SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 9
EYEBORG A ONE  - EYED FILMMAKER GETS A CAMERA - EYE BY: TANAWAN SRIKAMMA 07500614
[object Object],Rob Spence  ผู้กำกับภาพยนตร์ ชาวแคนาดา วัย  36  ปี “ ในเมื่อตาข้างหนึ่งมองมาเห็นมาหลายปี แล้วจะปล่อยมันทิ้งไว้โดยเปล่าประโยชน์ทำไม”
ร็อบสูญเสียดวงตาข้างขวาเมื่ออายุได้  13  ปี ด้วยอุบัติเหตุ แม้อุบัติเหตุในครั้งนั้นจะไม่ทำให้เขาตาบอดโดยทันที แต่แพทย์ไม่สามารถรักษาตาให้หายเป็นปรกติได้ และมันก็ค่อยๆเสื่อมสภาพลงจนดวงตาของเขาบอดสนิทในอีกไม่กี่ปีต่อมา  จากนั้นร็อบก็ตัดสินใจเอามันออกแล้วใส่ดวงตาเทียมแทนเมื่อ  3  ปีก่อน  > >   A bout  Rob Spence
ต่ อมาเขาตัดสินใจผ่าตัดดวงตาอีกครั้ง ไม่ใช้เพื่อให้เค้ามองเห็นได้อย่างสมบูรณ์แบบ แต่เพื่อความสามารถใหม่ในการบันทึกภาพทุกอย่างรอบตัวผ่านดวงตาไซบอร์ก เข้าได้ติดต่อไปยัง  สตีฟ แมนน์  ( Steve Mann)  ศาสตราจารย์มหาวิทยาลัยโทรอนโต ผู้เชี่ยวชาญด้านหุ่นยนต์และคอมพิวเตอร์สวมใส่ร่างกาย
> >T iny  Camera oh ! ด วงตาหุ่นยนต์ Eyeborg จะต้องมีความหนาไม่เกิน  9  มม .  ยาว  30  มม . และสูง  28  มม .  เท่านั้น แม้ว่าวิวัฒนาการของกล้องดิจิตอลในปัจจุบันจะสามารถสร้างเซ็นเซอร์หรือแผ่น รับภาพขนาดจิ๋วได้ แต่ในความเป็นจริงมันยังต้องอาศัยอุปกรณ์ประกอบอื่นๆอีกมากมาย เช่น หน่วยประมวลผล แบตเตอรี่ให้พลังงานและเครื่องส่งสัญญาณไร้สาย
> >T iny  Camera oh ! เ มื่อเดือน สิงหาคม  2008  ที่ผ่านมาศาสตราจารย์จอห์น โรเจอร์  ( John Rogers)  และศาสตราจารย์หยองแกง ฮวง  ( Yonggang Huang)  ได้ร่วมกันวิจัยพัฒนาเซ็นเซอร์รับภาพโดยออกแบบให้เซ็นเซอร์มีผิวโค้งนูนเหมือนแก้วตามนุษย์ ทำให้ภาพที่ได้มีความใกล้เคียงกับที่ตามนุษย์เห็นมากขึ้น
แ ต่ปัญหาใหม่ที่เกิดขึ้นคือเมื่อนำอุปกรณ์บันทึกภาพทั้งหมดมาบรรจุใส่ลงในตา หุ่นยนต์ มันจะมีน้ำหนักมากกว่าดวงตามนุษย์ กล้ามเนื้อรอบดวงตาอาจไม่สามารถรับน้ำหนักที่เพิ่มขึ้นมาได้ ส่งผลให้เบ้าตาผิดรูปร่างและทำให้ใบหน้าเสียโฉม > >P ro blem
แ ต่ที่น่ากังวลกว่าก็คือ บุคคลรอบข้างต่างเกรงว่า จะโดนบันทึกภาพ เพราะคราวนี้ไม่ใช่แค่การจดจำในสมอง แต่ยังเห็นเป็นภาพวิดีโอดิจิตอลที่ทำสำเนาได้เสร็จสรรพ  อ ย่างไรก็ตาม ร็อบไม่มีความคิดที่จะออกอากาศทุกสิ่งทุกอย่างที่เขาเห็น เขาจะไม่ใช้  " ตาหุ่นยนต์ "  พร่ำเพรื่อ
C r e d i t s ,[object Object],[object Object]

