SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 10
Baixar para ler offline
วัดความสามารถด้านการอ่าน
วัดความสามารถด้านการอ่าน (ใช้เวลาประมาณ 20 นาที)
บทความนี้ใช้ตอบคาถามข้อ 1 ถึง ข้อ 5
การศึกษาสมัยใหม่ที่มีรูปแบบแตกต่างจากการศึกษาที่มีวัดและชุมชนเป็นศูนย์กลาง โดยเฉพาะ
การศึกษาสมัยใหม่ในประเทศไทยที่รับต้นแบบมาจากประเทศตะวันตกในช่วงเกือบหนึ่งศตวรรษที่ผ่านมา
ได้รับการวิพากษ์วิจารณ์จากนักคิดและผู้นาทางสังคมชาวไทยเป็นจานวนมากว่า เป็นระบบที่ไม่สร้าง “คนมี
การศึกษา”กล่าวคือ ผู้จบการศึกษาในระดับต่าง ๆ นับแต่ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา อาชีวศึกษา ไป
จนถึงระดับปริญญาตรี ล้วนแต่เป็นผู้ผ่านระบบ “การเข้าห้องเรียน” โดย“ไม่ได้รับการศึกษา”
เพราะระบบการศึกษาสมัยใหม่นั้น เป็นการวัดผลของการมาโรงเรียน และเป็นการแสดง
ความสามารถในการจดจา หรือยึดถือในสิ่งที่ผู้สอนถ่ายทอดให้ผู้เรียนเป็นสรณะ มากกว่าร่วมกันสร้าง หรือ
แสวงหาความรู้ การวัดการเรียนรู้ไม่ได้อยู่บนพื้นฐานของการสร้างความรู้ หรือการต่อยอดความรู้ของผู้เรียน
ศูนย์กลางการเรียนของแต่ละระดับไม่ใช่องค์ความรู้ แต่ถูกเบี่ยงเบนไปที่ระเบียบวิธีการวัดผล บทบาทผู้เรียน
และบทบาทผู้สอน ตัวองค์ความรู้เองก็เป็นของที่กาหนดกันอย่างแน่นอนตายตัวและหยุดนิ่งมากกว่าเป็นสิ่ง
ที่สามารถเคลื่อนไหว ขยายตัว หรือหดตัวลง เมื่อเจอกับปรากฏการณ์ใหม่ ที่พิสูจน์ สนับสนุน คัดค้าน หรือ
ท้าทายความรู้นั้น ๆ และความรู้นั้นถูกเรียกร้องให้ศรัทธามากกว่าให้ตั้งคาถามว่าความรู้นั้น ๆ ถูกต้อง
สมควรหรือไม่ยิ่งไปกว่านั้น ความรู้เหล่านั้นเกือบทั้งหมด ไม่ได้มีรากฐานมาจากสังคมของเราเองความรู้ที่
เกิดขึ้นแก่ผู้เรียน จึงขาดการเชื่อมโยงกับวิถีชีวิต และชุมชน
ดังนั้น ผู้สอนและผู้เรียน ต่างเห็นตรงกันว่า ความรู้เป็นของศักดิ์สิทธิ์ ไม่เปลี่ยนแปลง และความรู้ที่
แท้ มีแต่อยู่ในตาราของสถาบันการศึกษา ความรู้ไม่สามารถหาได้ หากไม่เข้าสู่ระบบการศึกษา การให้คา
รับรองว่าผู้ใดมีความรู้ ก็คือ การวัดผลการศึกษาตามสิ่งที่ได้อบรมสั่งสอนไป และการที่ผู้เรียนสามารถแสดง
ว่าตนเองศรัทธาต่อความรู้นั้น มากเท่าใด เชื่อมากเท่าใด หรือยึดมั่นถือมั่นในความรู้นั้น อย่างแม่นยาเฉียบ
แหลม ผู้เรียนนั้น ๆ ก็จะได้รับการรับรองโดยการออกวุฒิบัตร ประกาศนียบัตร เพื่อรับรองการเป็นผู้ตามที่ดี
ผู้มีวุฒิบัตรต่างๆ แม้แต่ในระดับบัณฑิต จนถึงดุษฎีบัณฑิตก็ตาม ล้วนแต่เป็นคนที่ถูกอบรม ให้
เชื่อและศรัทธามากกว่าถูกอบรมให้ใช้ปัญญาไตร่ตรอง ผู้ที่ผ่านระบบการศึกษาดังกล่าวจึงมักคิดว่าตนมี
การศึกษาและหยุดการเรียนรู้ หรือการแสวงหาความรู้ไว้เมื่อจบการเรียนของตนและได้รับวุฒิบัตรอย่างเป็น
ทางการ ซึ่งถือว่าได้รับการรับรองว่าตนเองมีความรู้แล้ว ยิ่งไปกว่านั้นยังใช้มุมมองอันคับแคบของตนไป
ประเมินผู้อื่นว่าไม่มีการศึกษา หากบุคคลเหล่านั้นด้อยโอกาสที่จะเข้าสู่ระบบการศึกษาเช่นเดียวกับที่พวก
ตนได้รับ ทั้งที่การศึกษาที่แท้จริง คือการมุ่งสร้างปัญญา สร้างการเรียนรู้ พัฒนาองค์ความรู้ เข้าใจการ
เปรียบเทียบ เข้าใจการปรับประยุกต์ ตอบสนองวิถีชีวิต และตอบสนองการดารงอยู่ของบุคคลและสังคม แม้
เป็นการเรียนรู้จากสิ่งแวดล้อมรอบๆ ตัวจากสิ่งพื้น ๆ เพื่อสร้างคุณค่าในการดารงชีวิตอย่างต่อเนื่องและมี
พลวัตรก็เป็นเรื่องที่เรียกได้ว่าเป็นการศึกษา แต่กระบวนในการศึกษาเหล่านั้นกลับไม่ได้รับการให้คุณค่า
อย่างแท้จริงจากสังคม ซ้ายังถูกดูแคลน จึงเป็นความสูญเสียในการใช้ทรัพยากรของสังคมไทยที่เป็นระบบ
การศึกษาของเรา มุ่งผลิตคนที่ “ไร้การศึกษา แต่มีปริญญา” จานวนมาก และมากขึ้นเรื่อย ๆ เพื่อตอบสนอง
แต่อุตสาหกรรมการผลิต และวิถีชีวิตแบบอุตสาหกรรม เพราะคนในสังคมต่างใช้มาตรฐานเดียวกันในการ
วัดคุณค่าทางสมองและทางจิตใจของคนจาก “การศึกษา” ปลอม ๆ ที่มุ่งวัดว่าของวุฒิการศึกษาหนึ่งๆ อยู่ที่
วุฒิการศึกษานั้นจะสร้างความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจต่อเจ้าของวุฒินั้นมากน้อยเพียงใดอันเป็นประโยชน์ของ
ปัจเจกชนอย่างแท้จริง
1. จากการเขียนบทความที่หนึ่งระบบการศึกษาในข้อใด ที่ผู้เขียนบทความมิได้กล่าวตาหนิไว้
(1) การศึกษาของโรงเรียนประถมของรัฐในประเทศไทย ทั้งในกรุงเทพฯ และ
ต่างจังหวัด
(2) การศึกษาในมหาวิทยาลัยเอกชนในประเทศไทย ที่มีการเรียนการสอนในต่าง
ประเทศ
(3) การศึกษาที่จัดโดยคนในชุมชน สอนเรื่องการปลูกข้าวจากประสบการณ์ของ
ตนให้เพื่อนชาวนา
(4) การศึกษาของโรงเรียนมัธยมชื่อดังในประเทศไทย ที่นักเรียนมีโอกาสสอบ
เข้ามหาวิทยาลัยได้มาก
(5) การศึกษาของโรงเรียนมัธยมชื่อดังในประเทศไทย ที่นักเรียนมีโอกาสสอบ
เข้ามหาวิทยาลัยได้มาก
ตอบข้อ 3 ผู้เขียนไม่ได้กล่าวถึงข้อนี้ในบทความเลยในบทความกล่าวตาหนิเพียง
แค่การศึกษาในระดับต่างๆตั้งแต่ระดับประถมมัธยมอาชีวะและระดับปริญญาตรี
2. ท่านคิดว่า ทัศนคติของผู้เขียนบทความนี้ ต่อระบบการศึกษาสมัยใหม่ของประเทศไทยมีแนวโน้ม
ว่า เป็นไปในทิศทางใด
(1) ชื่นชม เพราะการศึกษาสมัยใหม่ มีมาตรฐานมากกว่าการสอนที่วัดในอดีต
(2) เฉยๆ ยังไม่แน่ใจ ข้อมูลไม่เพียงพอ
(3) เย้ยหยัน แสดงถึงความอิจฉาผู้เข้าเรียนในสถาบันการศึกษามีชื่อเสียง
(4) เป็นห่วง แต่ชี้ให้เห็นประเด็นอย่างรุนแรงในเชิงติเตียน เพื่อให้ผู้อ่านลองคิด
ทบทวน
(5) เศร้าใจกับการที่นักเรียนต้องแข่งขันกันเข้ามหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียง ซึ่งหลักสูตรก็เหมือนกับ
มหาวิทยาลัยอื่น
ตอบข้อ 4 ทัศนคติของผู้เขียนบทความมีความเป็นห่วงการศึกษาสมัยใหม่ว่าเป็น ระบบที่ไม่สร้าง “ คน
มีการศึกษา ” รวมถึงมีการใช้คารุนแรง “ปลอมๆ” , “มุมมองคับแคบ”
3. ศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้ตามแนวคิดของผู้เขียนบทความคืออะไร
(1) กระทรวงศึกษาธิการ เพราะเป็นผู้กาหนดแนวทางของหลักสูตรในระดับต่างๆ
(2) ตัวองค์ความรู้ในแขนงวิชานั้นๆ ที่ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันพัฒนา ต่อยอดกันออกไป
(3) มหาวิทยาลัยชั้นนาของรัฐในกรุงเทพฯ ในฐานะผู้นาการศึกษาระดับสูงของชาติ
(4) ผู้เรียนคือศูนย์กลางเสมอ เพราะแนวคิดใหม่ ผู้เรียนสาคัญที่สุดว่าจะได้เรียนรู้อะไร
(5) ไม่มีข้อมูลถูกต้อง
ตอบข้อ 4 ศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้คือผู้เรียน ผู้มีการศึกษาที่ดีเกิดจากการเรียนรู้
จาก “ สิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัว จากสิ่งพื้น ๆ เพื่อสร้างคุณค่าในการดารงชีวิตอย่าง
ต่อเนื่องและมีพลวัตร ( การเคลื่อนไหว ) ”
4. บุคคลต่อไปนี้ คนใดมีพฤติกรรมที่จัดได้ว่าเป็นคน “มีการศึกษา” ในทัศนะของผู้เขียนบทความ
(1) วิชิต เป็นคนขยัน ตั้งใจเรียนตั้งแต่ประถม อ่านทบทวนตาราทุกวัน จนสอบเข้า
คณะแพทย์ได้และจบออกมาเป็นแพทย์รายได้ดีมาก
(2) สุดา เป็นนักวอลเลย์บอล ขยันฝึกซ้อมจนเป็นตัวแทนทีมชาติ ใช้โควตานักกีฬา เข้าเรียน
มหาวิทยาลัย ทาชื่อเสียงโดยลงแข่งให้มหาวิทยาลัยเสมอ จนสาเร็จปริญญาตรี เพราะมหาวิทยาลัย
ตอบแทนในความมุ่งมั่นของเธอ
(3) ลุงสุน เป็นชาวบ้านในจังหวัดระยองที่มีวุฒิการศึกษาไม่สูงนัก ทดลองปลูกมังคุดด้วยตัวเอง และ
อ่านจากตารา ลองผิดลองถูก จนสามารถผลิตมังคุดคุณภาพดี จนสามารถส่งออกไปต่างประเทศได้
และนาความรู้นี้ถ่ายทอดแก่ชาวนสวนอื่นๆ
(4) พิมลวรรณ เป็นลูกชาวบ้านที่ลาบาก ทุ่มเทตั้งใจเรียนอย่างจริงจัง จนได้ทุน
การศึกษาของรัฐบาล เรียนจนจบปริญญาตรีเอก กลับเข้ามาเป็นอาจารย์ใน
มหาวิทยาลัยมีชื่อเสียง
(5) นายแสวงไม่มีโอกาสเรียนสมัยเป็นเด็ก แต่ก็ขวนขวายเรียนโรงเรียน ม.6
ผู้ใหญ่จนได้วุฒิ
ตอบข้อ 3 คน “ มีการศึกษา ” ในทัศนะของผู้เขียนบทความไม่จาเป็นต้องจบการศึกษาได้รับวุฒิบัตร
ประกาศนียบัตร หรือปริญญาบัตร แต่การศึกษาชีวิตประจาวันมีรากฐานมากจากสังคมของตนเชื่อมโยง
กับวิถีชีวิตและชุมชนมีการพัฒนาองค์ความรู้และเข้าใจการปรับประยุกต์
5. ข้อความใดในบทความ เป็น การตอกย้าความศรัทธาในการศึกษาแผนใหม่ของสังคมไทย
(1) “ยึดถือสิ่งที่ผู้สอนถ่ายทอดให้ผู้เรียนเป็นสรณะ” ในย่อหน้าที่สอง
(2) “ความรู้เป็นของศักดิ์สิทธิ์ ไม่เปลี่ยนแปลง และความรู้ที่แท้มีแต่อยู่ในตาราของ
สถาบันการศึกษา” ในย่อหน้าที่สาม
(3) “ผู้ที่ผ่านระบบการศึกษาดังกล่าว จึงมักคิดว่าตนมีการศึกษา และหยุดการ
เรียนรู้” ในย่อหน้าที่สี่
