SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 37
Baixar para ler offline
หนวยที่ 4 การสรางความสัมพันธและการสรางแบบสอบถาม
หัวขอเรื่องและงาน
          การสรางความสัมพันธระหวางตารางฐานขอมูล และการสรางแบบสอบถามที่ตองการ
ทราบขอมูล

สาระสําคัญ
          การสรางความสัมพันธระหวางตารางฐานขอมูลแบบหนึ่งตอหนึ่ง หมายถึงมีฟลดขอมูล 1
ฟลดที่จับคูกัน การสรางความสัมพันธระหวางตารางฐานขอมูลแบบหนึ่งตอกลุม หมายถึงมีฟลด
ขอมูล 1 ฟลดที่จับคูกับฟลดขอมูลหลายฟลดในตารางอื่น แตฟลดในตารางนั้นจับคูไดเพียงแคฟลด
เดียว การสรางความสัมพันธระหวางตารางฐานขอมูลแบบกลุมตอกลุม หมายถึงมีฟลดขอมูลหลาย
ฟลดที่จับคูกันระหวางตาราง และการสรางแบบสอบถามจากตัวชวยสรางแบบสอบถาม ทําใหเรา
สามารถสรางแบบสอบถามตามขั้นตอนที่ใหมา การสรางแบบสอบถามจากออกแบบแบบสอบถาม
ในมุมมองออกแบบ และการใชประโยชนจากแบบสอบถาม ดวยการเรียงลําดับและกรองขอมูล
รวมทั้งการคํานวณสูตรงาย ๆ ดวย

จุดประสงคการสอน
   จุดประสงคทั่วไป
           1. เพื่อใหมีความรูความเขาใจและทักษะในการสรางความสัมพันธของตาราง
           2. เพื่อใหมีความรูความเขาใจและทักษะในการสรางแบบสอบถาม
           3. เพื่อใหมีความรูความเขาใจและทักษะในการเรียงลําดับ กรอง และสรุปสูตรคํานวณ

   จุดประสงคเชิงพฤติกรรม
           1. สามารถอธิบายและสรางความสัมพันธของตารางในแบบตาง ๆ ได
           2. สามารถอธิบายและสรางแบบสอบถามในแบบตาง ๆ ได
           3. สามารถอธิบายและมีทกษะในการเรียงลําดับ ตัวกรอง และสรุปสูตรคํานวณได
                                ั
4-2

เนื้อหา

1. การสรางความสัมพันธระหวางตาราง
        1.1 การสรางความสัมพันธระหวางตารางแบบหนึ่งตอหนึ่ง
              ตารางที่มีเขตขอมูลสัมพันธกันหนึ่งเขตขอมูล ซึ่งกอนสรางความสัมพันธตองปด
ตารางทั้งหมดลงเสียกอน แลวไปที่แท็บเครื่องมือฐานขอมูล คลิกปุมคําสั่งความสัมพันธ จะเปดแท็
บบริ บ ทเครื่ อ งมื อ การทํ า ความสั ม พั น ธ ที่ แ ท็ บ ออกแบบให ค ลิ ก แสดงตารางที่ ต อ งการสร า ง
ความสัมพันธออกมา แลวดับเบิลคลิกเพิ่มชื่อตารางที่ตองการสรางความสัมพันธ จากนั้นจึงลากชื่อ
เขตขอมูลที่ตรงกันของทั้งสองตาราง เมื่อแผนงานแกไขความสัมพันธปรากฏขึ้นมาใหคลิกเลือก
บังคับใหมี Referential Integrity ซึ่งหมายความวา ระบบของกฎตาง ๆ ที่ Access 2007 ใชเพื่อให
มั่นใจไดวาความสัมพันธระหวางระเบียนในตารางที่สัมพันธกันนั้นถูกตอง และจะตองไมลบหรือ
เปลี่ยนแปลงขอมูลที่มีความสัมพันธกันโดยบังเอิญ




รูปที่ 4-1 เริ่มตนสรางความสัมพันธจากการคลิกปุมคําสั่งความสัมพันธ บนแท็บเครื่องมือฐานขอมูล
4-3




รูปที่ 4-2 คําสั่งแสดงตารางในแท็บออกแบบของแท็บเครื่องมือการทําความสัมพันธ




       รูปที่ 4-3 คําสั่งเพิ่มแสดงตารางขอมูลนักศึกษาและบัตรลงทะเบียน
4-4




    รูปที่ 4-4 เมื่อลากชื่อเขตขอมูล studentID ขามตารางแลว ใหคลิกเลือกบังคับใหมี Referential
                                               Integrity




รูปที่ 4-5 เสนความสัมพันธเปนแบบหนึ่งตอหนึ่งและการรายงานความสัมพันธในมุมมองแสดงตัวอยาง
                                           กอนพิมพ
4-5




รูปที่ 4-6 เสนความสัมพันธเปนแบบหนึ่งตอหนึ่ง ในมุมมองออกแบบ




        รูปที่ 4-7 คําสั่งเพิ่มแสดงตารางรายการลงทะเบียน
4-6




   รูปที่ 4-8 เมื่อลากชื่อเขตขอมูล registerID ขามตารางแลว ใหคลิกเลือกบังคับใหมี Referential
                                               Integrity




            รูปที่ 4-9 เสนความสัมพันธเปนแบบหนึ่งตอหนึ่งของเขตขอมูล registerID

        1.2 การสรางความสัมพันธระหวางตารางแบบหนึ่งตอกลุมและกลุมตอกลุม
             ตารางที่มีเขตขอมูลสัมพันธกันหนึ่งเขตขอมูล ซึ่งกอนสรางความสัมพันธตองปด
ตารางทั้งหมดลงเสียกอน แลวไปที่แท็บเครื่องมือฐานขอมูล คลิกปุมคําสั่งความสัมพันธ จะเปด
แท็บบริบทเครื่องมื อการทําความสัมพั นธ ที่แ ท็บออกแบบใหคลิ กแสดงตารางที่ตองการสราง
ความสัมพันธออกมา แลวดับเบิลคลิกเพิ่มชื่อตารางที่ตองการสรางความสัมพันธ จากนั้นจึงลากชื่อ
เขตขอมูลที่ตรงกันของทั้งสองตาราง เมื่อแผนงานแกไขความสัมพันธปรากฏขึ้นมาใหคลิกเลือก
บังคับใหมี Referential Integrity
4-7




          รูปที่ 4-10 คําสั่งแสดงตารางทั้งหมด 6 ตาราง




รูปที่ 4-11 เสนความสัมพันธเปนแบบหนึงตอหนึ่ง แบบหนึ่งตอกลุม
                                       ่
           และแบบกลุมตอกลุม (ตารางรายการลงทะเบียน)
4-8

2. การสรางแบบสอบถาม (Query)
         2.1 ความหมายและชนิดของแบบสอบถาม
             แบบสอบถาม (Query) หมายถึงแบบที่ใชเรียกดูหรือสอบถามขอมูลจากฐานขอมูลตาม
การถามหรือเงื่ อนไขที่ กําหนดไว และสามารถจัดการกับขอมูลเหล านั้น ได โดยไม กระทบกับ
โครงสรางของขอมูล
               ชนิดของแบบสอบถาม มีหลายแบบ ดังนี้
             1. แบบสอบถามแบบใชเลือกขอมูล (Select Query)
             2. แบบสอบถามแบบพารามิเตอร (Parameter Query)
             3. แบบสอบถามแบบแท็บไขว (Crosstab Query)
             4. แบบสอบถามแอกชัน (Action Query)
             5. แบบสอบถาม SQL (SQL Query)
         2.2 การสรางแบบสอบถามจากตัวชวยสรางแบบสอบถาม
             แบบสอบถาม (Query) ที่จะสรางนี้จะอยูในกลุมคําสั่งอื่น ๆ ของแท็บเครื่องมือสราง
โดยมีขั้นตอนในการสราง ดังตอไปนี้
             2.1.1 การสรางแบบสอบถามจากตัวชวยสรางแบบสอบถามอยางงาย
                   ที่แท็บสรางกลุมคําสั่งอื่น ๆ คลิกปุมตัวชวยสรางแบบสอบถาม จะเปดแผนงาน
การสรางแบบสอบถาม ที่มี 4 รายการ คือ
                        1. ตัวชวยสรางแบบสอบถามอยางงาย
                        2. ตัวชวยสรางแบบสอบถามแบบตาราง
                        3. ตัวชวยสรางแบบสอบถามแบบคนหารายการที่ซ้ํา
                        4. ตัวชวยสรางแบบสอบถามการคนหาขอมูลที่ไมตรงกัน
                   มีขั้นตอนการสรางแบบสอบถามอยางงาย ดังตอไปนี้
                           2.1.1.1 คลิกเลือกรายการตัวชวยสรางแบบสอบถามอยางงาย คลิกตกลง




