SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 3
Baixar para ler offline
โครงการฝกอบรม
หลักสูตร คอรสอบรมระยะสั้น (Short course)
ศูนยจิตตปญญาศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
ชื่อโครงการ
จิตตปญญาศึกษาคืออะไร (Introduction to Contemplative Education)
หลักการและเหตุผล
จิตตปญญาศึกษาเปนแนวคิดใหมในการจัดกระบวนการเรียนรู ที่พยายามขามพนไปจาก
ขอจํากัดเดิม ๆ ของการศึกษาในกระแสหลัก จิตตปญญาศึกษาไดกอกําเนิดขึ้น ในวงการการศึกษา
มาตั้งแตป 2549เมื่อครั้งสภามหาวิทยาลัยมหิดลไดมีมติใหดําเนินการจัดตั้งศูนยฯ ขึ้นในมหาวิทยาลัย
ดวยวัตถุประสงคสําคัญที่จะรวมขับเคลื่อนและพัฒนาความเปนมนุษยที่สมบูรณและสรางสังคมทีมสข
่ ีุ
ภาวะ กระนั้น แนวคิดและแนวทางปฏิบัติแบบจิตตปญญาศึกษาก็ยังอยูในวงแคบที่ยังไมเปนที่รับรู
มากนัก แมแตในมหาวิทยาลัยมหิดลเอง สวนหนึ่งอาจเพราะตัวแนวคิดเองที่มีความเปนนามธรรมสูง
และทําความเขาใจผานมุมมองทางวิชาการไดยากสงผลใหคนทั่วไปไมอาจเขาถึงวิธีการและเครื่องมือ
ที่มีความสอดคลองกับแนวคิดดังกลาวจนสามารถนําไปใชสรางการเรียนรูที่เปนรูปธรรมไดเทาที่ควร
เปาหมายของการเรียนรูในคอรสจิตตปญญาศึกษาคืออะไร นี้ ตอ งการจะนําพาผูเรียนใหมี
ประสบการณ เกิดความรูจัก ความคุนเคย และความเขาใจที่ถองแทตอแนวคิดแบบจิตตปญญาศึกษา
รวมไปถึงการเรียนรูที่นําไปสูการเปลี่ยนแปลงระดับจิตสํา นึกของผูเรียน เริ่มเห็น แยกแยะไดระหวา ง
การศึกษารูปแบบเดิมที่มีขอจํากัดกับการเรียนรูแนวใหมที่เพิ่มเติมอิสรภาพในความเปนมนุษย ซึ่งจะ
นํา ไปสูความสามารถในการประยุกตใชเครื่องมือและวิธีการตาง ๆ บนหนทางการแสวงหาความรู
ดังกลาวจนเขาถึงคุณคาที่แทจริงของจิตตปญญาศึกษาได นั่นคือการกลับมาเห็นและยอมรับความ
เปนทั้งหมดแหงความเปนมนุษยภายในตนเอง บนฐานของการมีความรักความเมตตา
วัตถุประสงคของการฝกอบรม
การฝกอบรมนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อใหผูรับการอบรม
1. สรางประสบการณการเรียนรูจากภูมิปญญาทั้ง 3 ฐาน ไดแก ฐานหัว ฐานใจ และฐานกาย
2. มีประสบการณการเจริญสติภาวนา และสามารถเชื่อมโยงไดกับชีวิตประจําวัน
3. สรางการตระหนักรูในอคติ และรูปแบบของความรูสึก / ความคิดที่ตนเองยึดติด
4. ศึกษาการเปลี่ยนแปลงพื้นฐานของจิตสํานึก โดยอาศัยเครื่องมือการสื่อสารอยางลึกซึ้ง
5. สรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับกระบวนทัศนใหมอันเปนพื้น ฐานสําคัญของแนวคิดจิตต
ปญญาศึกษาเพื่อนําไปประยุกตใชในการแสวงหาความรูไดอยางเปนรูปธรรม