(4) “การที่ผู้เรียนสามารถแสดงว่าตนเองศรัทธาต่อความรู้นั้นมากเท่าใด เชื่อมากเท่าใด…ผู้เรียนนั้น ได้
รับรอง” ในย่อหน้าที่สาม
(5) ถูกทุกข้อ
ตอบข้อ 4 ข้อความนี้เป็นการตอกย้าความมีศรัทธาในการศึกษาแผนใหม่ของสังคมไทยได้ดีที่สุด เพราะ
ข้อ1, 2, 3 เป็นการแสดงความศรัทธาก็จริง แต่การที่จะตอกย้าความมีศรัทธามากที่สุดคือการที่ต้อง
พยายามพิสูจน์ตนเองต่อสิ่งที่ตนเองศรัทธา นั่นก็คือข้อ 4 ที่ผู้เรียนต้องการได้รับการรับรอง หรือการ
ยอมรับจากศรัทธาของตน
บทความนี้ใช้ตอบคาถามข้อ 6 ถึง ข้อ 10
มะพร้าวเป็นทั้งอาหารและยาคู่วิถีชีวิตคนไทยมาช้านาน ภูมิปัญญาของไทยเราเรื่องมะพร้าวก็ไม่
น้อยหน้าชาติอื่น ศรีลังกา หรือฟิลิปปินส์ แม้ถิ่นกาเนิดของมะพร้าวจะไม่อยู่ที่เมืองไทย แต่อยู่ ที่เกาะโคโคส
(Cocos IsLand) ในมหาสมุทรอินเดีย อันเป็นที่มาของชื่อทางวิทยาศาสตร์ของมะพร้าวว่า Cocos –nucifera
L. และ มีชื่อสามัญในภาษาอังกฤษว่า โคโค้ปาล์ม (Cocos Palm) หรือต้นโคโค้นัท (Coco Tree) อย่างไรก็
ตาม คนไทยเรา ก็สนิทสนมคุ้นเคยกับต้นไม้ชนิดนี้ในภาษาไทยเราเอง ซึ่งมีชื่อเรียกแตกต่างไปตามท้องถิ่น
ว่ามะพร้าว (ภาคกลาง) หมากอุ๋น หรือ หมากอุน (ภาคเหนือ) พร้าว (ภาคใต้) ย่อ (ในภาษาไทยมาลายู) หรือ
โดง (ในภาษาของชาวสุรินทร์) เป็นต้น
บรรพชนไทยถือว่ามะพร้าวเป็นต้นไม้จากสรวงสวรรค์ เป็นพรที่เทพเจ้าประทานให้มนุษย์ไม่ว่า
มนุษย์ปรารถนาอะไรในการยังชีพก็สามารถขอได้จากมะพร้าว ดังนั้นในประเพณีชีวิตของคนไทยจึงใช้
มะพร้าวในการประกอบพิธีมงคล เช่น แต่งงาน ขึ้นบ้านใหม่ ในทางปริศนาธรรม ต้นมะพร้าวเป็นสัญลักษณ์
ของ “พระนิพพาน” ดังเพลงกล่อมเด็กของชาวปักษ์ใต้ว่า “มะพร้าวนาฬิเก ยืนโดดเด่นโนเนอยู่กลางทะเล
ขี้ผึ้ง ฝนตกไม่ต้องฟ้าร้องไม่ถึง” ซึ่งทั้งหมดนี้ก็อุบายของ คนโบราณที่ต้องการให้ลูกหลานปลูกมะพร้าวไว้
ใช้สอยทุกครัวเรือน คนไทยจึงผูกพันกับมะพร้าวตั้งอยู่ในท้องแม่จนตาย กล่าวคือมะพร้าวอ่อนเป็นยาบารุง
ครรภ์ (สาหรับสตรีมีครรภ์เกิน 5 เดือน) และสาหรับคุณแม่ลูกอ่อน น้ามะพร้าวนาฬิเก (ชื่อมะพร้าวชนิดหนึ่ง
มีผลเล็กสีเหลืองหรือส้ม น้าหอมมาก) ก็เป็นกระสายยา ช่วยให้น้านมคุณแม่ไหลออกดี และยังเป็นยาช่วย
บาบัดโทษแห่งกุมารดีนัก และตอนตายก็ยังใช้น้ามะพร้าว ล้างชาระหน้าตาให้สะอาดบริสุทธิ์ก่อนเดินทาง
ไปสู่ปรโลก ส่วนต่างๆ ของมะพร้าวตั้งแต่ยอดมะพร้าว น้า เนื้อ กะลา เปลือกผล เปลือกต้น ลงไปจนถึงราก
มะพร้าวล้วนเป็นสรรพคุณในทางยาทั้งนั้น ซึ่งอาจจะกล่าวถึงในคราวต่อไป แต่ในฉบับนี้ขอพูดถึงประเด็นที่
กาลังเป็นข่าวพาดหัวหนังสือพิมพ์ฉบับหนึ่งเมื่อเร็วๆ นี้ เรื่องการใช้น้ามันมะพร้าวเป็นยาลดความอ้วน อย่า
หาว่าเอามะพร้าวห้าวมาขายสวนกันเลยนะ
ทุกวันนี้คนไทยส่วนใหญ่ใช้น้ามันปาล์ม น้ามันถั่วเหลือง กระทั่งน้ามันทานตะวัน น้ามันราข้าว
น้ามันข้าวโพด ในการปรุงอาหาร ทั้งผัด ทั้งทอด จนลืมไปแล้วว่า น้ามันพืชที่ใช้ในการปรุงอาหารของคน
ไทยแต่ดั้งเดิม คือ น้ามันมะพร้าว และน้ากะทิ เพราะแต่ก่อนคนไทยไม่มีน้ามันปาล์ม หรือน้ามันถั่วเหลือ
อาหารไทยทั้งคาวและหวานย่อมขาดกะทิไม่ได้ แน่นอนกะทิเมื่อถูกความร้อนก็แปรสภาพเป็นน้ามัน
มะพร้าวด้วยไม่มากก็น้อย คนไทยเราบริโภคกะทิและน้ามันมะพร้าวมากันชั่วอายุคน โดยไม่ค่อยได้บริโภค
น้ามันพืชอย่างอื่น แต่ก็ไม่มีปัญหาเรื่องโรคอ้วนจนน่าวิตกจนเมื่อเริ่มมีข้อมูลทางโภชนาการยุคแรกประกาศ
ออกมาว่า น้ามันมะพร้าว และน้ากะทิ มีกรดไขมันอิ่มตัวสูงกว่าน้ามันพืชทุกตัว ไม่ควรบริโภคเป็นอาจินต์
เพราะจะทาให้เกิดน้ามันในเลือดสูง ก่อผลร้ายต่อสุขภาพตามมา เช่น ความดันโลหิตสูง เส้นเลือดในสมอง
หรือหัวใจตีบตัน ผู้บริโภคสมัยใหม่จึงรังเกียจกะทิ และน้ามันมะพร้าวหันไปบริโภคน้ามันพืชชนิดมีกรด
ไขมันไม่อิ่มตัวแทน
จริงอยู่น้ามันมะพร้าวมีกรดไขมันอิ่มตัว (Saturated Fatty acid) สูงกว่า 73% รองลงมา คือน้ามัน
ปาล์มมีกรดไขมันอิ่มตัวสูง 50% แต่ทั้งนี้มิได้หมายความว่าน้ามันพืชชนิดอื่น เช่น น้ามันถั่วเหลืองจะไม่มี
กรดไขมันอิ่มตัวเลย เพียงแต่มีน้อยกว่าคือราว 15% แต่การที่มีน้อยกว่ามิได้หมายความว่าน้ามันถั่งเหลืองจะ
ไม่มีอันตรายต่อสุขภาพเลยเพราะแม้แต่น้ามันถั่วเหลืองจะมีกรดไขมันอิ่มตัว (Unsaturated Fatty acid) ถึง
85% แต่ส่วนใหญ่ก็เป็นกรดไขมันไม่อิ่มตัวชนิดหลายตาแหน่ง (Poly Unsaturated Fatty acid) สูงถึง 61%
ซึ่งมีโอกาสเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันได้ง่ายทาให้เซลล์มีความเสียหายจนอาจจะกลายเป็นเนื้อร้าย (มะเร็ง) ได้
ดังที่พบว่ากินอาหารไขมันสูงสัมพันธ์กับการเป็นมะเร็งมิหนาซ้ากรดไขมันอิ่มตัวทั้งหมดของ
น้ามันถั่วเหลืองก็เป็นชนิดสายโซ่ยาว (Long Chain Triglyceride) ซึ่งย่อยสลายเป็นพลังได้ยาก และง่ายต่อ
การสะสมเป็นเนื้อเยื่อไขมันในร่างกาย ถ้าบริโภคมากๆก็ทาให้เกิดโรคอ้วนได้ ตรงกันข้าม กรดไขมัน อิ่มตัว
ในน้ามันมะพร้าว แม้จะสูงมากแต่ส่วนใหญ่ถึง 71% จะเป็นสายโซ่กลาง (Medium Chain
Triglyceride หรือ MCT) ซึ่งเป็นไขมันที่ร่างกายสามารถย่อยและดูดซึมไปใช้ได้ง่ายกว่าไขมันที่มีสายโซ่ยาว
ซึ่งพบเป็นส่วนใหญ่ในน้ามันพืชชนิดอื่น การที่น้ามันมะพร้าว เอ็มซีที (MCT) ถูกย่อยและดูดซับได้ง่ายกว่า
เพราะไม่จาเป็นต้องอาศัยน้าดีจากตับอ่อน ในขณะที่ไขมันสายโซ่ยาวจาเป็นต้องใช้น้าดีช่วยย่อย คุณสมบัติ
ของน้ามันมะพร้าวที่ย่อยและดูดซับได้ง่าย และไม่สะสมในตับนี้เอง ทางการแพทย์จึงนาเอ็มซีที (MCT) ที่มี
อยู่มากในน้ามันมะพร้าวมาใช้ทาผลิตภัณฑ์อาหารหรือนมแก่ทารกคลอดก่อนกาหนดหรือทารกที่มีปัญหา
เรื่องการย่อยและดูดซึม หรือผู้ป่วยวัยอื่นที่มีปัญหาตับอ่อนไม่สามารถสรร้างน้าดีย่อยไขมันได้
น่าอัศจรรย์ไหม ที่พฤติกรรมการบริโภคน้ามันมะพร้าวของคนไทยสมัยก่อน มาสอดคล้องกับ
ความรู้โภชนาการสมัยใหม่ เรื่อง เอ็มซีที จนทาให้เราต้องกลับมาที่ภูมิปัญญาไทย เรื่องนั้นมันมะพร้าวกันอีก
ครั้ง แต่อย่างไรก็ตาม แม้ว่าน้ามันมะพร้าวจะมีเอ็มซีทีอยู่สูง จนดูเหมือนว่าจะมีแต่ประโยชน์ต่อร่างกาย แต่
ความจริงแล้วไขมันทุกชนิดมีพลังเท่ากันหมด คือ 1 กรัม ให้พลังงาน 9 กิโลแครอรี ดังนั้นการกินอาหารแล้ว
ได้พลังงานมากเกินความต้องการโดยไม่ออกกาลังกายถ่ายเทออกไป พลังงานส่วนที่เหลือก็จะกลับเป็น
ไขมันสะสมให้ร่างกายย้วยกันต่อไป
ที่กล่าวมาทั้งหมดนี้มิใช่จะให้เลิกบริโภคน้ามันพืชที่มีกรดไขมันสายโซ่ยาวและกรดไขมันอิ่มตัว
ชนิดหลายตาแหน่ง เพราะน้ามันเหล่านี้มีกรดไขมันที่ร่างกายต้องการ ในสมัยก่อนแม้จะมีน้ามันถั่วเหลือง
แต่ก็มีน้ามันงาซึ่งอุดมด้วยกรดไขมันใกล้เคียงกับน้ามันถั่วเหลือง คนไทยแต่ก่อนรู้จักบริโภคน้ามันมะพร้าว
กับน้ามันงาผสมผสานสมดุลกัน เป็นทั้งอาหารและยาช่วยบารุงร่างกายให้แข็งแรงและปราศจากโรคภัยไข้
เจ็บ ภูมิปัญญาทางโภชนาการอันหาค่ามิได้นี้ ลูกหลานไทยต้องรีบฟื้นกลับโดยพลัน โดยมีความรู้ความ
เข้าใจที่ถูกต้องเป็นเครื่องกากับ มิใช่เอาแต่ปลุกกระแสฉวยโอกาสทางการตลาดเท่านั้น
6. คุณสมบัติทางชีวเคมีข้อใด คือ ข้อดีของมะพร้าว
(1) ใช้ชาระหน้าตาได้อย่างบริสุทธิ์ก่อนไปสู่ปรโลก
(2) มีกรดไขมันอิ่มตัวสูงถึง 73% สูงกว่าน้ามันชนิดอื่นๆ ให้คุณค่าทางอาหารสูง
(3) มีกรดไขมันอิ่มตัวสายโซ่กลาง (MCT) ที่ดูดซึมได้ง่าย นาไปผลิตอาหารทารกได้
(4) ไขมันมะพร้าวเพียงหนึ่งกรรม ให้พลังงานถึง 9 แคลอรี
(5) ถูกทุกข้อ
ตอบข้อ 3 ข้อ 1 และข้อ 4 ไม่เกี่ยวข้องกับข้อดีของมะพร้าว ส่วนข้อ 2 กรดไขมันอิ่มตัวก่อให้เกิดผลเสีย
ต่อสุขภาพมากกว่าให้คุณค่าทางอาหาร คาตอบข้อ 3 จึงเป็นคาตอบที่ดีที่สุด
7. ผู้เขียนบทความนี้มีทัศนคติอย่างไรต่อ “ภูมิปัญญาไทยในการบริโภคมะพร้าว”
(1) รู้เท่าไม่ถึงการณ์ เสี่ยงต่ออันตรายต่อสุขภาพ
(2) ชื่นชม มีแนวปฏิกิริยาสอดคล้องกับผลการวิจัยทางวิทยาศาสตร์สมัยใหม่
(3) ดูถูก ล้าสมัย คร่าศรี ไม่ถูกสุขอนามัย
(4) ชื่นชมที่นักวิทยาศาสตร์ของไทยค้นพบความจริงในเรื่องมะพร้าวมาแต่โบราณ
(5) เฉยๆ เนื่องจากภูมิปัญญาไทยต่างๆ ล้วนมีพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
ตอบข้อ 2 ดังข้อความในย่อหน้าที่ 6 ที่ว่า “น่าอัศจรรย์ไหม ที่พฤติกรรมการบริโภคน้ามันมะพร้าวของ
คนไทยสมัยก่อน มาสอดคล้องกับความรู้โภชนาการสมัยใหม่ เรื่อง เอ็มซีที จนทาให้เราต้องกลับมาทึ่ง
ภูมิปัญญาไทย”
8. จากบทความข้างต้น ผู้เขียนมีความเห็นอย่างใดต่อการใช้ “น้ามันมะพร้าวเพื่อลดความอ้วน”
(1) เห็นด้วย และสนับสนุนอย่างจัดเจน
