SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 16
ระยะของโรค ปัญหา ข้อวินิจฉัย
ทางการพยาบาล
วัตถุประสงค์ การพยาบาล
1. ระยะไข้ 1.ไข้สูงลอย 38.5-
40 º c
2. ปวดศีรษะ ปวด
เมื่อยตัว
3.คลื่นไส้อาเจียน
4.ปวดท้อง/ตับโต
5.มีปริมาณเกล็ด
เลือดลดลง
และมีค่า Hct เพิ่ม
อาจ มีเลือดออกตาม
ไรฟัน/เลือดกำาเดา
6.ผู้ป่วยกลัว/กังวล
ในการรักษาและ
หัตถการ
7.ญาติวิตกกังวล
เกี่ยวกับการเจ็บป่วย
8.มีเชื้อไข้เลือดออก
เดงกี่ในกระแสเลือด
1.เสี่ยงต่อชัก
เนื่องจากไข้สูง
2.ไม่สุขสบาย
เนื่องจากไข้สูง
และปวดศีรษะ
3.เสี่ยงต่อการขาด
สารอาหาร นำ้าและ
อิเลคโตไลท์
เนื่องจากอาเจียน
1 ป้องกันการชัก
2.อุณหภูมิลดลง
3.ผู้ป่วยสุขสบายขึ้น
1.ผู้ป่วยได้รับสาร
อาหาร นำ้า และ
อิเลคโตไลท์ เพียงพอ
1.อธิบายให้เข้าใจถึงพยาธิสภาพ
ของโรคคร่าวๆ
2.อธิบายเหตุผลของการพยาบาล
ที่ผู้ป่วยได้รับ
3. เช็ดตัวลดไข้ด้วยนำ้าอุ่น หรือนำ้า
ธรรมดา โดยใช้ผ้าชุบนำ้าหมาดๆ
วางที่ หน้าผากซอกคอ
ซอกรักแร้ ขาหนีบ นาน 15 นาที
แนะนำาญาติร่วมด้วย
4.ให้ดื่มนำ้าเกลือแร่ หรือนำ้าผลไม้
บ่อยๆ
5.ให้ยา paracetamal 10
mg/kg/dose เมื่ออุณหภูมิ
มากกว่า 39 º c หรือปวดศีรษะ
มาก
6. วัด V/S ทุก 4 ชม. และวัด
ประเมินหลังเช็ดตัว
ลดไข้ 30 นาที
7. เด็กที่มีประวัติชักให้ยากันชัก
ตามแผนการรักษา
8. จัดสิ่งแวดล้อมสะอาด แห้ง สงบ
9.ให้การพยาบาลด้วยความนุ่ม
นวล
1.อธิบายให้ผู้ป่วย/ญาติทราบถึง
เหตุผลของการพยาบาล และ
กระตุ้นให้มีส่วนร่วมในการ
พยาบาล
2.ให้อาหารอ่อน ย่อยง่าย ตรั้งละ
น้อย แต่บ่อยครั้ง
โดยงดอาหารและนำ้าที่มีสีแดง
นำ้าตาล ลดอาหารมัน
แนะนำาญาติให้จัดอาหารที่ผู้ป่วย
ชอบ
3.ให้ดื่มนำ้าเกลือแร่ หรือนำ้าผลไม้
บ่อยๆ เช่นนำ้าส้ม
หรือนำ้าสไปร์+เกลือ
4.สังเกตอาการขาดนำ้า เช่น ลิ้น
ขาว ปากแห้ง
หนังเหี่ยว กระหม่อมบุ๋มในเด็ก
เล็ก
ระยะของโรค ปัญหา ข้อวินิจฉัย
ทางการ
พยาบาล
วัตถุประสงค์ การพยาบาล
4.ปวดท้องเนื่องจาก
มีภาวะตับโต หรือ
ระคายเคืองจากนำ้า
1.ผู้ป่วยปวดท้องลดลง
นอนพักได้
2.ผู้ป่วยเข้าใจและ
5.บ้วนปากด้วยนำ้าอุ่นหลังอาเจียน
และบันทึกจำานวน ลักษณะ
ปริมาณ ของอาเจียนทุกครั้ง
6. ให้อาแก้อาเจียนตามแผนการ
รักษา
7. ติดตามผล Lab และรายงาน
ให้แพทย์ทราบ
8. สังเกตสีจำานวนปัสสาวะ
9. กรณีต้องให้สารนำ้า ดูแลให้ได้
รับตามแผนการรักษา
ย่อย ยอมรับอาการปวดท้อง
ที่เกิดจากภาวะตับโต
1.อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติทราบ
ถึงสาเหตุที่เกิด
อาการปวดท้อง
2.ระวังการกระทบกระแทกที่หน้า
ท้อง เช่นไม่เกิดดูขนาดตับบ่อยๆ
หรือเช็ดตัวลดไข้
3.ให้การพยาบาลที่นุ่มนวล
ระมัดระวังในการ
เคลื่อนย้าย
4.ให้นอน Fowler' position ให้
ผนังหน้าท้อง
หย่อนตัว
5.ใส่เสื้อผ้านุ่มสะอาดไม่ระคายผิว
6. ให้อาหารอ่อน ย่อยง่าย รสไม่
จัด รับประทานบ่อยๆ ควรงด
อาหารมัน
7. ให้ยาแก้ปวดท้องตามแผนกา
รักษา
8.สังเกตอาการถ้าปวดท้องมาก
รายงานแพทย์
ระยะของโรค ปัญหา ข้อวินิจฉัย
ทางการ
พยาบาล
วัตถุประสงค์ การพยาบาล
4.เลือดออกง่าย
เนื่องจากมีปริมาณ
เกล็ดเลือดตำ่า
1. ไม่เกิดภาวะเลือด
ออกหรือ
ออกน้อยลง