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)
หลักสูตรการฝกอบรม
การอบรมมีทั้งสิ้น 4 วัน ไดแก วันเสาร – อาทิตยที่ 22 – 23 กุมภาพันธ และวันเสาร – อาทิตย
ที่ 8 – 9 มีนาคม 2557 เวลาอบรมเริ่มตั้งแต 9:00 – 17:00 น. โดยแบงเนื้อหาการเรียนรูเปน 2 ชว ง
หลัก ดังนี้
-ชวงที่ 1 (วันที่ 22-23 กุมภาพันธ 2557) เนนการกลับมามีประสบการณตรงดวยการใชภูมิ
ปญญาจากทั้งสามฐาน การตระหนักรูเทาทันภายในตนเอง และการสรางความคุนเคยตอเครื่องมือที่
ใชในการใครครวญแบบตาง ๆ สวนชวงหลัง
-ชวงที่ 2(วันที่ 8-9 มีนาคม 2557) จะเนนการนําประสบการณและเครื่องมือเหลานั้น ไปใช
ในการแสวงหาความรู และเห็นการทํางานอยางเปนรูปธรรมทั้งในแนวคิดทฤษฎีและการประยุกตใช
รายละเอียดของเนื้อหาทั้งหมดประกอบดวย
•
กิจกรรม Check in การสํารวจความรูสึกภายใน
•
สายธารชีวิต และทักษะการสื่อสารอยางลึกซึ้ง
•
กิจกรรมพลังกลุม เชื่อมโยงกับภูมิปญญา 3 ฐาน
•
บุคลิกภาพเชิงลึก “กงลอสี่ทิศ”
•
กิจกรรมภาวนารูปแบบตาง ๆและอายตนะทั้งหก
•
ทฤษฎี Dialogue เชื่อมโยงกับพัฒนาการระดับจิตสํานึก
•
กิจกรรมฐานกาย: Finger dance, Body creativity, ภาวนายืดเหยียด
•
กิจกรรมเชิงสัมพันธภาพ “ของรักของหวง”
•
เครื่องมือ Journaling, Intuitive writing
•
การสรุปการเรียนรู การชื่นชมและขอบคุณ
•
กิจกรรมสืบคน “มารูจักจิตตปญญา มหิดล”และ “ชีวิตในมหิดล ศาลายา”
•
การแสวงหาความรูแบบจิตตปญญาศึกษาและ “จิตตปญญาพฤกษา”
•
ทฤษฎีกระบวนทัศนใหมและตัวอยางแนวคิดการจัดการศึกษาทางเลือก
กระบวนกรหลักของการฝกอบรม
อ.ดร.สมสิ ท ธิ์ อั ส ดรนิ ธี จบการศึ ก ษาเป น รุ น แรกของศู น ย จิ ต ตป ญ ญาศึ ก ษา
มหาวิทยาลัยมหิดล ใชชีวิตไปกับการเดิน ทางเพื่อ คนหาแรงบันดาลใจใหกับการมีชีวิต รวมถึงการ
เรียนรูนอกระบบในแวดวงของศาสตรเชิงจิตวิญญาณ สนใจเปนพิเศษดานการศึกษาบนกระบวนทัศน
ใหมเพื่อนําไปสูการเปลี่ยนแปลงพื้น ฐานของทั้งบุคคลและสังคม ปจจุบัน เปน อาจารยประจําของ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)
ศูน ยจิตตปญญาศึกษา มหาวิท ยาลัยมหิดลและกระบวนกรอิส ระดา นการเรียนรูดา นในเพื่อ การ
เปลี่ยนแปลงผูรับการอบรม
วันและเวลาของการฝกอบรม
หลักสูตรอบรมใชเวลาทั้งสิ้น 4 วัน เริ่มตังแต 09.00-17.00 น. โดยแบงเปน 2 ชวง คือ ชวงที1
้
่
ตั้งแตวนที่ 22 – 23 กุมภาพันธ 2557 และชวงที่ 2 ตั้งแตวนที่ 8 – 9 มีนาคม 2557
ั
ั
จํานวนผูเขารวมอบรม
จํานวนผูเขารวมทั้งสิ้นไมเกิน 20 คน โดยมีเกณฑดังนี้
-อายุไมตากวา 20 ปบริบรณ
่ํ
ู
-สามารถเขารวมกิจกรรมของคอรสไดครบทุกวันตลอดเวลาการอบรม และสามารถมีเวลา
ทํางานตามที่ไดรับมอบหมายเพิ่มเติม
คาใชจายในการอบรม ทานละ 3,200 บาท (ตลอดหลักสูตร)
สถานที่ของการฝกอบรม
หอง 311(หองภาวนา) ชั้น 3 อาคารประชาสังคมอุดมพัฒน
ศูนยจตตปญญาศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา นครปฐม
ิ
ผูรับผิดชอบโครงการ
ศูนยจิตตปญญาศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
- ผูเขาอบรมเกิดความรูจก ความคุนเคย และความเขาใจอยางถองแทตอแนวคิดจิตตปญญา
ั