(2) ไม่เห็นด้วยและคัดค้าน
(3) ไม่ออกความเห็น แต่บ่งเป็นนัยว่ามะพร้าวมีสรรพคุณที่ดีอย่างไร
(4) สนับสนุนทางอ้อม เพราะมะพร้าวใช้เลี้ยงเด็กอ่อนได้
(5) เห็นว่าเป็นเรื่องไร้สาระ ไม่มีเหตุผลทางวิทยาศาสตร์
ตอบข้อ 3 ผู้เขียนไม่บอกว่าดีหรือไม่ดีอย่างไร บอกเพียงสรรพคุณว่า “ น้ามันมะพร้าวและน้ากะทิ มี
กรดไขมันอิ่มตัวสูงกว่าน้ามันพืชทุกตัว ไม่ควรบริโภคเป็นอาจินต์ เพราะจะทาให้เกิดไขมันในเลือด
สูง ก่อผลร้ายต่อสุขภาพ เช่น ความดันโลหิตสูง เส้นเลือดในสมองหรือหัวใจตีบตัน ”
9. คาพังเพยใด ใช้อธิบายพฤติกรรมผู้บริโภคชาวไทย ต่อการบริโภคมะพร้าวได้ดีที่สุด
(1) ช้าๆ ได้พร้าสองเล่มงาม (2) เอามะพร้าวห้าวมาขายสวน
(3) เห็นช้างขี้ ขี้ตามช้าง (4) ได้ใหม่แล้วลืมค่า
(5) ไก่ได้พลอย
ตอบข้อ 3 ชาวไทยมักทาอะไรตาม ๆ กัน ตอนจบบทความมีการกล่าวว่า “มิใช่เอาแต่ปลุกกระแสฉวย
โอกาสทางตลาด” แสดงว่าการปลุกกระแส และการทาตามกันเป็นสิ่งที่เป็นเรื่องปกติในสังคมไทย
ปัจจุบัน
10. ชื่อของบทความนี้ที่เหมาะสมกับเนื้อความควรเป็นอย่างไร
(1) การล่มสลายของน้ามันถั่วเหลือง
(2) การตลาดสมัยใหม่ของน้ามันมะพร้าว
(3) มะพร้าวกับภูมิปัญญาไทย
(4) ข้อมูลใหม่สนับสนุนการบริโภคมะพร้าว
(5) ภาวะโภชนาการของคนไทย
ตอบข้อ 4 ชื่อของบทความนี้เหมาะสมกับเนื้อความมากที่สุด ดูจากบทความเน้นที่การให้ข้อมูลใหม่ให้
เปลี่ยนความคิดเดิมในสังคมปัจจุบัน
11. ห้องพักของโรงลีลาวดี แบ่งออกเป็น 2 ปีก คือ ปีกเหนือ และปีกใต้ห้องพักทางปีเหนือของห้องสามารถ
มองเห็นทะเลได้ส่วนห้องพักทางปีกใต้จะมองเห็นภูเขาได้ทุกห้อง อัตราค่าเช่าห้องพักของโรงแรมนี้จะ
เท่ากันทุกห้อง ยกเว้น
1 ห้องพักที่อยู่ตั้งแต่ชั้น 3 ขึ้นไปสามารถมองเห็นภูเขาจะต้องเสียค่าเช่าเพิ่มพิเศษ
2 ห้องพักที่สามารถมองเห็นทะเลทุกห้องจะต้องเสียค่าเช่าเพิ่มพิเศษ ยกเว้น ห้องที่ไม่มีระเบียง
3 ห้องพักที่อยู่บนชั้นหนึ่งและสองที่เห็นภูเขา และห้องพักทางปีกเหนือบางห้องที่ไม่เห็นทะเลจะมีครัว
4 เฉพาะห้องที่เห็นทะเลและห้องพักที่เห็นภูเขาเท่านั้นจะมีระเบียงถ้าลูกค้าไม่ต้องการเสียค่าเช่าเพิ่ม
พิเศษลูกค้าจะต้องเลือกพักใน
(1) ห้องพักทางปีกใต้อยู่บนชั้นหนึ่งหรือชั้นสอง
(2) ห้องพักทางปีกใต้ที่อยู่บนชั้นสี่และไม่มีระเบียง
(3) ห้องพักทางปีกเหนือที่ไม่เห็นทะเล
(4) ห้องพักทางปีกเหนือที่ไม่มีระเบียงหรือครัว
(5) ห้องพักห้องใดก็ได้ที่ไม่มีห้องครัว
ตอบข้อ 4 ห้องพักที่ไม่มีระเบียงหรือครัว ไม่เสียค่าเช่าเพิ่มพิเศษ
12. การสามะโนประชากรครั้งล่าสุดปรากฏดังนี้
อาเภอวิหารแดงมีประชากรมากกว่าอาเภอรัตภูมิ
อาเภอท่าอุเทนมีประชากรมากกว่าอาเภอวิหารแดง
อาเภอพยุหคีรีมีประชากรมากกว่าอาเภอท่าอุเทน
อาเภอองครักษ์มีประชากรมากกว่าอาเภอเลิงนกทา
อาเภอเลิงนกทามีประชากรมากกว่าอาเภอวิหารแดง
หากข้อความข้างต้นเป็นจริง ข้อใดต่อไปนี้ต้องเป็นจริงด้วย
(1) อาเภอเลิงนกทามีประชากรมากกว่าอาเภอท่าอุเทน
(2) อาเภอท่าอุเทนมีประชากรน้อยกว่าอาเภอองครักษ์
(3) อาเภอพหุหคีรีมีประชากรมากกว่าอาเภอองครักษ์
(4) อาเภอเลิงนกทามีประชากรน้อยกว่าอาเภอท่าอุเทน
(5) อาเภอองครักษ์มีประชากรมากกว่าอาเภอวิหารแดง
ตอบข้อ 5 จากข้อความนามาเรียงลาดับจานวนประชากรจากมากไปหาน้อยได
ดังนี้ องครักษ์ > เลิงนกทา > พยุหคีรี > ท่าอุเทน > วิหารแดง > รัตภูมิ
13. ดาราละครหญิงที่รับบทนางร้ายในละครโทรทัศน์ถูกขู่อาฆาตจากแม่ค้าเมื่อไปเดินซื้อของในตลาด
ดังนั้นหากพราวพิลาสซึ่งเป็นดาราละครหญิงไม่ถูกอาฆาตจากแม่ค้า เมื่อไปเดินซื้อของในตลาด แสดง
ว่าเธอไม่ได้รับบทนางร้ายวิธีการให้เหตุผล
ข้อใดที่เหมือนกันวิธีการให้เหตุผลข้างต้นมากที่สุด
(1) แพรวพรรณรายเป็นดาราละครโทรทัศน์ที่นิยมรับบทนางเอกสลับกับบทนางร้ายหากเธอไม่ได้รับ
จดหมายด่าทอจากประชาชนเลย แสดงว่าเธอไม่ได้รับบทนางร้าย
(2) วันไหนที่เด็กชายจังก้ารับประทานปาท่องโก๋และดื่มน้าเต้าหู้เป็นอาหารเช้า เขาจะรู้สึกหิว ก่อนเวลา
พักเที่ยงเสมอ วันนี้เด็กชายจังก้ารับประทานปาท่องโก๋และน้าเต้าหู้เป็นอาหารเช้า เขาจะต้องรู้สึกหิว
ก่อนเวลาพักเที่ยงเป็นแน่
(3) นักร้องชายเจ้าของหมอลายอดนิยมจะได้รับตุ๊กตาหมีมากกว่า 50 ตัว จากแฟนเพลงมาร์คซึ่งเป็น
นักร้องชายที่ร้องเพลงหมอลา ได้รับตุ๊กตาหมีจากแฟนเพลงมากกว่า 50 ตัว แสดงว่าเขาไม่ใช่เจ้าของ
เพลงหมอลายอดนิยม
(4) พระสงฆ์ที่ปฏิบัติตามพระธรรมวินัยอย่างเคร่งครัดจะไม่ยืนบิณฑบาตอยู่กับที่ แต่จะเดินโปรดสัตย์
ไปตามเส้นทางที่ไม่ซ้ากันในแต่ละวัน ฉันเห็นพระรูปหนึ่งยืนรอรับของใส่บาตรรอยู่กับที่ที่ตลาด
ข้างบ้านเป็นเวลาค่อนชั่วโมงโดยไม่เดินไปไหน แสดงว่าพระรูปนั้นไม่ปฏิบัติตามพระธรรมวินัย
อย่างเคร่งครัด
(5) เงาะที่ปลูกจากการชากิ่งให้ผลดีกว่าเงาะที่ปลูกจากเมล็ด ดังนั้นหากต้องการทาสวนเงาะในเชิง
พานิชย์ชาวสวนควรเลือกปลูกเงาะโดยวิธีชากิ่ง
ตอบ 4 จากโจทย์เป็นการเดาเหตุจากผลที่เห็น ซึ่งจะตรงกับข้อที่ 4 ส่วนข้อ 1ไม่มีการเดาโดย
เชื่อมเหตุผลกัน ข้อ2 เป็นการเดาผลจากเหตุ ส่วนข้อ 3 เป็นการอ้างเหตุผลที่ไม่ถูกต้อง ข้อ 5 ไม่มี
การเดาเหตุหรือผลใดๆ
14. คุณพ่อและพี่ชายทั้งสองคนหัวร้านภายใน 5 ปีหลังจากที่ทางานเป็นที่ปรึกษาทางการเงิน ฉันไม่
ต้องการผมร่วงอย่างทุกคน ฉันเลยเป็นวิศวกรแทนข้อความข้างล่างต่อไปนี้ใช้วิธีการให้เหตุผล
เหมือนกับข้อความข้างต้น
(1) ทุกคนจะถูกโอนย้ายไปทางานที่ส่วนอื่นภายในสามปีหลังจากเริ่มงาน ฉันไม่
ต้องการย้ายไปที่ส่วนงานอื่น ดังนั้นฉันจึงพยายามทางานให้หนักขึ้น
(2) เจ้าหน้าที่ในกะของฉันประสบอุบัติเหตุระหว่างทางานหลังจากรับประทาน
อาหารที่ร้านเอ ฉันไม่ต้องการให้เกิดอุบัติเหตุระหว่างทางานหลังจาก
รับประทานอาหารที่ร้านเอ ฉันเลยรับประทานอาหารที่ร้านบีแทน
(3) เพื่อนบ้านของฉันถูกใบสั่งจากการขับรถเร็วเมื่อปีที่แล้วทุกคน ฉันไม่
ต้องการได้รับใบสั่งฉันเลยไม่ขับรถเร็ว
(4) ผู้ชายสามคนในสมาคมของฉันมีอารมณ์หงุดหงิดหลังจากเลิกสุรา ฉัน
ต้องการมี อารมณ์แจ่มใส ฉันจึงลาออกจากการเป็นสมาชิกของษมาคม
ดังกล่าว
(5) ทุกครั้งที่ฉันดื่มชาก่อนนอน ฉันจะนอนไม่หลับ ฉันต้องการนอนหลับอย่าง
สบายในคืนนี้ ดังนั้นฉันจึงกินยานอนหลับ
ตอบข้อ 2 การอ้างเหตุผลในข้อนี้เป็นการอ้างเหตุผลแบบพิจารณาเหตุเพียงบางอย่างแล้วจึงสรุปผล
จากโจทย์“ฉัน”อ้างว่าที่คุณพ่อและพี่ชายทั้งสองหัวล้านเหมือนกันเพราะทางานเป็นที่ปรึกษาทางการ
เงินเหมือนกันเท่านั้น แต่ให้ความเป็นจริงอาจมีเหตุผลอื่นๆเข้ามาประกอบด้วย ดังนั้นจึงตอบ ข้อ 2 ซึ่ง
มีการอ้างเหตุผลลักษณะเดียวกัน ข้อ 1 ผิดเพราะไม่มีความเกี่ยวข้องกันระหว่างเหตุและผล ข้อ 3 ผิด
เพราะเป็นการอ้างเหตุผลดูจากคนส่วนใหญ่แล้วสรุปผล ข้อ 4 ผิดเพราะเป็นการอ้างเหตุผลที่ไม่มี
ความเชื่อมโยงกันระหว่างเหตุและผล ส่วนข้อ 5 ผิดเพราะเหตุและผลไม่เกี่ยวข้องกัน
15. นักศึกษาชั้นปีที่ 2 ที่ลงทะเบียนเรียนวิชาการเงินธุรกิจ โดยไม่ได้เรียนวิชาการบัญชี
ขั้นต้นมาก่อน ต่างประสบปัญหาในการทาความเข้าใจกับเนื้อหาวิชาเป็นอย่างมาก
ความรู้ในเรื่องธุรกิจเบื้องต้นและงบการเงินที่สอนในวิชาการบัญชีขั้นต้นเท่านั้นที่
พอที่จะทาความเข้าใจ ในเนื้อหาวิชาการเงินธุรกิจและติดตามบทเรียนได้อย่าง
ง่ายดาย ดั้งนั้นนักศึกษาที่ประสงค์จะเรียนวิชาการเงินธุรกิจให้ได้ผลดีจึงควรเรียน
วิชาการบัญชีขั้นต้นมาก่อนเสมอ
ข้อใดเป็นประเด็นหลักของข้อความข้างต้น
(1) นักศึกษาชั้นปีที่ 2 ส่วนใหญ่ขาดความรู้ความสามารถที่จะเข้าใจเนื้อหาวิชา
การเงินธุรกิจซึ่งมีความสลับสับซ้อน
(2) การเข้าใจเนื้อหาวิชาการบัญชีข้างต้นเป็นปัจจัยสาคัญในการทาความเข้าใจใน
เนื้อหาวิชาการเงินธุรกิจ
(3) การทาความเข้าใจในเนื้อหาการเงินธุรกิจมีส่วนช่วยในการศึกษาวิชาการบัญชี
ขั้นต้น
(4) แม้ว่านักศึกษาจะเคยศึกษาวิชาการบัญชีขั้นต้นมาก่อน แต่หากไม่ชอบวิชาทางด้านการเงิน ก็ไม่อาจ
เรียนวิชาการเงินธุรกิจให้ประสบผลสาเร็จได้
(5) ไม่มีข้อใดถูกต้อง
ตอบข้อ 2 ใจความสาคัญอยู่ที่ตอนท้ายของย่อหน้า ข้อความต้นย่อหน้ามีไว้เพื่อสนับสนุนให้ข้อความ
ข้อความสรุปต้อนท้ายที่ผู้เขียนต้องการจะกล่าวมีน้าหนักมากยิ่งขึ้น ข้อ 1 เป็นเพียงตัวอย่างที่สนับสนุน
ข้อความหลักตอนท้าย ข้อ 3 ไม่ถูกต้อง เพราะการเรียนบัญชีขั้นต้นมาก่อนการเงินธุรกิจ จึงไม่มีทางที่
การเงินธุรกิจจะมีส่วนช่วยการบัญชีขั้นต้น ส่วนข้อ 4 ในย่อหน้าไม่มีการกล่าวถึงความชอบวิชาทางด้าน
การเงินเลย ข้อนี้จึงไม่ถูกต้อง