1.อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติทราบ
ถึงสาเหตุที่เกิดถึง
สาเหตุที่ทำาให้เกิดเลือดออกง่าย
5.เสี่ยงต่อการเกิด
เลือดออกง่าย
เนื่องจากมีปริมาณ
เกล็ดเลือดตำ่า
2. ไม่เกิดภาวะ
แทรกซ้อนจากการ
มีเลือดออก
และร่วมในการสังเกต อาการผิด
ปกติ
2.ให้การพยาบาลที่นุ่มนวล และ
ระวังอุบัติเหตุ
3.ดูแลให้ตัดเล็บสั้น แนะนำาไม่ให้
แกะเกา
4.งดการฉีดยาทางกล้ามเนื้อ , ใส่
NG
5.สังเกตและสอบถามเรื่องอาการ
เลือดออกทุก เวร
6. แนะนำา/จัดหาผลไม้ที่มีวิตามิต
ซี สูง
ให้รับประทาน เช่น ส้ม ฝรั้ง เพื่อ
สร้างความ
แข็งแรงของหลอดเลือด
7.แนะนำาให้ใช้แปรงที่ขนนุ่ม แป
รงเบาๆ ถ้ามีเลือดออกตามไรฟัน
จัด SMW ไห้บ้วนปากแทน
8.กรณีมีเลือดกำาเดาไหล ให้ผู้ป่วย
นอนราบ บีบจมูก ให้หายใจทาง
ปาก และใช้กระเป๋านำ้าแข็งวาง
ที่หน้าผาก
9. เจาะเลือดทุดครั้งต้องกดจน
แน่ใจว่าเลือดหยุด
ใช้เวลาประมาณ 5 นาที กรณี
เจาะเลือดที่ปลายนิ้ว
ต้องทำาความสะอาดและแห้ง
ป้องกันติดเชื้อ
10. เจาะเลือดที่ปลายนิ้วด้วย
blood lancet
เพื่อให้ได้ความลึกที่เหมาะสม
11. แนะนำา/จัดหาของเล่นที่ไม่มี
คม หรือมีเหลี่ยม
ให้เด็กเล่นเพื่อป้องกันอันตราย
ระยะของโรค ปัญหา ข้อวินิจฉัย
ทางการ
พยาบาล
วัตถุประสงค์ การพยาบาล
6.เสี่ยงต่อการแพร่
เชื้อสู่ผู้ป่วยอื่น
เนื่องจากมีเชื้อไข้
เลือดออกเดงกี่ใน
กระแสเลือด
7. ผู้ป่วยเด็กเสี่ยงมี
ภาวะ psychic
trauma เนื่องจาก
กลัวความเจ็บปวด
จากการให้สารนำ้า/
การเจาะเลือด
1.ไม่มีการแพร่กระจาย
เชื้อสู่
บุคคลอื่น
2.ผู้ป่วย/ญาติทราบวิธี
ปฏิบัติในการป้องกัน
การแพร่เชื้อไข้เลือด
ออก
1.เพื่อลดความภาวะ
psychic trauma
2. ผู้ป่วยให้ความร่วม
มือมากขึ้น
1.อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติทราบ
ถึงการแพร่กระจาย
ของเชื้อไข้เลือดออก เพื่อให้ปฏิบัติ
ตนได้ถูกต้อง
2. จัดผู้ป่วยอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม
และดูแลไม่ให้ยุงกัด
เช่นใช้มุ้งลวด , ยากันยุง . และ
แนะนำาให้ผู้ป่วย/ญาติ
ระวังยุงกัดในเวลากลางวัน
3. ดูแลสิ่งแวดล้อมในตึก ไม่ให้มี
นำ้าขังเป็นแหล่งเพาะพันธ์ยุง
4. ประสานงานกับฝ่ายสุขาภิบาล
ในการเฝ้าระวัง
และควบคุมโรค
1. ให้ความเป็นกันเอง โดย
ทำาความรู้จัก และเรียกชื่อเล่นของ
เด็กแทน และแนะนำาชื่อตนเองกับ
เด็ก
2. ให้การพยาบาลอย่างนุ่มนวล
3. ก่อนให้สารนำ้า หรือ เจาะเลือด
ต้องอธิบายให้
ผู้ป่วยที่ทราบ ในเด็กโต ให้ร่วม
ตัดสินใจ และตอบคำาถามที่สงสัย
เช่น ให้เลือกที่เจาะเลือด หรือ
ให้สารนำ้าเอง ให้เวลาโดยไม่
เร่งรัด
4. ให้ผู้ปกครองอยู่ให้กำาลังใจเด็ก
ตลอดเวลา
5. ให้การพยาบาลที่รวดเร็ว
ระยะของโรค ปัญหา ข้อวินิจฉัย
ทางการ
พยาบาล
วัตถุประสงค์ การพยาบาล
2. ระยะวิกฤต/ 1. มีการั่วของ
8. ญาติมีความวิตก
กังวลเกี่ยวกับอาการ
เจ็บป่วยเนื่องจาก
ขาดความรู้ความ
เข้าใจ
1. เพื่อลดความวิตก
กังวล
2. เพื่อให้เกิดความ
ร่วมมือในการรักษา
พยาบาล
1. สร้างสัมพันธ์ภาพ กับญาติ และ
แนะนำา /ให้ความรู้เรื่องไข้เลือด
ออกเดงกี่และการปฏิบัติตนคร่าวๆ
2. ก่อนการทำาหัตถการ และรักษา
พยาบาลทุกครั้ง
บอกให้ญาติรับทราบและร่วม