ศึกษาไดอยางถูกตรง
-ผูอบรมสามารถใชเครืองมือและวิธีการตาง ๆ เพื่อการเรียนรูและใครครวญไดตามแนวทาง
่
จิตตปญญาศึกษา
-ผูอบรมสามารถนําประสบการณไปประยุกตใชในการแสวงหาความรูและการทํางานไดตอไป

บนหนทางที่เขาถึงคุณคาแหงความเปนมนุษยที่แทจริง
**********************************************************

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

Mais conteúdo relacionado

Destaque

ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นsomkhuan
 
1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)noinasang
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นguestf6be25a
 
หลักสูตรคณิตศาสตร์ของประเทศจีน
หลักสูตรคณิตศาสตร์ของประเทศจีนหลักสูตรคณิตศาสตร์ของประเทศจีน
หลักสูตรคณิตศาสตร์ของประเทศจีนInmylove Nupad
 
การจัดการเรียนรู้ตามหลัก Brain besed learning
การจัดการเรียนรู้ตามหลัก Brain besed learningการจัดการเรียนรู้ตามหลัก Brain besed learning
การจัดการเรียนรู้ตามหลัก Brain besed learningnapadon2
 
3 ระบบจำนวนจริง
3 ระบบจำนวนจริง3 ระบบจำนวนจริง
3 ระบบจำนวนจริงChwin Robkob
 
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ความน่าจะเป็น
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ความน่าจะเป็นบทเรียนออนไลน์เรื่อง ความน่าจะเป็น
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ความน่าจะเป็นอนันตชัย แปดเจริญ
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นKruAm Maths
 
สถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัยสถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัยธีรวัฒน์
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นRitthinarongron School
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพปกรณ์กฤช ออนไลน์
 
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)peter dontoom
 

Destaque (20)

ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
หลักสูตรคณิตศาสตร์ของประเทศจีน
หลักสูตรคณิตศาสตร์ของประเทศจีนหลักสูตรคณิตศาสตร์ของประเทศจีน
หลักสูตรคณิตศาสตร์ของประเทศจีน
 
14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง
14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง
14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง
 
การจัดการเรียนรู้ตามหลัก Brain besed learning
การจัดการเรียนรู้ตามหลัก Brain besed learningการจัดการเรียนรู้ตามหลัก Brain besed learning
การจัดการเรียนรู้ตามหลัก Brain besed learning
 
3 ระบบจำนวนจริง
3 ระบบจำนวนจริง3 ระบบจำนวนจริง
3 ระบบจำนวนจริง
 
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ความน่าจะเป็น
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ความน่าจะเป็นบทเรียนออนไลน์เรื่อง ความน่าจะเป็น
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ความน่าจะเป็น
 