Mais conteúdo relacionado

Destaque

2009 01 29 Esitys tulevaisuusselonteon asiantuntijaryhmalle
2009 01 29 Esitys tulevaisuusselonteon asiantuntijaryhmalle2009 01 29 Esitys tulevaisuusselonteon asiantuntijaryhmalle
2009 01 29 Esitys tulevaisuusselonteon asiantuntijaryhmalle
Annukka Berg
 
Ponny Igj Putaran Doha Dan Fta Jakarta 11 Des 2007
Ponny Igj Putaran Doha Dan Fta Jakarta 11 Des 2007Ponny Igj Putaran Doha Dan Fta Jakarta 11 Des 2007
Ponny Igj Putaran Doha Dan Fta Jakarta 11 Des 2007
lodzi
 
Динамика развития интернета как рекламного канала на Дальнем Востоке (ДВИК-2012)
Динамика развития интернета как рекламного канала на Дальнем Востоке (ДВИК-2012)Динамика развития интернета как рекламного канала на Дальнем Востоке (ДВИК-2012)
Динамика развития интернета как рекламного канала на Дальнем Востоке (ДВИК-2012)
internet27
 
Artistas
ArtistasArtistas
Artistas
zhamir
 
08 11 27 Verslag Sfs Bijeenkomst
08 11 27 Verslag Sfs Bijeenkomst08 11 27 Verslag Sfs Bijeenkomst
08 11 27 Verslag Sfs Bijeenkomst
infocom.nom
 

Destaque (16)

YP-P3 Bilder
YP-P3 BilderYP-P3 Bilder
YP-P3 Bilder
 
2009 01 29 Esitys tulevaisuusselonteon asiantuntijaryhmalle
2009 01 29 Esitys tulevaisuusselonteon asiantuntijaryhmalle2009 01 29 Esitys tulevaisuusselonteon asiantuntijaryhmalle
2009 01 29 Esitys tulevaisuusselonteon asiantuntijaryhmalle
 
Ennio Morricone
Ennio MorriconeEnnio Morricone
Ennio Morricone
 
Dis Maman
Dis MamanDis Maman
Dis Maman
 
市场
市场市场
市场
 
Syber world
Syber worldSyber world
Syber world
 
Introdução ao MEAN Stack
Introdução ao MEAN StackIntrodução ao MEAN Stack
Introdução ao MEAN Stack
 
Öncesi - 2010 - Sonrası
Öncesi - 2010 - SonrasıÖncesi - 2010 - Sonrası
Öncesi - 2010 - Sonrası
 
Ponny Igj Putaran Doha Dan Fta Jakarta 11 Des 2007
Ponny Igj Putaran Doha Dan Fta Jakarta 11 Des 2007Ponny Igj Putaran Doha Dan Fta Jakarta 11 Des 2007
Ponny Igj Putaran Doha Dan Fta Jakarta 11 Des 2007
 
Beryl
BerylBeryl
Beryl
 
Динамика развития интернета как рекламного канала на Дальнем Востоке (ДВИК-2012)
Динамика развития интернета как рекламного канала на Дальнем Востоке (ДВИК-2012)Динамика развития интернета как рекламного канала на Дальнем Востоке (ДВИК-2012)
Динамика развития интернета как рекламного канала на Дальнем Востоке (ДВИК-2012)
 
Artistas
ArtistasArtistas
Artistas
 
Internet Veilig
Internet VeiligInternet Veilig
Internet Veilig
 
Social Bookmarking
Social BookmarkingSocial Bookmarking
Social Bookmarking
 
08 11 27 Verslag Sfs Bijeenkomst
08 11 27 Verslag Sfs Bijeenkomst08 11 27 Verslag Sfs Bijeenkomst
08 11 27 Verslag Sfs Bijeenkomst
 
