SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 5
Baixar para ler offline
บรรณาธิการ
         “ไหวครู”

    นิ      ตรสารรายเดือน “อักษรสาสน” โดย สุภา
ศิ ริ ม านนท บรรณาธิการ และจิ น ดา ศิ ริ ม านนท ผู
จัดการทั่วไป คือคบไฟที่โชนแสงในความมืด ประกาย
ไฟนั้นไดสงตอมายังคนรุนหลัง แมวันนี้ก็ยังไมมอดดับ


                         13
ปกนิตยสาร “อักษรสาสน” ฉบับปฐมฤกษ
                               14
หนังสือ “อีศาน” ฉบับ “แฮกหมาน” หมายถึง
เริ่ ม ต น ด ว ยความสำเร็ จ นี้ ขอ “ไหว ค รู ” โดยนำ
แนวคิดวิธีปฏิบัติที่ครูผูบุกเบิกงานดานสื่อสารมวลชน
ไดสำแดงเจตจำนงไวตั้งแต “อักษรสาสน”ฉบับแรก
จนฉบับสุดทาย (เมษายน ๒๔๙๒ – ตุลาคม ๒๔๙๕)
มาตี พิ ม พ เสมอดั ง การวางดอกไม ธู ป เที ย นคารวะ
ครูบาอาจารย และบรรดาผูถากถางหนทางสายนี้มา
อยางยากลำบาก
     ข อ ความที่ จ ำหลั ก หนั ก แน น ตั้ ง แต เ มื่ อ ๖๒ ป ที่
แลว...
      “บทความต า ง ๆ ทั้ ง ในทางการเมื อ ง, ทาง
เศรษฐกิจ, ทางสังคม ในทางวรรณคดีและในทาง
ศิลปะ ในนิตยสารรายเดือน “อักษรสาสน” นี้ ไมใช
เป น การแสดงข อ คิ ด โดยเฉพาะเจาะจงแห ง กลุ ม
ความคิด หรือจารีตและศรัทธา ของกลุมใดสำนักใด
กลุ ม เดี ย วสำนั ก เดี ย ว คณะบรรณาธิ ก ารของ
“อักษรสาสน” มิไดคาดหวังวา ทานผูอานนิตยสาร

                               15
นี้ จ ะเลื่ อ มใสเห็ น ด ว ยอย า งสอดคล อ งไปทุ ก ๆ
ประการ กับขอคิดและความรูสึกเทาที่ไดปรากฏใน
บทประพั น ธ เ หล า นี้ ผู เขี ย นของ “อั ก ษรสาส น ”
แต ล ะคนก็ อ าจจะมี ค วามคิ ด เห็ น ขั ด แย ง กั น อยู ไ ด
คณะบรรณาธิการ “อักษรสาสน” ถือวา ในการที่
นิตยสารนี้จะสามารถอนุเคราะหทานผูอาน เพื่อให
เขามีสวนรวมรังสรรคสาธารณมติ ใหเปนประโยชน
สูงสุดแกสังคม ตลอดทั้งเปนผลอันไพศาลล้ำลึกแก
ประพันธพิภพ และหรือแกปริมณฑลแหงศิลปะนั้น
การใหไดรับฟงขอคิดความเห็นที่ขัดแยงกัน ดวย
ความมีจิตใจอันกวางขวาง บริสุทธิ์ และเปนธรรม
ยอมจะเหมาะสมวิเศษกวาการที่จะยึดมั่นและใฝใจ
เกาะแนนอยูแตเฉพาะเพียงขอคิด หรือจารีตและ
ศรัทธาของกลุมใดสำนักใด กลุมเดียวสำนักเดียว
เพราะฉะนั้ น “อั ก ษรสาส น ”จึ ง ไม อ ยู ใ นฐานะที่
จะรั บ รองความคิ ด เห็ น ใด ๆ ที่ มี ป รากฏอยู ใ นบท
ประพันธตาง ๆ เหลานี้ ไมวาที่มีชื่อผูเขียน หรือไม
มีก็ตาม ภาระที่ “อักษรสาสน” รับผิดชอบ กำหนด