บทเรียน1 สถิติ
บทเรียน1  สถิติบทเรียน1  สถิติ
บทเรียน1 สถิติ
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
สถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัยสถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัย
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
แนวข้อสอบวิชาชีพครู
แนวข้อสอบวิชาชีพครูแนวข้อสอบวิชาชีพครู
แนวข้อสอบวิชาชีพครู
 
O-NET ม.6-ความน่าจะเป็น
O-NET ม.6-ความน่าจะเป็นO-NET ม.6-ความน่าจะเป็น
O-NET ม.6-ความน่าจะเป็น
 
O-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติO-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติ
 
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
แนวข้อสอบ  100  ข้อแนวข้อสอบ  100  ข้อ
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
 
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
 
สรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษาสรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษา
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
 

Mais de Monthon Sorakraikitikul

ความรู้ด้านเทคนิควิธีสอน
ความรู้ด้านเทคนิควิธีสอนความรู้ด้านเทคนิควิธีสอน
ความรู้ด้านเทคนิควิธีสอนMonthon Sorakraikitikul
 
Brochure nov2013_Developing Learning Skills in the 21st Century
Brochure nov2013_Developing Learning Skills in the 21st CenturyBrochure nov2013_Developing Learning Skills in the 21st Century
Brochure nov2013_Developing Learning Skills in the 21st CenturyMonthon Sorakraikitikul
 
Engaging & Leading A Multi Generation Workforce
Engaging & Leading A Multi Generation WorkforceEngaging & Leading A Multi Generation Workforce
Engaging & Leading A Multi Generation WorkforceMonthon Sorakraikitikul
 
วิธีคิดในการคิดกระบวนระบบ โดย ชัยวัฒน์ ถิระพัฒน์
วิธีคิดในการคิดกระบวนระบบ โดย ชัยวัฒน์ ถิระพัฒน์วิธีคิดในการคิดกระบวนระบบ โดย ชัยวัฒน์ ถิระพัฒน์
วิธีคิดในการคิดกระบวนระบบ โดย ชัยวัฒน์ ถิระพัฒน์Monthon Sorakraikitikul
 
File เพาะพันธุ์ปัญญา
File เพาะพันธุ์ปัญญาFile เพาะพันธุ์ปัญญา
File เพาะพันธุ์ปัญญาMonthon Sorakraikitikul
 
โรงเรียนอนุบาลญี่ปุ่น
โรงเรียนอนุบาลญี่ปุ่นโรงเรียนอนุบาลญี่ปุ่น
โรงเรียนอนุบาลญี่ปุ่นMonthon Sorakraikitikul
 
6 กรอบคิดของการมีศีลธรรม
6 กรอบคิดของการมีศีลธรรม6 กรอบคิดของการมีศีลธรรม
6 กรอบคิดของการมีศีลธรรมMonthon Sorakraikitikul
 
ครูเรฟแนะนำครูไทย
ครูเรฟแนะนำครูไทยครูเรฟแนะนำครูไทย
ครูเรฟแนะนำครูไทยMonthon Sorakraikitikul
 

Mais de Monthon Sorakraikitikul (20)

New knowledge managemnet_infographic
New knowledge managemnet_infographicNew knowledge managemnet_infographic
New knowledge managemnet_infographic
 
Effective Teacher Education
Effective Teacher EducationEffective Teacher Education
Effective Teacher Education
 
Mba workshop thai version2
Mba workshop thai version2Mba workshop thai version2
Mba workshop thai version2
 
Workplace Spirituality
Workplace Spirituality Workplace Spirituality
Workplace Spirituality
 
Ebooks 6897
Ebooks 6897Ebooks 6897
Ebooks 6897
 
Qlf forum may2014
Qlf forum may2014Qlf forum may2014
Qlf forum may2014
 
Ed poster pim 14_mar2014
Ed poster  pim 14_mar2014Ed poster  pim 14_mar2014
Ed poster pim 14_mar2014
 
SCB Young Talent Camp 2014
SCB Young Talent Camp 2014SCB Young Talent Camp 2014
SCB Young Talent Camp 2014
 
