SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 18
Baixar para ler offline
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๓
กลุ่มสาระ สั งคมศึกษา      ชื่อหน่ วย:ธรรมชาติเปลียนแปลงคน สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
                                                  ่
ศาสนา และวัฒนธรรม          เปลียนไปของทวีปยุโรปและแอฟริกา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒
                                ่
ประกอบหน่ วยการเรียนรู้    ชื่อแผน: สภาพแวดล้อมด้ านต่ าง ๆ เวลาเรียน : ๖ ชั่วโมง
ที่ ๒                      และผลกระทบทีมีต่อสิ่ งแวดล้อมของ
                                          ่
                           ทวีปยุโรป
สาระที่ ๕ ภูมศาสตร์
             ิ
มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กบสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการ
                                             ั
สร้างสรรค์วฒนธรรม มีจิตสานึกและมีส่วนร่ วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่ งแวดล้อม เพื่อการ
            ั
พัฒนาที่ยงยืน
         ั่
๑. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
         การเปลี่ยนแปลงประชากร เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม การอนุรักษ์ธรรมชาติและ
สิ่ งแวดล้อม ปั ญหาและผลกระทบเกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อมสิ่ งแวดล้อม ของทวีปยุโรปที่มีต่อประเทศไทย
๒. ตัวชี้วด/จุดประสงค์ การเรียนรู้
          ั
         ๒.๑ ตัวชี้วด  ั
         ส ๕.๒ ม.๒/๑ วิเคราะห์การก่อเกิดสิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคมอันเป็ นผลจากการ
เปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติและทางสังคมของทวีปยุโรปและแอฟริ กา
                   ม.๒/๒ ระบุแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมในทวียโรป     ุ
และแอฟริ กา
                   ม.๒/๓ สารวจ อภิปรายประเด็นปั ญหาเกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อมที่เ กิดขึ้นในทวีปยุโรป
และแอฟริ กา
                   ม.๒/๔ วิเคราะห์เหตุและผลกระทบที่ประเทศไทยได้รับจากการเปลี่ยนแปลงของ
สิ่ งแวดล้อมในทวีปยุโรปและแอฟริ กา
         ๒.๒ จุดประสงค์ การเรียนรู้
                   ๑.วิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางสังคมอันเป็ นผลจากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติของ
ทวีปยุโรปได้
                   ๒.สรุ ปประเด็นปั ญหาสิ่ งแวดล้อม ระบุแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวีปยุโรปได้
๓. สาระการเรียนรู้
๓.๑ สาระการเรียนรู้ แกนกลาง
                  ๑.การเปลี่ยนแปลงประชากร เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของทวีปยุโรปและ
แอฟริ กา
               ๒.การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม และผลกระทบจากการ
เปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมของทวีปยุโรปและแอฟริ กาที่มีต่อประเทศไทย
๔. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
        ๔.๑ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
        ๔.๒ ความสามารถในการคิด
 -                ทักษะการคิดวิเคราะห์
 -                ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ
                                     ิ
 -                ทักษะการคิดสังเคราะห์
        ๔.๓ ความสามารถในการใช้ชีวต     ิ
 -                กระบวนการปฏิบติ ั
 -                กระบวนการกลุ่ม
๕.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
           ๑.มีวนย
                 ิ ั
           ๒.ใฝ่ เรี ยนรู้
           ๓.มุ่งมันในการทางาน
                     ่
๖.รู ปแบบการจัดการเรียนการสอน
        การจัดการเรียนรู้ โดยใช้ การอภิปรายกลุ่มย่ อย
๗. กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ ๑-๒
          ขั้นจัดผู้เรียนเป็ นกลุ่มย่ อย
          ๑.แบ่งนักเรี ยนออกเป็ นกลุ่มย่อย กลุ่มละ ๔-๘ คน โดยใช้วธีจบสลาก แล้วให้สมาชิกกลุ่ม
                                                                 ิ ั
นังตามกลุ่มของตนเองมีการตั้งชื่อกลุ่ ม แต่ละกลุ่มอยูห่างกันพอสมควรเพื่อไม่ให้เสี ยงอภิปรายรบกวน
   ่                                                 ่
กลุ่มอื่น ๆ
          ขั้นกาหนดประเด็นการอภิปราย
          ๒.ครู กาหนดประเด็นการอภิปรายเป็ นหัวข้อดังต่อไปนี้ ให้ตวแทนกลุ่มมาจับฉลากประเด็น
                                                                  ั
หัวข้อของกลุ่ม
-                     การเปลี่ยนแปลงของประชากร เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ของทวีปยุโรป มี
ผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมของทวีปยุโรปใช่หรื อไม่
                     - ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมของทวีปยุโรปมีผลกระทบต่อ
ประเทศไทยหรื อไม่ อย่างไร
                     - ทวีปยุโรปให้ความสาคัญต่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม
มากกว่าการให้ความสาคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจใช่หรื อไม่
          ๓.ให้สมาชิกลุ่มร่ วมกันระดมสมอง สื บค้นข้อมูล เพื่อนาข้อมูล อภิปรายย่อยในกลุ่มของ
ตนเอง
ชั่วโมงที่ ๓-๔
          -ขั้นอภิปราย
          ๔.ครู ช้ ีแนะให้แต่ละกลุ่ม กาหนดบทบาทหน้าที่ให้สมาชิกของกลุ่มเพื่อเข้าสู่ ข้ นอภิปราย คือ
                                                                                       ั
ให้แต่ละกลุ่มเลือกประธานกลุ่ม เลขานุการกลุ่มผูทาหน้าที่จดบันทึกการประชุม ผูอภิปรายคนที่ ๑ ไป
                                                 ้                               ้
จนถึงคนสุ ดท้ายตามลาดับ พร้อมทั้งให้ความรู ้ความเข้าใจ หรื อให้คาแนะนาใ นแต่ละกลุ่มก่อนการ
อภิปราย
          ๕.ดาเนินการอภิปราย โดยประธานกลุ่มเป็ นผูนาการอภิปราย ควบคุมการอภิปรายให้อยูใน
                                                       ้                                        ่
วัตถุประสงค์ของการอภิปราย ให้สมาชิกทุกคนมีโอกาสแสดงออกอย่างทัวถึง ไม่ให้ผหนึ่งผูใด
                                                                          ่              ู้ ้
ผูกขาดการอภิปราย ควรดาเนินการอภิปรายทีละประเด็นให้ครบตามเวลาที่กาหนด ครู เป็ นผูคอยดูแล       ้
ช่วยเหลือให้การอภิปรายดาเนินไปด้วยความเรี ยบร้อย
ชั่วโมงที่ ๕ – ๖
          ขั้นสรุ ปผลการอภิปราย
          ๖.เมื่อสมาชิกทุกกลุ่มดาเนินการอภิปรายเรี ยบร้อยแล้ว เลขานุการกลุ่มต้องสรุ ปผลการ
อภิปรายเพื่อให้ได้คาตอบของประเด็นหัวข้อที่จบฉลากได้
                                               ั
          ๗.แต่ละกลุ่มนาเสนอผลการอภิปรายของกลุ่มเพื่อเป็ นการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้หน้าชั้นเรี ยน
สมาชิกทุกลุ่มร่ วมกันรับฟังและซักถามข้อสงสัย
          ขั้นสรุ ปบทเรียน
          ๘.ครู เชื่อมโยงข้อสรุ ปจากการอภิปรายของแต่ละกลุ่มเข้าสู่ บทเรี ยน สมาชิกกลุ่มหรื อประธาน
กลุ่ม ร่ วมกันสรุ ปบทเรี ยน
          ขั้นประเมินผลการเรียน
          ๙.นักเรี ยนทาใบงานที่ ๓.๑ เรื่ อง
          ๑๐.นักเรี ยนทาแบบทดสอบหลังเรี ยน
๘.การวัดและการประเมินผล
          การประเมินก่อนเรียน
 -                   ทาแบบทดสอบก่อนเรี ยนประจาหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ ๒ ธรรมชาติเปลี่ยนแปลงคน
เปลี่ยนไปของทวีปยุโรป
          การประเมินระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
                    ๑. แบบประเมินการอภิปรายกลุ่ม
                    ๒.แบบประเมินการนาเสนองานหน้าชั้นเรี ยน
                    ๓.แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
          การประเมินผลหลังเรียน
 -                   ทาแบบทดสอบหลังเรี ยนประจาหน่วยการเรี ยนรู้ที่ ๒ ธรรมชาติเปลี่ยนแปลงคน
เปลี่ยนไปของทวีปยุโรปและแอฟริ กา
สื่ อ/แหล่งการเรียนรู้
          สื่ อการเรียนรู้
                    ๑.หนังสื อเรี ยนสังคมศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒
                    ๒.ใบงานที่ ๓.๑ เรื่ องสภาพแวดล้อมด้ านต่ าง ๆ และผลกระทบทีมีต่อสิ่ งแวดล้อม
                                                                              ่
                    ของทวีปยุโรปและแอฟริกา
                    ๓.ใบงานที่ ๓.๒ เรื่ องวิกฤตการณ์สิ่งแวดล้อม
                    ๔.ใบงานที่ ๓.๓ เรื่ องรอบรู้ ปัญหาสิ่ งแวดล้อม
          แหล่ งเรียนรู้
          ๑.ห้องสมุด
          ๒.แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
                    http://www.aksorn.com/Lib/S/Soc_05
                    http://www.tiewroblok.com/
                    http://www.thai.net/lokkongrao/default.htm/
ใบงานที่ ๓.๑
กลุ่มสาระ สั งคมศึกษา                         ชื่อหน่ วย:ธรรมชาติเปลียนแปลงคน       ่                              สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
ศาสนา และวัฒนธรรม                             เปลียนไปของทวีปยุโรปและแอฟริกา
                                                    ่                                                              ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒
รายวิชาสั งคมศึกษา ๔                          ชื่อใบงาน: สภาพแวดล้อมด้ านต่ าง ๆ                                   เวลาเรียน :๗ ชั่วโมง
รหัสวิชา ส๒๒๑๐๑                               และผลกระทบทีมีต่อสิ่ งแวดล้อมของ
                                                                        ่
                                              ทวีปยุโรปและแอฟริกา
                      ชื่อ.................................................................ชั้ น..............เลขที่.....................
ตอนที1ให้นกเรี ยนสื บค้นข้อมูลจาก http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet6/envi3/en-sakol/sakoln.htm
          ่         ั
แล้วตอบคาถามต่อไปนี้โดยละเอียด
๑.สิ่ งแวดล้อมเป็ นพิษหมายถึง..................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
๒.มูลเหตุของการเกิดสิ่ งแวดล้อมเป็ นพิษมีดงต่อไปนี้                   ั
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
๓.สารมลพิษหมายถึง...............................................................................................................................
                              ่
๔.สารมลพิษที่อยูในสถานะก๊าซได้แก่....................................................................................................
                                ่
๕.สารมลพิษที่อยูในสถานะของเหลวได้แก่............................................................................................
                            ่
๖.สารมลพิษที่อยูในสถานะของแข็งได้แก่...............................................................................................
๗.ชั้นบรรยากาศที่ห่อหุ มโลกมีประโยชน์คือ..........................................................................................
                                     ้
.................................................................................................................................................................
๘.เมื่อโลกร้อนขึ้นจะมีผลกระทบต่อมนุษย์อย่างไรบ้าง ตอบเป็ นข้อ ๆ
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
๒
๙.การควบคุมมลพิษที่ทาให้โลกร้อนขึ้นสามารถทาได้ดวยวิธีการดังต่อไปนี้                     ้
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
ตอนที่ ๒ ให้นกเรี ยนหาคาตอบใน http://environnet.in.th/formal_data2.php?id=674 แล้วเติมคาใน
                        ั
ช่องว่างให้ได้ใจความสมบูรณ์
๑.ยุโรปได้เพิ่มพื้นที่อนุรักษ์อีก ๑๐ ล้านเฮกแตร์ ตั้งแต่ ปี คศ……… อย่างไรก็ตามมีการ
ประมาณว่า ..... ๕๒ เปอร์เซนต์ ................ ๔๕ เปอร์เซนต์ และ...................................... อีก ๔๒
                           ่
เปอร์ เซนต์ ยังอยูในสภาวะเสี่ ยงภัย
๒.มีการนาน้ าใต้ดินมาใช้เกือบ ๖๐ เปอร์ เซนต์ของน้ าใต้ดินที่มีอยู่ เพื่อ..................................................
………………………………………………………………………………………………………
๓.กว่า ๘๖ เปอร์ เซนต์ของพื้นที่ชายฝั่งด้านตะวันตกของทวีปยุโรป จัดว่าเป็ นพื้นที่ที่มีความเสี่ ยงสู งต่อ
การสู ญเสี ยทางด้าน.................... ทั้งนี้เนื่องมาจากมีการพัฒนาชายฝั่งเพื่อธุ รกิจและการพาณิ ชย์เพิ่มมาก
ขึ้น
๔.ยุโรปเป็ นเขตที่มีการปลดปล่อยสารพิษออกสู่ บรรยากาศเป็ นปริ มาณมาก ดังนั้นนโยบายเร่ งด่วนใน
การแก้ปัญหาสิ่ งแวดล้อมของยุโรปตอนกลางและด้านตะวันตก จะเน้นไปที่.........................................
………………………………………………………………………………………………………….
๕.ประชากรในทวีปยุโรปจะสร้างของเสี ยเฉลี่ยคนละ............ ถึง .................. กิโลกรัมต่อปี
๖. ถ้าน้ าแข็งในเขตแอนตาร์ คติคละลาย ระดับน้ าทะเลจะเพิ่มสู งขึ้นไม่นอยกว่า ...................... เมตร          ้