ตัดสินใจ
3.ขณะให้การพยาบาลให้ญาติมี
ส่วนร่วมทุกครั้ง
4. แจ้งผลการตรวจทางห้องปฏิบัติ
ช็อก พลาสมา
2. เกล็ดเลือดตำ่า
น้อยกว่า
100,000 เซล/ลบ/
ซม.
3.ช็อก v/s
unstable
4. ตับโต ปวดท้อง
5.Hct เพิ่มมากว่า
10-20%
6.Hct ลด และ มี
ปริมาณเลือดออก
มากกว่า 10 %
blood volum
7. ซึมมาก
8.ปัสสาวะออกน้อย/
ไม่ออก
1.มี
ภาวะ hypovolemi
c shock เนื่องจากมี
การั่วซึมของ
พลาสมาออกนอก
เส้นเลือด
2.เสี่ยงต่อ
ภาวะ hypovolemi
c shock เนื่องจากมี
การั่วซึมของ
พลาสมาออกนอก
เส้นเลือด
1. เพื่อให้ภาวะ
hypovolemic
shock กลับสู่ภาวะปกติ
การให้ทราบ
5. ประสานงานกับแพทย์ กรณี
ญาติต้องการสอบถามอาการและ
แนวทางการรักษากับแพทย์
โดยตรง
1. Check and record V/S ทุก
15-30 นาที
until stable จึงวัดทุก 1-2 ชม.
2. ให้ oxygen mask8
LPM/canular5-6 LPM
ทุกรายที่ช็อก สังเกต ปลายมือ -
เท้าเขียว
3. ให้สารนำ้าตามแผนการรักษา
ด้วยเทคนิค
sterile
4. ตรวจนับจำานวนหยดสารนำ้าทุก
1 ชั่วโมง เพื่อให้ได้รับตรงตาม
จำานวน
5. กระตุ้นให้ดื่มนำ้าเกลือแร่/นำ้าผล
ไม้บ่อยๆโดยผลไม้ที่มีวิตตามิน ซี
สูงจะช่วยให้หลอดเลือดแข็งแรง
6. ให้รับประทานอาหารอ่อนย่อย
ง่าย ครั้งละน้อย
แต่บ่อยครั้ง และแนะนำาญาติให้มี
ส่วนร่วม
ระยะของโรค ปัญหา ข้อวินิจฉัย
ทางการ
พยาบาล
วัตถุประสงค์ การพยาบาล
3. มี
ภาวะ hemorragic
shock เนื่องจาก มี
เลือดออก
จำานวนมากจาก
ภาวะเกล็ดเลือดตำ่า
4. เสี่ยงต่อภาวะ
DIC เนื่องจากมี
ภาวะช็อกนาน
1.เพื่อให้ภาวะ
hypovolemic
shock กลับสู่ภาวะปกติ
2.ความเข้มข้นเลือด
ปกติ มากกว่า 30%
3. การทำางานของ
vital organ
ทำางานปกติ
7. Check and record
intake/out
ถ้า urine < 1 cc/kg/hr.หรือ
ไม่ปัสสาวะ
ภายใน 4 ชม รายงานแพทย์
8.เจาะตรวจ lab ตามแผนการ
รักษาโดยเทคนิค
sterile และติดตามผลรายงาน
ให้แพทย์ทราบ
9.สังเกตอาการเลือดออกทุกระบบ
อาการที่แสดงว่ามีเลือดออกที่
ภายใน คือ เปลือกตาซีด ค่า
Hct ลดลง 10-20% ปวดท้องมาก
อาเจียน/ถ่ายเป็นเลือด BP
drop , PP แคบ ,pulse เบาเร็ว
10. พักผ่อนให้เพียงพอ จัดให้
พักใกล้ เคาเตอร์
พยาบาล
11. สังเกตอาการนำ้าเกิน เช่น ไอ
เหนื่อยหอบ
หนังตาบวม
1. อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติทราบ
ถึงสาเหตุที่เกิดถึง
สาเหตุที่ทำาให้เกิดเลือดออกง่าย
และร่วมในการสังเกต อาการผิด
ปกติ
2. Check and record V/S ทุก
15-30 นาที
until stable จึงวัดทุก 1-2 ชม.
3. ให้ oxygen mask8
LPM/canular5-6 LPM
ทุกรายที่ช็อก
ระยะของโรค ปัญหา ข้อวินิจฉัย
ทางการ
พยาบาล
วัตถุประสงค์ การพยาบาล
4. record ปริมาณ เลือดที่ออก
และรายงานแพทย์
เช่นอาเจียน/ถ่ายอุจจาระ /เลือด
กำาเดา/สีปัสสาวะ
ในผู้กำาลังมีประจำาเดือน ต้อง
สังเกตปริมาณเลือดที่ออกเพิ่มขึ้น
5. ประสานงานขอเลือดจาก
ห้อง lab และให้เลือด ถูกชนิด
ปริมาณ ตามแผนการรักษา และ
สังเกต
ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด
อย่างใกล้ชิด
6.กรณีไม่มีเลือดแจ้งแพทย์ทราบ
และเตรียม ส่งตัวไปรับการรักษา
ต่อที่ รพ.ศูนย์
7. Check and record
5.เสี่ยงต่อ vital
organ
ถูกทำาลายเนื่องจาก