                   รูปที่ 4-12 เลือกรายการตัวชวยสรางแบบสอบถามอยางงาย
4-9




รูปที่ 4-13 ใหเลือกรายการตัวชวยสรางแบบสอบถามอยางงาย ที่กลองโตตอบการสรางแบบสอบถาม

                           2.1.1.2 คลิกเลือกตารางจากรายการตาราง/แบบสอบถาม ซึ่งจะเรียกเขต
ขอมูลของตารางนั้นมาไวในชองดานซาย ใหคลิกเลือกเขตขอมูลที่ตองการสรางแบบสอบถาม แลว
คลิกปุมเครื่องหมายเพิ่มทีละรายการ (>) หรือคลิกเพิ่มทั้งหมด (>>) หากตองการเอารายการที่ได
เลือกไปแลวออก ใหคลิกปุมเครื่องหมายเอาออกทีละรายการ(<) หรือคลิกเอาออกทั้งหมด (<<)




                          รูปที่ 4-14 การเพิ่มเขตขอมูลทีละรายการ
4-10




           รูปที่ 4-15 การเอาเขตขอมูลออกทั้งหมด




รูปที่ 4-16 การเปลี่ยนตารางและเขตขอมูลจากตารางขอมูลนักศึกษาเปนตารางวิชา
4-11




           รูปที่ 4-17 การเลือกเขตขอมูลจากทั้งตารางวิชาและตารางขอมูลนักศึกษา

                           2.1.1.3 ตัวเลือกแบบสอบถามที่แสดงรายละเอียดหรือแบบสรุป ใหคลิก
เลือกตัวเลือกที่ตองการ คลิกปุมถัดไป แลวตั้งชื่อแบบสอบถาม คลิกปุมเสร็จสิ้น




                      รูปที่ 4-18 การเลือกแบบสอบถามเปนรายละเอียด
4-12




                รูปที่ 4-19 ตั้งชื่อแบบสอบถามวาวิชาQuery




        รูปที่ 4-20 ผลลัพธแบบสอบถามวิชาQuery ที่แสดงรายละเอียด

       2.1.2 การสรางแบบสอบถามจากตัวชวยสรางแบบสอบถามแบบตาราง
                2.1.2.1 คลิกเลือกรายการตัวชวยสรางแบบสอบถามแบบตาราง คลิกปุม
ตกลง




        รูปที่ 4-21 เลือกรายการตัวชวยสรางแบบสอบถามแบบตาราง
4-13

                           2.1.2.2 คลิกเลือกมุมมองตาราง แบบสอบถาม หรือทั้งสองอยาง แลวจึง
คลิกเลือกชื่อที่จะนําเขตขอมูลมาใชทําแบบสอบถาม แลวคลิกปุมถัดไป




                รูปที่ 4-22 เลือกตารางที่จะนํามาสรางแบบสอบถามแบบตาราง

                    2.1.2.3 คลิกเลือกเขตขอมูลที่มีอยูจากดานซายไปดานขวา เพื่อจัดทํา
ตารางแบบสอบถาม แลวคลิกปุมถัดไป




               รูปที่ 4-23 เลือกเขตขอมูลที่จะนํามาสรางแบบสอบถามแบบตาราง
4-14

                       2.1.2.4 คลิ ก เลื อ กเขตข อ มู ล ที่ จ ะใช ทํ า ส ว นหั ว คอลั ม น แล ว คลิ ก ปุ ม
ถัดไป




                   รูปที่ 4-24 เลือกเขตขอมูลที่จะนํามาทําสวนหัวคอลัมน

                       2.1.2.5 คลิกเลือกเขตขอมูลที่จะนํามาใชในการคํานวณแตละจุดตัดของ
แถวและคอลัมน แลวคลิกปุมถัดไป




            รูปที่ 4-25 เลือกเขตขอมูลที่จะนํามาใชคํานวณทีจุดตัดแถวและคอลัมน
                                                           ่
4-15

                            2.1.2.6 Access 2007 จะกําหนดชื่อแบบสอบถามใหมา ถาไมตองการก็
เปลี่ยนชื่อไดเลย แตถาตองการ ก็คลิกปุมเสร็จสิ้น นอกจากนี้ยังสามารถปรับเปลี่ยนมุมมองเปนดู
แบบสอบถามในมุมมองตารางหรือปรับเปลี่ยนแบบสอบถามจากมุมมองออกแบบไดอีกดวย




            รูปที่ 4-26 ตั้งชื่อใหกับแบบสอบถามและตองการใหแสดงผลลัพธแบบใด




                    รูปที่ 4-27 ผลลัพธแบบสอบถามแสดงในมุมมองตาราง
4-16

                  2.1.3 การสรางแบบสอบถามจากตัวชวยสรางแบบสอบถามเพื่อคนหารายการที่ซ้ํา
                           2.1.3.1 คลิกเลือกรายการตัวชวยสรางแบบสอบถามเพื่อคนหารายการที่
ซ้ํา แลวคลิกปุมตกลง




            รูปที่ 4-28 เลือกรายการตัวชวยสรางแบบสอบถามเพื่อคนหารายการที่ซา
                                                                            ้ํ

                           2.1.3.2 คลิกเลือกมุมมองตาราง แบบสอบถาม หรือทั้งสองอยาง แลวจึง
คลิกเลือกชื่อที่จะนําเขตขอมูลมาใชทําแบบสอบถาม แลวคลิกปุมถัดไป




                     รูปที่ 4-29 เลือกแบบสอบถามขอมูลนักศึกษาQuery
4-17

                       2.1.3.3 คลิกเลือกเขตขอมูลที่คิดวาซ้ํากันมีอยูจากดานซายไปดานขวา
เพื่อจัดทําตารางแบบสอบถาม แลวคลิกปุมถัดไป




              รูปที่ 4-30 เลือกเขตขอมูลที่คิดวาซ้ํากันทีจะนํามาสรางแบบสอบถาม
                                                          ่

                       2.1.3.4 คลิ ก เลื อ กเขตข อ มู ล ที่ ต อ งการแสดงในแบบสอบถามจาก
ดานซายไปดานขวา แลวคลิกปุมถัดไป




                     รูปที่ 4-31 เลือกเขตขอมูลที่จะนํามาทําสวนหัวคอลัมน

                            2.1.3.5 Access 2007 จะกําหนดชื่อแบบสอบถามใหมา ถาไมตองการก็
เปลี่ยนชื่อไดเลย แตถาตองการ ก็คลิกปุมเสร็จสิ้น นอกจากนี้ยังสามารถปรับเปลี่ยนมุมมองเปนดู
แบบสอบถามในมุมมองตารางหรือปรับเปลี่ยนแบบสอบถามจากมุมมองออกแบบไดอีกดวย
4-18




      รูปที่ 4-32 ตั้งชื่อใหกับแบบสอบถามและตองการใหแสดงผลลัพธแบบใด

                  2.1.3.6 ใสคาพารามิเตอรขอมูลนักศึกษา แลวคลิกปุมตกลง




          รูปที่ 4-33 ใสคาพารามิเตอรขนาดเขตขอมูลไมเกิน 30 ตัวอักษร




รูปที่ 4-34 ผลลัพธแบบสอบถามแสดงคาวุฒิการศึกษาและเมืองที่ซ้ํากันในมุมมองตาราง
4-19

               2.1.4 การสรางแบบสอบถามจากตัวชวยสรางแบบสอบถามการคนหาขอมูลที่ไม
                      ตรงกัน
                         2.1.4.1 คลิกเลือกรายการตัวชวยสรางแบบสอบถามการคนหาขอมูลที่
ไมตรงกัน แลวคลิกปุมตกลง




         รูปที่ 4-35 เลือกรายการตัวชวยสรางแบบสอบถามการคนหาขอมูลที่ไมตรงกัน

                           2.1.4.2 คลิกเลือกมุมมองตาราง แบบสอบถาม หรือทั้งสองอยาง แลวจึง
คลิกเลือกชื่อที่จะนําเขตขอมูลมาใชทําแบบสอบถาม แลวคลิกปุมถัดไป




                     รูปที่ 4-36 เลือกแบบสอบถามขอมูลนักศึกษาQuery
4-20

                           2.1.4.3 คลิกเลือกมุมมองตาราง แบบสอบถาม หรือทั้งสองอยาง แลวจึง
คลิกเลือกชื่อที่จะนําเขตขอมูลที่เกี่ยวของที่จะนํามาใชทําแบบสอบถาม แลวคลิกปุมถัดไป




                            รูปที่ 4-37 เลือกตารางบัตรลงทะเบียน

                          2.1.4.4 คลิกเลือกเขตขอมูลที่ตรงกันทั้งดานซายและดานขวา แลวคลิก
ปุม < = >และคลิกปุม ถัดไป




                             รูปที่ 4-38 เลือกเขตขอมูลที่ตรงกัน
4-21

                       2.1.4.5 คลิ ก เลื อ กเขตข อ มู ล ที่ ต อ งการแสดงในแบบสอบถามจาก
ดานซายไปดานขวา แลวคลิกปุมถัดไป




                   รูปที่ 4-39 เลือกเขตขอมูลที่ตองการแสดงในแบบสอบถาม

                            2.1.4.6 Access 2007 จะกําหนดชื่อแบบสอบถามใหมา ถาไมตองการก็
เปลี่ยนชื่อไดเลย แตถาตองการ ก็คลิกปุมเสร็จสิ้น นอกจากนี้ยังสามารถปรับเปลี่ยนมุมมองเปนดู
แบบสอบถามในมุมมองตารางหรือปรับเปลี่ยนแบบสอบถามจากมุมมองออกแบบไดอีกดวย