                                                      *****************************
ใบงานที่ ๓.๒
กลุ่มสาระ สั งคมศึกษา ชื่อหน่ วย:ธรรมชาติเปลียนแปลงคน                     ่                              สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
ศาสนา และวัฒนธรรม เปลียนไปของทวีปยุโรปและแอฟริกา
                                          ่                                                              ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒
รายวิชาสั งคมศึกษา ๔                ชื่อใบงาน: วิกฤตการณ์สิ่งแวดล้อม                                     เวลาเรียน : ๖ ชั่วโมง
รหัสวิชา ส๒๒๑๐๑
              ชื่อ.................................................................ชั้ น..............เลขที่.....................
คาสั่ ง ให้นกเรี ยนอ่านบทความต่อไปนี้แล้ววิเคราะห์พร้อมกับแสดงความคิดเห็นที่มีต่อบทความนี้ ใน
            ั
ประเด็นวิกฤตการณ์สิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวีปยุโรปและทวีปแอฟริ กาคืออะไร มีความเหมือนหรื อ
แตกต่างกันอย่างไร พร้อมกับแผนการแก้ปัญหาดังกล่าวที่ได้ทาแล้ว โดยการระดมสมองของกลุ่ม




                                                   สภาวะเรื อนกระจก

          ท้องฟาล่มสลายการรวมตัวกันอย่างหนาแน่ นของแก๊ส จากการอุตสาหกรรม และควันพิษที่
               ้
เกิดขึ้นในอากาศที่เราหายใจเข้าไปได้สั่งสมเพิ่มพูนสู งถึงบรรยากาศชั้นบน สิ่ งเหล่านี้ได้ก่อให้เกิด
วิกฤตการณ์พร้ อมกันถึง 3 วิกฤตการณ์ อันได้แก่ ฝนตกกรด ชั้นโอโซนถูกทาลาย และเกิดอากาศร้อน
ขึ้นทัวทั้งโลก หรื อเป็ นตัวอาการก่อให้เกิด "ปรากฏการณ์เรือนกระจก" แต่ละอย่างที่กล่าวมาแล้วนั้น
       ่
สามารถก่อให้เกิดผลที่เป็ นอันตรายต่อสิ่ งมีชีวต จนทาให้ถึงตายได้ ยิงเมื่อทั้ง 3 วิกฤตการณ์ มารวมกัน
                                              ิ                      ่
แล้วสามารถคุกคามโลกได้มากเท่า ๆ กับสงครามนิวเคลียร์ เลยทีเดียว วิกฤตการณ์ฝนกรด การทาลาย
ชั้นโอโซน และอากาศที่ร้อนขึ้นทัวทั้งโลก ทั้ง 3 วิกฤตการณ์ เป็ นที่รู้จกกันดีที่สุด และได้รับการ
                                   ่                                   ั
ยอมรับอย่างกว้างขวางที่สุดในบรรดาปั ญหาสิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึ้นทั้งหมด แม้กระทังชื่อของก๊าซซึ่ ง
                                                                                    ่
ก่อให้เกิดปั ญหาเหล่านี้ยงเป็ นชื่ อที่คุนเคยกันในหมู่ประชาชนทัวไป อันได้แก่ ซัลเฟอร์ ไดอ๊อกไซด์
                                  ั         ้                        ่
ไนโตรเจนออกไซด์ คาร์ บอนไดออกไซด์ และคลอโรฟลูโอโรคาร์ บอน (CFCs)ทว่าปั ญหาเหล่านี้ได้
ขยายตัวอย่างรวดเร็ วจนน่ากลัว ขณะที่เมื่อ 10 ปี ก่อน นักวิทยาศาสตร์ ส่วนใหญ่ไม่มีใครเสนอเรื่ องนี้
เลย ซ้ ากลับปฏิเสธเสี ยอีก แต่ปัจจุบนกลับกลายเป็ นความจริ งอันน่าสะพรึ งกลัว ซึ่ งเหตุการณ์บ่งชี้วา
                                          ั                                                               ่
                  ่
ระบบความอยูรอดแห่งชีวตของโลกกาลังประสบกับภัยพิบติ และจาเป็ นอย่างยิงที่จะต้องรี บแก้ไข
                                    ิ                            ั                  ่
ก่อนที่ระบบเหล่านี้จะเสื่ อมโทรม
             มลพิษที่เกิดกับชั้นบรรยากาศ สอนเราให้รู้ถึงข้อเท็จจริ ง เรื่ อง ความผูกพันเป็ นหนึ่งอัน
เดียวกันทางชีววิทยา การทาลายส่ วนใดส่ วนหนึ่งย่อมมีผลกระทบต่อส่ วนอื่น ๆ เสมอ เนื่องจากสรรพ
ชีวตมีความเกี่ยวโยง และต้องพึ่งพาอาศัยกันและกัน ราวกับสายใยของเนื้อเยือที่เชื่อมโยงกันและกัน
    ิ                                                                            ่
การทาลายป่ าเขตร้อนเป็ นอุทาหรณ์ในเรื่ องนี้ได้อย่างดี เมื่อป่ าถูกเผาผลาญ ก๊าซพิษจะค่อย ๆ ถูกสร้าง
ขึ้นในชั้นบรรยากาศนาไปสู่ การเกิดอากาศร้อนขึ้นทัวทั้งโลก และทาให้ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง ซึ่งทา
                                                        ่
ให้ป่าไม้ถูกทาลายมากขึ้นกว่าเดิม ส่ งผลให้เกิดความแห้งแล้งและอุทกภัย อีกทั้งการกัดเซาะดินเกิดเร็ ว
ขึ้น และการเกิดทะเลทรายก็ได้แผ่ขยายออกไปอย่างรวดเร็ ว ตลอดจนพืชพันธุ์ธญญาหารเก็บเกี่ยวไม่
                                                                                      ั
ได้ผลเท่าที่ควร ขณะที่พนธุ์พืชและพันธุ์สัตว์ตองสู ญพันธุ์มากขึ้นทุกที ความหายนะแต่ละประการนี้มี
                                ั                  ้
ความเกี่ยวโยงซึ่ งกันและกัน และเป็ นปั จจัยให้กนไม่มีสิ่งใดสามารถเกิดขึ้นได้ตามลาพังโดดเดี่ ยว
                                                     ั
การเผาไหม้ เชื้อเพลิงฟอสซิล (ถ่ านหิน นามัน และแก๊ส) เพือใช้ ผลิตพลังงานอย่างมหาศาลในโลก
                                              ้                ่
สมัยใหม่ เป็ นสาเหตุสาคัญทีทาให้ ฝนเป็ นกรด ซึ่งผลที่ตามมา คือ ป่ าและทะเลสาบถูกทาลาย
                                      ่
ทะเลสาบหลายหมื่นแห่งในยุโรป และอเมริ กาเหนือต้องมีสภาพเป็ นพิษ เนื่องจากฝนกรดเฉพาะใน
ประเทศสวีเดนประเทศเดียวทาให้ทะเลสาบประมาณ 2,000 แห่ง เกือบไม่มีสิ่งมีชีวตหลงเหลืออยูและ     ิ           ่
ทะเลสาบอีก 15,000 แห่ง มีความเป็ นกรดสู งมากเกินกว่าที่จะเลี้ยงดูค้ าจุนสิ่ งมีชีวตในน้ า นอกจากนี้
                                                                                        ิ
                              ่
แล้ว แม่น้ าบนที่สูงก็อยูในสภาพที่ไม่เหมาะสมสาหรับปลาส่ วนใหญ่ ที่จะดารงชีวต ทุกๆ ปี ปัญหาฝน
                                                                                          ิ
                          ่
กรด ได้แผ่กระจายอยูทางใต้ไปยังเขตทะเลเมดิเตอร์ เรเนียน และแพร่ ไปยังทางใต้และทางตะวันตก
ของสหรัฐอเมริ กาในขณะเดียวกัน การทาลายป่ าไม้้ ก็ดาเนินมาถึงจุดหายนะแล้ว ป่ าไม้กว่าครึ่ งใน
ประเทศเยอรมนี สวิสเซอร์ แลนด์ และเนเธอร์ แลนด์ ขณะนี้ได้ตายไป หรื ออาจกาลังจะตายอยูรอมร่ อ          ่
                                        ่
ขณะที่พ้ืนที่เขตภูเขาซึ่ งตั้งอยูระหว่างประเทศเชคโกสโลวาเกีย และเยอรมนีตะวันออกเกิดมลพิษอย่าง
หนัก และได้รับฉายาว่าเป็ น "ป่ าช้าต้นไม้แห่งใหญ่" ในยุโรปทัวทั้งหมดและเลยไปจนถึงรัสเซี ย พื้นที่
                                                                   ่
ป่ าไม้ซ่ ึ งมีขนาดเท่ากับเยอรมนีตะวันตกต้องได้รับพิษจากฝนกรดเมื่อป่ าไม้ตายไปก็ได้เกิดผลตามมา
อย่างฉับพลัน ซึ่ งมีไม่กี่คนที่มองเห็นล่วงหน้า การสู ญเสี ยป่ าไม้ ในเขตเทือกเขาแอลป์ ได้ นาไปสู่ การ
ทาลายล้ างอย่ างต่ อเนื่องกันเป็ นลูกโซ่ อันได้ แก่ การเกิดหิมะพังทลาย โคลนเลนไหลลืน และนาท่วม่   ้
อย่างฉับพลัน เมื่อไม่ กปีทีผ่านมาก่ อให้ เกิดการสู ญเสี ยชี วตไปมากมาย เมื่อต้นไม้สูญสิ้ นไป ไม่วาจะ
                            ี่ ่                             ิ                                        ่
เป็ นเพราะได้รับพิษจากฝนกรด หรื อจากการตัดไม้ทาลายป่ า ย่อมเป็ นเหตุให้ระดับของก๊าซ
คาร์ บอนไดออกไซด์ค่อย ๆ เพิ่มขึ้นในชั้นบรรยากาศ และแล้ววิกฤตการณ์ที่ 2 ของสิ่ งแวดล้อมก็ได้
เกิดขึ้น นันคือ อากาศร้ อนขึนทัวทั้งโลกผลกระทบอย่างรุ นแรงของการที่โลกมีอุณหภูมิสูงขึ้น ได้
           ่                ้ ่
เกิดขึ้นแล้วนันคือ ทุพภิกขภัย ทียดเยือในรัฐทางตะวันตกกลางและทางใต้ ของอเมริกา ระหว่ างฤดูร้อน
              ่                 ่ื ้
ของปี ค.ศ. 1988 ซึ่ งชาวนาในรัฐเหล่านี้ตองได้รับความทุกข์ทรมานอย่างยิง แต่จากการค้นคว้าวิจยทาง
                                          ้                           ่                     ั
วิทยาศาสตร์ พบว่า อุณหภูมิในชั้นบรรยากาศของโลกจะสู งขึ้นอีก 4.5 องศาเซลเซียส ในกลาง
ศตวรรษหน้า ซึ่ งนาพาความแห้งแล้งมาสู่ เขตเพาะปลูกพืชพันธุ์ธญญาหารเขตอื่น ๆ อันจะเห็นได้
                                                            ั
ชัดเจนในสหภาพโซเวียต ผลกระทบที่ขดแย้งกันเองของอากาศร้อนขึ้นทัวโลกนั้นจะเกิ ดขึ้นกับ
                                        ั                           ่
บางส่ วนของโลก เช่น ประเทศอังกฤษ และยุโรปทางตอนเหนือ ซึ่ งกลับเย็นขึ้น เนื่องจากกระแสน้ าใน
มหาสมุทรเกิดเปลี่ยนทิศทาง และผลผลิตด้านอาหารก็ได้รับความกระทบกระเทือน