Esdios
EsdiosEsdios
Esdios
 

Eyeborg

  • 1. EYEBORG A ONE - EYED FILMMAKER GETS A CAMERA - EYE BY: TANAWAN SRIKAMMA 07500614
  • 2.
  • 3. ร็อบสูญเสียดวงตาข้างขวาเมื่ออายุได้ 13 ปี ด้วยอุบัติเหตุ แม้อุบัติเหตุในครั้งนั้นจะไม่ทำให้เขาตาบอดโดยทันที แต่แพทย์ไม่สามารถรักษาตาให้หายเป็นปรกติได้ และมันก็ค่อยๆเสื่อมสภาพลงจนดวงตาของเขาบอดสนิทในอีกไม่กี่ปีต่อมา จากนั้นร็อบก็ตัดสินใจเอามันออกแล้วใส่ดวงตาเทียมแทนเมื่อ 3 ปีก่อน > > A bout Rob Spence
  • 4. ต่ อมาเขาตัดสินใจผ่าตัดดวงตาอีกครั้ง ไม่ใช้เพื่อให้เค้ามองเห็นได้อย่างสมบูรณ์แบบ แต่เพื่อความสามารถใหม่ในการบันทึกภาพทุกอย่างรอบตัวผ่านดวงตาไซบอร์ก เข้าได้ติดต่อไปยัง สตีฟ แมนน์ ( Steve Mann) ศาสตราจารย์มหาวิทยาลัยโทรอนโต ผู้เชี่ยวชาญด้านหุ่นยนต์และคอมพิวเตอร์สวมใส่ร่างกาย
  • 5. > >T iny Camera oh ! ด วงตาหุ่นยนต์ Eyeborg จะต้องมีความหนาไม่เกิน 9 มม . ยาว 30 มม . และสูง 28 มม . เท่านั้น แม้ว่าวิวัฒนาการของกล้องดิจิตอลในปัจจุบันจะสามารถสร้างเซ็นเซอร์หรือแผ่น รับภาพขนาดจิ๋วได้ แต่ในความเป็นจริงมันยังต้องอาศัยอุปกรณ์ประกอบอื่นๆอีกมากมาย เช่น หน่วยประมวลผล แบตเตอรี่ให้พลังงานและเครื่องส่งสัญญาณไร้สาย
  • 6. > >T iny Camera oh ! เ มื่อเดือน สิงหาคม 2008 ที่ผ่านมาศาสตราจารย์จอห์น โรเจอร์ ( John Rogers) และศาสตราจารย์หยองแกง ฮวง ( Yonggang Huang) ได้ร่วมกันวิจัยพัฒนาเซ็นเซอร์รับภาพโดยออกแบบให้เซ็นเซอร์มีผิวโค้งนูนเหมือนแก้วตามนุษย์ ทำให้ภาพที่ได้มีความใกล้เคียงกับที่ตามนุษย์เห็นมากขึ้น
  • 7. แ ต่ปัญหาใหม่ที่เกิดขึ้นคือเมื่อนำอุปกรณ์บันทึกภาพทั้งหมดมาบรรจุใส่ลงในตา หุ่นยนต์ มันจะมีน้ำหนักมากกว่าดวงตามนุษย์ กล้ามเนื้อรอบดวงตาอาจไม่สามารถรับน้ำหนักที่เพิ่มขึ้นมาได้ ส่งผลให้เบ้าตาผิดรูปร่างและทำให้ใบหน้าเสียโฉม > >P ro blem
  • 8. แ ต่ที่น่ากังวลกว่าก็คือ บุคคลรอบข้างต่างเกรงว่า จะโดนบันทึกภาพ เพราะคราวนี้ไม่ใช่แค่การจดจำในสมอง แต่ยังเห็นเป็นภาพวิดีโอดิจิตอลที่ทำสำเนาได้เสร็จสรรพ อ ย่างไรก็ตาม ร็อบไม่มีความคิดที่จะออกอากาศทุกสิ่งทุกอย่างที่เขาเห็น เขาจะไม่ใช้ " ตาหุ่นยนต์ " พร่ำเพรื่อ
  • 9.