            รูปที่ 4-40 ตั้งชื่อใหกับแบบสอบถามและตองการใหแสดงผลลัพธแบบใด
4-22

                           2.1.4.7 ใสคาพารามิเตอรขอมูลนักศึกษา แลวคลิกปุมตกลง




                  รูปที่ 4-41 ใสคาพารามิเตอรขนาดเขตขอมูลไมเกิน 30 ตัวอักษร




        รูปที่ 4-42 ผลลัพธแบบสอบถามแสดงวาไมมีคาขอมูลที่ไมตรงกันในมุมมองตาราง

        2.3 การสรางแบบสอบถามจากออกแบบแบบสอบถาม
               2.3.1 เริ่มตนการสรางแบบสอบถามจากออกแบบแบบสอบถาม
                     ที่ แ ท็ บ สร า งกลุ ม คํ า สั่ ง อื่ น ๆ คลิ ก ปุ ม ออกแบบแบบสอบถาม จะเป ด
หนาตางมุมมองออกแบบแผนงานแสดงตาราง




                          รูปที่ 4-43 เลือกรายการออกแบบแบบสอบถาม
4-23

           2.3.2 การเลือกตารางที่จะนําเขตขอมูลมาใชในแบบสอบถาม
                   ที่ ห น า ต า งมุ ม มองออกแบบ แผ น งานแสดงตาราง เลื อ กแท็ บ ตาราง
แบบสอบถาม หรือทั้งสองอยาง แลวคลิกเลือกชื่อรายการ คลิกปุมเพิ่ม จนครบแลวคลิกปุมปด




                 รูปที่ 4-44 เลือกชื่อตารางที่ตองการทําเขตขอมูลแบบสอบถาม




             รูปที่ 4-45 เลือกชื่อตารางที่ตองการทําเขตขอมูลแบบสอบถามครบแลว

                  2.3.3 การเลือกเขตขอมูลจากตารางมาใชในแบบสอบถาม
                        ที่หนาตางมุมมองออกแบบ ดับเบิลคลิกเลือกชื่อเขตขอมูลจากแตละตาราง
โดยเรียงลําดับชื่อจากซายไปขวาที่ตองการนํามาแสดงในแบบสอบถาม
4-24




        รูปที่ 4-46 เลือกชื่อเขตขอมูลที่ตองการทําแบบสอบถามจากแตละตารางจนครบ

               2.3.4 การบันทึกแบบสอบถาม
                     ที่หนาตางมุมมองออกแบบ คลิกปุมบันทึก แลวตั้งชื่อแบบสอบถาม เสร็จ
แลวคลิกปุมตกลง จะไดผลลัพธแบบสอบถามในมุมมองตารางตามเขตขอมูลที่ไดเลือกไว




                   รูปที่ 4-47 บันทึกชื่อแบบสอบถามวา ลงทะเบียนQuery
4-25




                      รูปที่ 4-48 ผลลัพธแบบสอบถามลงทะเบียนQuery

       2.4 การเรียงลําดับ การกรอง และการคํานวณแบบสอบถามจากมุมมองตาราง
           เราสามารถจัดการใชประโยชนจากฐานขอมูล ที่กลุมคําสั่งเรียงลําดับและกรองได




                          รูปที่ 4-49 กลุมคําสั่งเรียงลําดับและกรอง

                2.4.1 การเรียงลําดับเขตขอมูลแบบสอบถาม
                       จากตารางแบบสอบถามวิชาQuery ที่หนาตางแบบสอบถาม แท็บหนาแรก
คลิกเลือกฟลดรายการที่จะใหเรียงลําดับ แลวจึงคลิกปุมเรียงลําดับจากนอยไปหามากหรือจากมาก
ไปหานอย ในกลุมคําสั่งเรียงลําดับและกรอง หรือคลิกซาย หรือคลิกขวาที่รายการก็ได
4-26




รูปที่ 4-50 เลือกฟลดรายการที่ตองการเรียงลําดับ แลวคลิกปุมเรียงลําดับจากนอยไปหามาก




 รูปที่ 4-51 คลิกซาย หรือคลิกขวาที่ฟลดรายการที่ตองการเรียงลําดับ จะเรียกเมนูออกมา
4-27




       รูปที่ 4-52 ผลลัพธที่ไดจากการเรียงลําดับจากนอยไปหามากของฟลดรหัสนักศึกษา

                2.4.2 การกรองเขตขอมูลแบบสอบถาม
                       จากตารางแบบสอบถามวิชาQuery ที่หนาตางแบบสอบถาม แท็บหนาแรก
คลิกเลือกฟลดรายการที่จะใหเรียงลําดับ แลวจึงคลิกปุมตัวกรอง ในกลุมคําสั่งเรียงลําดับและกรอง
หรือคลิกซายที่ฟลดรายการก็ได จะมีแผนรายการ และสามารถเลือกตัวกรองขอความ หรือใชคลิก
ถูกหนาชองเช็คในรายการที่มีก็ได ในที่นี้จะกรองรหัสวิชา 1204-1304
4-28




                 รูปที่ 4-53 คลิกปุมตัวกรอง หรือคลิกซายที่ฟลดรายการรหัสวิชา




                   รูปที่ 4-54 ผลลัพธจากการฟลดรายการรหัสวิชา 1204-1304

                        การใชตัวกรองสวนที่เลือก ในกลุมคําสั่งเรียงลําดับและกรอง เมื่อคลิกเลือก
เซลลรายการแลว ใหคลิกปุมสวนที่เลือก ในกลุมคําสั่งเรียงลําดับและกรอง จะมีรายการใหเลือก ใน
ที่นี้ใหคลิกเลือกเซลลรหัสวิชา 1204-1304 แลวคลิกปุมสวนที่เลือก จะมีรายการ 4 รายการ คือ
4-29




              รูปที่ 4-55 รายการของปุมสวนที่เลือกฟลดรายการรหัสวิชา 1204-1304




     รูปที่ 4-56 ผลลัพธจากการกรองฟลดรายการรหัสวิชา 1204-1304ไมเทากับ “1204-1304”

                         การใชตัวกรองขั้นสูง ในกลุมคําสั่งเรียงลําดับและกรอง เมื่อคลิกปุมขั้นสูง
ในกลุมคําสั่งเรียงลําดับและกรอง จะมีรายการใหเลือก ลางตัวกรองทั้งหมด กรองตามฟอรม ใชตัว
กรอง/เรียงลําดับ ตัวกรอง/เรียงลําดับขั้นสูง ในที่นี้ใหคลิกเลือกรายการกรองตามฟอรม เลือก
รายการรหัสวิชา 1204-1304 แลวเลือกปุมสลับตัวกรอง จะไดผลลัพธ เทากับ “1204-1304”
4-30




                              รูปที่ 4-57 รายการของปุมขั้นสูง




รูปที่ 4-58 การใชกรองตามฟอรม เลือกรายการ 1204-1304 แลวใชตวกรอง/เรียงลําดับหรือปุมสลับ
                                                             ั
                                         ตัวกรอง
4-31




   รูปที่ 4-59 การใชกรองตามฟอรม เลือกรายการ 1204-1304 แลวใชตวกรอง/เรียงลําดับขั้นสูง
                                                                ั

                       จากตารางแบบสอบถามลงทะเบียนQuery การใชตัวกรองขั้นสูง ในกลุมคํา
สั่งเรียงลําดับและกรอง เมื่อตองการหาการลงทะเบียนที่มีคาลงทะเบียนตั้งแต 750 บาทเปนตนไป




                         รูปที่ 4-60 การใชตัวกรอง/เรียงลําดับขั้นสูง
4-32




รูปที่ 4-61 การใชตัวกรอง/เรียงลําดับขั้นสูง กรองคาลงทะเบียนตั้งแต 750 บาท




                รูปที่ 4-62 ผลลัพธจากการใชตัวกรองขั้นสูง
4-33

                    2.4.3 การคํานวณเขตขอมูลแบบสอบถาม
                          ที่หนาตางแบบสอบถาม แท็บหนาแรก เลื่อนแถบเลื่อนมาที่ระเบียนขอมูล
ทายสุด แลวคลิกปุมคําสั่งผลรวมในกลุมคําสั่งระเบียน จะไดขอความผลรวมที่ใตระเบียนสุดทาย
คอลัมนแรก เมื่อคลิกเปดรายการดู สามารถที่จะเปลี่ยนขอความเปนสูตรคาเฉลี่ย จํานวน คาสูงสุด
คาต่ําสุด คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน และคาความแปรปรวน แตเมื่อคลิกเปดรายการใตคอลัมนที่เปน
ขอความอื่น ๆ จะมีเพียงรายการไมมีกับจํานวนเทานั้น สําหรับผลลัพธของสูตร ใหคลิกที่เซลลใต
ระเบียนของคาลงทะเบียน (Price) จะมีรายการสูตรคาเฉลี่ย จํานวน คาสูงสุด คาต่ําสุด คาเบี่ยงเบน
มาตรฐาน และคาความแปรปรวน ใหคลิกเลือกรายการที่ตองการทราบ โดยใหตรงกับขอความสูตร
ดานหนาดวย