                               การละลายของน้ าแข็งขั้วโลก

           ถึงแม้การเปลี่ยนแปลงของอากาศไม่สามารถที่จะพยากรณ์ได้ แต่ระดับน้ าทะเลที่สูงขึ้นย่อม
                        ่
ไหลบ่าท่วมพื้นที่ที่อยูระดับต่ารอบโลกอย่างแน่นอน ประมาณปี ค.ศ. 2050 หรื อบางทีอาจจะเร็ วกว่า
นั้น ถ้าน้ าซึ่ งละลายจากหิ มะที่ปกคลุมขั้วโลกตลอดปี จะทาให้ระดับน้ าทะเลสู งขึ้น ประมาณ 8 ฟุต
                                   ่
และเขตชายฝั่งทะเลจะต้องจมอยูใต้น้ า หรื อยิงไปกว่านั้นอาจจะเป็ นประเทศทั้งประเทศเลยก็ได้
                                              ่
 "มาลดิเวส" ซึ่ งเป็ นหมู่เกาะ ประมาณ 2,000 เกาะ ในมหาสมุทรอินเดียก็จะอันตรธานหายไปในใต้
ทะเล ในขณะเดียวกัน เขตดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ าในเอเชียและตะวันออกกลาง ที่ซ่ ึ งเป็ นแหล่ง
เพาะปลูกข้าวส่ วนใหญ่ของโลกจะสู ญสิ้ นไปประเทศที่เป็ นพื้นที่ต่าและมีประชากรหนาแน่น อย่างเช่น
ประเทศบังคลาเทศ ที่จะต้องเผชิญทั้งปั ญหาน้ าท่วมขนานใหญ่ในฤดูฝน อันเกิดจากการตัดไม้ทาลาย
ป่ าในเทือกเขาหิ มาลัย และการเพิ่มขึ้นของระดับน้ าทะเล ซึ่ งทั้ง 2 เหตุการณ์น้ ีลวนน่าสยดสยองพอ ๆ
                                                                                 ้
กัน และถ้าปราศจากโครงการสร้างเขื่อนป้ องกันน้ า ซึ่ งมีมูลค่ามากกว่างบประมาณการป้ องกันประเทศ
ในปัจจุบนแล้ว ทั้งทางด้านตะวันออกของประเทศอังกฤษ เนเธอร์ แลนด์ เยอรมนี และทางตะวันออก
           ั
                                           ่
ของสหรัฐอเมริ กาก็อาจจะสู ญหายอยูใต้น้ าผลกระทบต่อโลก พันธุ์พืช และสัตว์ป่าก็มีไม่นอยกว่ากัน
                                                                                           ้
พันธุ์พืชและสัตว์จานวนหลายพันชนิดจะถูกกาจัดหมดไป เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของอากาศที่
เกิดขึ้นอย่างฉับพลัน มีเพียงวิกฤตการณ์ในบรรยากาศประการที่ 3 เท่านั้น (ปรากฎการณ์เรื อนกระจก)
ที่มีทีท่าว่าเห็นหนทางแก้ไข ในการประชุมที่เมือง "มอนทรี อล" แคนาดา เมื่อเดือนกันยายน ปี ค.ศ.
                                                             ั
1987 ประเทศอุตสาหกรรม 24 ประเทศ ยินยอมที่จะลดการผลิตคลอโรฟลูโอโรคาร์บอน และก๊าซที่ใช้
พ่นละอองสเปรย์ (ซึ่ งมีผลทาให้ช้ นโอโซนถูกทาลาย) ให้เหลือเพียงครึ่ งเดียวในปี ค.ศ. 1999 ตั้งแต่น้ น
                                        ั                                                           ั
เป็ นต้นมา ซึ่ งก็ได้ปกป้ องสิ่ งมีชีวตทั้งหมดจากอันตรายของรังสี อุลตร้าไวโอเลต ถ้าเมื่อไรชั้นโอโซน
                                      ิ
ถูกทาลายจนหมดสิ้ นไป เมื่อนั้นจะเกิดผลพินาศย่อยยับติดตามมาเป็ นลูกโซ่ นอกจากนี้ยงรวมไปถึงั
อันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นกับหน่วยพันธุ กรรมของพืชและสัตว์ และการเกิดมะเร็ งผิวหนังในมนุษย์ดวย       ้
เราจะต้องกระทาการเพื่อให้เกิดความร่ วมมือกันทัวทั้งโลก ในอันที่จะปกป้ องชั้นบรรยากาศของโลก
                                                    ่
และรณรงค์ลดมลพิษในชั้นบรรยากาศที่เกิดขึ้นทุกรู ปแบบอย่างเร่ งด่วน ทุกคนจะต้ องได้ รับการ
แนะนาถึงวิธีการทีพวกเราแต่ ละคน จะช่ วยเหลือกันทาให้ อากาศบริสุทธิ์
                     ่

        แอฟริกากาล ังวิกฤตจากภาวะโลกร้อน

        คอลัมน์ โลกสามมิติ
        โดย บัณฑิต คงอินทร์ bandish.k@psu.ac.th




                                                            ่
         สถานการณ์ของหลายประเทศในทวีปแอฟริ กากาลังอยูในภาวะ"วิกฤต"จากโลกร้อนและหาก
ไม่มีการช่วยเหลืออย่างเร่ งด่วนและเต็มไม้เต็มมือจากนานาชาติแล้ว มันจะกลายเป็ นโศกนาฏกรรมครั้ง
ใหญ่ของมนุษยชาติ รายงานล่าสุ ดที่ชื่อว่า "Africa - Up in Smoke 2" ของกลุ่มองค์กรด้านการพัฒนา
และสิ่ งแวดล้อมของสหราชอาณาจักร อาทิเช่น the new economics foundation- nef, Friends of the
Earth.และ Tearfund เป็ นต้น ซึ่ งออกมาก่อนหน้าการประชุมการเปลี่ยนแปลงสภาวะอากาศโลกแห่ง
สหประชาชาติ ( United Nations Climate Change Conference - Nairobi 2006)ที่กรุ งไนโรบี ประเทศ
่
เคนยา ในระหว่างวันที่ 6-17 พฤศจิกายน 2006 สองสัปดาห์ ชี้วาการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศได้
                                        ั ่
ส่ งผลกระทบอย่างรุ นแรงต่อคนแอฟริ กนทัวทั้งทวีปและจะเลวร้ายยิงขึ้นหากไม่มีการแก้ไขปัญหา
                                                                  ่
                                ่     ่                                     ่
อย่างเร่ งด่วนรายงานชิ้นนี้ระบุวา แม้วาทุกวันนี้สภาพอากาศของแอฟริ กาจะอยูในสภาพไม่แน่นอนก็
ตาม แต่ผลการวิจยล่าสุ ดและประสบการณ์ภาคสนามขององค์กรพัฒนาและสิ่ งแวดล้อมต่างๆในพื้นที่
                  ั
ของแอฟริ กาที่ประสบปั ญหาผลกระทบจากภาวะโลกร้อนบ่งบอกว่าสภาพแวดล้อมของแอฟริ กากาลัง
เปลี่ยนแปลงไปในระดับอันตรายสุ ดสุ ดอุณหภูมิที่แอฟริ กายังคงสู งขึ้นต่อไปและยังไม่สามารถ
พยากรณ์รูปแบบของอากาศได้มากยิงขึ้นอีกด้วย ความไม่แน่นอนของสภาพอากาศที่สูงขึ้นจะส่ งผล
                                    ่
กระทบต่อความมันคงทางด้านอาหารของประชากรในทวีปนี้ ทวีปแอฟริ กามีอุณหภูมิสูงขึ้นโดยเฉลี่ย
                    ่
                                  ่
0.5องศา เซลเซียสหลัง 100 ปี ที่ผานมา โดยในหลายพื้นที่มีอุณหภูมิสูงกว่าอุณหภูมิของโลกที่เพิมขึ้น
                                                                                             ่
ถึงสองเท่า และในบางพื้นที่อุณหภูมิเพิ่มขึ้นถึง 3.5องศา เซลเซียสภายในระยะ 20 ปี เท่านั้น เช่น
บางส่ วนของประเทศเคนยา อุณหภูมิที่สูงขึ้นทาให้แอฟริ กาขาดแคลนน้ าในการเพาะปลูกและการ
บริ โภค ดังนั้นภัยคุกคามใหญ่ท่ีสุดคือการทาการเกษตรเพื่อยังชีพซึ่ งจะเป็ นไปอย่างยากลาบาก




           ปั จจุบนแอฟริ กากาลังเผชิญกับความแห้งแล้งที่เลวร้ายแทบทัวทวีป โดยพื้นที่แห้งแล้งหรื อ
                  ั                                                   ่
กึ่งแห้งแล้งทางตอนเหนือ, ตะวันตก ตะวันออกและหลายส่ วนทางใต้ของแอฟริ กากาลังจะแห้งแล้ง
มากยิงขึ้น ขณะที่บริ เวณเส้นศูนย์สูตรและบางส่ วนของทางตอนใต้จะมีน้ ามากขึ้น ประชากรประมาณ
       ่
                               ่
33 % ในบริ เวณซับซาฮาราอยูในภาวะขาดแคลนอาหาร และที่แอฟริ กากลางสู งถึง 55% ขณะที่
                                            ่
ประชากรในประเทศกาลังพัฒนาทั้งหมดอยูในภาวะขาดแคลนอาหาร 17% การเปลี่ยนแปลงของ
อากาศจะเป็ นภัยคุกคามใหม่ต่อความมันคงด้านอาหารซึ่ งซ้ าเติมปั ญหาความยากจนที่มีอยูแล้ว
                                        ่                                                      ่
ปั จจุบนความช่วยเหลือทางด้านอาหารของนานาชาติแบบฉุ กเฉิ นต่อแอฟริ กาสู งกว่าทศวรรษที่ 1980
         ั
ถึงสามเท่า รายงานชิ้นนี้ได้เสนอแนวทางแก้ไขปั ญหาด้วยการวางแผนที่ดีเพื่อลดความเสี่ ยงจากภัย
               ่
พิบติควบคูไปกับการนาเอาวิธีการทาการเกษตรแบบใหม่ๆมาใช้เพื่อบรรเทาปั ญหาการขาดแคลน
     ั
อาหาร แอนดริ ว ซิมส์ จาก nef องค์กรที่มีบทบาทสาคัญในการช่วยเหลือชาวแอฟริ กน กล่าวว่า โลกั
ร้อนทาให้เกิดปั ญหาหลายๆอย่างซึ่ งขณะนี้แอฟริ กาเผชิญกับมันแล้วด้วยความเลวร้ายมากๆ" แค่ปีที่
                            ั
แล้วเพียงปี เดียวคนแอฟริ กน 25 ล้านคนในบริ เวณ ซับซาฮาราต้องเผชิญกับวิกฤตการณ์อาหาร" เขา
อธิ บายว่าภาวะโลกร้อนทาให้พ้ืนที่ซ่ ึ งแห้งแล้งอยูแล้วแห้งแล้งยิงขึ้นและพื้นที่ชุ่มน้ าก็มีน้ ามากขึ้น และ
                                                  ่             ่
บอกว่าสาหรับแอฟริ กาแล้วมันเป็ น"โศกนาฏกรรมครั้ งใหญ่" ซึ่ งแอฟริ กาเองไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับ
การทาให้โลกร้อนเลย แต่ปัญหาโลกร้อนเกิดจากกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศร่ ารวยซึ่ งก็คือ
ประเทศอุตสาหกรรม กลุ่มองค์กรด้านการพัฒนาและสิ่ งแวดล้อมได้เรี ยกร้องให้ประเทศร่ ารวย
ปฏิบติตามพิธีสารเกียวโตในการลดการปล่อยก๊าซเรื อนกระจกและให้มีการปรับปรุ งและพัฒนาความ
      ั
เป็ นมนุษย์ของคนแอฟริ กาโดยการบริ จาคเงินทุนช่วยเหลือเป็ นการเร่ งด่วนเพื่อให้ชุมชนต่างๆแก้ไข
                                                                 ั
ปั ญหาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอากาศและบริ จาคเงินให้กบรัฐบาลของประเทศในแอฟริ กา
เพื่อแก้ไขปั ญหาความยากจนและลงทุนเกี่ยวกับการพัฒนาทางการเกษตรด้วย ในปี 2005-2006
ประเทศอุตสาหกรรมบริ จาคเงินเพื่อใช้ในการแกไขปัญหาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอากาศ
ของประเทศยากจนผ่านสองกองทุนเพียง 43 ล้านเหรี ยญสหรัฐ ซึ่ งไม่เพียงพอต่อความต้องการซึ่ งอยู่
ในระหว่าง 10 -40พันล้านต่อปี




            ขณะที่ประเทศร่ ารวยสนับสนุนเงินอุดหนุนอุตสาหกรรมน้ ามันคิดเป็ นเงินทั้งหมดมากกว่า
235 ล้านเหรี ยญสหรัฐต่อปี รายงานชิ้นนี้เรี ยกร้องให้ลดการปล่อยก๊าซเรื อนกระจกลง 60% - 90% ซึ่ง
ต่างจากเป้ าหมายของพีธีสารเกียวโตที่กาหนดให้ประเทศอุตสาหกรรมลดการปล่อยก๊าซเรื อนกระจก
ลง 5.2%จากปริ มาณที่ปล่อยไว้ในปี 1990 ภายในปี 2008-2012 โทนี จูนิเปอร์ ผูอานวยการฝ่ ายบริ หาร
                                                                               ้
                                                     ่
ขององค์กร Friends of the Earth สรุ ปสถานการณ์ไว้วา การเปลี่ยนแปลงอากาศทาให้สถานการณ์ใน
แอฟริ กาแย่ลง และถ้าหากไม่มีการปฏิบติการอย่างจริ งจังในการลดการปล่อยก๊าซเรื อนกระจกใน
                                         ั
ขณะนี้แล้วละก็ ประชาชนในประเทศกาลังพัฒนาจะประสบชะตากรรมที่เลวร้าย คนหลายล้านคนจะ
    ่
อยูในสภาพหิ วโหย ขาดแคลนอาหาร และต้องตาย รายงานล่าสุ ดอีกชิ้นเป็ นของเซอร์ นิโคลาส สเติร์น
                                                       ่
อดีตหัวหน้านักเศรษฐศาสตร์ ของธนาคารโลกพยากรณ์วาภาวะโลกร้อนอาจจะทาให้ผลิตภัณฑ์มวล
รวมของโลก(GDP)ลดลงถึง 20 % แต่หากดาเนินการแก้ไขเสี ยตั้งแต่บดนี้จะมีค่าใช้จ่ายเพียง 1 % ของ
                                                                        ั
GDP เท่านั้น รายงานชิ้นนี้เตือนว่าถ้าโลกไม่เคลื่อนไหวที่จะจัดการลดก๊าซเรื อนกระจกเสี ยตั้งแต่บดนี้
                                                                                                 ั
จะเกิดหายนะอย่างใหญ่หลวงจากการเปลี่ยนแปลงของอากาศ โดยจะเกิดน้ าท่วมจากระดับน้ าทะเลที่
สู งขึ้นซึ่งต้องอพยพคนถึง 100 ล้านคน ธารน้ าแข็งละลายจนทาให้ประชากรโลก 1 ใน 6 ขาดแคลนน้ า
จืด สัตว์ป่าอย่างน้อย 40 % ของสปี ซี ส์ท้ งหมดจะสู ญพันธุ์ จะเกิดน้ าท่วมและความแห้งแล้งซึ่ งอาจจะ
                                           ั
ทาให้ประชากรโลกหลายสิ บล้านคนหรื อหลายร้ายล้านคนกลายเป็ นผูล้ ีภย รายงานนี้ได้เรี ยกร้องให้
                                                                       ้ ั
ประชาคมโลกลงนามในสัญญาลดก๊าซเรื อนกระจกฉบับใหม่ในปี หน้าแทนที่จะรอการพิจารณาในปี
2010/11 ว่าจะดาเนินการต่อไปหรื อไม่หลังพิธีสารเกียวโตสิ้ นสุ ดลง นายโทนี แบลร์ นายกรัฐมนตรี
อังกฤษกล่าวถึงรายงานของเซอร์ นิโคลาส สเติร์นว่าเป็ นการแสดงหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ ที่มากมาย
มหาศาลและแสดงหายนะที่จะเกิดขึ้นตามมา เขาเห็นว่าไม่สามารถจะรอคอยถึง 5 ปี เพื่อจะเจรจา
เกี่ยวกับพิธีสารเกียวโตใหม่อีกครั้งเพราะไม่มีเวลาอีกแล้ว และว่าผลจากการที่โลกอยูเ่ ฉยๆก็คือหายนะ
อย่างแท้จริ ง "ความหายนะไม่ได้เกิดขึ้นในนิยายวิทยาศาสตร์ บางเรื่ องในอนาคตหลายๆปี ข้างหน้า ทว่า
เกิดในช่วงชีวตของพวกเรานี่เอง" แบลร์ กล่าว
               ิ
ที่มา: มติชน
http://www.matichon.co.th/matichon/m...day=2006/11/04