                             16
เฉพาะแตความถูกตองแหงขอความจริงตามหลัก
วิ ช า, กั บ เฉพาะแต ภ าระที่ แ สวงหามา และที่
พิจารณาอนุมัติใหบทประพันธเหลานี้ไดปรากฏเพื่อ
รับการวิเคราะห และการวินิจฉัย ของบรรดาทานผู
อานผูสนใจทั้งหลาย”
     หนังสือ “อีศาน” – นิตยสารรายปกษเพื่อชาว
อีสานและคนไททุกภูมิภาค “...ปรารถนาเปนมิตรผู
ซื่อสัตยแหงจิตสำนึกของผูอาน และเปนเครื่องมือ
สวนหนึ่งสำหรับทวีความกาวหนาทางความคิด ใน
ทางการอานหนังสือ และโลกทัศนอันไพศาล”

                                    ดวยจิตคารวะ
                            บรรณาธิการอำนวยการ




                       17

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a Editorstart

ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)Padvee Academy
 
อยากอยู่ 110 ปี
อยากอยู่ 110 ปี อยากอยู่ 110 ปี
อยากอยู่ 110 ปี Thanachart Numnonda
 
การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร.pdf
การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร.pdfการเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร.pdf
การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร.pdfJenjiraTipyan
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011 Wat Thai Washington, D.C.
 

Semelhante a Editorstart (11)

ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
Panupong
PanupongPanupong
Panupong
 
อยากอยู่ 110 ปี
อยากอยู่ 110 ปี อยากอยู่ 110 ปี
อยากอยู่ 110 ปี
 
Braincell social
Braincell socialBraincell social
Braincell social
 
7 2
7 27 2
7 2
 
การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร.pdf
การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร.pdfการเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร.pdf
การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร.pdf
 
Phi yim
Phi yimPhi yim
Phi yim
 
Thai1
Thai1Thai1
Thai1
 
Dance
DanceDance
Dance
 
Dance
DanceDance
Dance
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
 

Mais de ร้านกาแฟ คาเฟ่ เดอ (9)

Fashion July
Fashion JulyFashion July
Fashion July
 
รวมศิลปินPongchangetoweb
รวมศิลปินPongchangetowebรวมศิลปินPongchangetoweb
รวมศิลปินPongchangetoweb
 
รวมศิลปินPongchangetoweb
รวมศิลปินPongchangetowebรวมศิลปินPongchangetoweb
รวมศิลปินPongchangetoweb
 
รวมศิลปินPo
รวมศิลปินPoรวมศิลปินPo
รวมศิลปินPo
 
รวมศิลปินPonewupdate
รวมศิลปินPonewupdateรวมศิลปินPonewupdate
รวมศิลปินPonewupdate
 