Adecco thailand-salary-guide-2013
Adecco thailand-salary-guide-2013Adecco thailand-salary-guide-2013
Adecco thailand-salary-guide-2013
 
ความรู้ด้านเทคนิควิธีสอน
ความรู้ด้านเทคนิควิธีสอนความรู้ด้านเทคนิควิธีสอน
ความรู้ด้านเทคนิควิธีสอน
 
Brochure nov2013_Developing Learning Skills in the 21st Century
Brochure nov2013_Developing Learning Skills in the 21st CenturyBrochure nov2013_Developing Learning Skills in the 21st Century
Brochure nov2013_Developing Learning Skills in the 21st Century
 
Engaging & Leading A Multi Generation Workforce
Engaging & Leading A Multi Generation WorkforceEngaging & Leading A Multi Generation Workforce
Engaging & Leading A Multi Generation Workforce
 
วิธีคิดในการคิดกระบวนระบบ โดย ชัยวัฒน์ ถิระพัฒน์
วิธีคิดในการคิดกระบวนระบบ โดย ชัยวัฒน์ ถิระพัฒน์วิธีคิดในการคิดกระบวนระบบ โดย ชัยวัฒน์ ถิระพัฒน์
วิธีคิดในการคิดกระบวนระบบ โดย ชัยวัฒน์ ถิระพัฒน์
 
Strategic planning
Strategic planningStrategic planning
Strategic planning
 
File teacher coachingmentoring
File teacher coachingmentoringFile teacher coachingmentoring
File teacher coachingmentoring
 
File เพาะพันธุ์ปัญญา
File เพาะพันธุ์ปัญญาFile เพาะพันธุ์ปัญญา
File เพาะพันธุ์ปัญญา
 
โรงเรียนอนุบาลญี่ปุ่น
โรงเรียนอนุบาลญี่ปุ่นโรงเรียนอนุบาลญี่ปุ่น
โรงเรียนอนุบาลญี่ปุ่น
 
21CSK Driving Concepts
21CSK Driving Concepts21CSK Driving Concepts
21CSK Driving Concepts
 
6 กรอบคิดของการมีศีลธรรม
6 กรอบคิดของการมีศีลธรรม6 กรอบคิดของการมีศีลธรรม
6 กรอบคิดของการมีศีลธรรม
 
ครูเรฟแนะนำครูไทย
ครูเรฟแนะนำครูไทยครูเรฟแนะนำครูไทย
ครูเรฟแนะนำครูไทย
 

โครงการอบรมระยะสั้น"จิตตปัญญาศึกษาคืออะไร"