                     **************************************
ใบงานที่ ๓.๓
กลุ่มสาระ สั งคมศึกษา                         ชื่อหน่ วย:ธรรมชาติเปลียนแปลงคน สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
                                                                                    ่
ศาสนา และวัฒนธรรม                             เปลียนไปของทวีปยุโรปและแอฟริกา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒
                                                    ่
รายวิชาสั งคมศึกษา ๔                          ชื่อใบงาน: รอบรู้ ปัญหาสิ่ งแวดล้ อม เวลาเรียน : ๖ ชั่วโมง
รหัสวิชา ส๒๒๑๐๑
                      ชื่อ.................................................................ชั้ น..............เลขที่.....................
คาสั่ ง ให้นกเรี ยนอธิ บายสาเหตุการณ์เกิดปรากฎการณ์ ต่อไปนี้พร้อมทั้งยกตัวอย่างสถานที่เกิดและ
                  ั
ผลกระทบที่ตามมา
              ๑.แผ่นดินไหว
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
              ๒.สึ นามิ (Tsunami)
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
              ๓.สภาวะโลกร้อน
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
แบบทดสอบที่ ๓
กลุ่มสาระ สั งคมศึกษา             ชื่อหน่ วย:ธรรมชาติเปลียนแปลงคน
                                                         ่                    สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
ศาสนา และวัฒนธรรม                 เปลียนไปของทวีปยุโรปและแอฟริกา
                                        ่                                     ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒
รายวิชาสั งคมศึกษา ๔              ชื่อแบบทดสอบ: สภาพแวดล้อมด้ านต่ าง ๆ เวลาสอบ :๓๐ นาที
รหัสวิชา ส๒๒๑๐๑                   และผลกระทบทีมีต่อสิ่ งแวดล้อมของทวีป
                                                 ่
                                  ยุโรปและแอฟริกา
ตอนที่ ๑ จงกาเครื่ องหมาย X หน้าข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว
๑.สิ่ งที่เกิดขึ้นแล้วไม่ได้รับการแก้ไขให้ดีข้ ึนอาจส่ งผลกระทบต่อการดาเนินชีวตหรื อก่อให้เกิด
                                                                                   ิ
อันตรายได้เรี ยกว่าอะไร
            ก.เหตุการณ์                                    ข.สถานการณ์
            ค.วิกฤตการณ์                                   ง.ปรากฏการณ์
๒.ข้อใดอธิ บายความเหมายของสิ่ งแวดล้อมได้ถูกต้องที่สุด
                                ่
            ก.สิ่ งต่าง ๆ ที่อยูรอบตัวเรา
            ข.สิ่ งต่าง ๆ ที่มีความเหมาะสมต่อมนุษย์
            ค.ทุกสิ่ งที่ประกอบกันเป็ นโลกและสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวกับ ป่ าไม้ ดิน น้ า อากาศ
                                      ่
            ง.ทุกสิ่ งทุกอย่างที่อยูรอบตัวเราทั้งที่มองเห็นและมองไม่เห็นที่มีลกษณะทางกายภาพและ
                                                                                ั
ชีวภาพ เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้น
๓.วิกฤตการณ์ดานทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อมของโลกเป็ นผลสื บเนื่องมาจากข้อใด
                      ้
               ก.การเพิ่มของจานวนประชากรโลก                       ข.การเจริ ญก้าวหน้าของเทคโนโลยี
               ค.การใช้ทรัพยากรธรรมชาติของมนุษย์                  ง.การเปลี่ยนแปลงสิ่ งมีชีวตในระบบนิเวศ
                                                                                            ิ
๔.สาเหตุสาคัญที่สุดของปั ญหาวิกฤตการณ์ดานสิ่ งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ คือข้อใด
                                                    ้
            ก.การเพิ่มขึ้นของประชากร                              ข.การขยายตัวทางเศรษฐกิจ
            ค.ภัยธรรมชาติและอุบติเหตุ     ั                       ง.ความเจริ ญทางด้านเทคโนโลยี
๕.ก๊าซใดที่ถูกปล่อยออกจากโรงกลันน้ ามันเป็ นพิษและเป็ นอันตรายต่อสิ่ งแวดล้อมมากที่สุด
                                            ่
            ก.คาร์บอนไดออกไซด์                                    ข.ซัลเฟอร์ไดออกไซด์
            ค.ไนโตรเจนไดออกไซด์                                   ง.ไฮโดคาร์บอน
๖.ปรากฏการณ์เรื อนกระจกสารใดเป็ นตัวการ
            ก.                                                    ข.

        ค.                                                    ง.
๒
๗.สาเหตุสาคัญที่สุดข้อใดที่ก่อให้เกิดมลภาวะเป็ นพิษทั้งในทวีปยุโรปและแอฟริ กา
       ก.รัฐบาลควบคุมไม่ถึง
       ข.ประชากรขาดความรู้
       ค.ประชากรไม่เข้าใจปั ญหามลภาวะ
       ง.ประชากรเห็นแก่ส่วนตัวมากกว่าส่ วนรวม
๘.ภาวะโลกร้อนหมายถึงอะไร
       ก.ปรากฏการณ์เรื อนกระจก                      ข.อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่มขึ้น
       ค.การปล่อยก๊าซพิษสู่ อากาศ                   ง.น้ าแข็งขั้วโลกเริ่ มละลายลงสู่ ทะเล
๙.ข้อใดคือสาเหตุหลักของการเกิดสภาวะโลกร้อนที่เกิดขึ้นในยุโรปและแอฟริ กาปัจจุบน           ั
       ก.โรงงานอุตสาหกรรม                           ข.รถยนต์
       ค.บ้านเรื อน                                 ง.ขยะ
๑๐.ปรากฏการณ์เรื อนกระจกเกิดจากก๊าซใดเพิ่มขึ้น
       ก.ก๊าซไนโตรเจน                               ข.ก๊าซออกซิ เจน
       ค.ก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์                      ง.ก๊าซอาร์ กอน
๑๑.ภัยธรรมชาติที่เกิดตามมากับภาวะโลกร้อนที่เห็นชัดที่สุดคือในทวีปแอฟริ กาคือ
       ก.เกิดพายุ                                   ข.เกิดคลื่นความร้อน
       ค.เกิดภัยแล้ง                                ง.เกิดน้ าท่วม
๑๒.ประเทศใดต่อไปนี้ท่ีมีการปล่อยก๊าซเรื อนกระจกมากที่สุด
       ก.รัสเซีย                                    ข.สหรัฐอเมริ กา
       ค.ญี่ปุ่น                                    ง.จีน
๑๓.ข้อใดไม่ ใช่ สาเหตุที่ทาให้น้ าแข็งขั้วโลกเหนือละลายเร็ วขึ้น
       ก.น้ าแข็งขั้วโลกเหนือลอยอยู่เหนือมหาสมุทรที่มีอุณหภูมิสูงขึ้น
       ข.ภาวะโลกร้อน
       ค.ปรากฏการณ์เรื อนกระจก
       ง.พายุสุริยะ
๑๔.ข้อใดต่อไปนี้ ไม่เกี่ยวข้องกับ “ปรากฏการณ์เรื อนกระจก”
       ก.ฝนกรด                                      ข.โอโซนถูกทาลาย
       ค.โลกร้อน                                    ง.ดินเสื่ อมสภาพ
๓
๑๕.“ปรากฏการณ์เรื อนกระจก” ทาให้เกิดวิกฤตด้านสิ่ งแวดล้อมในทวีปแอฟริ กาอย่างไร
      ก.น้ าท่วมเป็ นบริ เวณกว้าง            ข.เกิดความแห้งแล้งเกือบทัวทั้งทวีป
                                                                      ่
      ค.อากาศเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ ว        ง.เกิดโรคระบาดทั้งพืชและสัตว์

ตอนที่ ๒ ให้นกเรี ยนกาเครื่ องหมาย / หน้าข้อความที่ถูกและกาเครื่ องหมาย X หน้าข้อความที่ผด
             ั                                                                           ิ

........ ๑. การเผาไหม้จากโรงงานอุตสาหกรรม เป็ นสาเหตุให้เกิดภาวะโลกร้อนได้
........ ๒. ก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ เป็ นหนึ่งในก๊าซเรื อนกระจกที่ยงปล่อยออกมามากขึ้นและเร็ ว
                                                                   ิ่
         ขึ้นเท่าใด อุณหภูมิโลกก็จะยิงสู งขึ้นและเร็ วขึ้นเท่านั้น
                                      ่
........ ๓. ภาวะโลกร้อนเป็ นสาเหตุของโรคต่าง ๆ มากมาย
........ ๔. การที่ตนไม้ดูดซับก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ เป็ นสาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
                    ้
........ ๕. การใช้ถุงพลาสติก ไม่มีผลต่อการเกิดภาวะโลกร้อน
........ ๖. ภาวะโลกร้อนทาให้น้ าแข็งขั้วโลกละลายเร็ วขึ้น และส่ งผลกระทบต่อมนุษย์และสัตว์
........ ๗. การใช้พลังงานทาให้เกิดของก๊าซเรื อนกระจกมากที่สุด
........ ๘. การใช้รถประจาทางแทนรถส่ วนตัว เป็ นการช่วยลดภาวะโลกร้อนได้
........ ๙. ประเทศไทยไม่ถูกจัดอยูในกลุ่มที่ตองลดภาวะก๊าซเรื อนกระจก จึงไม่มีความ
                                  ่            ้
         จาเป็ นต้องดาเนินการใด ๆ เพื่อลดภาวะเรื อนกระจก เนื่องจากเป็ นการสิ้ นเปลืองโดย
         ไม่จาเป็ น
........๑๐. ภาวะโลกร้อน ก่อให้เกิดน้ าท่วมฉับพลัน , ดินถล่มทางภาคเหนือและภาคอีสาน
เฉลยแบบทดสอบที่ ๓
กลุ่มสาระ สั งคมศึกษา      ชื่อหน่ วย:ธรรมชาติเปลียนแปลงคน
                                                      ่        สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
ศาสนา และวัฒนธรรม          เปลียนไปของทวีปยุโรปและแอฟริกา
                                 ่                             ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒
รายวิชาสั งคมศึกษา ๔       ชื่อแบบทดสอบ: สภาพแวดล้อมด้ าน      เวลาสอบ :๓๐ นาที
รหัสวิชา ส๒๒๑๐๑            ต่ าง ๆ และผลกระทบทีมีต่อ่
                           สิ่ งแวดล้ อมของทวีปยุโรปและ
                           แอฟริกา
ตอนที่ ๑ จงกาเครื่ องหมาย X หน้าข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว

       ๑. ค                                   ๒. ง
       ๓. ค                                   ๔. ก
       ๕.ค                                    ๖. ง
       ๗.ง                                    ๘. ข
       ๙. ข                                   ๑๐. ค
       ๑๑. ค                                  ๑๒. ข
       ๑๓. ง                                  ๑๔. ง
       ๑๕. ข

ตอนที่ ๒

       ๑. /                                   ๒. /
       ๓. /                                   ๔. X
       ๕. X                                   ๖. /
       ๗. /                                   ๘. /
       ๙. X                                   ๑๐. /

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์นันทนา วงศ์สมิตกุล
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางguest6e231b
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 5+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u05-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 5+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u05-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 5+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u05-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 5+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u05-socPrachoom Rangkasikorn
 
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีทการวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีทkroobannakakok
 
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมวิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมkrusuparat01
 

Mais procurados (19)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
 
หน่วยที่๘
หน่วยที่๘หน่วยที่๘
หน่วยที่๘
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
 
หน่วยที่๗
หน่วยที่๗หน่วยที่๗
หน่วยที่๗
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
 