รูปที่ 4-63 คําสั่งผลรวมในกลุมคําสั่งระเบียน จะไดขอความผลรวมที่ใตระเบียนสุดทายคอลัมนแรก




    รูปที่ 4-64 รายการขอความผลรวมที่ใตระเบียนสุดทายคอลัมนแรก สามารถปรับเปลี่ยนได
4-34




                 รูปที่ 4-65 รายการขอความทีใตระเบียนสุดทายคอลัมนอื่น ๆ
                                            ่




          รูปที่ 4-66 รายการสูตรตาง ๆ ที่ใตระเบียนสุดทายคอลัมนของคาลงทะเบียน




                รูปที่ 4-67 ผลลัพธจากการคํานวณเมื่อเลือกรายการสูตรผลรวม
                          ที่ใตระเบียนสุดทายคอลัมนของคาลงทะเบียน


กิจกรรม
           1. ใหนักศึกษาทําความเขาใจเกี่ยวกับความสัมพันธของตาราง
           2. ครูผูสอนสาธิตการสรางแบบสอบถามในแบบตาง ๆ การเรียงลําดับ ตัวกรอง และ
สรุปสูตรคํานวณ
           3. ใหนักศึกษาฝกปฏิบัติการสรางแบบสอบถามในแบบตาง ๆ การเรียงลําดับ ตัวกรอง
และสรุปสูตรคํานวณ
           4. ครูผูสอนและนักศึกษารวมกันอภิปรายสรุปผลที่ได/ปญหาที่เกิดขึ้น
4-35

แบบประเมินผล
       คําสั่ง ใหเลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว
        1. ปุมคําสั่งความสัมพันธ บนแท็บเครื่องมือ Ribbon ชื่ออะไร
           ก. หนาแรก
           ข. สราง
           ค. ขอมูลภายนอก
           ง. เครื่องมือฐานขอมูล
        2. จากรูปเปนความสัมพันธแบบใด




           ก. หนึ่งตอหนึ่ง
           ข. หนึ่งตอกลุม
           ค. กลุมตอหนึ่ง
           ง. กลุมตอกลุม
        3. จากรูปขอ 2 เปนมุมมองแบบใด
           ก. มุมมองปกติ
           ข. มุมมองเคาโครง
           ค. มุมมองตาราง
           ง. มุมมองออกแบบ
        4. จากรูปเปนความสัมพันธแบบกลุมตอกลุมคือตารางใด




          ก.   บัตรลงทะเบียน
          ข.   รายการลงทะเบียน
          ค.   วิชา
          ง.   ครูผูสอน
4-36

5. ขอใดเปนปุมคําสั่งที่ใชในการสรางแบบสอบถามจากแท็บสราง
   ก. ออกแบบแบบสอบถาม
   ข. แบบสอบถามแยก
   ค. แบบสอบถามเปลา
   ง. แบบสอบเพิ่มเติม
6. ตัวชวยสรางแบบสอบถามขอใดไมใชการสรางแบบสอบถาม
   ก. ตัวชวยสรางแบบสอบถามแบบงาย
   ข. ตัวชวยสรางแบบสอบถามแบบตาราง
   ค. ตัวชวยสรางแบบสอบเพื่อคนหารายการที่ซ้ํา
   ง. ตัวชวยสรางแบบสอบการคนหาขอมูลที่ตรงกัน
7. จากรูปเปนตัวชวยสรางแบบสอบถามขอใด




   ก. ตัวชวยสรางแบบสอบถามแบบงาย
   ข. ตัวชวยสรางแบบสอบถามแบบตาราง
   ค. ตัวชวยสรางแบบสอบเพื่อคนหารายการที่ซ้ํา
   ง. ตัวชวยสรางแบบสอบการคนหาขอมูลที่ตรงกัน
8. ขอใดกลาวถูกตองถึงการเลือกเขตขอมูลในการสรางแบบสอบถาม
   ก. เลือกไดจากตารางอยางเดียวเทานั้น
   ข. เลือกไดจากแบบสอบถามอยางเดียวเทานัน้
   ค. เลือกไดทั้งจากตารางและแบบสอบถาม
   ง. เลือกแลวแกไขไมไดเลย
4-37

9. จากรูปเปนการทํางานอะไร




  ก. เรียงลําดับ A-Z
  ข. เรียงลําดับ Z-A
  ค. กรองตามฟอรม
  ง. ตัวกรอง/เรียงลําดับขั้นสูง
10. จากรูปเปนการทํางานอะไร




  ก.   เรียงลําดับ A-Z
  ข.   เรียงลําดับ Z-A
  ค.   กรองตามฟอรม
  ง.   ตัวกรอง/เรียงลําดับขั้นสูง

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007
Wee Jay
 
คอมพิวเตอร์ 501
คอมพิวเตอร์ 501คอมพิวเตอร์ 501
คอมพิวเตอร์ 501
taygmail
 
Lesson 6 การสร้างรายงาน
Lesson 6 การสร้างรายงานLesson 6 การสร้างรายงาน
Lesson 6 การสร้างรายงาน
Errorrrrr
 
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
kruthanyaporn
 
2. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 42. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 4
Chainarong Ngaosri
 
Microsoft access
Microsoft accessMicrosoft access
Microsoft access
komolpalin
 
Lesson 3 ตาราง
Lesson 3 ตารางLesson 3 ตาราง
Lesson 3 ตาราง
Errorrrrr
 
Lesson 5 การสร้าง form
Lesson 5 การสร้าง formLesson 5 การสร้าง form
Lesson 5 การสร้าง form
Errorrrrr
 
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรม
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรมLesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรม
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรม
Errorrrrr
 
หน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่าย
หน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่ายหน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่าย
หน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่าย
kruthanyaporn
 

Mais procurados (13)

Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007
 
คอมพิวเตอร์ 501
คอมพิวเตอร์ 501คอมพิวเตอร์ 501
คอมพิวเตอร์ 501
 
Lesson 6 การสร้างรายงาน
Lesson 6 การสร้างรายงานLesson 6 การสร้างรายงาน
Lesson 6 การสร้างรายงาน
 
Dbchapter4-2
Dbchapter4-2Dbchapter4-2
Dbchapter4-2
 
Dw ch06 form_and_php
Dw ch06 form_and_phpDw ch06 form_and_php
Dw ch06 form_and_php
 
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
 
2. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 42. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 4
 
Microsoft access
Microsoft accessMicrosoft access
Microsoft access
 
Lesson 3 ตาราง
Lesson 3 ตารางLesson 3 ตาราง
Lesson 3 ตาราง
 
Lesson 5 การสร้าง form
Lesson 5 การสร้าง formLesson 5 การสร้าง form
Lesson 5 การสร้าง form
 
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
 
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรม
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรมLesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรม
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรม
 
หน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่าย
หน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่ายหน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่าย
หน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่าย
 

Destaque

כלי גוגל
כלי גוגלכלי גוגל
כלי גוגל
noemyp
 
Tersigni_Ance_24052011
Tersigni_Ance_24052011Tersigni_Ance_24052011
Tersigni_Ance_24052011
Rèdais
 
Apresentação Claudia Santos
Apresentação Claudia SantosApresentação Claudia Santos
Apresentação Claudia Santos
Bruno Pereira
 

Destaque (20)

สุดรักสุดดวงใจ
สุดรักสุดดวงใจสุดรักสุดดวงใจ
สุดรักสุดดวงใจ
 
Toi asi
Toi asiToi asi
Toi asi
 
FIESTAS DE CUENCA
FIESTAS DE CUENCAFIESTAS DE CUENCA
FIESTAS DE CUENCA
 
Flores
FloresFlores
Flores
 
אוכלוסיית פלשתינה בסוף המאה ה-17
אוכלוסיית פלשתינה בסוף המאה ה-17אוכלוסיית פלשתינה בסוף המאה ה-17
אוכלוסיית פלשתינה בסוף המאה ה-17
 
San francesco nelle Marche
San francesco nelle MarcheSan francesco nelle Marche
San francesco nelle Marche
 
כלי גוגל
כלי גוגלכלי גוגל
כלי גוגל
 
Tersigni_Ance_24052011
Tersigni_Ance_24052011Tersigni_Ance_24052011
Tersigni_Ance_24052011
 
บท6
บท6บท6
บท6
 
Enfermedad Luxante De Cadera
Enfermedad Luxante De CaderaEnfermedad Luxante De Cadera
Enfermedad Luxante De Cadera
 
บทที่๗
บทที่๗บทที่๗
บทที่๗
 
Libija1
Libija1Libija1
Libija1
 
La Amistad
La AmistadLa Amistad
La Amistad
 
Form01
Form01Form01
Form01
 
Ewita Final Version
Ewita Final VersionEwita Final Version
Ewita Final Version
 
Educaçãofisica
EducaçãofisicaEducaçãofisica
Educaçãofisica
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
Apresentação Claudia Santos
Apresentação Claudia SantosApresentação Claudia Santos
Apresentação Claudia Santos
 