Mais conteúdo relacionado

Destaque

ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3naaikawaii
 
Context clues power point
Context clues power pointContext clues power point
Context clues power pointMari Gold
 
01 conceitos, objeto, finalidade, técnicas contábeis e campo
01 conceitos, objeto, finalidade, técnicas contábeis e campo01 conceitos, objeto, finalidade, técnicas contábeis e campo
01 conceitos, objeto, finalidade, técnicas contábeis e campolucio_rick
 
Dlaczego warto być aktywnym
Dlaczego warto być aktywnymDlaczego warto być aktywnym
Dlaczego warto być aktywnymVadym Melnyk
 
Abbott to Turnbull Ch 10
Abbott to Turnbull Ch 10Abbott to Turnbull Ch 10
Abbott to Turnbull Ch 10Sharon Bell
 
Applying read on tab 4
Applying read on tab 4Applying read on tab 4
Applying read on tab 4Mark Roberts
 
Applying read on tab 4
Applying read on tab 4Applying read on tab 4
Applying read on tab 4Mark Roberts
 
Impatto economico dello sport, verso il bilancio consolidato. Sala Regina 080714
Impatto economico dello sport, verso il bilancio consolidato. Sala Regina 080714Impatto economico dello sport, verso il bilancio consolidato. Sala Regina 080714
Impatto economico dello sport, verso il bilancio consolidato. Sala Regina 080714FrancescoBoccia
 
Українська Мережа за Права Дитини, звіт про діяльність/ UCRN report
Українська Мережа за Права Дитини, звіт про діяльність/ UCRN reportУкраїнська Мережа за Права Дитини, звіт про діяльність/ UCRN report
Українська Мережа за Права Дитини, звіт про діяльність/ UCRN reportUkrainian Child Rights Network
 

Destaque (13)

ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
Context clues power point
Context clues power pointContext clues power point
Context clues power point
 
01 conceitos, objeto, finalidade, técnicas contábeis e campo
01 conceitos, objeto, finalidade, técnicas contábeis e campo01 conceitos, objeto, finalidade, técnicas contábeis e campo
01 conceitos, objeto, finalidade, técnicas contábeis e campo
 
Dlaczego warto być aktywnym
Dlaczego warto być aktywnymDlaczego warto być aktywnym
Dlaczego warto być aktywnym
 
festivales de italia
festivales de italiafestivales de italia
festivales de italia
 
Abbott to Turnbull Ch 10
Abbott to Turnbull Ch 10Abbott to Turnbull Ch 10
Abbott to Turnbull Ch 10
 
Our people tab 3
Our people tab 3Our people tab 3
Our people tab 3
 
Our culture
Our cultureOur culture
Our culture
 
Applying read on tab 4
Applying read on tab 4Applying read on tab 4
Applying read on tab 4
 
Applying read on tab 4
Applying read on tab 4Applying read on tab 4
Applying read on tab 4
 
Impatto economico dello sport, verso il bilancio consolidato. Sala Regina 080714
Impatto economico dello sport, verso il bilancio consolidato. Sala Regina 080714Impatto economico dello sport, verso il bilancio consolidato. Sala Regina 080714
Impatto economico dello sport, verso il bilancio consolidato. Sala Regina 080714
 
Українська Мережа за Права Дитини, звіт про діяльність/ UCRN report
Українська Мережа за Права Дитини, звіт про діяльність/ UCRN reportУкраїнська Мережа за Права Дитини, звіт про діяльність/ UCRN report
Українська Мережа за Права Дитини, звіт про діяльність/ UCRN report
 
Our culture tab 1
Our culture   tab 1Our culture   tab 1
Our culture tab 1
 

Mais de naaikawaii

โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมnaaikawaii
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมnaaikawaii
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8naaikawaii
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6naaikawaii
 
ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7naaikawaii
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5naaikawaii
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2naaikawaii
 