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
 
หน่วยที่๓
หน่วยที่๓หน่วยที่๓
หน่วยที่๓
 
หน่วยที่๙
หน่วยที่๙หน่วยที่๙
หน่วยที่๙
 
หน่วยที่๖
หน่วยที่๖หน่วยที่๖
หน่วยที่๖
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
หน่วยที่๑๐
หน่วยที่๑๐หน่วยที่๑๐
หน่วยที่๑๐
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 5+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u05-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 5+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u05-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 5+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u05-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 5+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u05-soc
 
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีทการวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
 
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมวิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
 

Semelhante a แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓

แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 
โครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชาโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชาparinya poungchan
 
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์Aun Chun Cha Ree
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนPew Juthiporn
 
Assignment 4 Siriporn
Assignment 4 SiripornAssignment 4 Siriporn
Assignment 4 Siripornsiriporn9915
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้10871885581
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียkrupornpana55
 
ชุดการสอนอเมริกาเหนือ
ชุดการสอนอเมริกาเหนือชุดการสอนอเมริกาเหนือ
ชุดการสอนอเมริกาเหนือsuchinmam
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012tassanee chaicharoen
 

Semelhante a แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓ (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
โครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชาโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา
 
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษาอาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
 
Astroplan10
Astroplan10Astroplan10
Astroplan10
 
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
Assignment 4 Siriporn
Assignment 4 SiripornAssignment 4 Siriporn
Assignment 4 Siriporn
 
7บทที่3
7บทที่3 7บทที่3
7บทที่3
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
Astroplan16
Astroplan16Astroplan16
Astroplan16
 
05 ตอนที่ 2 หน่วย 4
05 ตอนที่ 2 หน่วย 405 ตอนที่ 2 หน่วย 4
05 ตอนที่ 2 หน่วย 4
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
นิ่ง
นิ่งนิ่ง
นิ่ง
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1
 
Sci 2009 03
Sci 2009 03Sci 2009 03
Sci 2009 03
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดีย
 
ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)
ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)
ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)
 
ชุดการสอนอเมริกาเหนือ
ชุดการสอนอเมริกาเหนือชุดการสอนอเมริกาเหนือ
ชุดการสอนอเมริกาเหนือ
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ.3 2/2557
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ.3 2/2557ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ.3 2/2557
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ.3 2/2557
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
 

Mais de นันทนา วงศ์สมิตกุล

วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐนันทนา วงศ์สมิตกุล
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์นันทนา วงศ์สมิตกุล
 
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯนันทนา วงศ์สมิตกุล
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯการวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯนันทนา วงศ์สมิตกุล
 
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนาตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนานันทนา วงศ์สมิตกุล
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนาการวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนานันทนา วงศ์สมิตกุล
 

Mais de นันทนา วงศ์สมิตกุล (10)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 
หน่วยที่๕
หน่วยที่๕หน่วยที่๕
หน่วยที่๕
 
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
 
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯการวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
 
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนาตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนาการวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
 
แบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรปแบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรป
 

แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๓ กลุ่มสาระ สั งคมศึกษา ชื่อหน่ วย:ธรรมชาติเปลียนแปลงคน สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์ ่ ศาสนา และวัฒนธรรม เปลียนไปของทวีปยุโรปและแอฟริกา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒ ่ ประกอบหน่ วยการเรียนรู้ ชื่อแผน: สภาพแวดล้อมด้ านต่ าง ๆ เวลาเรียน : ๖ ชั่วโมง ที่ ๒ และผลกระทบทีมีต่อสิ่ งแวดล้อมของ ่ ทวีปยุโรป สาระที่ ๕ ภูมศาสตร์ ิ มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กบสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการ ั สร้างสรรค์วฒนธรรม มีจิตสานึกและมีส่วนร่ วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่ งแวดล้อม เพื่อการ ั พัฒนาที่ยงยืน ั่ ๑. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด การเปลี่ยนแปลงประชากร เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม การอนุรักษ์ธรรมชาติและ สิ่ งแวดล้อม ปั ญหาและผลกระทบเกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อมสิ่ งแวดล้อม ของทวีปยุโรปที่มีต่อประเทศไทย ๒. ตัวชี้วด/จุดประสงค์ การเรียนรู้ ั ๒.๑ ตัวชี้วด ั ส ๕.๒ ม.๒/๑ วิเคราะห์การก่อเกิดสิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคมอันเป็ นผลจากการ เปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติและทางสังคมของทวีปยุโรปและแอฟริ กา ม.๒/๒ ระบุแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมในทวียโรป ุ และแอฟริ กา ม.๒/๓ สารวจ อภิปรายประเด็นปั ญหาเกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อมที่เ กิดขึ้นในทวีปยุโรป และแอฟริ กา ม.๒/๔ วิเคราะห์เหตุและผลกระทบที่ประเทศไทยได้รับจากการเปลี่ยนแปลงของ สิ่ งแวดล้อมในทวีปยุโรปและแอฟริ กา ๒.๒ จุดประสงค์ การเรียนรู้ ๑.วิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางสังคมอันเป็ นผลจากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติของ ทวีปยุโรปได้ ๒.สรุ ปประเด็นปั ญหาสิ่ งแวดล้อม ระบุแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวีปยุโรปได้ ๓. สาระการเรียนรู้
  • 2. ๓.๑ สาระการเรียนรู้ แกนกลาง ๑.การเปลี่ยนแปลงประชากร เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของทวีปยุโรปและ แอฟริ กา ๒.การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม และผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมของทวีปยุโรปและแอฟริ กาที่มีต่อประเทศไทย ๔. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ๔.๑ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ๔.๒ ความสามารถในการคิด - ทักษะการคิดวิเคราะห์ - ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ ิ - ทักษะการคิดสังเคราะห์ ๔.๓ ความสามารถในการใช้ชีวต ิ - กระบวนการปฏิบติ ั - กระบวนการกลุ่ม ๕.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑.มีวนย ิ ั ๒.ใฝ่ เรี ยนรู้ ๓.มุ่งมันในการทางาน ่ ๖.รู ปแบบการจัดการเรียนการสอน การจัดการเรียนรู้ โดยใช้ การอภิปรายกลุ่มย่ อย ๗. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๑-๒ ขั้นจัดผู้เรียนเป็ นกลุ่มย่ อย ๑.แบ่งนักเรี ยนออกเป็ นกลุ่มย่อย กลุ่มละ ๔-๘ คน โดยใช้วธีจบสลาก แล้วให้สมาชิกกลุ่ม ิ ั นังตามกลุ่มของตนเองมีการตั้งชื่อกลุ่ ม แต่ละกลุ่มอยูห่างกันพอสมควรเพื่อไม่ให้เสี ยงอภิปรายรบกวน ่ ่ กลุ่มอื่น ๆ ขั้นกาหนดประเด็นการอภิปราย ๒.ครู กาหนดประเด็นการอภิปรายเป็ นหัวข้อดังต่อไปนี้ ให้ตวแทนกลุ่มมาจับฉลากประเด็น ั หัวข้อของกลุ่ม
  • 3. - การเปลี่ยนแปลงของประชากร เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ของทวีปยุโรป มี ผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมของทวีปยุโรปใช่หรื อไม่ - ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมของทวีปยุโรปมีผลกระทบต่อ ประเทศไทยหรื อไม่ อย่างไร - ทวีปยุโรปให้ความสาคัญต่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม มากกว่าการให้ความสาคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจใช่หรื อไม่ ๓.ให้สมาชิกลุ่มร่ วมกันระดมสมอง สื บค้นข้อมูล เพื่อนาข้อมูล อภิปรายย่อยในกลุ่มของ ตนเอง ชั่วโมงที่ ๓-๔ -ขั้นอภิปราย ๔.ครู ช้ ีแนะให้แต่ละกลุ่ม กาหนดบทบาทหน้าที่ให้สมาชิกของกลุ่มเพื่อเข้าสู่ ข้ นอภิปราย คือ ั ให้แต่ละกลุ่มเลือกประธานกลุ่ม เลขานุการกลุ่มผูทาหน้าที่จดบันทึกการประชุม ผูอภิปรายคนที่ ๑ ไป ้ ้ จนถึงคนสุ ดท้ายตามลาดับ พร้อมทั้งให้ความรู ้ความเข้าใจ หรื อให้คาแนะนาใ นแต่ละกลุ่มก่อนการ อภิปราย ๕.ดาเนินการอภิปราย โดยประธานกลุ่มเป็ นผูนาการอภิปราย ควบคุมการอภิปรายให้อยูใน ้ ่ วัตถุประสงค์ของการอภิปราย ให้สมาชิกทุกคนมีโอกาสแสดงออกอย่างทัวถึง ไม่ให้ผหนึ่งผูใด ่ ู้ ้ ผูกขาดการอภิปราย ควรดาเนินการอภิปรายทีละประเด็นให้ครบตามเวลาที่กาหนด ครู เป็ นผูคอยดูแล ้ ช่วยเหลือให้การอภิปรายดาเนินไปด้วยความเรี ยบร้อย ชั่วโมงที่ ๕ – ๖ ขั้นสรุ ปผลการอภิปราย ๖.เมื่อสมาชิกทุกกลุ่มดาเนินการอภิปรายเรี ยบร้อยแล้ว เลขานุการกลุ่มต้องสรุ ปผลการ อภิปรายเพื่อให้ได้คาตอบของประเด็นหัวข้อที่จบฉลากได้ ั ๗.แต่ละกลุ่มนาเสนอผลการอภิปรายของกลุ่มเพื่อเป็ นการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้หน้าชั้นเรี ยน สมาชิกทุกลุ่มร่ วมกันรับฟังและซักถามข้อสงสัย ขั้นสรุ ปบทเรียน ๘.ครู เชื่อมโยงข้อสรุ ปจากการอภิปรายของแต่ละกลุ่มเข้าสู่ บทเรี ยน สมาชิกกลุ่มหรื อประธาน กลุ่ม ร่ วมกันสรุ ปบทเรี ยน ขั้นประเมินผลการเรียน ๙.นักเรี ยนทาใบงานที่ ๓.๑ เรื่ อง ๑๐.นักเรี ยนทาแบบทดสอบหลังเรี ยน
  • 4. ๘.การวัดและการประเมินผล การประเมินก่อนเรียน - ทาแบบทดสอบก่อนเรี ยนประจาหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ ๒ ธรรมชาติเปลี่ยนแปลงคน เปลี่ยนไปของทวีปยุโรป การประเมินระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๑. แบบประเมินการอภิปรายกลุ่ม ๒.แบบประเมินการนาเสนองานหน้าชั้นเรี ยน ๓.แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม การประเมินผลหลังเรียน - ทาแบบทดสอบหลังเรี ยนประจาหน่วยการเรี ยนรู้ที่ ๒ ธรรมชาติเปลี่ยนแปลงคน เปลี่ยนไปของทวีปยุโรปและแอฟริ กา สื่ อ/แหล่งการเรียนรู้ สื่ อการเรียนรู้ ๑.หนังสื อเรี ยนสังคมศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒ ๒.ใบงานที่ ๓.๑ เรื่ องสภาพแวดล้อมด้ านต่ าง ๆ และผลกระทบทีมีต่อสิ่ งแวดล้อม ่ ของทวีปยุโรปและแอฟริกา ๓.ใบงานที่ ๓.๒ เรื่ องวิกฤตการณ์สิ่งแวดล้อม ๔.ใบงานที่ ๓.๓ เรื่ องรอบรู้ ปัญหาสิ่ งแวดล้อม แหล่ งเรียนรู้ ๑.ห้องสมุด ๒.แหล่งข้อมูลสารสนเทศ http://www.aksorn.com/Lib/S/Soc_05 http://www.tiewroblok.com/ http://www.thai.net/lokkongrao/default.htm/
  • 5. ใบงานที่ ๓.๑ กลุ่มสาระ สั งคมศึกษา ชื่อหน่ วย:ธรรมชาติเปลียนแปลงคน ่ สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์ ศาสนา และวัฒนธรรม เปลียนไปของทวีปยุโรปและแอฟริกา ่ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒ รายวิชาสั งคมศึกษา ๔ ชื่อใบงาน: สภาพแวดล้อมด้ านต่ าง ๆ เวลาเรียน :๗ ชั่วโมง รหัสวิชา ส๒๒๑๐๑ และผลกระทบทีมีต่อสิ่ งแวดล้อมของ ่ ทวีปยุโรปและแอฟริกา ชื่อ.................................................................ชั้ น..............เลขที่..................... ตอนที1ให้นกเรี ยนสื บค้นข้อมูลจาก http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet6/envi3/en-sakol/sakoln.htm ่ ั แล้วตอบคาถามต่อไปนี้โดยละเอียด ๑.สิ่ งแวดล้อมเป็ นพิษหมายถึง.................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ๒.มูลเหตุของการเกิดสิ่ งแวดล้อมเป็ นพิษมีดงต่อไปนี้ ั ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ๓.สารมลพิษหมายถึง............................................................................................................................... ่ ๔.สารมลพิษที่อยูในสถานะก๊าซได้แก่.................................................................................................... ่ ๕.สารมลพิษที่อยูในสถานะของเหลวได้แก่............................................................................................ ่ ๖.สารมลพิษที่อยูในสถานะของแข็งได้แก่............................................................................................... ๗.ชั้นบรรยากาศที่ห่อหุ มโลกมีประโยชน์คือ.......................................................................................... ้ ................................................................................................................................................................. ๘.เมื่อโลกร้อนขึ้นจะมีผลกระทบต่อมนุษย์อย่างไรบ้าง ตอบเป็ นข้อ ๆ ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................
  • 6. ๒ ๙.การควบคุมมลพิษที่ทาให้โลกร้อนขึ้นสามารถทาได้ดวยวิธีการดังต่อไปนี้ ้ ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ตอนที่ ๒ ให้นกเรี ยนหาคาตอบใน http://environnet.in.th/formal_data2.php?id=674 แล้วเติมคาใน ั ช่องว่างให้ได้ใจความสมบูรณ์ ๑.ยุโรปได้เพิ่มพื้นที่อนุรักษ์อีก ๑๐ ล้านเฮกแตร์ ตั้งแต่ ปี คศ……… อย่างไรก็ตามมีการ ประมาณว่า ..... ๕๒ เปอร์เซนต์ ................ ๔๕ เปอร์เซนต์ และ...................................... อีก ๔๒ ่ เปอร์ เซนต์ ยังอยูในสภาวะเสี่ ยงภัย ๒.มีการนาน้ าใต้ดินมาใช้เกือบ ๖๐ เปอร์ เซนต์ของน้ าใต้ดินที่มีอยู่ เพื่อ.................................................. ……………………………………………………………………………………………………… ๓.กว่า ๘๖ เปอร์ เซนต์ของพื้นที่ชายฝั่งด้านตะวันตกของทวีปยุโรป จัดว่าเป็ นพื้นที่ที่มีความเสี่ ยงสู งต่อ การสู ญเสี ยทางด้าน.................... ทั้งนี้เนื่องมาจากมีการพัฒนาชายฝั่งเพื่อธุ รกิจและการพาณิ ชย์เพิ่มมาก ขึ้น ๔.ยุโรปเป็ นเขตที่มีการปลดปล่อยสารพิษออกสู่ บรรยากาศเป็ นปริ มาณมาก ดังนั้นนโยบายเร่ งด่วนใน การแก้ปัญหาสิ่ งแวดล้อมของยุโรปตอนกลางและด้านตะวันตก จะเน้นไปที่......................................... …………………………………………………………………………………………………………. ๕.ประชากรในทวีปยุโรปจะสร้างของเสี ยเฉลี่ยคนละ............ ถึง .................. กิโลกรัมต่อปี ๖. ถ้าน้ าแข็งในเขตแอนตาร์ คติคละลาย ระดับน้ าทะเลจะเพิ่มสู งขึ้นไม่นอยกว่า ...................... เมตร ้ *****************************