(代理店向け)Facebookページセールスサポートサービス
(代理店向け)Facebookページセールスサポートサービス(代理店向け)Facebookページセールスサポートサービス
(代理店向け)Facebookページセールスサポートサービス
 
Introdução à Fotografia
Introdução à FotografiaIntrodução à Fotografia
Introdução à Fotografia
 

Semelhante a บท4

บทที่5การสร้างฟอร์ม
บทที่5การสร้างฟอร์มบทที่5การสร้างฟอร์ม
บทที่5การสร้างฟอร์ม
niwat50
 
บทที่3การสร้างตารางฐานข้อมูล
บทที่3การสร้างตารางฐานข้อมูลบทที่3การสร้างตารางฐานข้อมูล
บทที่3การสร้างตารางฐานข้อมูล
niwat50
 
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spssการใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
thaweesak mahan
 
รายงานคู่มือการใช้งาน
รายงานคู่มือการใช้งานรายงานคู่มือการใช้งาน
รายงานคู่มือการใช้งาน
guest8ec15d
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2
Orapan Chamnan
 

Semelhante a บท4 (11)

บท5
บท5บท5
บท5
 
บทที่5การสร้างฟอร์ม
บทที่5การสร้างฟอร์มบทที่5การสร้างฟอร์ม
บทที่5การสร้างฟอร์ม
 
บท5
บท5บท5
บท5
 
Query
QueryQuery
Query
 
บท3
บท3บท3
บท3
 
บทที่3การสร้างตารางฐานข้อมูล
บทที่3การสร้างตารางฐานข้อมูลบทที่3การสร้างตารางฐานข้อมูล
บทที่3การสร้างตารางฐานข้อมูล
 
การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัย
 
Db4
Db4Db4
Db4
 
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spssการใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
 
รายงานคู่มือการใช้งาน
รายงานคู่มือการใช้งานรายงานคู่มือการใช้งาน
รายงานคู่มือการใช้งาน
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2
 

Mais de โทโม๊ะจัง นานะ

บทที่ 4 เรื่องทำงานกับไฟล์ e book
บทที่ 4 เรื่องทำงานกับไฟล์ e bookบทที่ 4 เรื่องทำงานกับไฟล์ e book
บทที่ 4 เรื่องทำงานกับไฟล์ e book
โทโม๊ะจัง นานะ
 
บทที่ 4 เรื่องทำงานกับไฟล์ e book
บทที่ 4 เรื่องทำงานกับไฟล์ e bookบทที่ 4 เรื่องทำงานกับไฟล์ e book
บทที่ 4 เรื่องทำงานกับไฟล์ e book
โทโม๊ะจัง นานะ
 
บทที่ 2 สร้าง e book ง่ายและเร็ว
บทที่ 2 สร้าง e book ง่ายและเร็วบทที่ 2 สร้าง e book ง่ายและเร็ว
บทที่ 2 สร้าง e book ง่ายและเร็ว
โทโม๊ะจัง นานะ
 
บทที่ 1 ลักษณะทั่วไปของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 1 ลักษณะทั่วไปของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์บทที่ 1 ลักษณะทั่วไปของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 1 ลักษณะทั่วไปของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
โทโม๊ะจัง นานะ
 

Mais de โทโม๊ะจัง นานะ (20)

บทที่ 4 เรื่องทำงานกับไฟล์ e book
บทที่ 4 เรื่องทำงานกับไฟล์ e bookบทที่ 4 เรื่องทำงานกับไฟล์ e book
บทที่ 4 เรื่องทำงานกับไฟล์ e book
 
บทที่ 4 เรื่องทำงานกับไฟล์ e book
บทที่ 4 เรื่องทำงานกับไฟล์ e bookบทที่ 4 เรื่องทำงานกับไฟล์ e book
บทที่ 4 เรื่องทำงานกับไฟล์ e book
 
บทที่ 3 การควบคุม e book
บทที่ 3 การควบคุม e bookบทที่ 3 การควบคุม e book
บทที่ 3 การควบคุม e book
 
บทที่ 2 สร้าง e book ง่ายและเร็ว
บทที่ 2 สร้าง e book ง่ายและเร็วบทที่ 2 สร้าง e book ง่ายและเร็ว
บทที่ 2 สร้าง e book ง่ายและเร็ว
 
บทที่ 1 ลักษณะทั่วไปของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 1 ลักษณะทั่วไปของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์บทที่ 1 ลักษณะทั่วไปของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 1 ลักษณะทั่วไปของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
เฉลยแบบฝึกหัดบทที่ 1
เฉลยแบบฝึกหัดบทที่ 1เฉลยแบบฝึกหัดบทที่ 1
เฉลยแบบฝึกหัดบทที่ 1
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
 