รวมศิลปินP
รวมศิลปินPรวมศิลปินP
รวมศิลปินP
 
รวมศิลปินPnew
รวมศิลปินPnewรวมศิลปินPnew
รวมศิลปินPnew
 
รวมศิลปินP
รวมศิลปินPรวมศิลปินP
รวมศิลปินP
 
Hot menu เร็วๆนี้
Hot menu เร็วๆนี้Hot menu เร็วๆนี้
Hot menu เร็วๆนี้
 

Editorstart

  • 1. บรรณาธิการ “ไหวครู” นิ ตรสารรายเดือน “อักษรสาสน” โดย สุภา ศิ ริ ม านนท บรรณาธิการ และจิ น ดา ศิ ริ ม านนท ผู จัดการทั่วไป คือคบไฟที่โชนแสงในความมืด ประกาย ไฟนั้นไดสงตอมายังคนรุนหลัง แมวันนี้ก็ยังไมมอดดับ 13
  • 3. หนังสือ “อีศาน” ฉบับ “แฮกหมาน” หมายถึง เริ่ ม ต น ด ว ยความสำเร็ จ นี้ ขอ “ไหว ค รู ” โดยนำ แนวคิดวิธีปฏิบัติที่ครูผูบุกเบิกงานดานสื่อสารมวลชน ไดสำแดงเจตจำนงไวตั้งแต “อักษรสาสน”ฉบับแรก จนฉบับสุดทาย (เมษายน ๒๔๙๒ – ตุลาคม ๒๔๙๕) มาตี พิ ม พ เสมอดั ง การวางดอกไม ธู ป เที ย นคารวะ ครูบาอาจารย และบรรดาผูถากถางหนทางสายนี้มา อยางยากลำบาก ข อ ความที่ จ ำหลั ก หนั ก แน น ตั้ ง แต เ มื่ อ ๖๒ ป ที่ แลว... “บทความต า ง ๆ ทั้ ง ในทางการเมื อ ง, ทาง เศรษฐกิจ, ทางสังคม ในทางวรรณคดีและในทาง ศิลปะ ในนิตยสารรายเดือน “อักษรสาสน” นี้ ไมใช เป น การแสดงข อ คิ ด โดยเฉพาะเจาะจงแห ง กลุ ม ความคิด หรือจารีตและศรัทธา ของกลุมใดสำนักใด กลุ ม เดี ย วสำนั ก เดี ย ว คณะบรรณาธิ ก ารของ “อักษรสาสน” มิไดคาดหวังวา ทานผูอานนิตยสาร 15
  • 4. นี้ จ ะเลื่ อ มใสเห็ น ด ว ยอย า งสอดคล อ งไปทุ ก ๆ ประการ กับขอคิดและความรูสึกเทาที่ไดปรากฏใน บทประพั น ธ เ หล า นี้ ผู เขี ย นของ “อั ก ษรสาส น ” แต ล ะคนก็ อ าจจะมี ค วามคิ ด เห็ น ขั ด แย ง กั น อยู ไ ด คณะบรรณาธิการ “อักษรสาสน” ถือวา ในการที่ นิตยสารนี้จะสามารถอนุเคราะหทานผูอาน เพื่อให เขามีสวนรวมรังสรรคสาธารณมติ ใหเปนประโยชน สูงสุดแกสังคม ตลอดทั้งเปนผลอันไพศาลล้ำลึกแก ประพันธพิภพ และหรือแกปริมณฑลแหงศิลปะนั้น การใหไดรับฟงขอคิดความเห็นที่ขัดแยงกัน ดวย ความมีจิตใจอันกวางขวาง บริสุทธิ์ และเปนธรรม ยอมจะเหมาะสมวิเศษกวาการที่จะยึดมั่นและใฝใจ เกาะแนนอยูแตเฉพาะเพียงขอคิด หรือจารีตและ ศรัทธาของกลุมใดสำนักใด กลุมเดียวสำนักเดียว เพราะฉะนั้ น “อั ก ษรสาส น ”จึ ง ไม อ ยู ใ นฐานะที่ จะรั บ รองความคิ ด เห็ น ใด ๆ ที่ มี ป รากฏอยู ใ นบท ประพันธตาง ๆ เหลานี้ ไมวาที่มีชื่อผูเขียน หรือไม มีก็ตาม ภาระที่ “อักษรสาสน” รับผิดชอบ กำหนด 16
  • 5. เฉพาะแตความถูกตองแหงขอความจริงตามหลัก วิ ช า, กั บ เฉพาะแต ภ าระที่ แ สวงหามา และที่ พิจารณาอนุมัติใหบทประพันธเหลานี้ไดปรากฏเพื่อ รับการวิเคราะห และการวินิจฉัย ของบรรดาทานผู อานผูสนใจทั้งหลาย” หนังสือ “อีศาน” – นิตยสารรายปกษเพื่อชาว อีสานและคนไททุกภูมิภาค “...ปรารถนาเปนมิตรผู ซื่อสัตยแหงจิตสำนึกของผูอาน และเปนเครื่องมือ สวนหนึ่งสำหรับทวีความกาวหนาทางความคิด ใน ทางการอานหนังสือ และโลกทัศนอันไพศาล” ดวยจิตคารวะ บรรณาธิการอำนวยการ 17