคขาดโปรตีน
monthirs ratt
 
แผ่นพับ โรคกระเพาะ
แผ่นพับ โรคกระเพาะแผ่นพับ โรคกระเพาะ
แผ่นพับ โรคกระเพาะ
native
 

Semelhante a 2003 (10)

อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูดอาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
 
วิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (IS) เรื่อง น้ำผักเพื่อสุขภาพ
วิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (IS) เรื่อง น้ำผักเพื่อสุขภาพวิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (IS) เรื่อง น้ำผักเพื่อสุขภาพ
วิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (IS) เรื่อง น้ำผักเพื่อสุขภาพ
 
โรคขาดโปรตีน กลุ่ม Fanta gan g 2003
โรคขาดโปรตีน กลุ่ม Fanta gan g 2003โรคขาดโปรตีน กลุ่ม Fanta gan g 2003
โรคขาดโปรตีน กลุ่ม Fanta gan g 2003
 
วิตามินบี 2
วิตามินบี 2วิตามินบี 2
วิตามินบี 2
 
โรคขาดโปรตีน
โรคขาดโปรตีนโรคขาดโปรตีน
โรคขาดโปรตีน
 
อาหาร fastfood การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
อาหาร fastfood  การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อาหาร fastfood  การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
อาหาร fastfood การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
ชุดกิจกรรม Food for Life มหาสนุก
ชุดกิจกรรม Food for Life มหาสนุกชุดกิจกรรม Food for Life มหาสนุก
ชุดกิจกรรม Food for Life มหาสนุก
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
 
แผ่นพับ โรคกระเพาะ
แผ่นพับ โรคกระเพาะแผ่นพับ โรคกระเพาะ
แผ่นพับ โรคกระเพาะ
 
Supplementary food
Supplementary foodSupplementary food
Supplementary food
 

Mais de natta_nik (10)

2003
20032003
2003
 
ขาด+B1
ขาด+B1ขาด+B1
ขาด+B1
 
ขาด+B1
ขาด+B1ขาด+B1
ขาด+B1
 
ขาด+B1
ขาด+B1ขาด+B1
ขาด+B1
 
ขาด+B1
ขาด+B1ขาด+B1
ขาด+B1
 
ขาด+B1
ขาด+B1ขาด+B1
ขาด+B1
 
ขาด+B1
ขาด+B1ขาด+B1
ขาด+B1
 
ขาด+B1
ขาด+B1ขาด+B1
ขาด+B1
 
ขาด+B1
ขาด+B1ขาด+B1
ขาด+B1
 
ขาด+B1
ขาด+B1ขาด+B1
ขาด+B1
 

2003

  • 1. กลุ่ม ไร้สาระ ชื่อสมาชิกในกลุ่ม ด . ช . ณัฐกรณ์ สนธินันทน์ ม .1/11 เลขที่ 10 ด . ญ . ณัฐตะวัน ณรงค์พันธ์ ม .1/11 เลขที่ 14 ด . ญ . ณัฐพร พงษ์สระพัง ม .1/11 เลขที่ 15 ด . ญ . ธัญจิรา อัจจิมารังษี ม .1/11 เลขที่ 20 ด . ญ . วรรณวลี ชื่นเปรม ม .1/11 เลขที่ 39
  • 2. 1. รับประทานอาหารที่มีวิตามิน B1 ไม่เพียงพอ 2. รับประทาน อาหารคาร์โบไฮเดรตมากเกินไป ทำให้ร่างกายต้องใช้ วิตามิน B ไปมากในการเผาผลาญสารอาหารคาร์โบไฮเดรต จนร่างกายขาดวิตามิน B 3. การหุงต้มอาหาร ในความร้อนนานเกินไปทำให้ วิตามิน B ความร้อนทำลาย 4. ผู้สูงอายุ อาจจะมีการดูด ซึมวิตามิน B ไม่ดี 5. ผู้ที่ดื่มสุรา เป็นอาจิณ ทำให้วิตามิน B ถูกแอลกอฮอล์ทำลายหมด และวิตามิน B ดูดซึมเข้าไปไม่ได้ สา เหตุ ที่ ขาด วิ ตา มิน B 1
  • 3. เบื่ออาหาร นอนหลับยาก ความคิดสับสน สมองมึนงง อารมณ์แปรปรวน หากขาดรุนแรงอาจทำให้เกิดอาการทางการเคลื่อนไหวไม่สัมพันธ์กัน ชาตามปลายมือปลายเท้า มือ เท้า เป็นเหน็บ รุนแรงมากขึ้นอาจเป็นอัมพาต และโรคหัวใจวายได้ เมื่อทำงาน หรือออกกำลังกาย ก็จะรู้สึกเหนื่อยง่าย มีอาการซึมเศร้า ไม่ร่าเริง ความจำจะไม่ค่อยดี ปวดหัวบ่อย ๆ คลื่นไส้ อาเจียน อา การ เมื่อ ขาด วิต า มิน B 1
  • 4.
  • 5. สถิ ติ ของ คน เป็น โรค ขาด B 1 การศึกษาสถิติของการขาดวิตามิน บี 1 ในกลุ่มอายุ 15–50 ปี ของหมู่บ้านชูชาติ ต . ลือ อ . ปทุมราชวงศา จ . อำนาจเจริญ จำนวน 157 คน โดยใช้เป็นแบบสัมภาษณ์ผู้ป่วยที่ขาดวิตามิน บี 1 ประกอบด้วย สัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคล , บันทึกการตรวจร่างกาย , บันทึกผลการตรวจทาง ห้องปฏิบัติการ , สัมภาษณ์การบริโภคอาหารใน 24 ช . ม . และสัมภาษณ์ลักษณะการปรุงอาหาร วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการหาค่าความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า หมู่บ้านชูชาติ มีความชุกของการขาดวิตามิน บี 1 คิดเป็นร้อยละ 73.90 จำแนกระดับ ETAK พบ ระดับ Low risk ร้อยละ 34.40 ระดับ Deficiency ร้อยละ 3.20 จำแนกระดับ TPPE พบระดับ Low risk ร้อยละ 21.00 ระดับ Deficiency ร้อยละ 52.90 พบว่ากลุ่มตัวอย่างที่ขาดวิตามิน บี 1 จะไม่แสดงอาการผิดปกติ กลุ่มที่ได้รับวิตามิน บี 1 ไม่เพียงพอ คิดเป็นร้อยละ 93.34 ชี้ให้เห็นถึงการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสัดส่วน โดยเฉพาะคาร์โบไฮเดรต จำพวกข้าวที่ผ่านการขัดสีจนขาวและผ่านการแช่น้ำข้ามคืน ( ร้อยละ 63.70) หรือมีการหุงแบบเช็ดน้ำ ( ร้อยละ 15.30) รวมทั้งการรับประทานปลาร้าดิบทุกวัน โดยไม่ผ่านวิธีการทำให้สุก ( ร้อยละ 63.70) ก็จะเพิ่มการใช้ไทอะมิน เป็นโคเอนไซม์ ในการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรตเพื่อใช้เป็นพลังงานมากขึ้น ส่งผลให้เกิดความเสี่ยงต่อการขาดวิตามิน บี 1