Lesson6
Lesson6Lesson6
Lesson6
 
Lesson5
Lesson5Lesson5
Lesson5
 
Lesson4
Lesson4Lesson4
Lesson4
 
Lesson3
Lesson3Lesson3
Lesson3
 
Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
บท2
บท2บท2
บท2
 
บท4
บท4บท4
บท4
 
บท6
บท6บท6
บท6
 
บท6
บท6บท6
บท6
 

บท4

  • 1. หนวยที่ 4 การสรางความสัมพันธและการสรางแบบสอบถาม หัวขอเรื่องและงาน การสรางความสัมพันธระหวางตารางฐานขอมูล และการสรางแบบสอบถามที่ตองการ ทราบขอมูล สาระสําคัญ การสรางความสัมพันธระหวางตารางฐานขอมูลแบบหนึ่งตอหนึ่ง หมายถึงมีฟลดขอมูล 1 ฟลดที่จับคูกัน การสรางความสัมพันธระหวางตารางฐานขอมูลแบบหนึ่งตอกลุม หมายถึงมีฟลด ขอมูล 1 ฟลดที่จับคูกับฟลดขอมูลหลายฟลดในตารางอื่น แตฟลดในตารางนั้นจับคูไดเพียงแคฟลด เดียว การสรางความสัมพันธระหวางตารางฐานขอมูลแบบกลุมตอกลุม หมายถึงมีฟลดขอมูลหลาย ฟลดที่จับคูกันระหวางตาราง และการสรางแบบสอบถามจากตัวชวยสรางแบบสอบถาม ทําใหเรา สามารถสรางแบบสอบถามตามขั้นตอนที่ใหมา การสรางแบบสอบถามจากออกแบบแบบสอบถาม ในมุมมองออกแบบ และการใชประโยชนจากแบบสอบถาม ดวยการเรียงลําดับและกรองขอมูล รวมทั้งการคํานวณสูตรงาย ๆ ดวย จุดประสงคการสอน จุดประสงคทั่วไป 1. เพื่อใหมีความรูความเขาใจและทักษะในการสรางความสัมพันธของตาราง 2. เพื่อใหมีความรูความเขาใจและทักษะในการสรางแบบสอบถาม 3. เพื่อใหมีความรูความเขาใจและทักษะในการเรียงลําดับ กรอง และสรุปสูตรคํานวณ จุดประสงคเชิงพฤติกรรม 1. สามารถอธิบายและสรางความสัมพันธของตารางในแบบตาง ๆ ได 2. สามารถอธิบายและสรางแบบสอบถามในแบบตาง ๆ ได 3. สามารถอธิบายและมีทกษะในการเรียงลําดับ ตัวกรอง และสรุปสูตรคํานวณได ั
  • 2. 4-2 เนื้อหา 1. การสรางความสัมพันธระหวางตาราง 1.1 การสรางความสัมพันธระหวางตารางแบบหนึ่งตอหนึ่ง ตารางที่มีเขตขอมูลสัมพันธกันหนึ่งเขตขอมูล ซึ่งกอนสรางความสัมพันธตองปด ตารางทั้งหมดลงเสียกอน แลวไปที่แท็บเครื่องมือฐานขอมูล คลิกปุมคําสั่งความสัมพันธ จะเปดแท็ บบริ บ ทเครื่ อ งมื อ การทํ า ความสั ม พั น ธ ที่ แ ท็ บ ออกแบบให ค ลิ ก แสดงตารางที่ ต อ งการสร า ง ความสัมพันธออกมา แลวดับเบิลคลิกเพิ่มชื่อตารางที่ตองการสรางความสัมพันธ จากนั้นจึงลากชื่อ เขตขอมูลที่ตรงกันของทั้งสองตาราง เมื่อแผนงานแกไขความสัมพันธปรากฏขึ้นมาใหคลิกเลือก บังคับใหมี Referential Integrity ซึ่งหมายความวา ระบบของกฎตาง ๆ ที่ Access 2007 ใชเพื่อให มั่นใจไดวาความสัมพันธระหวางระเบียนในตารางที่สัมพันธกันนั้นถูกตอง และจะตองไมลบหรือ เปลี่ยนแปลงขอมูลที่มีความสัมพันธกันโดยบังเอิญ รูปที่ 4-1 เริ่มตนสรางความสัมพันธจากการคลิกปุมคําสั่งความสัมพันธ บนแท็บเครื่องมือฐานขอมูล
  • 3. 4-3 รูปที่ 4-2 คําสั่งแสดงตารางในแท็บออกแบบของแท็บเครื่องมือการทําความสัมพันธ รูปที่ 4-3 คําสั่งเพิ่มแสดงตารางขอมูลนักศึกษาและบัตรลงทะเบียน
  • 4. 4-4 รูปที่ 4-4 เมื่อลากชื่อเขตขอมูล studentID ขามตารางแลว ใหคลิกเลือกบังคับใหมี Referential Integrity รูปที่ 4-5 เสนความสัมพันธเปนแบบหนึ่งตอหนึ่งและการรายงานความสัมพันธในมุมมองแสดงตัวอยาง กอนพิมพ
  • 5. 4-5 รูปที่ 4-6 เสนความสัมพันธเปนแบบหนึ่งตอหนึ่ง ในมุมมองออกแบบ รูปที่ 4-7 คําสั่งเพิ่มแสดงตารางรายการลงทะเบียน
  • 6. 4-6 รูปที่ 4-8 เมื่อลากชื่อเขตขอมูล registerID ขามตารางแลว ใหคลิกเลือกบังคับใหมี Referential Integrity รูปที่ 4-9 เสนความสัมพันธเปนแบบหนึ่งตอหนึ่งของเขตขอมูล registerID 1.2 การสรางความสัมพันธระหวางตารางแบบหนึ่งตอกลุมและกลุมตอกลุม ตารางที่มีเขตขอมูลสัมพันธกันหนึ่งเขตขอมูล ซึ่งกอนสรางความสัมพันธตองปด ตารางทั้งหมดลงเสียกอน แลวไปที่แท็บเครื่องมือฐานขอมูล คลิกปุมคําสั่งความสัมพันธ จะเปด แท็บบริบทเครื่องมื อการทําความสัมพั นธ ที่แ ท็บออกแบบใหคลิ กแสดงตารางที่ตองการสราง ความสัมพันธออกมา แลวดับเบิลคลิกเพิ่มชื่อตารางที่ตองการสรางความสัมพันธ จากนั้นจึงลากชื่อ เขตขอมูลที่ตรงกันของทั้งสองตาราง เมื่อแผนงานแกไขความสัมพันธปรากฏขึ้นมาใหคลิกเลือก บังคับใหมี Referential Integrity
  • 7. 4-7 รูปที่ 4-10 คําสั่งแสดงตารางทั้งหมด 6 ตาราง รูปที่ 4-11 เสนความสัมพันธเปนแบบหนึงตอหนึ่ง แบบหนึ่งตอกลุม ่ และแบบกลุมตอกลุม (ตารางรายการลงทะเบียน)
  • 8. 4-8 2. การสรางแบบสอบถาม (Query) 2.1 ความหมายและชนิดของแบบสอบถาม แบบสอบถาม (Query) หมายถึงแบบที่ใชเรียกดูหรือสอบถามขอมูลจากฐานขอมูลตาม การถามหรือเงื่ อนไขที่ กําหนดไว และสามารถจัดการกับขอมูลเหล านั้น ได โดยไม กระทบกับ โครงสรางของขอมูล ชนิดของแบบสอบถาม มีหลายแบบ ดังนี้ 1. แบบสอบถามแบบใชเลือกขอมูล (Select Query) 2. แบบสอบถามแบบพารามิเตอร (Parameter Query) 3. แบบสอบถามแบบแท็บไขว (Crosstab Query) 4. แบบสอบถามแอกชัน (Action Query) 5. แบบสอบถาม SQL (SQL Query) 2.2 การสรางแบบสอบถามจากตัวชวยสรางแบบสอบถาม แบบสอบถาม (Query) ที่จะสรางนี้จะอยูในกลุมคําสั่งอื่น ๆ ของแท็บเครื่องมือสราง โดยมีขั้นตอนในการสราง ดังตอไปนี้ 2.1.1 การสรางแบบสอบถามจากตัวชวยสรางแบบสอบถามอยางงาย ที่แท็บสรางกลุมคําสั่งอื่น ๆ คลิกปุมตัวชวยสรางแบบสอบถาม จะเปดแผนงาน การสรางแบบสอบถาม ที่มี 4 รายการ คือ 1. ตัวชวยสรางแบบสอบถามอยางงาย 2. ตัวชวยสรางแบบสอบถามแบบตาราง 3. ตัวชวยสรางแบบสอบถามแบบคนหารายการที่ซ้ํา 4. ตัวชวยสรางแบบสอบถามการคนหาขอมูลที่ไมตรงกัน มีขั้นตอนการสรางแบบสอบถามอยางงาย ดังตอไปนี้ 2.1.1.1 คลิกเลือกรายการตัวชวยสรางแบบสอบถามอยางงาย คลิกตกลง รูปที่ 4-12 เลือกรายการตัวชวยสรางแบบสอบถามอยางงาย
  • 9. 4-9 รูปที่ 4-13 ใหเลือกรายการตัวชวยสรางแบบสอบถามอยางงาย ที่กลองโตตอบการสรางแบบสอบถาม 2.1.1.2 คลิกเลือกตารางจากรายการตาราง/แบบสอบถาม ซึ่งจะเรียกเขต ขอมูลของตารางนั้นมาไวในชองดานซาย ใหคลิกเลือกเขตขอมูลที่ตองการสรางแบบสอบถาม แลว คลิกปุมเครื่องหมายเพิ่มทีละรายการ (>) หรือคลิกเพิ่มทั้งหมด (>>) หากตองการเอารายการที่ได เลือกไปแลวออก ใหคลิกปุมเครื่องหมายเอาออกทีละรายการ(<) หรือคลิกเอาออกทั้งหมด (<<) รูปที่ 4-14 การเพิ่มเขตขอมูลทีละรายการ
  • 10. 4-10 รูปที่ 4-15 การเอาเขตขอมูลออกทั้งหมด รูปที่ 4-16 การเปลี่ยนตารางและเขตขอมูลจากตารางขอมูลนักศึกษาเปนตารางวิชา