  • 7. ใบงานที่ ๓.๒ กลุ่มสาระ สั งคมศึกษา ชื่อหน่ วย:ธรรมชาติเปลียนแปลงคน ่ สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์ ศาสนา และวัฒนธรรม เปลียนไปของทวีปยุโรปและแอฟริกา ่ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒ รายวิชาสั งคมศึกษา ๔ ชื่อใบงาน: วิกฤตการณ์สิ่งแวดล้อม เวลาเรียน : ๖ ชั่วโมง รหัสวิชา ส๒๒๑๐๑ ชื่อ.................................................................ชั้ น..............เลขที่..................... คาสั่ ง ให้นกเรี ยนอ่านบทความต่อไปนี้แล้ววิเคราะห์พร้อมกับแสดงความคิดเห็นที่มีต่อบทความนี้ ใน ั ประเด็นวิกฤตการณ์สิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวีปยุโรปและทวีปแอฟริ กาคืออะไร มีความเหมือนหรื อ แตกต่างกันอย่างไร พร้อมกับแผนการแก้ปัญหาดังกล่าวที่ได้ทาแล้ว โดยการระดมสมองของกลุ่ม สภาวะเรื อนกระจก ท้องฟาล่มสลายการรวมตัวกันอย่างหนาแน่ นของแก๊ส จากการอุตสาหกรรม และควันพิษที่ ้ เกิดขึ้นในอากาศที่เราหายใจเข้าไปได้สั่งสมเพิ่มพูนสู งถึงบรรยากาศชั้นบน สิ่ งเหล่านี้ได้ก่อให้เกิด วิกฤตการณ์พร้ อมกันถึง 3 วิกฤตการณ์ อันได้แก่ ฝนตกกรด ชั้นโอโซนถูกทาลาย และเกิดอากาศร้อน ขึ้นทัวทั้งโลก หรื อเป็ นตัวอาการก่อให้เกิด "ปรากฏการณ์เรือนกระจก" แต่ละอย่างที่กล่าวมาแล้วนั้น ่ สามารถก่อให้เกิดผลที่เป็ นอันตรายต่อสิ่ งมีชีวต จนทาให้ถึงตายได้ ยิงเมื่อทั้ง 3 วิกฤตการณ์ มารวมกัน ิ ่ แล้วสามารถคุกคามโลกได้มากเท่า ๆ กับสงครามนิวเคลียร์ เลยทีเดียว วิกฤตการณ์ฝนกรด การทาลาย ชั้นโอโซน และอากาศที่ร้อนขึ้นทัวทั้งโลก ทั้ง 3 วิกฤตการณ์ เป็ นที่รู้จกกันดีที่สุด และได้รับการ ่ ั ยอมรับอย่างกว้างขวางที่สุดในบรรดาปั ญหาสิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึ้นทั้งหมด แม้กระทังชื่อของก๊าซซึ่ ง ่
  • 8. ก่อให้เกิดปั ญหาเหล่านี้ยงเป็ นชื่ อที่คุนเคยกันในหมู่ประชาชนทัวไป อันได้แก่ ซัลเฟอร์ ไดอ๊อกไซด์ ั ้ ่ ไนโตรเจนออกไซด์ คาร์ บอนไดออกไซด์ และคลอโรฟลูโอโรคาร์ บอน (CFCs)ทว่าปั ญหาเหล่านี้ได้ ขยายตัวอย่างรวดเร็ วจนน่ากลัว ขณะที่เมื่อ 10 ปี ก่อน นักวิทยาศาสตร์ ส่วนใหญ่ไม่มีใครเสนอเรื่ องนี้ เลย ซ้ ากลับปฏิเสธเสี ยอีก แต่ปัจจุบนกลับกลายเป็ นความจริ งอันน่าสะพรึ งกลัว ซึ่ งเหตุการณ์บ่งชี้วา ั ่ ่ ระบบความอยูรอดแห่งชีวตของโลกกาลังประสบกับภัยพิบติ และจาเป็ นอย่างยิงที่จะต้องรี บแก้ไข ิ ั ่ ก่อนที่ระบบเหล่านี้จะเสื่ อมโทรม มลพิษที่เกิดกับชั้นบรรยากาศ สอนเราให้รู้ถึงข้อเท็จจริ ง เรื่ อง ความผูกพันเป็ นหนึ่งอัน เดียวกันทางชีววิทยา การทาลายส่ วนใดส่ วนหนึ่งย่อมมีผลกระทบต่อส่ วนอื่น ๆ เสมอ เนื่องจากสรรพ ชีวตมีความเกี่ยวโยง และต้องพึ่งพาอาศัยกันและกัน ราวกับสายใยของเนื้อเยือที่เชื่อมโยงกันและกัน ิ ่ การทาลายป่ าเขตร้อนเป็ นอุทาหรณ์ในเรื่ องนี้ได้อย่างดี เมื่อป่ าถูกเผาผลาญ ก๊าซพิษจะค่อย ๆ ถูกสร้าง ขึ้นในชั้นบรรยากาศนาไปสู่ การเกิดอากาศร้อนขึ้นทัวทั้งโลก และทาให้ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง ซึ่งทา ่ ให้ป่าไม้ถูกทาลายมากขึ้นกว่าเดิม ส่ งผลให้เกิดความแห้งแล้งและอุทกภัย อีกทั้งการกัดเซาะดินเกิดเร็ ว ขึ้น และการเกิดทะเลทรายก็ได้แผ่ขยายออกไปอย่างรวดเร็ ว ตลอดจนพืชพันธุ์ธญญาหารเก็บเกี่ยวไม่ ั ได้ผลเท่าที่ควร ขณะที่พนธุ์พืชและพันธุ์สัตว์ตองสู ญพันธุ์มากขึ้นทุกที ความหายนะแต่ละประการนี้มี ั ้ ความเกี่ยวโยงซึ่ งกันและกัน และเป็ นปั จจัยให้กนไม่มีสิ่งใดสามารถเกิดขึ้นได้ตามลาพังโดดเดี่ ยว ั การเผาไหม้ เชื้อเพลิงฟอสซิล (ถ่ านหิน นามัน และแก๊ส) เพือใช้ ผลิตพลังงานอย่างมหาศาลในโลก ้ ่ สมัยใหม่ เป็ นสาเหตุสาคัญทีทาให้ ฝนเป็ นกรด ซึ่งผลที่ตามมา คือ ป่ าและทะเลสาบถูกทาลาย ่ ทะเลสาบหลายหมื่นแห่งในยุโรป และอเมริ กาเหนือต้องมีสภาพเป็ นพิษ เนื่องจากฝนกรดเฉพาะใน ประเทศสวีเดนประเทศเดียวทาให้ทะเลสาบประมาณ 2,000 แห่ง เกือบไม่มีสิ่งมีชีวตหลงเหลืออยูและ ิ ่ ทะเลสาบอีก 15,000 แห่ง มีความเป็ นกรดสู งมากเกินกว่าที่จะเลี้ยงดูค้ าจุนสิ่ งมีชีวตในน้ า นอกจากนี้ ิ ่ แล้ว แม่น้ าบนที่สูงก็อยูในสภาพที่ไม่เหมาะสมสาหรับปลาส่ วนใหญ่ ที่จะดารงชีวต ทุกๆ ปี ปัญหาฝน ิ ่ กรด ได้แผ่กระจายอยูทางใต้ไปยังเขตทะเลเมดิเตอร์ เรเนียน และแพร่ ไปยังทางใต้และทางตะวันตก ของสหรัฐอเมริ กาในขณะเดียวกัน การทาลายป่ าไม้้ ก็ดาเนินมาถึงจุดหายนะแล้ว ป่ าไม้กว่าครึ่ งใน ประเทศเยอรมนี สวิสเซอร์ แลนด์ และเนเธอร์ แลนด์ ขณะนี้ได้ตายไป หรื ออาจกาลังจะตายอยูรอมร่ อ ่ ่ ขณะที่พ้ืนที่เขตภูเขาซึ่ งตั้งอยูระหว่างประเทศเชคโกสโลวาเกีย และเยอรมนีตะวันออกเกิดมลพิษอย่าง หนัก และได้รับฉายาว่าเป็ น "ป่ าช้าต้นไม้แห่งใหญ่" ในยุโรปทัวทั้งหมดและเลยไปจนถึงรัสเซี ย พื้นที่ ่ ป่ าไม้ซ่ ึ งมีขนาดเท่ากับเยอรมนีตะวันตกต้องได้รับพิษจากฝนกรดเมื่อป่ าไม้ตายไปก็ได้เกิดผลตามมา อย่างฉับพลัน ซึ่ งมีไม่กี่คนที่มองเห็นล่วงหน้า การสู ญเสี ยป่ าไม้ ในเขตเทือกเขาแอลป์ ได้ นาไปสู่ การ ทาลายล้ างอย่ างต่ อเนื่องกันเป็ นลูกโซ่ อันได้ แก่ การเกิดหิมะพังทลาย โคลนเลนไหลลืน และนาท่วม่ ้ อย่างฉับพลัน เมื่อไม่ กปีทีผ่านมาก่ อให้ เกิดการสู ญเสี ยชี วตไปมากมาย เมื่อต้นไม้สูญสิ้ นไป ไม่วาจะ ี่ ่ ิ ่
  • 9. เป็ นเพราะได้รับพิษจากฝนกรด หรื อจากการตัดไม้ทาลายป่ า ย่อมเป็ นเหตุให้ระดับของก๊าซ คาร์ บอนไดออกไซด์ค่อย ๆ เพิ่มขึ้นในชั้นบรรยากาศ และแล้ววิกฤตการณ์ที่ 2 ของสิ่ งแวดล้อมก็ได้ เกิดขึ้น นันคือ อากาศร้ อนขึนทัวทั้งโลกผลกระทบอย่างรุ นแรงของการที่โลกมีอุณหภูมิสูงขึ้น ได้ ่ ้ ่ เกิดขึ้นแล้วนันคือ ทุพภิกขภัย ทียดเยือในรัฐทางตะวันตกกลางและทางใต้ ของอเมริกา ระหว่ างฤดูร้อน ่ ่ื ้ ของปี ค.ศ. 1988 ซึ่ งชาวนาในรัฐเหล่านี้ตองได้รับความทุกข์ทรมานอย่างยิง แต่จากการค้นคว้าวิจยทาง ้ ่ ั วิทยาศาสตร์ พบว่า อุณหภูมิในชั้นบรรยากาศของโลกจะสู งขึ้นอีก 4.5 องศาเซลเซียส ในกลาง ศตวรรษหน้า ซึ่ งนาพาความแห้งแล้งมาสู่ เขตเพาะปลูกพืชพันธุ์ธญญาหารเขตอื่น ๆ อันจะเห็นได้ ั ชัดเจนในสหภาพโซเวียต ผลกระทบที่ขดแย้งกันเองของอากาศร้อนขึ้นทัวโลกนั้นจะเกิ ดขึ้นกับ ั ่ บางส่ วนของโลก เช่น ประเทศอังกฤษ และยุโรปทางตอนเหนือ ซึ่ งกลับเย็นขึ้น เนื่องจากกระแสน้ าใน มหาสมุทรเกิดเปลี่ยนทิศทาง และผลผลิตด้านอาหารก็ได้รับความกระทบกระเทือน การละลายของน้ าแข็งขั้วโลก ถึงแม้การเปลี่ยนแปลงของอากาศไม่สามารถที่จะพยากรณ์ได้ แต่ระดับน้ าทะเลที่สูงขึ้นย่อม ่ ไหลบ่าท่วมพื้นที่ที่อยูระดับต่ารอบโลกอย่างแน่นอน ประมาณปี ค.ศ. 2050 หรื อบางทีอาจจะเร็ วกว่า นั้น ถ้าน้ าซึ่ งละลายจากหิ มะที่ปกคลุมขั้วโลกตลอดปี จะทาให้ระดับน้ าทะเลสู งขึ้น ประมาณ 8 ฟุต ่ และเขตชายฝั่งทะเลจะต้องจมอยูใต้น้ า หรื อยิงไปกว่านั้นอาจจะเป็ นประเทศทั้งประเทศเลยก็ได้ ่ "มาลดิเวส" ซึ่ งเป็ นหมู่เกาะ ประมาณ 2,000 เกาะ ในมหาสมุทรอินเดียก็จะอันตรธานหายไปในใต้ ทะเล ในขณะเดียวกัน เขตดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ าในเอเชียและตะวันออกกลาง ที่ซ่ ึ งเป็ นแหล่ง เพาะปลูกข้าวส่ วนใหญ่ของโลกจะสู ญสิ้ นไปประเทศที่เป็ นพื้นที่ต่าและมีประชากรหนาแน่น อย่างเช่น ประเทศบังคลาเทศ ที่จะต้องเผชิญทั้งปั ญหาน้ าท่วมขนานใหญ่ในฤดูฝน อันเกิดจากการตัดไม้ทาลาย ป่ าในเทือกเขาหิ มาลัย และการเพิ่มขึ้นของระดับน้ าทะเล ซึ่ งทั้ง 2 เหตุการณ์น้ ีลวนน่าสยดสยองพอ ๆ ้ กัน และถ้าปราศจากโครงการสร้างเขื่อนป้ องกันน้ า ซึ่ งมีมูลค่ามากกว่างบประมาณการป้ องกันประเทศ
  • 10. ในปัจจุบนแล้ว ทั้งทางด้านตะวันออกของประเทศอังกฤษ เนเธอร์ แลนด์ เยอรมนี และทางตะวันออก ั ่ ของสหรัฐอเมริ กาก็อาจจะสู ญหายอยูใต้น้ าผลกระทบต่อโลก พันธุ์พืช และสัตว์ป่าก็มีไม่นอยกว่ากัน ้ พันธุ์พืชและสัตว์จานวนหลายพันชนิดจะถูกกาจัดหมดไป เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของอากาศที่ เกิดขึ้นอย่างฉับพลัน มีเพียงวิกฤตการณ์ในบรรยากาศประการที่ 3 เท่านั้น (ปรากฎการณ์เรื อนกระจก) ที่มีทีท่าว่าเห็นหนทางแก้ไข ในการประชุมที่เมือง "มอนทรี อล" แคนาดา เมื่อเดือนกันยายน ปี ค.ศ. ั 1987 ประเทศอุตสาหกรรม 24 ประเทศ ยินยอมที่จะลดการผลิตคลอโรฟลูโอโรคาร์บอน และก๊าซที่ใช้ พ่นละอองสเปรย์ (ซึ่ งมีผลทาให้ช้ นโอโซนถูกทาลาย) ให้เหลือเพียงครึ่ งเดียวในปี ค.ศ. 1999 ตั้งแต่น้ น ั ั เป็ นต้นมา ซึ่ งก็ได้ปกป้ องสิ่ งมีชีวตทั้งหมดจากอันตรายของรังสี อุลตร้าไวโอเลต ถ้าเมื่อไรชั้นโอโซน ิ ถูกทาลายจนหมดสิ้ นไป เมื่อนั้นจะเกิดผลพินาศย่อยยับติดตามมาเป็ นลูกโซ่ นอกจากนี้ยงรวมไปถึงั อันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นกับหน่วยพันธุ กรรมของพืชและสัตว์ และการเกิดมะเร็ งผิวหนังในมนุษย์ดวย ้ เราจะต้องกระทาการเพื่อให้เกิดความร่ วมมือกันทัวทั้งโลก ในอันที่จะปกป้ องชั้นบรรยากาศของโลก ่ และรณรงค์ลดมลพิษในชั้นบรรยากาศที่เกิดขึ้นทุกรู ปแบบอย่างเร่ งด่วน ทุกคนจะต้ องได้ รับการ แนะนาถึงวิธีการทีพวกเราแต่ ละคน จะช่ วยเหลือกันทาให้ อากาศบริสุทธิ์ ่ แอฟริกากาล ังวิกฤตจากภาวะโลกร้อน คอลัมน์ โลกสามมิติ โดย บัณฑิต คงอินทร์ bandish.k@psu.ac.th ่ สถานการณ์ของหลายประเทศในทวีปแอฟริ กากาลังอยูในภาวะ"วิกฤต"จากโลกร้อนและหาก ไม่มีการช่วยเหลืออย่างเร่ งด่วนและเต็มไม้เต็มมือจากนานาชาติแล้ว มันจะกลายเป็ นโศกนาฏกรรมครั้ง ใหญ่ของมนุษยชาติ รายงานล่าสุ ดที่ชื่อว่า "Africa - Up in Smoke 2" ของกลุ่มองค์กรด้านการพัฒนา และสิ่ งแวดล้อมของสหราชอาณาจักร อาทิเช่น the new economics foundation- nef, Friends of the Earth.และ Tearfund เป็ นต้น ซึ่ งออกมาก่อนหน้าการประชุมการเปลี่ยนแปลงสภาวะอากาศโลกแห่ง สหประชาชาติ ( United Nations Climate Change Conference - Nairobi 2006)ที่กรุ งไนโรบี ประเทศ
  • 11. ่ เคนยา ในระหว่างวันที่ 6-17 พฤศจิกายน 2006 สองสัปดาห์ ชี้วาการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศได้ ั ่ ส่ งผลกระทบอย่างรุ นแรงต่อคนแอฟริ กนทัวทั้งทวีปและจะเลวร้ายยิงขึ้นหากไม่มีการแก้ไขปัญหา ่ ่ ่ ่ อย่างเร่ งด่วนรายงานชิ้นนี้ระบุวา แม้วาทุกวันนี้สภาพอากาศของแอฟริ กาจะอยูในสภาพไม่แน่นอนก็ ตาม แต่ผลการวิจยล่าสุ ดและประสบการณ์ภาคสนามขององค์กรพัฒนาและสิ่ งแวดล้อมต่างๆในพื้นที่ ั ของแอฟริ กาที่ประสบปั ญหาผลกระทบจากภาวะโลกร้อนบ่งบอกว่าสภาพแวดล้อมของแอฟริ กากาลัง เปลี่ยนแปลงไปในระดับอันตรายสุ ดสุ ดอุณหภูมิที่แอฟริ กายังคงสู งขึ้นต่อไปและยังไม่สามารถ พยากรณ์รูปแบบของอากาศได้มากยิงขึ้นอีกด้วย ความไม่แน่นอนของสภาพอากาศที่สูงขึ้นจะส่ งผล ่ กระทบต่อความมันคงทางด้านอาหารของประชากรในทวีปนี้ ทวีปแอฟริ กามีอุณหภูมิสูงขึ้นโดยเฉลี่ย ่ ่ 0.5องศา เซลเซียสหลัง 100 ปี ที่ผานมา โดยในหลายพื้นที่มีอุณหภูมิสูงกว่าอุณหภูมิของโลกที่เพิมขึ้น ่ ถึงสองเท่า และในบางพื้นที่อุณหภูมิเพิ่มขึ้นถึง 3.5องศา เซลเซียสภายในระยะ 20 ปี เท่านั้น เช่น บางส่ วนของประเทศเคนยา อุณหภูมิที่สูงขึ้นทาให้แอฟริ กาขาดแคลนน้ าในการเพาะปลูกและการ บริ โภค ดังนั้นภัยคุกคามใหญ่ท่ีสุดคือการทาการเกษตรเพื่อยังชีพซึ่ งจะเป็ นไปอย่างยากลาบาก ปั จจุบนแอฟริ กากาลังเผชิญกับความแห้งแล้งที่เลวร้ายแทบทัวทวีป โดยพื้นที่แห้งแล้งหรื อ ั ่ กึ่งแห้งแล้งทางตอนเหนือ, ตะวันตก ตะวันออกและหลายส่ วนทางใต้ของแอฟริ กากาลังจะแห้งแล้ง มากยิงขึ้น ขณะที่บริ เวณเส้นศูนย์สูตรและบางส่ วนของทางตอนใต้จะมีน้ ามากขึ้น ประชากรประมาณ ่ ่ 33 % ในบริ เวณซับซาฮาราอยูในภาวะขาดแคลนอาหาร และที่แอฟริ กากลางสู งถึง 55% ขณะที่ ่ ประชากรในประเทศกาลังพัฒนาทั้งหมดอยูในภาวะขาดแคลนอาหาร 17% การเปลี่ยนแปลงของ อากาศจะเป็ นภัยคุกคามใหม่ต่อความมันคงด้านอาหารซึ่ งซ้ าเติมปั ญหาความยากจนที่มีอยูแล้ว ่ ่ ปั จจุบนความช่วยเหลือทางด้านอาหารของนานาชาติแบบฉุ กเฉิ นต่อแอฟริ กาสู งกว่าทศวรรษที่ 1980 ั ถึงสามเท่า รายงานชิ้นนี้ได้เสนอแนวทางแก้ไขปั ญหาด้วยการวางแผนที่ดีเพื่อลดความเสี่ ยงจากภัย ่ พิบติควบคูไปกับการนาเอาวิธีการทาการเกษตรแบบใหม่ๆมาใช้เพื่อบรรเทาปั ญหาการขาดแคลน ั อาหาร แอนดริ ว ซิมส์ จาก nef องค์กรที่มีบทบาทสาคัญในการช่วยเหลือชาวแอฟริ กน กล่าวว่า โลกั ร้อนทาให้เกิดปั ญหาหลายๆอย่างซึ่ งขณะนี้แอฟริ กาเผชิญกับมันแล้วด้วยความเลวร้ายมากๆ" แค่ปีที่ ั แล้วเพียงปี เดียวคนแอฟริ กน 25 ล้านคนในบริ เวณ ซับซาฮาราต้องเผชิญกับวิกฤตการณ์อาหาร" เขา อธิ บายว่าภาวะโลกร้อนทาให้พ้ืนที่ซ่ ึ งแห้งแล้งอยูแล้วแห้งแล้งยิงขึ้นและพื้นที่ชุ่มน้ าก็มีน้ ามากขึ้น และ ่ ่ บอกว่าสาหรับแอฟริ กาแล้วมันเป็ น"โศกนาฏกรรมครั้ งใหญ่" ซึ่ งแอฟริ กาเองไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับ การทาให้โลกร้อนเลย แต่ปัญหาโลกร้อนเกิดจากกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศร่ ารวยซึ่ งก็คือ