Onet'53 วิทย์
Onet'53 วิทย์Onet'53 วิทย์
Onet'53 วิทย์naaikawaii
 
Onet'53 ภาษาไทย
Onet'53 ภาษาไทยOnet'53 ภาษาไทย
Onet'53 ภาษาไทยnaaikawaii
 
Correction onet m6_thai_53
Correction onet m6_thai_53Correction onet m6_thai_53
Correction onet m6_thai_53naaikawaii
 
Correction onet m6_social_53
Correction onet m6_social_53Correction onet m6_social_53
Correction onet m6_social_53naaikawaii
 
Correction onet m6_science_53
Correction onet m6_science_53Correction onet m6_science_53
Correction onet m6_science_53naaikawaii
 
Onet'53 สังคม
Onet'53 สังคมOnet'53 สังคม
Onet'53 สังคมnaaikawaii
 
เอกสารประกอบวิชาคณิตศาสตร์
เอกสารประกอบวิชาคณิตศาสตร์เอกสารประกอบวิชาคณิตศาสตร์
เอกสารประกอบวิชาคณิตศาสตร์naaikawaii
 
เอกสารประกอบวิชาการอ่าน
เอกสารประกอบวิชาการอ่านเอกสารประกอบวิชาการอ่าน
เอกสารประกอบวิชาการอ่านnaaikawaii
 
เอกสารประกอบวิชาคณิตศาสตร์
เอกสารประกอบวิชาคณิตศาสตร์เอกสารประกอบวิชาคณิตศาสตร์
เอกสารประกอบวิชาคณิตศาสตร์naaikawaii
 
เอกสารประกอบวิชาการอ่าน
เอกสารประกอบวิชาการอ่านเอกสารประกอบวิชาการอ่าน
เอกสารประกอบวิชาการอ่านnaaikawaii
 
เอกสารประกอบวิชาอังกฤษ
เอกสารประกอบวิชาอังกฤษเอกสารประกอบวิชาอังกฤษ
เอกสารประกอบวิชาอังกฤษnaaikawaii
 
ข้อสอบวิชาอังกฤษ Smart 1
ข้อสอบวิชาอังกฤษ Smart 1ข้อสอบวิชาอังกฤษ Smart 1
ข้อสอบวิชาอังกฤษ Smart 1naaikawaii
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4naaikawaii
 

Mais de naaikawaii (20)

โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6
 
ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
Onet'53 วิทย์
Onet'53 วิทย์Onet'53 วิทย์
Onet'53 วิทย์
 
Onet'53 ภาษาไทย
Onet'53 ภาษาไทยOnet'53 ภาษาไทย
Onet'53 ภาษาไทย
 
Correction onet m6_thai_53
Correction onet m6_thai_53Correction onet m6_thai_53
Correction onet m6_thai_53
 
Correction onet m6_social_53
Correction onet m6_social_53Correction onet m6_social_53
Correction onet m6_social_53
 
Correction onet m6_science_53
Correction onet m6_science_53Correction onet m6_science_53
Correction onet m6_science_53
 
Onet'53 สังคม
Onet'53 สังคมOnet'53 สังคม
Onet'53 สังคม
 
เอกสารประกอบวิชาคณิตศาสตร์
เอกสารประกอบวิชาคณิตศาสตร์เอกสารประกอบวิชาคณิตศาสตร์
เอกสารประกอบวิชาคณิตศาสตร์
 
เอกสารประกอบวิชาการอ่าน
เอกสารประกอบวิชาการอ่านเอกสารประกอบวิชาการอ่าน
เอกสารประกอบวิชาการอ่าน
 
เอกสารประกอบวิชาคณิตศาสตร์
เอกสารประกอบวิชาคณิตศาสตร์เอกสารประกอบวิชาคณิตศาสตร์
เอกสารประกอบวิชาคณิตศาสตร์
 
เอกสารประกอบวิชาการอ่าน
เอกสารประกอบวิชาการอ่านเอกสารประกอบวิชาการอ่าน
เอกสารประกอบวิชาการอ่าน
 
เอกสารประกอบวิชาอังกฤษ
เอกสารประกอบวิชาอังกฤษเอกสารประกอบวิชาอังกฤษ
เอกสารประกอบวิชาอังกฤษ
 
ข้อสอบวิชาอังกฤษ Smart 1
ข้อสอบวิชาอังกฤษ Smart 1ข้อสอบวิชาอังกฤษ Smart 1
ข้อสอบวิชาอังกฤษ Smart 1
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 