อยู่ในภาวะ
ช็อกนาน
1.เพื่อให้ vital organ
( สมอง,
หัวใจ, ปอด, ตับ ,ไต)
ทำางานได้ปกติ
และไม่ถูกทำาลาย
intake/out
ถ้า urine < 1 cc/kg/hr.
รายงานแพทย์
8. งดการใส่ NG tube
9. เจาะเลือดส่งตรวจตามแผนกา
รักษา
และติดตามผล รายงานแพทย์
กรณีต้องเจาะเลือด ต้องกดจน
แน่ใจว่า เลือดหยุดจริง ประมาณ
5 นาที และแนะนำาผู้ป่วย/ญาติ
ให้สังเกต
1. แก้ไข ภาวะช็อกให้สิ้นสุดเร็ว
ที่สุด
2 . ให้ oxygen mask8
LPM/canular5-6 LPM
โดย ต้องดูเรื่องขนาดหน้ากาก /
ขนาดสาย canular ให้
เหมาะสม และเปลี่ยน
ทำาความสะอาดทุกวัน เติม
นำ้ากลั่นให้มีความชุ่มชื้น
ระยะของโรค ปัญหา ข้อวินิจฉัย
ทางการ
พยาบาล
วัตถุประสงค์ การพยาบาล
3.สังเกตอาการขาดออกซิเจน
เช่น ปลายมือ –เท้า
เขียว ริมฝีปากเขียวซีด/
capillary > 2 วินาที
4. ให้พักผ่อนให้เต็มที่ และรักษา
ความอบอุ่นของร่างกาย เพื่อลด
การใช้ออกซิเจน
5. Check and record V/S
สักเกต ลักษณะ การหายใจ ว่า
หอบเหนื่อยลดลง
หรือไม่ มีไอ มีเสมหะสีอะไร
6.. Check and record
intake/out โดยสังเกต สี /
ปริมาณ ถ้า urine < 1
cc/kg/hr. ต้องรายงาน
7. ในรายที่ต้องสวนปัสสาวะต้อง
ทำาตามขั้นตอน
ด้วย เทคนิค sterile ดูแลไม่ให้
สานพับงอ และผู้ป่วยสุขสบาย
มากที่สุด ไม่ดึงรั้ง ถุงปัสสาวะต้อง
ตำ่ากว่าระดับเอว และ flushing
ด้วย savlon
1: 200 วันละ 2 ครั้ง ซับให้แห้ง
8. สังเกตพฤติกรรมที่แสดงว่ามี
อาการผิดปกติทางสมอง เช่น ซึม
มาก / เอะอะโวยวาย และ
รายงานแพทย์ทราบ โดยแนะนำา
ให้ญาติช่วยสังเกต
9. เตรียมรถฉุกเฉินให้พร้อมใช้
พร้อม
1.0 จัดพยาบาลดูแลอย่างใกล้ชิด
และ ส่งต่ออย่างมี
ประสิทธิภาพ
ระยะของโรค ปัญหา ข้อวินิจฉัย
ทางการ
พยาบาล
วัตถุประสงค์ การพยาบาล
3. ระยะฟักฟื้น 1. ได้รับสารนำ้า/
เลือด จำานวนมากใน
ขณะช็อก
2. ตับโต ปวดท้อง
ท้องอืด
6. เสี่ยงต่อภาวะ
fluid
overload
เนื่องจากการให้สาร
นำ้าจำานวนมากเพื่อ
แก้ไขภาวะช็อก
1. เสี่ยงต่อภาวะ
heart fail.
Pulmonary
1. เพื่อป้องกันภาวะ
fluid
overload
1. เฝ้าระวังและสามารถ
แก้ปัญหาได้
ทันที
1. ดูแลให้ได้สารนำ้าตามแผนการ
รักษา โดยตรวจสอบจำานวนหยด
ทุก 1 ชม. และแนะนำาญาติ ให้
สังเกต ถ้าไม่ไหล ให้แจ้ง จนท.
และไม่ปรับระดับความสูงของเสา
นำ้าเกลือเอง
2. สังเกตอาการนำ้าเกิน เช่น หอบ
เหนื่อย ไอเสมหะเป็นฟองสีชมพู ,
เปลือกตาบวม ,ท้องโตแน่น,
ตัวบวมตึง
3. Check and record
intake/out
4. Check and record V/S
ทุก 2- 4 ชม.
5. เตรียมอุปกรณ์ cut down ให้
พร้อมใช้ เพื่อประเมิน cvp
6. กรณีแพทย์ทำา cut down ต้อง
ทำาแบบ
sterile และ check and
record ค่า cvp
รายงายผลผิดปกติ ให้แพทย์ทราบ
3. ปัสสาวะบ่อย และ
มาก
edema เนื่องจาก
การมีการมีการดูด
ซึมกลับของนำ้าเข้า
เส้นเลือด
ค่าปกติ(6-12)
เซนติเมตรนำ้า
1. อธิบายให้ผู้ป่วย/ญาติทราบถึง
ระยะของโรค
และการปฏิบัติตน
2. Check and record V/S ทุ
ก 4 ชม.
โดย จะมี BP สูง เต้นแรง pulse
เต้นช้าและแรง
3. หยุดให้สารนำ้าตามแผนการ
รักษา
4. สังเกตอาการ หอบเหนื่อย /
หนังตาบวม
นอนราบไม่ได้ , แน่นท้อง
ระยะของโรค ปัญหา ข้อวินิจฉัย
ทางการ
พยาบาล
วัตถุประสงค์ การพยาบาล