  • 12. ประเทศอุตสาหกรรม กลุ่มองค์กรด้านการพัฒนาและสิ่ งแวดล้อมได้เรี ยกร้องให้ประเทศร่ ารวย ปฏิบติตามพิธีสารเกียวโตในการลดการปล่อยก๊าซเรื อนกระจกและให้มีการปรับปรุ งและพัฒนาความ ั เป็ นมนุษย์ของคนแอฟริ กาโดยการบริ จาคเงินทุนช่วยเหลือเป็ นการเร่ งด่วนเพื่อให้ชุมชนต่างๆแก้ไข ั ปั ญหาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอากาศและบริ จาคเงินให้กบรัฐบาลของประเทศในแอฟริ กา เพื่อแก้ไขปั ญหาความยากจนและลงทุนเกี่ยวกับการพัฒนาทางการเกษตรด้วย ในปี 2005-2006 ประเทศอุตสาหกรรมบริ จาคเงินเพื่อใช้ในการแกไขปัญหาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอากาศ ของประเทศยากจนผ่านสองกองทุนเพียง 43 ล้านเหรี ยญสหรัฐ ซึ่ งไม่เพียงพอต่อความต้องการซึ่ งอยู่ ในระหว่าง 10 -40พันล้านต่อปี ขณะที่ประเทศร่ ารวยสนับสนุนเงินอุดหนุนอุตสาหกรรมน้ ามันคิดเป็ นเงินทั้งหมดมากกว่า 235 ล้านเหรี ยญสหรัฐต่อปี รายงานชิ้นนี้เรี ยกร้องให้ลดการปล่อยก๊าซเรื อนกระจกลง 60% - 90% ซึ่ง ต่างจากเป้ าหมายของพีธีสารเกียวโตที่กาหนดให้ประเทศอุตสาหกรรมลดการปล่อยก๊าซเรื อนกระจก ลง 5.2%จากปริ มาณที่ปล่อยไว้ในปี 1990 ภายในปี 2008-2012 โทนี จูนิเปอร์ ผูอานวยการฝ่ ายบริ หาร ้ ่ ขององค์กร Friends of the Earth สรุ ปสถานการณ์ไว้วา การเปลี่ยนแปลงอากาศทาให้สถานการณ์ใน แอฟริ กาแย่ลง และถ้าหากไม่มีการปฏิบติการอย่างจริ งจังในการลดการปล่อยก๊าซเรื อนกระจกใน ั ขณะนี้แล้วละก็ ประชาชนในประเทศกาลังพัฒนาจะประสบชะตากรรมที่เลวร้าย คนหลายล้านคนจะ ่ อยูในสภาพหิ วโหย ขาดแคลนอาหาร และต้องตาย รายงานล่าสุ ดอีกชิ้นเป็ นของเซอร์ นิโคลาส สเติร์น ่ อดีตหัวหน้านักเศรษฐศาสตร์ ของธนาคารโลกพยากรณ์วาภาวะโลกร้อนอาจจะทาให้ผลิตภัณฑ์มวล รวมของโลก(GDP)ลดลงถึง 20 % แต่หากดาเนินการแก้ไขเสี ยตั้งแต่บดนี้จะมีค่าใช้จ่ายเพียง 1 % ของ ั GDP เท่านั้น รายงานชิ้นนี้เตือนว่าถ้าโลกไม่เคลื่อนไหวที่จะจัดการลดก๊าซเรื อนกระจกเสี ยตั้งแต่บดนี้ ั จะเกิดหายนะอย่างใหญ่หลวงจากการเปลี่ยนแปลงของอากาศ โดยจะเกิดน้ าท่วมจากระดับน้ าทะเลที่ สู งขึ้นซึ่งต้องอพยพคนถึง 100 ล้านคน ธารน้ าแข็งละลายจนทาให้ประชากรโลก 1 ใน 6 ขาดแคลนน้ า จืด สัตว์ป่าอย่างน้อย 40 % ของสปี ซี ส์ท้ งหมดจะสู ญพันธุ์ จะเกิดน้ าท่วมและความแห้งแล้งซึ่ งอาจจะ ั ทาให้ประชากรโลกหลายสิ บล้านคนหรื อหลายร้ายล้านคนกลายเป็ นผูล้ ีภย รายงานนี้ได้เรี ยกร้องให้ ้ ั ประชาคมโลกลงนามในสัญญาลดก๊าซเรื อนกระจกฉบับใหม่ในปี หน้าแทนที่จะรอการพิจารณาในปี 2010/11 ว่าจะดาเนินการต่อไปหรื อไม่หลังพิธีสารเกียวโตสิ้ นสุ ดลง นายโทนี แบลร์ นายกรัฐมนตรี อังกฤษกล่าวถึงรายงานของเซอร์ นิโคลาส สเติร์นว่าเป็ นการแสดงหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ ที่มากมาย
  • 13. มหาศาลและแสดงหายนะที่จะเกิดขึ้นตามมา เขาเห็นว่าไม่สามารถจะรอคอยถึง 5 ปี เพื่อจะเจรจา เกี่ยวกับพิธีสารเกียวโตใหม่อีกครั้งเพราะไม่มีเวลาอีกแล้ว และว่าผลจากการที่โลกอยูเ่ ฉยๆก็คือหายนะ อย่างแท้จริ ง "ความหายนะไม่ได้เกิดขึ้นในนิยายวิทยาศาสตร์ บางเรื่ องในอนาคตหลายๆปี ข้างหน้า ทว่า เกิดในช่วงชีวตของพวกเรานี่เอง" แบลร์ กล่าว ิ ที่มา: มติชน http://www.matichon.co.th/matichon/m...day=2006/11/04 **************************************
  • 14. ใบงานที่ ๓.๓ กลุ่มสาระ สั งคมศึกษา ชื่อหน่ วย:ธรรมชาติเปลียนแปลงคน สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์ ่ ศาสนา และวัฒนธรรม เปลียนไปของทวีปยุโรปและแอฟริกา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒ ่ รายวิชาสั งคมศึกษา ๔ ชื่อใบงาน: รอบรู้ ปัญหาสิ่ งแวดล้ อม เวลาเรียน : ๖ ชั่วโมง รหัสวิชา ส๒๒๑๐๑ ชื่อ.................................................................ชั้ น..............เลขที่..................... คาสั่ ง ให้นกเรี ยนอธิ บายสาเหตุการณ์เกิดปรากฎการณ์ ต่อไปนี้พร้อมทั้งยกตัวอย่างสถานที่เกิดและ ั ผลกระทบที่ตามมา ๑.แผ่นดินไหว ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ๒.สึ นามิ (Tsunami) ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ๓.สภาวะโลกร้อน ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................
  • 15. แบบทดสอบที่ ๓ กลุ่มสาระ สั งคมศึกษา ชื่อหน่ วย:ธรรมชาติเปลียนแปลงคน ่ สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์ ศาสนา และวัฒนธรรม เปลียนไปของทวีปยุโรปและแอฟริกา ่ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒ รายวิชาสั งคมศึกษา ๔ ชื่อแบบทดสอบ: สภาพแวดล้อมด้ านต่ าง ๆ เวลาสอบ :๓๐ นาที รหัสวิชา ส๒๒๑๐๑ และผลกระทบทีมีต่อสิ่ งแวดล้อมของทวีป ่ ยุโรปและแอฟริกา ตอนที่ ๑ จงกาเครื่ องหมาย X หน้าข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว ๑.สิ่ งที่เกิดขึ้นแล้วไม่ได้รับการแก้ไขให้ดีข้ ึนอาจส่ งผลกระทบต่อการดาเนินชีวตหรื อก่อให้เกิด ิ อันตรายได้เรี ยกว่าอะไร ก.เหตุการณ์ ข.สถานการณ์ ค.วิกฤตการณ์ ง.ปรากฏการณ์ ๒.ข้อใดอธิ บายความเหมายของสิ่ งแวดล้อมได้ถูกต้องที่สุด ่ ก.สิ่ งต่าง ๆ ที่อยูรอบตัวเรา ข.สิ่ งต่าง ๆ ที่มีความเหมาะสมต่อมนุษย์ ค.ทุกสิ่ งที่ประกอบกันเป็ นโลกและสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวกับ ป่ าไม้ ดิน น้ า อากาศ ่ ง.ทุกสิ่ งทุกอย่างที่อยูรอบตัวเราทั้งที่มองเห็นและมองไม่เห็นที่มีลกษณะทางกายภาพและ ั ชีวภาพ เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้น ๓.วิกฤตการณ์ดานทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อมของโลกเป็ นผลสื บเนื่องมาจากข้อใด ้ ก.การเพิ่มของจานวนประชากรโลก ข.การเจริ ญก้าวหน้าของเทคโนโลยี ค.การใช้ทรัพยากรธรรมชาติของมนุษย์ ง.การเปลี่ยนแปลงสิ่ งมีชีวตในระบบนิเวศ ิ ๔.สาเหตุสาคัญที่สุดของปั ญหาวิกฤตการณ์ดานสิ่ งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ คือข้อใด ้ ก.การเพิ่มขึ้นของประชากร ข.การขยายตัวทางเศรษฐกิจ ค.ภัยธรรมชาติและอุบติเหตุ ั ง.ความเจริ ญทางด้านเทคโนโลยี ๕.ก๊าซใดที่ถูกปล่อยออกจากโรงกลันน้ ามันเป็ นพิษและเป็ นอันตรายต่อสิ่ งแวดล้อมมากที่สุด ่ ก.คาร์บอนไดออกไซด์ ข.ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ค.ไนโตรเจนไดออกไซด์ ง.ไฮโดคาร์บอน ๖.ปรากฏการณ์เรื อนกระจกสารใดเป็ นตัวการ ก. ข. ค. ง.
  • 16. ๒ ๗.สาเหตุสาคัญที่สุดข้อใดที่ก่อให้เกิดมลภาวะเป็ นพิษทั้งในทวีปยุโรปและแอฟริ กา ก.รัฐบาลควบคุมไม่ถึง ข.ประชากรขาดความรู้ ค.ประชากรไม่เข้าใจปั ญหามลภาวะ ง.ประชากรเห็นแก่ส่วนตัวมากกว่าส่ วนรวม ๘.ภาวะโลกร้อนหมายถึงอะไร ก.ปรากฏการณ์เรื อนกระจก ข.อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่มขึ้น ค.การปล่อยก๊าซพิษสู่ อากาศ ง.น้ าแข็งขั้วโลกเริ่ มละลายลงสู่ ทะเล ๙.ข้อใดคือสาเหตุหลักของการเกิดสภาวะโลกร้อนที่เกิดขึ้นในยุโรปและแอฟริ กาปัจจุบน ั ก.โรงงานอุตสาหกรรม ข.รถยนต์ ค.บ้านเรื อน ง.ขยะ ๑๐.ปรากฏการณ์เรื อนกระจกเกิดจากก๊าซใดเพิ่มขึ้น ก.ก๊าซไนโตรเจน ข.ก๊าซออกซิ เจน ค.ก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ ง.ก๊าซอาร์ กอน ๑๑.ภัยธรรมชาติที่เกิดตามมากับภาวะโลกร้อนที่เห็นชัดที่สุดคือในทวีปแอฟริ กาคือ ก.เกิดพายุ ข.เกิดคลื่นความร้อน ค.เกิดภัยแล้ง ง.เกิดน้ าท่วม ๑๒.ประเทศใดต่อไปนี้ท่ีมีการปล่อยก๊าซเรื อนกระจกมากที่สุด ก.รัสเซีย ข.สหรัฐอเมริ กา ค.ญี่ปุ่น ง.จีน ๑๓.ข้อใดไม่ ใช่ สาเหตุที่ทาให้น้ าแข็งขั้วโลกเหนือละลายเร็ วขึ้น ก.น้ าแข็งขั้วโลกเหนือลอยอยู่เหนือมหาสมุทรที่มีอุณหภูมิสูงขึ้น ข.ภาวะโลกร้อน ค.ปรากฏการณ์เรื อนกระจก ง.พายุสุริยะ ๑๔.ข้อใดต่อไปนี้ ไม่เกี่ยวข้องกับ “ปรากฏการณ์เรื อนกระจก” ก.ฝนกรด ข.โอโซนถูกทาลาย ค.โลกร้อน ง.ดินเสื่ อมสภาพ
  • 17. ๓ ๑๕.“ปรากฏการณ์เรื อนกระจก” ทาให้เกิดวิกฤตด้านสิ่ งแวดล้อมในทวีปแอฟริ กาอย่างไร ก.น้ าท่วมเป็ นบริ เวณกว้าง ข.เกิดความแห้งแล้งเกือบทัวทั้งทวีป ่ ค.อากาศเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ ว ง.เกิดโรคระบาดทั้งพืชและสัตว์ ตอนที่ ๒ ให้นกเรี ยนกาเครื่ องหมาย / หน้าข้อความที่ถูกและกาเครื่ องหมาย X หน้าข้อความที่ผด ั ิ ........ ๑. การเผาไหม้จากโรงงานอุตสาหกรรม เป็ นสาเหตุให้เกิดภาวะโลกร้อนได้ ........ ๒. ก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ เป็ นหนึ่งในก๊าซเรื อนกระจกที่ยงปล่อยออกมามากขึ้นและเร็ ว ิ่ ขึ้นเท่าใด อุณหภูมิโลกก็จะยิงสู งขึ้นและเร็ วขึ้นเท่านั้น ่ ........ ๓. ภาวะโลกร้อนเป็ นสาเหตุของโรคต่าง ๆ มากมาย ........ ๔. การที่ตนไม้ดูดซับก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ เป็ นสาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน ้ ........ ๕. การใช้ถุงพลาสติก ไม่มีผลต่อการเกิดภาวะโลกร้อน ........ ๖. ภาวะโลกร้อนทาให้น้ าแข็งขั้วโลกละลายเร็ วขึ้น และส่ งผลกระทบต่อมนุษย์และสัตว์ ........ ๗. การใช้พลังงานทาให้เกิดของก๊าซเรื อนกระจกมากที่สุด ........ ๘. การใช้รถประจาทางแทนรถส่ วนตัว เป็ นการช่วยลดภาวะโลกร้อนได้ ........ ๙. ประเทศไทยไม่ถูกจัดอยูในกลุ่มที่ตองลดภาวะก๊าซเรื อนกระจก จึงไม่มีความ ่ ้ จาเป็ นต้องดาเนินการใด ๆ เพื่อลดภาวะเรื อนกระจก เนื่องจากเป็ นการสิ้ นเปลืองโดย ไม่จาเป็ น ........๑๐. ภาวะโลกร้อน ก่อให้เกิดน้ าท่วมฉับพลัน , ดินถล่มทางภาคเหนือและภาคอีสาน
  • 18. เฉลยแบบทดสอบที่ ๓ กลุ่มสาระ สั งคมศึกษา ชื่อหน่ วย:ธรรมชาติเปลียนแปลงคน ่ สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์ ศาสนา และวัฒนธรรม เปลียนไปของทวีปยุโรปและแอฟริกา ่ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒ รายวิชาสั งคมศึกษา ๔ ชื่อแบบทดสอบ: สภาพแวดล้อมด้ าน เวลาสอบ :๓๐ นาที รหัสวิชา ส๒๒๑๐๑ ต่ าง ๆ และผลกระทบทีมีต่อ่ สิ่ งแวดล้ อมของทวีปยุโรปและ แอฟริกา ตอนที่ ๑ จงกาเครื่ องหมาย X หน้าข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว ๑. ค ๒. ง ๓. ค ๔. ก ๕.ค ๖. ง ๗.ง ๘. ข ๙. ข ๑๐. ค ๑๑. ค ๑๒. ข ๑๓. ง ๑๔. ง ๑๕. ข ตอนที่ ๒ ๑. / ๒. / ๓. / ๔. X ๕. X ๖. / ๗. / ๘. / ๙. X ๑๐. /