  • 11. 4-11 รูปที่ 4-17 การเลือกเขตขอมูลจากทั้งตารางวิชาและตารางขอมูลนักศึกษา 2.1.1.3 ตัวเลือกแบบสอบถามที่แสดงรายละเอียดหรือแบบสรุป ใหคลิก เลือกตัวเลือกที่ตองการ คลิกปุมถัดไป แลวตั้งชื่อแบบสอบถาม คลิกปุมเสร็จสิ้น รูปที่ 4-18 การเลือกแบบสอบถามเปนรายละเอียด
  • 12. 4-12 รูปที่ 4-19 ตั้งชื่อแบบสอบถามวาวิชาQuery รูปที่ 4-20 ผลลัพธแบบสอบถามวิชาQuery ที่แสดงรายละเอียด 2.1.2 การสรางแบบสอบถามจากตัวชวยสรางแบบสอบถามแบบตาราง 2.1.2.1 คลิกเลือกรายการตัวชวยสรางแบบสอบถามแบบตาราง คลิกปุม ตกลง รูปที่ 4-21 เลือกรายการตัวชวยสรางแบบสอบถามแบบตาราง
  • 13. 4-13 2.1.2.2 คลิกเลือกมุมมองตาราง แบบสอบถาม หรือทั้งสองอยาง แลวจึง คลิกเลือกชื่อที่จะนําเขตขอมูลมาใชทําแบบสอบถาม แลวคลิกปุมถัดไป รูปที่ 4-22 เลือกตารางที่จะนํามาสรางแบบสอบถามแบบตาราง 2.1.2.3 คลิกเลือกเขตขอมูลที่มีอยูจากดานซายไปดานขวา เพื่อจัดทํา ตารางแบบสอบถาม แลวคลิกปุมถัดไป รูปที่ 4-23 เลือกเขตขอมูลที่จะนํามาสรางแบบสอบถามแบบตาราง
  • 14. 4-14 2.1.2.4 คลิ ก เลื อ กเขตข อ มู ล ที่ จ ะใช ทํ า ส ว นหั ว คอลั ม น แล ว คลิ ก ปุ ม ถัดไป รูปที่ 4-24 เลือกเขตขอมูลที่จะนํามาทําสวนหัวคอลัมน 2.1.2.5 คลิกเลือกเขตขอมูลที่จะนํามาใชในการคํานวณแตละจุดตัดของ แถวและคอลัมน แลวคลิกปุมถัดไป รูปที่ 4-25 เลือกเขตขอมูลที่จะนํามาใชคํานวณทีจุดตัดแถวและคอลัมน ่
  • 15. 4-15 2.1.2.6 Access 2007 จะกําหนดชื่อแบบสอบถามใหมา ถาไมตองการก็ เปลี่ยนชื่อไดเลย แตถาตองการ ก็คลิกปุมเสร็จสิ้น นอกจากนี้ยังสามารถปรับเปลี่ยนมุมมองเปนดู แบบสอบถามในมุมมองตารางหรือปรับเปลี่ยนแบบสอบถามจากมุมมองออกแบบไดอีกดวย รูปที่ 4-26 ตั้งชื่อใหกับแบบสอบถามและตองการใหแสดงผลลัพธแบบใด รูปที่ 4-27 ผลลัพธแบบสอบถามแสดงในมุมมองตาราง
  • 16. 4-16 2.1.3 การสรางแบบสอบถามจากตัวชวยสรางแบบสอบถามเพื่อคนหารายการที่ซ้ํา 2.1.3.1 คลิกเลือกรายการตัวชวยสรางแบบสอบถามเพื่อคนหารายการที่ ซ้ํา แลวคลิกปุมตกลง รูปที่ 4-28 เลือกรายการตัวชวยสรางแบบสอบถามเพื่อคนหารายการที่ซา ้ํ 2.1.3.2 คลิกเลือกมุมมองตาราง แบบสอบถาม หรือทั้งสองอยาง แลวจึง คลิกเลือกชื่อที่จะนําเขตขอมูลมาใชทําแบบสอบถาม แลวคลิกปุมถัดไป รูปที่ 4-29 เลือกแบบสอบถามขอมูลนักศึกษาQuery
  • 17. 4-17 2.1.3.3 คลิกเลือกเขตขอมูลที่คิดวาซ้ํากันมีอยูจากดานซายไปดานขวา เพื่อจัดทําตารางแบบสอบถาม แลวคลิกปุมถัดไป รูปที่ 4-30 เลือกเขตขอมูลที่คิดวาซ้ํากันทีจะนํามาสรางแบบสอบถาม ่ 2.1.3.4 คลิ ก เลื อ กเขตข อ มู ล ที่ ต อ งการแสดงในแบบสอบถามจาก ดานซายไปดานขวา แลวคลิกปุมถัดไป รูปที่ 4-31 เลือกเขตขอมูลที่จะนํามาทําสวนหัวคอลัมน 2.1.3.5 Access 2007 จะกําหนดชื่อแบบสอบถามใหมา ถาไมตองการก็ เปลี่ยนชื่อไดเลย แตถาตองการ ก็คลิกปุมเสร็จสิ้น นอกจากนี้ยังสามารถปรับเปลี่ยนมุมมองเปนดู แบบสอบถามในมุมมองตารางหรือปรับเปลี่ยนแบบสอบถามจากมุมมองออกแบบไดอีกดวย
  • 18. 4-18 รูปที่ 4-32 ตั้งชื่อใหกับแบบสอบถามและตองการใหแสดงผลลัพธแบบใด 2.1.3.6 ใสคาพารามิเตอรขอมูลนักศึกษา แลวคลิกปุมตกลง รูปที่ 4-33 ใสคาพารามิเตอรขนาดเขตขอมูลไมเกิน 30 ตัวอักษร รูปที่ 4-34 ผลลัพธแบบสอบถามแสดงคาวุฒิการศึกษาและเมืองที่ซ้ํากันในมุมมองตาราง
  • 19. 4-19 2.1.4 การสรางแบบสอบถามจากตัวชวยสรางแบบสอบถามการคนหาขอมูลที่ไม ตรงกัน 2.1.4.1 คลิกเลือกรายการตัวชวยสรางแบบสอบถามการคนหาขอมูลที่ ไมตรงกัน แลวคลิกปุมตกลง รูปที่ 4-35 เลือกรายการตัวชวยสรางแบบสอบถามการคนหาขอมูลที่ไมตรงกัน 2.1.4.2 คลิกเลือกมุมมองตาราง แบบสอบถาม หรือทั้งสองอยาง แลวจึง คลิกเลือกชื่อที่จะนําเขตขอมูลมาใชทําแบบสอบถาม แลวคลิกปุมถัดไป รูปที่ 4-36 เลือกแบบสอบถามขอมูลนักศึกษาQuery
  • 20. 4-20 2.1.4.3 คลิกเลือกมุมมองตาราง แบบสอบถาม หรือทั้งสองอยาง แลวจึง คลิกเลือกชื่อที่จะนําเขตขอมูลที่เกี่ยวของที่จะนํามาใชทําแบบสอบถาม แลวคลิกปุมถัดไป รูปที่ 4-37 เลือกตารางบัตรลงทะเบียน 2.1.4.4 คลิกเลือกเขตขอมูลที่ตรงกันทั้งดานซายและดานขวา แลวคลิก ปุม < = >และคลิกปุม ถัดไป รูปที่ 4-38 เลือกเขตขอมูลที่ตรงกัน
  • 21. 4-21 2.1.4.5 คลิ ก เลื อ กเขตข อ มู ล ที่ ต อ งการแสดงในแบบสอบถามจาก ดานซายไปดานขวา แลวคลิกปุมถัดไป รูปที่ 4-39 เลือกเขตขอมูลที่ตองการแสดงในแบบสอบถาม 2.1.4.6 Access 2007 จะกําหนดชื่อแบบสอบถามใหมา ถาไมตองการก็ เปลี่ยนชื่อไดเลย แตถาตองการ ก็คลิกปุมเสร็จสิ้น นอกจากนี้ยังสามารถปรับเปลี่ยนมุมมองเปนดู แบบสอบถามในมุมมองตารางหรือปรับเปลี่ยนแบบสอบถามจากมุมมองออกแบบไดอีกดวย รูปที่ 4-40 ตั้งชื่อใหกับแบบสอบถามและตองการใหแสดงผลลัพธแบบใด
  • 22. 4-22 2.1.4.7 ใสคาพารามิเตอรขอมูลนักศึกษา แลวคลิกปุมตกลง รูปที่ 4-41 ใสคาพารามิเตอรขนาดเขตขอมูลไมเกิน 30 ตัวอักษร รูปที่ 4-42 ผลลัพธแบบสอบถามแสดงวาไมมีคาขอมูลที่ไมตรงกันในมุมมองตาราง 2.3 การสรางแบบสอบถามจากออกแบบแบบสอบถาม 2.3.1 เริ่มตนการสรางแบบสอบถามจากออกแบบแบบสอบถาม ที่ แ ท็ บ สร า งกลุ ม คํ า สั่ ง อื่ น ๆ คลิ ก ปุ ม ออกแบบแบบสอบถาม จะเป ด หนาตางมุมมองออกแบบแผนงานแสดงตาราง รูปที่ 4-43 เลือกรายการออกแบบแบบสอบถาม
  • 23. 4-23 2.3.2 การเลือกตารางที่จะนําเขตขอมูลมาใชในแบบสอบถาม ที่ ห น า ต า งมุ ม มองออกแบบ แผ น งานแสดงตาราง เลื อ กแท็ บ ตาราง แบบสอบถาม หรือทั้งสองอยาง แลวคลิกเลือกชื่อรายการ คลิกปุมเพิ่ม จนครบแลวคลิกปุมปด รูปที่ 4-44 เลือกชื่อตารางที่ตองการทําเขตขอมูลแบบสอบถาม รูปที่ 4-45 เลือกชื่อตารางที่ตองการทําเขตขอมูลแบบสอบถามครบแลว 2.3.3 การเลือกเขตขอมูลจากตารางมาใชในแบบสอบถาม ที่หนาตางมุมมองออกแบบ ดับเบิลคลิกเลือกชื่อเขตขอมูลจากแตละตาราง โดยเรียงลําดับชื่อจากซายไปขวาที่ตองการนํามาแสดงในแบบสอบถาม
  • 24. 4-24 รูปที่ 4-46 เลือกชื่อเขตขอมูลที่ตองการทําแบบสอบถามจากแตละตารางจนครบ 2.3.4 การบันทึกแบบสอบถาม ที่หนาตางมุมมองออกแบบ คลิกปุมบันทึก แลวตั้งชื่อแบบสอบถาม เสร็จ แลวคลิกปุมตกลง จะไดผลลัพธแบบสอบถามในมุมมองตารางตามเขตขอมูลที่ไดเลือกไว รูปที่ 4-47 บันทึกชื่อแบบสอบถามวา ลงทะเบียนQuery