4. ปากแห้ง/
อ่อนเพลีย ทำาให้
รับประทานอาหาร
น้อย ทั้งที่อยากรับ
ประทาน
6. คันตามตัว
มีconvalescencs
petichia
rash
2. เสี่ยงต่อภาวะ
hyponathemia /
hypokalemia
เนื่องจากปัสสาวะ
ออกจำานวนมาก
1. เพื่อป้องกันการเกิด
ภาวะ hyponathemia
/hypokalemia
5. . Check and record
intake/out ทุก 8 ชม.
1. Check and record V/S ทุก
4 ชม. สัเกตจังหวะการเต้นของ
หัวใจ ที่จะเต้นผิดจังหวะในผู้ที่มี
ภาวะ hypokalemia
2. สังเกตอาการ เช่นอาการ
สับสน/ซึมลง ปัสสาวะออกน้อย
ซึ่งพบในผู้ที่มีภาวะ
3. ไม่สุขสบาย
เนื่องจาก
คันตามตัว
1. อาการคันลดลง
2. ผู้ป่วยสุขสบาย
สามารถนอนหลับ
หรือสามารถเล่นได้
hyponathemia
และรายงานอาการให้แพทย์ทราบ
3. Check and record
intake/out
ถ้า urine < 1
cc/kg/hr.รายงานให้แพทย์
ทราบ
4. ส่งตรวจ eletrolyte ตาม
แผนการรักษาและติดตามผล
5. แนะนำาและกระตุ้นให้ดี่มนำ้า
เกลือแร่ บ่อยๆ
และ รับประทาน ส้ม ,กล้วยหอม
เพราะมีปริมาณ
โปรแทสเซียมสูง
1. อธิบายให้ผู้ป่วย/ญาติทราบว่า
อาการนี้แสดงว่า
อยู่ในระยะพักฟื้นที่จะค่อยๆหาย
ภายใน 3-4 วัน และ การปฏิบัติ
ตน
2. จัดหาที่ตัดเล็บให้ตัด และ
แนะนำาให้ลูบเบาๆแทนการเกา
เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
3. ดูแลความสะอาดของร่างกาย
และให้ใส่เสื้อผ้าแห้งสะอาด
ระยะของโรค ปัญหา ข้อวินิจฉัย
ทางการ
พยาบาล
วัตถุประสงค์ การพยาบาล
4. เสี่ยงต่อการได้รับ
สารอาหาร/ นำ้าไม่
เพียงพอ เนื่องจากมี
อาการอ่อนเพลีย ,
ปากแห้งและเจ็บ
5. ผู้ป่วยและญาติ
วิตกกังวล
เกี่ยวกับ การดูแล
ตนเองเนื่องจากขาด
ความรู้ความเข้าใจ
1 . เพื่อให้ได้รับสาร
อาหารและนำ้า
เพียงพอ
2. ผู้ป่วยอาการเจ็บป่วย
ดีขึ้น
1. เพื่อลดความวิตก
กังวล
2. เพื่อให้สามารถ
ปฏิบัติตน/ให้การดูแล
ได้ถูกต้อง
4. จัดหายาทาแก้คัน calamide
lotion และ
แนะนำาวิธี การใช้ยา
5. ดูแลให้ยาแก้คันตามแผนการ
รักษา
1. กระตุ้นให้รับประทานอาหาร
อ่อน มีคุณค่าทางอาหารครบ 5
หมู่ บ่อยๆ และแนะนำาญาติให้
จัดหาอาหารที่ผู้ป่วยชอบมาให้รับ
ประทาน
2. แนะนำาเรื่องการทำาความสะอาด
ปากและฟัน
ด้วยการบ้วนปากหรือแปรงฟัน
ด้วยขนแปรงนุ่ม
3.ดูแลสิ่งแวดล้อมให้สะอาดไม่มี
กลิ่น
4. จัด ผลไม้ / นำ้าผลไม้ เช่น
นำ้าส้ม ให้ดื่ม โดยเฉพาะ
ในรายที่ท้องอืด และลำาไส้บีบตัว
น้อย
5. ถ้ามีแผลในปาก จัดยาทาให้
ตามแผนการรักษา
6. ประเมินอาการ ขาดนำ้าจาก
ผิวหนัง ริมฝีปาก
1. อธิบายให้ทราบถึงอาการเจ็บ
บริเวณชายโครงขวาจะค่อยๆหาย
ร่วมกับตับจะยุบสู่ภาวะปกติ ใน 1-
2
สัปดาห์
2. หลีกเลี่ยงถูงกระทบกระแทก
แรงๆ อีก 3-5 วัน
เพราะเกล็ดเลือดตำ่ากว่าปกติ และ
จะเพิ่มเป็นปกติ
ระยะของโรค ปัญหา ข้อวินิจฉัย
ทางการ
พยาบาล
วัตถุประสงค์ การพยาบาล
3. ผู้ป่วยเมื่อกลับบ้านสามารถไป
เรียนได้ตามปกติ
ไม่เป็นพาหะโรค
4. ถ้าผู้ที่อยู่ในบ้านเดียวกันมีไข้
สูง ให้นำามาตรวจ
เพราะเสี่ยงต่อการติดเชื้อเดงกี่สูง
5. แนะนำาเรื่องการป้องกันโรคไข้
เลือดออก
 ทำาลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง
 ป้องกันยุงกัด โดยเฉพาะ
กลางวัน
 จัดบ้านให้โปร่ง สว่าง
อากาศถ่ายเทดี