ข้อสอบวัดความสามารถการอ่าน Smart 1

  • 1. วัดความสามารถด้านการอ่าน วัดความสามารถด้านการอ่าน (ใช้เวลาประมาณ 20 นาที) บทความนี้ใช้ตอบคาถามข้อ 1 ถึง ข้อ 5 การศึกษาสมัยใหม่ที่มีรูปแบบแตกต่างจากการศึกษาที่มีวัดและชุมชนเป็นศูนย์กลาง โดยเฉพาะ การศึกษาสมัยใหม่ในประเทศไทยที่รับต้นแบบมาจากประเทศตะวันตกในช่วงเกือบหนึ่งศตวรรษที่ผ่านมา ได้รับการวิพากษ์วิจารณ์จากนักคิดและผู้นาทางสังคมชาวไทยเป็นจานวนมากว่า เป็นระบบที่ไม่สร้าง “คนมี การศึกษา”กล่าวคือ ผู้จบการศึกษาในระดับต่าง ๆ นับแต่ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา อาชีวศึกษา ไป จนถึงระดับปริญญาตรี ล้วนแต่เป็นผู้ผ่านระบบ “การเข้าห้องเรียน” โดย“ไม่ได้รับการศึกษา” เพราะระบบการศึกษาสมัยใหม่นั้น เป็นการวัดผลของการมาโรงเรียน และเป็นการแสดง ความสามารถในการจดจา หรือยึดถือในสิ่งที่ผู้สอนถ่ายทอดให้ผู้เรียนเป็นสรณะ มากกว่าร่วมกันสร้าง หรือ แสวงหาความรู้ การวัดการเรียนรู้ไม่ได้อยู่บนพื้นฐานของการสร้างความรู้ หรือการต่อยอดความรู้ของผู้เรียน ศูนย์กลางการเรียนของแต่ละระดับไม่ใช่องค์ความรู้ แต่ถูกเบี่ยงเบนไปที่ระเบียบวิธีการวัดผล บทบาทผู้เรียน และบทบาทผู้สอน ตัวองค์ความรู้เองก็เป็นของที่กาหนดกันอย่างแน่นอนตายตัวและหยุดนิ่งมากกว่าเป็นสิ่ง ที่สามารถเคลื่อนไหว ขยายตัว หรือหดตัวลง เมื่อเจอกับปรากฏการณ์ใหม่ ที่พิสูจน์ สนับสนุน คัดค้าน หรือ ท้าทายความรู้นั้น ๆ และความรู้นั้นถูกเรียกร้องให้ศรัทธามากกว่าให้ตั้งคาถามว่าความรู้นั้น ๆ ถูกต้อง สมควรหรือไม่ยิ่งไปกว่านั้น ความรู้เหล่านั้นเกือบทั้งหมด ไม่ได้มีรากฐานมาจากสังคมของเราเองความรู้ที่ เกิดขึ้นแก่ผู้เรียน จึงขาดการเชื่อมโยงกับวิถีชีวิต และชุมชน ดังนั้น ผู้สอนและผู้เรียน ต่างเห็นตรงกันว่า ความรู้เป็นของศักดิ์สิทธิ์ ไม่เปลี่ยนแปลง และความรู้ที่ แท้ มีแต่อยู่ในตาราของสถาบันการศึกษา ความรู้ไม่สามารถหาได้ หากไม่เข้าสู่ระบบการศึกษา การให้คา รับรองว่าผู้ใดมีความรู้ ก็คือ การวัดผลการศึกษาตามสิ่งที่ได้อบรมสั่งสอนไป และการที่ผู้เรียนสามารถแสดง ว่าตนเองศรัทธาต่อความรู้นั้น มากเท่าใด เชื่อมากเท่าใด หรือยึดมั่นถือมั่นในความรู้นั้น อย่างแม่นยาเฉียบ แหลม ผู้เรียนนั้น ๆ ก็จะได้รับการรับรองโดยการออกวุฒิบัตร ประกาศนียบัตร เพื่อรับรองการเป็นผู้ตามที่ดี ผู้มีวุฒิบัตรต่างๆ แม้แต่ในระดับบัณฑิต จนถึงดุษฎีบัณฑิตก็ตาม ล้วนแต่เป็นคนที่ถูกอบรม ให้ เชื่อและศรัทธามากกว่าถูกอบรมให้ใช้ปัญญาไตร่ตรอง ผู้ที่ผ่านระบบการศึกษาดังกล่าวจึงมักคิดว่าตนมี การศึกษาและหยุดการเรียนรู้ หรือการแสวงหาความรู้ไว้เมื่อจบการเรียนของตนและได้รับวุฒิบัตรอย่างเป็น ทางการ ซึ่งถือว่าได้รับการรับรองว่าตนเองมีความรู้แล้ว ยิ่งไปกว่านั้นยังใช้มุมมองอันคับแคบของตนไป ประเมินผู้อื่นว่าไม่มีการศึกษา หากบุคคลเหล่านั้นด้อยโอกาสที่จะเข้าสู่ระบบการศึกษาเช่นเดียวกับที่พวก ตนได้รับ ทั้งที่การศึกษาที่แท้จริง คือการมุ่งสร้างปัญญา สร้างการเรียนรู้ พัฒนาองค์ความรู้ เข้าใจการ เปรียบเทียบ เข้าใจการปรับประยุกต์ ตอบสนองวิถีชีวิต และตอบสนองการดารงอยู่ของบุคคลและสังคม แม้ เป็นการเรียนรู้จากสิ่งแวดล้อมรอบๆ ตัวจากสิ่งพื้น ๆ เพื่อสร้างคุณค่าในการดารงชีวิตอย่างต่อเนื่องและมี
  • 2. พลวัตรก็เป็นเรื่องที่เรียกได้ว่าเป็นการศึกษา แต่กระบวนในการศึกษาเหล่านั้นกลับไม่ได้รับการให้คุณค่า อย่างแท้จริงจากสังคม ซ้ายังถูกดูแคลน จึงเป็นความสูญเสียในการใช้ทรัพยากรของสังคมไทยที่เป็นระบบ การศึกษาของเรา มุ่งผลิตคนที่ “ไร้การศึกษา แต่มีปริญญา” จานวนมาก และมากขึ้นเรื่อย ๆ เพื่อตอบสนอง แต่อุตสาหกรรมการผลิต และวิถีชีวิตแบบอุตสาหกรรม เพราะคนในสังคมต่างใช้มาตรฐานเดียวกันในการ วัดคุณค่าทางสมองและทางจิตใจของคนจาก “การศึกษา” ปลอม ๆ ที่มุ่งวัดว่าของวุฒิการศึกษาหนึ่งๆ อยู่ที่ วุฒิการศึกษานั้นจะสร้างความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจต่อเจ้าของวุฒินั้นมากน้อยเพียงใดอันเป็นประโยชน์ของ ปัจเจกชนอย่างแท้จริง 1. จากการเขียนบทความที่หนึ่งระบบการศึกษาในข้อใด ที่ผู้เขียนบทความมิได้กล่าวตาหนิไว้ (1) การศึกษาของโรงเรียนประถมของรัฐในประเทศไทย ทั้งในกรุงเทพฯ และ ต่างจังหวัด (2) การศึกษาในมหาวิทยาลัยเอกชนในประเทศไทย ที่มีการเรียนการสอนในต่าง ประเทศ (3) การศึกษาที่จัดโดยคนในชุมชน สอนเรื่องการปลูกข้าวจากประสบการณ์ของ ตนให้เพื่อนชาวนา (4) การศึกษาของโรงเรียนมัธยมชื่อดังในประเทศไทย ที่นักเรียนมีโอกาสสอบ เข้ามหาวิทยาลัยได้มาก (5) การศึกษาของโรงเรียนมัธยมชื่อดังในประเทศไทย ที่นักเรียนมีโอกาสสอบ เข้ามหาวิทยาลัยได้มาก ตอบข้อ 3 ผู้เขียนไม่ได้กล่าวถึงข้อนี้ในบทความเลยในบทความกล่าวตาหนิเพียง แค่การศึกษาในระดับต่างๆตั้งแต่ระดับประถมมัธยมอาชีวะและระดับปริญญาตรี 2. ท่านคิดว่า ทัศนคติของผู้เขียนบทความนี้ ต่อระบบการศึกษาสมัยใหม่ของประเทศไทยมีแนวโน้ม ว่า เป็นไปในทิศทางใด (1) ชื่นชม เพราะการศึกษาสมัยใหม่ มีมาตรฐานมากกว่าการสอนที่วัดในอดีต (2) เฉยๆ ยังไม่แน่ใจ ข้อมูลไม่เพียงพอ (3) เย้ยหยัน แสดงถึงความอิจฉาผู้เข้าเรียนในสถาบันการศึกษามีชื่อเสียง (4) เป็นห่วง แต่ชี้ให้เห็นประเด็นอย่างรุนแรงในเชิงติเตียน เพื่อให้ผู้อ่านลองคิด ทบทวน (5) เศร้าใจกับการที่นักเรียนต้องแข่งขันกันเข้ามหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียง ซึ่งหลักสูตรก็เหมือนกับ มหาวิทยาลัยอื่น
  • 3. ตอบข้อ 4 ทัศนคติของผู้เขียนบทความมีความเป็นห่วงการศึกษาสมัยใหม่ว่าเป็น ระบบที่ไม่สร้าง “ คน มีการศึกษา ” รวมถึงมีการใช้คารุนแรง “ปลอมๆ” , “มุมมองคับแคบ” 3. ศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้ตามแนวคิดของผู้เขียนบทความคืออะไร (1) กระทรวงศึกษาธิการ เพราะเป็นผู้กาหนดแนวทางของหลักสูตรในระดับต่างๆ (2) ตัวองค์ความรู้ในแขนงวิชานั้นๆ ที่ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันพัฒนา ต่อยอดกันออกไป (3) มหาวิทยาลัยชั้นนาของรัฐในกรุงเทพฯ ในฐานะผู้นาการศึกษาระดับสูงของชาติ (4) ผู้เรียนคือศูนย์กลางเสมอ เพราะแนวคิดใหม่ ผู้เรียนสาคัญที่สุดว่าจะได้เรียนรู้อะไร (5) ไม่มีข้อมูลถูกต้อง ตอบข้อ 4 ศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้คือผู้เรียน ผู้มีการศึกษาที่ดีเกิดจากการเรียนรู้ จาก “ สิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัว จากสิ่งพื้น ๆ เพื่อสร้างคุณค่าในการดารงชีวิตอย่าง ต่อเนื่องและมีพลวัตร ( การเคลื่อนไหว ) ” 4. บุคคลต่อไปนี้ คนใดมีพฤติกรรมที่จัดได้ว่าเป็นคน “มีการศึกษา” ในทัศนะของผู้เขียนบทความ (1) วิชิต เป็นคนขยัน ตั้งใจเรียนตั้งแต่ประถม อ่านทบทวนตาราทุกวัน จนสอบเข้า คณะแพทย์ได้และจบออกมาเป็นแพทย์รายได้ดีมาก (2) สุดา เป็นนักวอลเลย์บอล ขยันฝึกซ้อมจนเป็นตัวแทนทีมชาติ ใช้โควตานักกีฬา เข้าเรียน มหาวิทยาลัย ทาชื่อเสียงโดยลงแข่งให้มหาวิทยาลัยเสมอ จนสาเร็จปริญญาตรี เพราะมหาวิทยาลัย ตอบแทนในความมุ่งมั่นของเธอ (3) ลุงสุน เป็นชาวบ้านในจังหวัดระยองที่มีวุฒิการศึกษาไม่สูงนัก ทดลองปลูกมังคุดด้วยตัวเอง และ อ่านจากตารา ลองผิดลองถูก จนสามารถผลิตมังคุดคุณภาพดี จนสามารถส่งออกไปต่างประเทศได้ และนาความรู้นี้ถ่ายทอดแก่ชาวนสวนอื่นๆ (4) พิมลวรรณ เป็นลูกชาวบ้านที่ลาบาก ทุ่มเทตั้งใจเรียนอย่างจริงจัง จนได้ทุน การศึกษาของรัฐบาล เรียนจนจบปริญญาตรีเอก กลับเข้ามาเป็นอาจารย์ใน มหาวิทยาลัยมีชื่อเสียง (5) นายแสวงไม่มีโอกาสเรียนสมัยเป็นเด็ก แต่ก็ขวนขวายเรียนโรงเรียน ม.6 ผู้ใหญ่จนได้วุฒิ ตอบข้อ 3 คน “ มีการศึกษา ” ในทัศนะของผู้เขียนบทความไม่จาเป็นต้องจบการศึกษาได้รับวุฒิบัตร ประกาศนียบัตร หรือปริญญาบัตร แต่การศึกษาชีวิตประจาวันมีรากฐานมากจากสังคมของตนเชื่อมโยง กับวิถีชีวิตและชุมชนมีการพัฒนาองค์ความรู้และเข้าใจการปรับประยุกต์ 5. ข้อความใดในบทความ เป็น การตอกย้าความศรัทธาในการศึกษาแผนใหม่ของสังคมไทย (1) “ยึดถือสิ่งที่ผู้สอนถ่ายทอดให้ผู้เรียนเป็นสรณะ” ในย่อหน้าที่สอง (2) “ความรู้เป็นของศักดิ์สิทธิ์ ไม่เปลี่ยนแปลง และความรู้ที่แท้มีแต่อยู่ในตาราของ สถาบันการศึกษา” ในย่อหน้าที่สาม