  • 1. โครงการฝกอบรม หลักสูตร คอรสอบรมระยะสั้น (Short course) ศูนยจิตตปญญาศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ชื่อโครงการ จิตตปญญาศึกษาคืออะไร (Introduction to Contemplative Education) หลักการและเหตุผล จิตตปญญาศึกษาเปนแนวคิดใหมในการจัดกระบวนการเรียนรู ที่พยายามขามพนไปจาก ขอจํากัดเดิม ๆ ของการศึกษาในกระแสหลัก จิตตปญญาศึกษาไดกอกําเนิดขึ้น ในวงการการศึกษา มาตั้งแตป 2549เมื่อครั้งสภามหาวิทยาลัยมหิดลไดมีมติใหดําเนินการจัดตั้งศูนยฯ ขึ้นในมหาวิทยาลัย ดวยวัตถุประสงคสําคัญที่จะรวมขับเคลื่อนและพัฒนาความเปนมนุษยที่สมบูรณและสรางสังคมทีมสข ่ ีุ ภาวะ กระนั้น แนวคิดและแนวทางปฏิบัติแบบจิตตปญญาศึกษาก็ยังอยูในวงแคบที่ยังไมเปนที่รับรู มากนัก แมแตในมหาวิทยาลัยมหิดลเอง สวนหนึ่งอาจเพราะตัวแนวคิดเองที่มีความเปนนามธรรมสูง และทําความเขาใจผานมุมมองทางวิชาการไดยากสงผลใหคนทั่วไปไมอาจเขาถึงวิธีการและเครื่องมือ ที่มีความสอดคลองกับแนวคิดดังกลาวจนสามารถนําไปใชสรางการเรียนรูที่เปนรูปธรรมไดเทาที่ควร เปาหมายของการเรียนรูในคอรสจิตตปญญาศึกษาคืออะไร นี้ ตอ งการจะนําพาผูเรียนใหมี ประสบการณ เกิดความรูจัก ความคุนเคย และความเขาใจที่ถองแทตอแนวคิดแบบจิตตปญญาศึกษา รวมไปถึงการเรียนรูที่นําไปสูการเปลี่ยนแปลงระดับจิตสํา นึกของผูเรียน เริ่มเห็น แยกแยะไดระหวา ง การศึกษารูปแบบเดิมที่มีขอจํากัดกับการเรียนรูแนวใหมที่เพิ่มเติมอิสรภาพในความเปนมนุษย ซึ่งจะ นํา ไปสูความสามารถในการประยุกตใชเครื่องมือและวิธีการตาง ๆ บนหนทางการแสวงหาความรู ดังกลาวจนเขาถึงคุณคาที่แทจริงของจิตตปญญาศึกษาได นั่นคือการกลับมาเห็นและยอมรับความ เปนทั้งหมดแหงความเปนมนุษยภายในตนเอง บนฐานของการมีความรักความเมตตา วัตถุประสงคของการฝกอบรม การฝกอบรมนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อใหผูรับการอบรม 1. สรางประสบการณการเรียนรูจากภูมิปญญาทั้ง 3 ฐาน ไดแก ฐานหัว ฐานใจ และฐานกาย 2. มีประสบการณการเจริญสติภาวนา และสามารถเชื่อมโยงไดกับชีวิตประจําวัน 3. สรางการตระหนักรูในอคติ และรูปแบบของความรูสึก / ความคิดที่ตนเองยึดติด 4. ศึกษาการเปลี่ยนแปลงพื้นฐานของจิตสํานึก โดยอาศัยเครื่องมือการสื่อสารอยางลึกซึ้ง 5. สรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับกระบวนทัศนใหมอันเปนพื้น ฐานสําคัญของแนวคิดจิตต ปญญาศึกษาเพื่อนําไปประยุกตใชในการแสวงหาความรูไดอยางเปนรูปธรรม Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)
  • 2. หลักสูตรการฝกอบรม การอบรมมีทั้งสิ้น 4 วัน ไดแก วันเสาร – อาทิตยที่ 22 – 23 กุมภาพันธ และวันเสาร – อาทิตย ที่ 8 – 9 มีนาคม 2557 เวลาอบรมเริ่มตั้งแต 9:00 – 17:00 น. โดยแบงเนื้อหาการเรียนรูเปน 2 ชว ง หลัก ดังนี้ -ชวงที่ 1 (วันที่ 22-23 กุมภาพันธ 2557) เนนการกลับมามีประสบการณตรงดวยการใชภูมิ ปญญาจากทั้งสามฐาน การตระหนักรูเทาทันภายในตนเอง และการสรางความคุนเคยตอเครื่องมือที่ ใชในการใครครวญแบบตาง ๆ สวนชวงหลัง -ชวงที่ 2(วันที่ 8-9 มีนาคม 2557) จะเนนการนําประสบการณและเครื่องมือเหลานั้น ไปใช ในการแสวงหาความรู และเห็นการทํางานอยางเปนรูปธรรมทั้งในแนวคิดทฤษฎีและการประยุกตใช รายละเอียดของเนื้อหาทั้งหมดประกอบดวย • กิจกรรม Check in การสํารวจความรูสึกภายใน • สายธารชีวิต และทักษะการสื่อสารอยางลึกซึ้ง • กิจกรรมพลังกลุม เชื่อมโยงกับภูมิปญญา 3 ฐาน • บุคลิกภาพเชิงลึก “กงลอสี่ทิศ” • กิจกรรมภาวนารูปแบบตาง ๆและอายตนะทั้งหก • ทฤษฎี Dialogue เชื่อมโยงกับพัฒนาการระดับจิตสํานึก • กิจกรรมฐานกาย: Finger dance, Body creativity, ภาวนายืดเหยียด • กิจกรรมเชิงสัมพันธภาพ “ของรักของหวง” • เครื่องมือ Journaling, Intuitive writing • การสรุปการเรียนรู การชื่นชมและขอบคุณ • กิจกรรมสืบคน “มารูจักจิตตปญญา มหิดล”และ “ชีวิตในมหิดล ศาลายา” • การแสวงหาความรูแบบจิตตปญญาศึกษาและ “จิตตปญญาพฤกษา” • ทฤษฎีกระบวนทัศนใหมและตัวอยางแนวคิดการจัดการศึกษาทางเลือก กระบวนกรหลักของการฝกอบรม อ.ดร.สมสิ ท ธิ์ อั ส ดรนิ ธี จบการศึ ก ษาเป น รุ น แรกของศู น ย จิ ต ตป ญ ญาศึ ก ษา มหาวิทยาลัยมหิดล ใชชีวิตไปกับการเดิน ทางเพื่อ คนหาแรงบันดาลใจใหกับการมีชีวิต รวมถึงการ เรียนรูนอกระบบในแวดวงของศาสตรเชิงจิตวิญญาณ สนใจเปนพิเศษดานการศึกษาบนกระบวนทัศน ใหมเพื่อนําไปสูการเปลี่ยนแปลงพื้น ฐานของทั้งบุคคลและสังคม ปจจุบัน เปน อาจารยประจําของ Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)
  • 3. ศูน ยจิตตปญญาศึกษา มหาวิท ยาลัยมหิดลและกระบวนกรอิส ระดา นการเรียนรูดา นในเพื่อ การ เปลี่ยนแปลงผูรับการอบรม วันและเวลาของการฝกอบรม หลักสูตรอบรมใชเวลาทั้งสิ้น 4 วัน เริ่มตังแต 09.00-17.00 น. โดยแบงเปน 2 ชวง คือ ชวงที1 ้ ่ ตั้งแตวนที่ 22 – 23 กุมภาพันธ 2557 และชวงที่ 2 ตั้งแตวนที่ 8 – 9 มีนาคม 2557 ั ั จํานวนผูเขารวมอบรม จํานวนผูเขารวมทั้งสิ้นไมเกิน 20 คน โดยมีเกณฑดังนี้ -อายุไมตากวา 20 ปบริบรณ ่ํ ู -สามารถเขารวมกิจกรรมของคอรสไดครบทุกวันตลอดเวลาการอบรม และสามารถมีเวลา ทํางานตามที่ไดรับมอบหมายเพิ่มเติม คาใชจายในการอบรม ทานละ 3,200 บาท (ตลอดหลักสูตร) สถานที่ของการฝกอบรม หอง 311(หองภาวนา) ชั้น 3 อาคารประชาสังคมอุดมพัฒน ศูนยจตตปญญาศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา นครปฐม ิ ผูรับผิดชอบโครงการ ศูนยจิตตปญญาศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ - ผูเขาอบรมเกิดความรูจก ความคุนเคย และความเขาใจอยางถองแทตอแนวคิดจิตตปญญา ั  ศึกษาไดอยางถูกตรง -ผูอบรมสามารถใชเครืองมือและวิธีการตาง ๆ เพื่อการเรียนรูและใครครวญไดตามแนวทาง ่ จิตตปญญาศึกษา -ผูอบรมสามารถนําประสบการณไปประยุกตใชในการแสวงหาความรูและการทํางานไดตอไป  บนหนทางที่เขาถึงคุณคาแหงความเปนมนุษยที่แทจริง ********************************************************** Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)