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuipiyarat wongnai
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ ICwichudaice
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)piyarat wongnai
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)yahapop
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกPatamaporn Seajoho
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนda priyada
 
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม  การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม Parinya Damrongpokkapun
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57Sirinoot Jantharangkul
 
Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringpiyarat wongnai
 
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลChutchavarn Wongsaree
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ pueniiz
 
ตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาทตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาทCotton On
 

Mais procurados (20)

10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ IC
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
 
22
2222
22
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
 
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม  การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
 
CAD IHD and VHD
CAD IHD and VHDCAD IHD and VHD
CAD IHD and VHD
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoring
 
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
 
Thai nihss
Thai nihssThai nihss
Thai nihss
 
ตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาทตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาท
 

Destaque

การจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจการจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจKrongdai Unhasuta
 
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNeonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNarenthorn EMS Center
 
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัดการดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัดtechno UCH
 
การดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuการดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuNantawan Tippayanate
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจtechno UCH
 

Destaque (9)

Respiratory1 2
Respiratory1 2Respiratory1 2
Respiratory1 2
 
Pneumonia
PneumoniaPneumonia
Pneumonia
 
Airway (Thai)
Airway (Thai)Airway (Thai)
Airway (Thai)
 
การจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจการจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจ
 
Ems hypovolemic shock
Ems hypovolemic shockEms hypovolemic shock
Ems hypovolemic shock
 
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNeonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
 
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัดการดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
 
การดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuการดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msu
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
 

Semelhante a การพยาบาลDhf

TAEM10:Roles of endoscopic nurse
TAEM10:Roles of endoscopic nurseTAEM10:Roles of endoscopic nurse
TAEM10:Roles of endoscopic nursetaem
 
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557Utai Sukviwatsirikul
 
โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever)
โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever)โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever)
โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever)Aiman Sadeeyamu
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรังแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรังUtai Sukviwatsirikul
 
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)Aimmary
 
รายงานการวิเคราะห์กรณีศึกษาที่ ๑๐
รายงานการวิเคราะห์กรณีศึกษาที่ ๑๐รายงานการวิเคราะห์กรณีศึกษาที่ ๑๐
รายงานการวิเคราะห์กรณีศึกษาที่ ๑๐Nuttaphol Hongsritong
 
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdfการปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdfpraphan khunti
 
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูงงานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูงappcheeze
 

Semelhante a การพยาบาลDhf (20)

Management of patient with asthma
Management of patient with asthmaManagement of patient with asthma
Management of patient with asthma
 
Cpg ped
Cpg pedCpg ped
Cpg ped
 
TAEM10:Roles of endoscopic nurse
TAEM10:Roles of endoscopic nurseTAEM10:Roles of endoscopic nurse
TAEM10:Roles of endoscopic nurse
 
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
 
โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever)
โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever)โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever)
โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever)
 
Rr rx
Rr rxRr rx
Rr rx
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรังแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
 