  • 4. (3) “ผู้ที่ผ่านระบบการศึกษาดังกล่าว จึงมักคิดว่าตนมีการศึกษา และหยุดการ เรียนรู้” ในย่อหน้าที่สี่ (4) “การที่ผู้เรียนสามารถแสดงว่าตนเองศรัทธาต่อความรู้นั้นมากเท่าใด เชื่อมากเท่าใด…ผู้เรียนนั้น ได้ รับรอง” ในย่อหน้าที่สาม (5) ถูกทุกข้อ ตอบข้อ 4 ข้อความนี้เป็นการตอกย้าความมีศรัทธาในการศึกษาแผนใหม่ของสังคมไทยได้ดีที่สุด เพราะ ข้อ1, 2, 3 เป็นการแสดงความศรัทธาก็จริง แต่การที่จะตอกย้าความมีศรัทธามากที่สุดคือการที่ต้อง พยายามพิสูจน์ตนเองต่อสิ่งที่ตนเองศรัทธา นั่นก็คือข้อ 4 ที่ผู้เรียนต้องการได้รับการรับรอง หรือการ ยอมรับจากศรัทธาของตน บทความนี้ใช้ตอบคาถามข้อ 6 ถึง ข้อ 10 มะพร้าวเป็นทั้งอาหารและยาคู่วิถีชีวิตคนไทยมาช้านาน ภูมิปัญญาของไทยเราเรื่องมะพร้าวก็ไม่ น้อยหน้าชาติอื่น ศรีลังกา หรือฟิลิปปินส์ แม้ถิ่นกาเนิดของมะพร้าวจะไม่อยู่ที่เมืองไทย แต่อยู่ ที่เกาะโคโคส (Cocos IsLand) ในมหาสมุทรอินเดีย อันเป็นที่มาของชื่อทางวิทยาศาสตร์ของมะพร้าวว่า Cocos –nucifera L. และ มีชื่อสามัญในภาษาอังกฤษว่า โคโค้ปาล์ม (Cocos Palm) หรือต้นโคโค้นัท (Coco Tree) อย่างไรก็ ตาม คนไทยเรา ก็สนิทสนมคุ้นเคยกับต้นไม้ชนิดนี้ในภาษาไทยเราเอง ซึ่งมีชื่อเรียกแตกต่างไปตามท้องถิ่น ว่ามะพร้าว (ภาคกลาง) หมากอุ๋น หรือ หมากอุน (ภาคเหนือ) พร้าว (ภาคใต้) ย่อ (ในภาษาไทยมาลายู) หรือ โดง (ในภาษาของชาวสุรินทร์) เป็นต้น บรรพชนไทยถือว่ามะพร้าวเป็นต้นไม้จากสรวงสวรรค์ เป็นพรที่เทพเจ้าประทานให้มนุษย์ไม่ว่า มนุษย์ปรารถนาอะไรในการยังชีพก็สามารถขอได้จากมะพร้าว ดังนั้นในประเพณีชีวิตของคนไทยจึงใช้ มะพร้าวในการประกอบพิธีมงคล เช่น แต่งงาน ขึ้นบ้านใหม่ ในทางปริศนาธรรม ต้นมะพร้าวเป็นสัญลักษณ์ ของ “พระนิพพาน” ดังเพลงกล่อมเด็กของชาวปักษ์ใต้ว่า “มะพร้าวนาฬิเก ยืนโดดเด่นโนเนอยู่กลางทะเล ขี้ผึ้ง ฝนตกไม่ต้องฟ้าร้องไม่ถึง” ซึ่งทั้งหมดนี้ก็อุบายของ คนโบราณที่ต้องการให้ลูกหลานปลูกมะพร้าวไว้ ใช้สอยทุกครัวเรือน คนไทยจึงผูกพันกับมะพร้าวตั้งอยู่ในท้องแม่จนตาย กล่าวคือมะพร้าวอ่อนเป็นยาบารุง ครรภ์ (สาหรับสตรีมีครรภ์เกิน 5 เดือน) และสาหรับคุณแม่ลูกอ่อน น้ามะพร้าวนาฬิเก (ชื่อมะพร้าวชนิดหนึ่ง มีผลเล็กสีเหลืองหรือส้ม น้าหอมมาก) ก็เป็นกระสายยา ช่วยให้น้านมคุณแม่ไหลออกดี และยังเป็นยาช่วย บาบัดโทษแห่งกุมารดีนัก และตอนตายก็ยังใช้น้ามะพร้าว ล้างชาระหน้าตาให้สะอาดบริสุทธิ์ก่อนเดินทาง ไปสู่ปรโลก ส่วนต่างๆ ของมะพร้าวตั้งแต่ยอดมะพร้าว น้า เนื้อ กะลา เปลือกผล เปลือกต้น ลงไปจนถึงราก มะพร้าวล้วนเป็นสรรพคุณในทางยาทั้งนั้น ซึ่งอาจจะกล่าวถึงในคราวต่อไป แต่ในฉบับนี้ขอพูดถึงประเด็นที่ กาลังเป็นข่าวพาดหัวหนังสือพิมพ์ฉบับหนึ่งเมื่อเร็วๆ นี้ เรื่องการใช้น้ามันมะพร้าวเป็นยาลดความอ้วน อย่า หาว่าเอามะพร้าวห้าวมาขายสวนกันเลยนะ
  • 5. ทุกวันนี้คนไทยส่วนใหญ่ใช้น้ามันปาล์ม น้ามันถั่วเหลือง กระทั่งน้ามันทานตะวัน น้ามันราข้าว น้ามันข้าวโพด ในการปรุงอาหาร ทั้งผัด ทั้งทอด จนลืมไปแล้วว่า น้ามันพืชที่ใช้ในการปรุงอาหารของคน ไทยแต่ดั้งเดิม คือ น้ามันมะพร้าว และน้ากะทิ เพราะแต่ก่อนคนไทยไม่มีน้ามันปาล์ม หรือน้ามันถั่วเหลือ อาหารไทยทั้งคาวและหวานย่อมขาดกะทิไม่ได้ แน่นอนกะทิเมื่อถูกความร้อนก็แปรสภาพเป็นน้ามัน มะพร้าวด้วยไม่มากก็น้อย คนไทยเราบริโภคกะทิและน้ามันมะพร้าวมากันชั่วอายุคน โดยไม่ค่อยได้บริโภค น้ามันพืชอย่างอื่น แต่ก็ไม่มีปัญหาเรื่องโรคอ้วนจนน่าวิตกจนเมื่อเริ่มมีข้อมูลทางโภชนาการยุคแรกประกาศ ออกมาว่า น้ามันมะพร้าว และน้ากะทิ มีกรดไขมันอิ่มตัวสูงกว่าน้ามันพืชทุกตัว ไม่ควรบริโภคเป็นอาจินต์ เพราะจะทาให้เกิดน้ามันในเลือดสูง ก่อผลร้ายต่อสุขภาพตามมา เช่น ความดันโลหิตสูง เส้นเลือดในสมอง หรือหัวใจตีบตัน ผู้บริโภคสมัยใหม่จึงรังเกียจกะทิ และน้ามันมะพร้าวหันไปบริโภคน้ามันพืชชนิดมีกรด ไขมันไม่อิ่มตัวแทน จริงอยู่น้ามันมะพร้าวมีกรดไขมันอิ่มตัว (Saturated Fatty acid) สูงกว่า 73% รองลงมา คือน้ามัน ปาล์มมีกรดไขมันอิ่มตัวสูง 50% แต่ทั้งนี้มิได้หมายความว่าน้ามันพืชชนิดอื่น เช่น น้ามันถั่วเหลืองจะไม่มี กรดไขมันอิ่มตัวเลย เพียงแต่มีน้อยกว่าคือราว 15% แต่การที่มีน้อยกว่ามิได้หมายความว่าน้ามันถั่งเหลืองจะ ไม่มีอันตรายต่อสุขภาพเลยเพราะแม้แต่น้ามันถั่วเหลืองจะมีกรดไขมันอิ่มตัว (Unsaturated Fatty acid) ถึง 85% แต่ส่วนใหญ่ก็เป็นกรดไขมันไม่อิ่มตัวชนิดหลายตาแหน่ง (Poly Unsaturated Fatty acid) สูงถึง 61% ซึ่งมีโอกาสเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันได้ง่ายทาให้เซลล์มีความเสียหายจนอาจจะกลายเป็นเนื้อร้าย (มะเร็ง) ได้ ดังที่พบว่ากินอาหารไขมันสูงสัมพันธ์กับการเป็นมะเร็งมิหนาซ้ากรดไขมันอิ่มตัวทั้งหมดของ น้ามันถั่วเหลืองก็เป็นชนิดสายโซ่ยาว (Long Chain Triglyceride) ซึ่งย่อยสลายเป็นพลังได้ยาก และง่ายต่อ การสะสมเป็นเนื้อเยื่อไขมันในร่างกาย ถ้าบริโภคมากๆก็ทาให้เกิดโรคอ้วนได้ ตรงกันข้าม กรดไขมัน อิ่มตัว ในน้ามันมะพร้าว แม้จะสูงมากแต่ส่วนใหญ่ถึง 71% จะเป็นสายโซ่กลาง (Medium Chain Triglyceride หรือ MCT) ซึ่งเป็นไขมันที่ร่างกายสามารถย่อยและดูดซึมไปใช้ได้ง่ายกว่าไขมันที่มีสายโซ่ยาว ซึ่งพบเป็นส่วนใหญ่ในน้ามันพืชชนิดอื่น การที่น้ามันมะพร้าว เอ็มซีที (MCT) ถูกย่อยและดูดซับได้ง่ายกว่า เพราะไม่จาเป็นต้องอาศัยน้าดีจากตับอ่อน ในขณะที่ไขมันสายโซ่ยาวจาเป็นต้องใช้น้าดีช่วยย่อย คุณสมบัติ ของน้ามันมะพร้าวที่ย่อยและดูดซับได้ง่าย และไม่สะสมในตับนี้เอง ทางการแพทย์จึงนาเอ็มซีที (MCT) ที่มี อยู่มากในน้ามันมะพร้าวมาใช้ทาผลิตภัณฑ์อาหารหรือนมแก่ทารกคลอดก่อนกาหนดหรือทารกที่มีปัญหา เรื่องการย่อยและดูดซึม หรือผู้ป่วยวัยอื่นที่มีปัญหาตับอ่อนไม่สามารถสรร้างน้าดีย่อยไขมันได้ น่าอัศจรรย์ไหม ที่พฤติกรรมการบริโภคน้ามันมะพร้าวของคนไทยสมัยก่อน มาสอดคล้องกับ ความรู้โภชนาการสมัยใหม่ เรื่อง เอ็มซีที จนทาให้เราต้องกลับมาที่ภูมิปัญญาไทย เรื่องนั้นมันมะพร้าวกันอีก ครั้ง แต่อย่างไรก็ตาม แม้ว่าน้ามันมะพร้าวจะมีเอ็มซีทีอยู่สูง จนดูเหมือนว่าจะมีแต่ประโยชน์ต่อร่างกาย แต่ ความจริงแล้วไขมันทุกชนิดมีพลังเท่ากันหมด คือ 1 กรัม ให้พลังงาน 9 กิโลแครอรี ดังนั้นการกินอาหารแล้ว ได้พลังงานมากเกินความต้องการโดยไม่ออกกาลังกายถ่ายเทออกไป พลังงานส่วนที่เหลือก็จะกลับเป็น ไขมันสะสมให้ร่างกายย้วยกันต่อไป
  • 6. ที่กล่าวมาทั้งหมดนี้มิใช่จะให้เลิกบริโภคน้ามันพืชที่มีกรดไขมันสายโซ่ยาวและกรดไขมันอิ่มตัว ชนิดหลายตาแหน่ง เพราะน้ามันเหล่านี้มีกรดไขมันที่ร่างกายต้องการ ในสมัยก่อนแม้จะมีน้ามันถั่วเหลือง แต่ก็มีน้ามันงาซึ่งอุดมด้วยกรดไขมันใกล้เคียงกับน้ามันถั่วเหลือง คนไทยแต่ก่อนรู้จักบริโภคน้ามันมะพร้าว กับน้ามันงาผสมผสานสมดุลกัน เป็นทั้งอาหารและยาช่วยบารุงร่างกายให้แข็งแรงและปราศจากโรคภัยไข้ เจ็บ ภูมิปัญญาทางโภชนาการอันหาค่ามิได้นี้ ลูกหลานไทยต้องรีบฟื้นกลับโดยพลัน โดยมีความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้องเป็นเครื่องกากับ มิใช่เอาแต่ปลุกกระแสฉวยโอกาสทางการตลาดเท่านั้น 6. คุณสมบัติทางชีวเคมีข้อใด คือ ข้อดีของมะพร้าว (1) ใช้ชาระหน้าตาได้อย่างบริสุทธิ์ก่อนไปสู่ปรโลก (2) มีกรดไขมันอิ่มตัวสูงถึง 73% สูงกว่าน้ามันชนิดอื่นๆ ให้คุณค่าทางอาหารสูง (3) มีกรดไขมันอิ่มตัวสายโซ่กลาง (MCT) ที่ดูดซึมได้ง่าย นาไปผลิตอาหารทารกได้ (4) ไขมันมะพร้าวเพียงหนึ่งกรรม ให้พลังงานถึง 9 แคลอรี (5) ถูกทุกข้อ ตอบข้อ 3 ข้อ 1 และข้อ 4 ไม่เกี่ยวข้องกับข้อดีของมะพร้าว ส่วนข้อ 2 กรดไขมันอิ่มตัวก่อให้เกิดผลเสีย ต่อสุขภาพมากกว่าให้คุณค่าทางอาหาร คาตอบข้อ 3 จึงเป็นคาตอบที่ดีที่สุด 7. ผู้เขียนบทความนี้มีทัศนคติอย่างไรต่อ “ภูมิปัญญาไทยในการบริโภคมะพร้าว” (1) รู้เท่าไม่ถึงการณ์ เสี่ยงต่ออันตรายต่อสุขภาพ (2) ชื่นชม มีแนวปฏิกิริยาสอดคล้องกับผลการวิจัยทางวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ (3) ดูถูก ล้าสมัย คร่าศรี ไม่ถูกสุขอนามัย (4) ชื่นชมที่นักวิทยาศาสตร์ของไทยค้นพบความจริงในเรื่องมะพร้าวมาแต่โบราณ (5) เฉยๆ เนื่องจากภูมิปัญญาไทยต่างๆ ล้วนมีพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ตอบข้อ 2 ดังข้อความในย่อหน้าที่ 6 ที่ว่า “น่าอัศจรรย์ไหม ที่พฤติกรรมการบริโภคน้ามันมะพร้าวของ คนไทยสมัยก่อน มาสอดคล้องกับความรู้โภชนาการสมัยใหม่ เรื่อง เอ็มซีที จนทาให้เราต้องกลับมาทึ่ง ภูมิปัญญาไทย” 8. จากบทความข้างต้น ผู้เขียนมีความเห็นอย่างใดต่อการใช้ “น้ามันมะพร้าวเพื่อลดความอ้วน” (1) เห็นด้วย และสนับสนุนอย่างจัดเจน (2) ไม่เห็นด้วยและคัดค้าน (3) ไม่ออกความเห็น แต่บ่งเป็นนัยว่ามะพร้าวมีสรรพคุณที่ดีอย่างไร (4) สนับสนุนทางอ้อม เพราะมะพร้าวใช้เลี้ยงเด็กอ่อนได้ (5) เห็นว่าเป็นเรื่องไร้สาระ ไม่มีเหตุผลทางวิทยาศาสตร์