  • 25. 4-25 รูปที่ 4-48 ผลลัพธแบบสอบถามลงทะเบียนQuery 2.4 การเรียงลําดับ การกรอง และการคํานวณแบบสอบถามจากมุมมองตาราง เราสามารถจัดการใชประโยชนจากฐานขอมูล ที่กลุมคําสั่งเรียงลําดับและกรองได รูปที่ 4-49 กลุมคําสั่งเรียงลําดับและกรอง 2.4.1 การเรียงลําดับเขตขอมูลแบบสอบถาม จากตารางแบบสอบถามวิชาQuery ที่หนาตางแบบสอบถาม แท็บหนาแรก คลิกเลือกฟลดรายการที่จะใหเรียงลําดับ แลวจึงคลิกปุมเรียงลําดับจากนอยไปหามากหรือจากมาก ไปหานอย ในกลุมคําสั่งเรียงลําดับและกรอง หรือคลิกซาย หรือคลิกขวาที่รายการก็ได
  • 26. 4-26 รูปที่ 4-50 เลือกฟลดรายการที่ตองการเรียงลําดับ แลวคลิกปุมเรียงลําดับจากนอยไปหามาก รูปที่ 4-51 คลิกซาย หรือคลิกขวาที่ฟลดรายการที่ตองการเรียงลําดับ จะเรียกเมนูออกมา
  • 27. 4-27 รูปที่ 4-52 ผลลัพธที่ไดจากการเรียงลําดับจากนอยไปหามากของฟลดรหัสนักศึกษา 2.4.2 การกรองเขตขอมูลแบบสอบถาม จากตารางแบบสอบถามวิชาQuery ที่หนาตางแบบสอบถาม แท็บหนาแรก คลิกเลือกฟลดรายการที่จะใหเรียงลําดับ แลวจึงคลิกปุมตัวกรอง ในกลุมคําสั่งเรียงลําดับและกรอง หรือคลิกซายที่ฟลดรายการก็ได จะมีแผนรายการ และสามารถเลือกตัวกรองขอความ หรือใชคลิก ถูกหนาชองเช็คในรายการที่มีก็ได ในที่นี้จะกรองรหัสวิชา 1204-1304
  • 28. 4-28 รูปที่ 4-53 คลิกปุมตัวกรอง หรือคลิกซายที่ฟลดรายการรหัสวิชา รูปที่ 4-54 ผลลัพธจากการฟลดรายการรหัสวิชา 1204-1304 การใชตัวกรองสวนที่เลือก ในกลุมคําสั่งเรียงลําดับและกรอง เมื่อคลิกเลือก เซลลรายการแลว ใหคลิกปุมสวนที่เลือก ในกลุมคําสั่งเรียงลําดับและกรอง จะมีรายการใหเลือก ใน ที่นี้ใหคลิกเลือกเซลลรหัสวิชา 1204-1304 แลวคลิกปุมสวนที่เลือก จะมีรายการ 4 รายการ คือ
  • 29. 4-29 รูปที่ 4-55 รายการของปุมสวนที่เลือกฟลดรายการรหัสวิชา 1204-1304 รูปที่ 4-56 ผลลัพธจากการกรองฟลดรายการรหัสวิชา 1204-1304ไมเทากับ “1204-1304” การใชตัวกรองขั้นสูง ในกลุมคําสั่งเรียงลําดับและกรอง เมื่อคลิกปุมขั้นสูง ในกลุมคําสั่งเรียงลําดับและกรอง จะมีรายการใหเลือก ลางตัวกรองทั้งหมด กรองตามฟอรม ใชตัว กรอง/เรียงลําดับ ตัวกรอง/เรียงลําดับขั้นสูง ในที่นี้ใหคลิกเลือกรายการกรองตามฟอรม เลือก รายการรหัสวิชา 1204-1304 แลวเลือกปุมสลับตัวกรอง จะไดผลลัพธ เทากับ “1204-1304”
  • 30. 4-30 รูปที่ 4-57 รายการของปุมขั้นสูง รูปที่ 4-58 การใชกรองตามฟอรม เลือกรายการ 1204-1304 แลวใชตวกรอง/เรียงลําดับหรือปุมสลับ ั ตัวกรอง
  • 31. 4-31 รูปที่ 4-59 การใชกรองตามฟอรม เลือกรายการ 1204-1304 แลวใชตวกรอง/เรียงลําดับขั้นสูง ั จากตารางแบบสอบถามลงทะเบียนQuery การใชตัวกรองขั้นสูง ในกลุมคํา สั่งเรียงลําดับและกรอง เมื่อตองการหาการลงทะเบียนที่มีคาลงทะเบียนตั้งแต 750 บาทเปนตนไป รูปที่ 4-60 การใชตัวกรอง/เรียงลําดับขั้นสูง
  • 32. 4-32 รูปที่ 4-61 การใชตัวกรอง/เรียงลําดับขั้นสูง กรองคาลงทะเบียนตั้งแต 750 บาท รูปที่ 4-62 ผลลัพธจากการใชตัวกรองขั้นสูง
  • 33. 4-33 2.4.3 การคํานวณเขตขอมูลแบบสอบถาม ที่หนาตางแบบสอบถาม แท็บหนาแรก เลื่อนแถบเลื่อนมาที่ระเบียนขอมูล ทายสุด แลวคลิกปุมคําสั่งผลรวมในกลุมคําสั่งระเบียน จะไดขอความผลรวมที่ใตระเบียนสุดทาย คอลัมนแรก เมื่อคลิกเปดรายการดู สามารถที่จะเปลี่ยนขอความเปนสูตรคาเฉลี่ย จํานวน คาสูงสุด คาต่ําสุด คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน และคาความแปรปรวน แตเมื่อคลิกเปดรายการใตคอลัมนที่เปน ขอความอื่น ๆ จะมีเพียงรายการไมมีกับจํานวนเทานั้น สําหรับผลลัพธของสูตร ใหคลิกที่เซลลใต ระเบียนของคาลงทะเบียน (Price) จะมีรายการสูตรคาเฉลี่ย จํานวน คาสูงสุด คาต่ําสุด คาเบี่ยงเบน มาตรฐาน และคาความแปรปรวน ใหคลิกเลือกรายการที่ตองการทราบ โดยใหตรงกับขอความสูตร ดานหนาดวย รูปที่ 4-63 คําสั่งผลรวมในกลุมคําสั่งระเบียน จะไดขอความผลรวมที่ใตระเบียนสุดทายคอลัมนแรก รูปที่ 4-64 รายการขอความผลรวมที่ใตระเบียนสุดทายคอลัมนแรก สามารถปรับเปลี่ยนได
  • 34. 4-34 รูปที่ 4-65 รายการขอความทีใตระเบียนสุดทายคอลัมนอื่น ๆ ่ รูปที่ 4-66 รายการสูตรตาง ๆ ที่ใตระเบียนสุดทายคอลัมนของคาลงทะเบียน รูปที่ 4-67 ผลลัพธจากการคํานวณเมื่อเลือกรายการสูตรผลรวม ที่ใตระเบียนสุดทายคอลัมนของคาลงทะเบียน กิจกรรม 1. ใหนักศึกษาทําความเขาใจเกี่ยวกับความสัมพันธของตาราง 2. ครูผูสอนสาธิตการสรางแบบสอบถามในแบบตาง ๆ การเรียงลําดับ ตัวกรอง และ สรุปสูตรคํานวณ 3. ใหนักศึกษาฝกปฏิบัติการสรางแบบสอบถามในแบบตาง ๆ การเรียงลําดับ ตัวกรอง และสรุปสูตรคํานวณ 4. ครูผูสอนและนักศึกษารวมกันอภิปรายสรุปผลที่ได/ปญหาที่เกิดขึ้น
  • 35. 4-35 แบบประเมินผล คําสั่ง ใหเลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ปุมคําสั่งความสัมพันธ บนแท็บเครื่องมือ Ribbon ชื่ออะไร ก. หนาแรก ข. สราง ค. ขอมูลภายนอก ง. เครื่องมือฐานขอมูล 2. จากรูปเปนความสัมพันธแบบใด ก. หนึ่งตอหนึ่ง ข. หนึ่งตอกลุม ค. กลุมตอหนึ่ง ง. กลุมตอกลุม 3. จากรูปขอ 2 เปนมุมมองแบบใด ก. มุมมองปกติ ข. มุมมองเคาโครง ค. มุมมองตาราง ง. มุมมองออกแบบ 4. จากรูปเปนความสัมพันธแบบกลุมตอกลุมคือตารางใด ก. บัตรลงทะเบียน ข. รายการลงทะเบียน ค. วิชา ง. ครูผูสอน
  • 36. 4-36 5. ขอใดเปนปุมคําสั่งที่ใชในการสรางแบบสอบถามจากแท็บสราง ก. ออกแบบแบบสอบถาม ข. แบบสอบถามแยก ค. แบบสอบถามเปลา ง. แบบสอบเพิ่มเติม 6. ตัวชวยสรางแบบสอบถามขอใดไมใชการสรางแบบสอบถาม ก. ตัวชวยสรางแบบสอบถามแบบงาย ข. ตัวชวยสรางแบบสอบถามแบบตาราง ค. ตัวชวยสรางแบบสอบเพื่อคนหารายการที่ซ้ํา ง. ตัวชวยสรางแบบสอบการคนหาขอมูลที่ตรงกัน 7. จากรูปเปนตัวชวยสรางแบบสอบถามขอใด ก. ตัวชวยสรางแบบสอบถามแบบงาย ข. ตัวชวยสรางแบบสอบถามแบบตาราง ค. ตัวชวยสรางแบบสอบเพื่อคนหารายการที่ซ้ํา ง. ตัวชวยสรางแบบสอบการคนหาขอมูลที่ตรงกัน 8. ขอใดกลาวถูกตองถึงการเลือกเขตขอมูลในการสรางแบบสอบถาม ก. เลือกไดจากตารางอยางเดียวเทานั้น ข. เลือกไดจากแบบสอบถามอยางเดียวเทานัน้ ค. เลือกไดทั้งจากตารางและแบบสอบถาม ง. เลือกแลวแกไขไมไดเลย
  • 37. 4-37 9. จากรูปเปนการทํางานอะไร ก. เรียงลําดับ A-Z ข. เรียงลําดับ Z-A ค. กรองตามฟอรม ง. ตัวกรอง/เรียงลําดับขั้นสูง 10. จากรูปเปนการทํางานอะไร ก. เรียงลําดับ A-Z ข. เรียงลําดับ Z-A ค. กรองตามฟอรม ง. ตัวกรอง/เรียงลําดับขั้นสูง