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
 
Common respiratory problems
Common respiratory problemsCommon respiratory problems
Common respiratory problems
 
Publichealth
PublichealthPublichealth
Publichealth
 
รายงานการวิเคราะห์กรณีศึกษาที่ ๑๐
รายงานการวิเคราะห์กรณีศึกษาที่ ๑๐รายงานการวิเคราะห์กรณีศึกษาที่ ๑๐
รายงานการวิเคราะห์กรณีศึกษาที่ ๑๐
 
PACU
PACUPACU
PACU
 
Denguehemorrhage
DenguehemorrhageDenguehemorrhage
Denguehemorrhage
 
Denguehemorrhage
DenguehemorrhageDenguehemorrhage
Denguehemorrhage
 
Management of COPD
Management of COPDManagement of COPD
Management of COPD
 
2008guideline ht
2008guideline ht2008guideline ht
2008guideline ht
 
2008guideline ht
2008guideline ht2008guideline ht
2008guideline ht
 
Tb update 2012_dr_petchawan_pdf
Tb update 2012_dr_petchawan_pdfTb update 2012_dr_petchawan_pdf
Tb update 2012_dr_petchawan_pdf
 
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdfการปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
 
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูงงานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
 

การพยาบาลDhf

  • 1. ระยะของโรค ปัญหา ข้อวินิจฉัย ทางการพยาบาล วัตถุประสงค์ การพยาบาล 1. ระยะไข้ 1.ไข้สูงลอย 38.5- 40 º c 2. ปวดศีรษะ ปวด เมื่อยตัว 3.คลื่นไส้อาเจียน 4.ปวดท้อง/ตับโต 5.มีปริมาณเกล็ด เลือดลดลง และมีค่า Hct เพิ่ม อาจ มีเลือดออกตาม ไรฟัน/เลือดกำาเดา 6.ผู้ป่วยกลัว/กังวล ในการรักษาและ หัตถการ 7.ญาติวิตกกังวล เกี่ยวกับการเจ็บป่วย 8.มีเชื้อไข้เลือดออก เดงกี่ในกระแสเลือด 1.เสี่ยงต่อชัก เนื่องจากไข้สูง 2.ไม่สุขสบาย เนื่องจากไข้สูง และปวดศีรษะ 3.เสี่ยงต่อการขาด สารอาหาร นำ้าและ อิเลคโตไลท์ เนื่องจากอาเจียน 1 ป้องกันการชัก 2.อุณหภูมิลดลง 3.ผู้ป่วยสุขสบายขึ้น 1.ผู้ป่วยได้รับสาร อาหาร นำ้า และ อิเลคโตไลท์ เพียงพอ 1.อธิบายให้เข้าใจถึงพยาธิสภาพ ของโรคคร่าวๆ 2.อธิบายเหตุผลของการพยาบาล ที่ผู้ป่วยได้รับ 3. เช็ดตัวลดไข้ด้วยนำ้าอุ่น หรือนำ้า ธรรมดา โดยใช้ผ้าชุบนำ้าหมาดๆ วางที่ หน้าผากซอกคอ ซอกรักแร้ ขาหนีบ นาน 15 นาที แนะนำาญาติร่วมด้วย 4.ให้ดื่มนำ้าเกลือแร่ หรือนำ้าผลไม้ บ่อยๆ 5.ให้ยา paracetamal 10 mg/kg/dose เมื่ออุณหภูมิ มากกว่า 39 º c หรือปวดศีรษะ มาก 6. วัด V/S ทุก 4 ชม. และวัด ประเมินหลังเช็ดตัว ลดไข้ 30 นาที 7. เด็กที่มีประวัติชักให้ยากันชัก ตามแผนการรักษา 8. จัดสิ่งแวดล้อมสะอาด แห้ง สงบ 9.ให้การพยาบาลด้วยความนุ่ม นวล 1.อธิบายให้ผู้ป่วย/ญาติทราบถึง เหตุผลของการพยาบาล และ กระตุ้นให้มีส่วนร่วมในการ
  • 2. พยาบาล 2.ให้อาหารอ่อน ย่อยง่าย ตรั้งละ น้อย แต่บ่อยครั้ง โดยงดอาหารและนำ้าที่มีสีแดง นำ้าตาล ลดอาหารมัน แนะนำาญาติให้จัดอาหารที่ผู้ป่วย ชอบ 3.ให้ดื่มนำ้าเกลือแร่ หรือนำ้าผลไม้ บ่อยๆ เช่นนำ้าส้ม หรือนำ้าสไปร์+เกลือ 4.สังเกตอาการขาดนำ้า เช่น ลิ้น ขาว ปากแห้ง หนังเหี่ยว กระหม่อมบุ๋มในเด็ก เล็ก ระยะของโรค ปัญหา ข้อวินิจฉัย ทางการ พยาบาล วัตถุประสงค์ การพยาบาล 4.ปวดท้องเนื่องจาก มีภาวะตับโต หรือ ระคายเคืองจากนำ้า 1.ผู้ป่วยปวดท้องลดลง นอนพักได้ 2.ผู้ป่วยเข้าใจและ 5.บ้วนปากด้วยนำ้าอุ่นหลังอาเจียน และบันทึกจำานวน ลักษณะ ปริมาณ ของอาเจียนทุกครั้ง 6. ให้อาแก้อาเจียนตามแผนการ รักษา 7. ติดตามผล Lab และรายงาน ให้แพทย์ทราบ 8. สังเกตสีจำานวนปัสสาวะ 9. กรณีต้องให้สารนำ้า ดูแลให้ได้ รับตามแผนการรักษา