  • 7. ตอบข้อ 3 ผู้เขียนไม่บอกว่าดีหรือไม่ดีอย่างไร บอกเพียงสรรพคุณว่า “ น้ามันมะพร้าวและน้ากะทิ มี กรดไขมันอิ่มตัวสูงกว่าน้ามันพืชทุกตัว ไม่ควรบริโภคเป็นอาจินต์ เพราะจะทาให้เกิดไขมันในเลือด สูง ก่อผลร้ายต่อสุขภาพ เช่น ความดันโลหิตสูง เส้นเลือดในสมองหรือหัวใจตีบตัน ” 9. คาพังเพยใด ใช้อธิบายพฤติกรรมผู้บริโภคชาวไทย ต่อการบริโภคมะพร้าวได้ดีที่สุด (1) ช้าๆ ได้พร้าสองเล่มงาม (2) เอามะพร้าวห้าวมาขายสวน (3) เห็นช้างขี้ ขี้ตามช้าง (4) ได้ใหม่แล้วลืมค่า (5) ไก่ได้พลอย ตอบข้อ 3 ชาวไทยมักทาอะไรตาม ๆ กัน ตอนจบบทความมีการกล่าวว่า “มิใช่เอาแต่ปลุกกระแสฉวย โอกาสทางตลาด” แสดงว่าการปลุกกระแส และการทาตามกันเป็นสิ่งที่เป็นเรื่องปกติในสังคมไทย ปัจจุบัน 10. ชื่อของบทความนี้ที่เหมาะสมกับเนื้อความควรเป็นอย่างไร (1) การล่มสลายของน้ามันถั่วเหลือง (2) การตลาดสมัยใหม่ของน้ามันมะพร้าว (3) มะพร้าวกับภูมิปัญญาไทย (4) ข้อมูลใหม่สนับสนุนการบริโภคมะพร้าว (5) ภาวะโภชนาการของคนไทย ตอบข้อ 4 ชื่อของบทความนี้เหมาะสมกับเนื้อความมากที่สุด ดูจากบทความเน้นที่การให้ข้อมูลใหม่ให้ เปลี่ยนความคิดเดิมในสังคมปัจจุบัน 11. ห้องพักของโรงลีลาวดี แบ่งออกเป็น 2 ปีก คือ ปีกเหนือ และปีกใต้ห้องพักทางปีเหนือของห้องสามารถ มองเห็นทะเลได้ส่วนห้องพักทางปีกใต้จะมองเห็นภูเขาได้ทุกห้อง อัตราค่าเช่าห้องพักของโรงแรมนี้จะ เท่ากันทุกห้อง ยกเว้น 1 ห้องพักที่อยู่ตั้งแต่ชั้น 3 ขึ้นไปสามารถมองเห็นภูเขาจะต้องเสียค่าเช่าเพิ่มพิเศษ 2 ห้องพักที่สามารถมองเห็นทะเลทุกห้องจะต้องเสียค่าเช่าเพิ่มพิเศษ ยกเว้น ห้องที่ไม่มีระเบียง 3 ห้องพักที่อยู่บนชั้นหนึ่งและสองที่เห็นภูเขา และห้องพักทางปีกเหนือบางห้องที่ไม่เห็นทะเลจะมีครัว 4 เฉพาะห้องที่เห็นทะเลและห้องพักที่เห็นภูเขาเท่านั้นจะมีระเบียงถ้าลูกค้าไม่ต้องการเสียค่าเช่าเพิ่ม พิเศษลูกค้าจะต้องเลือกพักใน (1) ห้องพักทางปีกใต้อยู่บนชั้นหนึ่งหรือชั้นสอง (2) ห้องพักทางปีกใต้ที่อยู่บนชั้นสี่และไม่มีระเบียง (3) ห้องพักทางปีกเหนือที่ไม่เห็นทะเล (4) ห้องพักทางปีกเหนือที่ไม่มีระเบียงหรือครัว (5) ห้องพักห้องใดก็ได้ที่ไม่มีห้องครัว ตอบข้อ 4 ห้องพักที่ไม่มีระเบียงหรือครัว ไม่เสียค่าเช่าเพิ่มพิเศษ
  • 8. 12. การสามะโนประชากรครั้งล่าสุดปรากฏดังนี้ อาเภอวิหารแดงมีประชากรมากกว่าอาเภอรัตภูมิ อาเภอท่าอุเทนมีประชากรมากกว่าอาเภอวิหารแดง อาเภอพยุหคีรีมีประชากรมากกว่าอาเภอท่าอุเทน อาเภอองครักษ์มีประชากรมากกว่าอาเภอเลิงนกทา อาเภอเลิงนกทามีประชากรมากกว่าอาเภอวิหารแดง หากข้อความข้างต้นเป็นจริง ข้อใดต่อไปนี้ต้องเป็นจริงด้วย (1) อาเภอเลิงนกทามีประชากรมากกว่าอาเภอท่าอุเทน (2) อาเภอท่าอุเทนมีประชากรน้อยกว่าอาเภอองครักษ์ (3) อาเภอพหุหคีรีมีประชากรมากกว่าอาเภอองครักษ์ (4) อาเภอเลิงนกทามีประชากรน้อยกว่าอาเภอท่าอุเทน (5) อาเภอองครักษ์มีประชากรมากกว่าอาเภอวิหารแดง ตอบข้อ 5 จากข้อความนามาเรียงลาดับจานวนประชากรจากมากไปหาน้อยได ดังนี้ องครักษ์ > เลิงนกทา > พยุหคีรี > ท่าอุเทน > วิหารแดง > รัตภูมิ 13. ดาราละครหญิงที่รับบทนางร้ายในละครโทรทัศน์ถูกขู่อาฆาตจากแม่ค้าเมื่อไปเดินซื้อของในตลาด ดังนั้นหากพราวพิลาสซึ่งเป็นดาราละครหญิงไม่ถูกอาฆาตจากแม่ค้า เมื่อไปเดินซื้อของในตลาด แสดง ว่าเธอไม่ได้รับบทนางร้ายวิธีการให้เหตุผล ข้อใดที่เหมือนกันวิธีการให้เหตุผลข้างต้นมากที่สุด (1) แพรวพรรณรายเป็นดาราละครโทรทัศน์ที่นิยมรับบทนางเอกสลับกับบทนางร้ายหากเธอไม่ได้รับ จดหมายด่าทอจากประชาชนเลย แสดงว่าเธอไม่ได้รับบทนางร้าย (2) วันไหนที่เด็กชายจังก้ารับประทานปาท่องโก๋และดื่มน้าเต้าหู้เป็นอาหารเช้า เขาจะรู้สึกหิว ก่อนเวลา พักเที่ยงเสมอ วันนี้เด็กชายจังก้ารับประทานปาท่องโก๋และน้าเต้าหู้เป็นอาหารเช้า เขาจะต้องรู้สึกหิว ก่อนเวลาพักเที่ยงเป็นแน่ (3) นักร้องชายเจ้าของหมอลายอดนิยมจะได้รับตุ๊กตาหมีมากกว่า 50 ตัว จากแฟนเพลงมาร์คซึ่งเป็น นักร้องชายที่ร้องเพลงหมอลา ได้รับตุ๊กตาหมีจากแฟนเพลงมากกว่า 50 ตัว แสดงว่าเขาไม่ใช่เจ้าของ เพลงหมอลายอดนิยม (4) พระสงฆ์ที่ปฏิบัติตามพระธรรมวินัยอย่างเคร่งครัดจะไม่ยืนบิณฑบาตอยู่กับที่ แต่จะเดินโปรดสัตย์ ไปตามเส้นทางที่ไม่ซ้ากันในแต่ละวัน ฉันเห็นพระรูปหนึ่งยืนรอรับของใส่บาตรรอยู่กับที่ที่ตลาด ข้างบ้านเป็นเวลาค่อนชั่วโมงโดยไม่เดินไปไหน แสดงว่าพระรูปนั้นไม่ปฏิบัติตามพระธรรมวินัย อย่างเคร่งครัด
  • 9. (5) เงาะที่ปลูกจากการชากิ่งให้ผลดีกว่าเงาะที่ปลูกจากเมล็ด ดังนั้นหากต้องการทาสวนเงาะในเชิง พานิชย์ชาวสวนควรเลือกปลูกเงาะโดยวิธีชากิ่ง ตอบ 4 จากโจทย์เป็นการเดาเหตุจากผลที่เห็น ซึ่งจะตรงกับข้อที่ 4 ส่วนข้อ 1ไม่มีการเดาโดย เชื่อมเหตุผลกัน ข้อ2 เป็นการเดาผลจากเหตุ ส่วนข้อ 3 เป็นการอ้างเหตุผลที่ไม่ถูกต้อง ข้อ 5 ไม่มี การเดาเหตุหรือผลใดๆ 14. คุณพ่อและพี่ชายทั้งสองคนหัวร้านภายใน 5 ปีหลังจากที่ทางานเป็นที่ปรึกษาทางการเงิน ฉันไม่ ต้องการผมร่วงอย่างทุกคน ฉันเลยเป็นวิศวกรแทนข้อความข้างล่างต่อไปนี้ใช้วิธีการให้เหตุผล เหมือนกับข้อความข้างต้น (1) ทุกคนจะถูกโอนย้ายไปทางานที่ส่วนอื่นภายในสามปีหลังจากเริ่มงาน ฉันไม่ ต้องการย้ายไปที่ส่วนงานอื่น ดังนั้นฉันจึงพยายามทางานให้หนักขึ้น (2) เจ้าหน้าที่ในกะของฉันประสบอุบัติเหตุระหว่างทางานหลังจากรับประทาน อาหารที่ร้านเอ ฉันไม่ต้องการให้เกิดอุบัติเหตุระหว่างทางานหลังจาก รับประทานอาหารที่ร้านเอ ฉันเลยรับประทานอาหารที่ร้านบีแทน (3) เพื่อนบ้านของฉันถูกใบสั่งจากการขับรถเร็วเมื่อปีที่แล้วทุกคน ฉันไม่ ต้องการได้รับใบสั่งฉันเลยไม่ขับรถเร็ว (4) ผู้ชายสามคนในสมาคมของฉันมีอารมณ์หงุดหงิดหลังจากเลิกสุรา ฉัน ต้องการมี อารมณ์แจ่มใส ฉันจึงลาออกจากการเป็นสมาชิกของษมาคม ดังกล่าว (5) ทุกครั้งที่ฉันดื่มชาก่อนนอน ฉันจะนอนไม่หลับ ฉันต้องการนอนหลับอย่าง สบายในคืนนี้ ดังนั้นฉันจึงกินยานอนหลับ ตอบข้อ 2 การอ้างเหตุผลในข้อนี้เป็นการอ้างเหตุผลแบบพิจารณาเหตุเพียงบางอย่างแล้วจึงสรุปผล จากโจทย์“ฉัน”อ้างว่าที่คุณพ่อและพี่ชายทั้งสองหัวล้านเหมือนกันเพราะทางานเป็นที่ปรึกษาทางการ เงินเหมือนกันเท่านั้น แต่ให้ความเป็นจริงอาจมีเหตุผลอื่นๆเข้ามาประกอบด้วย ดังนั้นจึงตอบ ข้อ 2 ซึ่ง มีการอ้างเหตุผลลักษณะเดียวกัน ข้อ 1 ผิดเพราะไม่มีความเกี่ยวข้องกันระหว่างเหตุและผล ข้อ 3 ผิด เพราะเป็นการอ้างเหตุผลดูจากคนส่วนใหญ่แล้วสรุปผล ข้อ 4 ผิดเพราะเป็นการอ้างเหตุผลที่ไม่มี ความเชื่อมโยงกันระหว่างเหตุและผล ส่วนข้อ 5 ผิดเพราะเหตุและผลไม่เกี่ยวข้องกัน 15. นักศึกษาชั้นปีที่ 2 ที่ลงทะเบียนเรียนวิชาการเงินธุรกิจ โดยไม่ได้เรียนวิชาการบัญชี ขั้นต้นมาก่อน ต่างประสบปัญหาในการทาความเข้าใจกับเนื้อหาวิชาเป็นอย่างมาก ความรู้ในเรื่องธุรกิจเบื้องต้นและงบการเงินที่สอนในวิชาการบัญชีขั้นต้นเท่านั้นที่ พอที่จะทาความเข้าใจ ในเนื้อหาวิชาการเงินธุรกิจและติดตามบทเรียนได้อย่าง ง่ายดาย ดั้งนั้นนักศึกษาที่ประสงค์จะเรียนวิชาการเงินธุรกิจให้ได้ผลดีจึงควรเรียน วิชาการบัญชีขั้นต้นมาก่อนเสมอ
  • 10. ข้อใดเป็นประเด็นหลักของข้อความข้างต้น (1) นักศึกษาชั้นปีที่ 2 ส่วนใหญ่ขาดความรู้ความสามารถที่จะเข้าใจเนื้อหาวิชา การเงินธุรกิจซึ่งมีความสลับสับซ้อน (2) การเข้าใจเนื้อหาวิชาการบัญชีข้างต้นเป็นปัจจัยสาคัญในการทาความเข้าใจใน เนื้อหาวิชาการเงินธุรกิจ (3) การทาความเข้าใจในเนื้อหาการเงินธุรกิจมีส่วนช่วยในการศึกษาวิชาการบัญชี ขั้นต้น (4) แม้ว่านักศึกษาจะเคยศึกษาวิชาการบัญชีขั้นต้นมาก่อน แต่หากไม่ชอบวิชาทางด้านการเงิน ก็ไม่อาจ เรียนวิชาการเงินธุรกิจให้ประสบผลสาเร็จได้ (5) ไม่มีข้อใดถูกต้อง ตอบข้อ 2 ใจความสาคัญอยู่ที่ตอนท้ายของย่อหน้า ข้อความต้นย่อหน้ามีไว้เพื่อสนับสนุนให้ข้อความ ข้อความสรุปต้อนท้ายที่ผู้เขียนต้องการจะกล่าวมีน้าหนักมากยิ่งขึ้น ข้อ 1 เป็นเพียงตัวอย่างที่สนับสนุน ข้อความหลักตอนท้าย ข้อ 3 ไม่ถูกต้อง เพราะการเรียนบัญชีขั้นต้นมาก่อนการเงินธุรกิจ จึงไม่มีทางที่ การเงินธุรกิจจะมีส่วนช่วยการบัญชีขั้นต้น ส่วนข้อ 4 ในย่อหน้าไม่มีการกล่าวถึงความชอบวิชาทางด้าน การเงินเลย ข้อนี้จึงไม่ถูกต้อง