  • 3. ย่อย ยอมรับอาการปวดท้อง ที่เกิดจากภาวะตับโต 1.อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติทราบ ถึงสาเหตุที่เกิด อาการปวดท้อง 2.ระวังการกระทบกระแทกที่หน้า ท้อง เช่นไม่เกิดดูขนาดตับบ่อยๆ หรือเช็ดตัวลดไข้ 3.ให้การพยาบาลที่นุ่มนวล ระมัดระวังในการ เคลื่อนย้าย 4.ให้นอน Fowler' position ให้ ผนังหน้าท้อง หย่อนตัว 5.ใส่เสื้อผ้านุ่มสะอาดไม่ระคายผิว 6. ให้อาหารอ่อน ย่อยง่าย รสไม่ จัด รับประทานบ่อยๆ ควรงด อาหารมัน 7. ให้ยาแก้ปวดท้องตามแผนกา รักษา 8.สังเกตอาการถ้าปวดท้องมาก รายงานแพทย์ ระยะของโรค ปัญหา ข้อวินิจฉัย ทางการ พยาบาล วัตถุประสงค์ การพยาบาล 4.เลือดออกง่าย เนื่องจากมีปริมาณ เกล็ดเลือดตำ่า 1. ไม่เกิดภาวะเลือด ออกหรือ ออกน้อยลง 1.อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติทราบ ถึงสาเหตุที่เกิดถึง สาเหตุที่ทำาให้เกิดเลือดออกง่าย
  • 4. 5.เสี่ยงต่อการเกิด เลือดออกง่าย เนื่องจากมีปริมาณ เกล็ดเลือดตำ่า 2. ไม่เกิดภาวะ แทรกซ้อนจากการ มีเลือดออก และร่วมในการสังเกต อาการผิด ปกติ 2.ให้การพยาบาลที่นุ่มนวล และ ระวังอุบัติเหตุ 3.ดูแลให้ตัดเล็บสั้น แนะนำาไม่ให้ แกะเกา 4.งดการฉีดยาทางกล้ามเนื้อ , ใส่ NG 5.สังเกตและสอบถามเรื่องอาการ เลือดออกทุก เวร 6. แนะนำา/จัดหาผลไม้ที่มีวิตามิต ซี สูง ให้รับประทาน เช่น ส้ม ฝรั้ง เพื่อ สร้างความ แข็งแรงของหลอดเลือด 7.แนะนำาให้ใช้แปรงที่ขนนุ่ม แป รงเบาๆ ถ้ามีเลือดออกตามไรฟัน จัด SMW ไห้บ้วนปากแทน 8.กรณีมีเลือดกำาเดาไหล ให้ผู้ป่วย นอนราบ บีบจมูก ให้หายใจทาง ปาก และใช้กระเป๋านำ้าแข็งวาง ที่หน้าผาก 9. เจาะเลือดทุดครั้งต้องกดจน แน่ใจว่าเลือดหยุด ใช้เวลาประมาณ 5 นาที กรณี เจาะเลือดที่ปลายนิ้ว ต้องทำาความสะอาดและแห้ง ป้องกันติดเชื้อ
  • 5. 10. เจาะเลือดที่ปลายนิ้วด้วย blood lancet เพื่อให้ได้ความลึกที่เหมาะสม 11. แนะนำา/จัดหาของเล่นที่ไม่มี คม หรือมีเหลี่ยม ให้เด็กเล่นเพื่อป้องกันอันตราย ระยะของโรค ปัญหา ข้อวินิจฉัย ทางการ พยาบาล วัตถุประสงค์ การพยาบาล 6.เสี่ยงต่อการแพร่ เชื้อสู่ผู้ป่วยอื่น เนื่องจากมีเชื้อไข้ เลือดออกเดงกี่ใน กระแสเลือด 7. ผู้ป่วยเด็กเสี่ยงมี ภาวะ psychic trauma เนื่องจาก กลัวความเจ็บปวด จากการให้สารนำ้า/ การเจาะเลือด 1.ไม่มีการแพร่กระจาย เชื้อสู่ บุคคลอื่น 2.ผู้ป่วย/ญาติทราบวิธี ปฏิบัติในการป้องกัน การแพร่เชื้อไข้เลือด ออก 1.เพื่อลดความภาวะ psychic trauma 2. ผู้ป่วยให้ความร่วม มือมากขึ้น 1.อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติทราบ ถึงการแพร่กระจาย ของเชื้อไข้เลือดออก เพื่อให้ปฏิบัติ ตนได้ถูกต้อง 2. จัดผู้ป่วยอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม และดูแลไม่ให้ยุงกัด เช่นใช้มุ้งลวด , ยากันยุง . และ แนะนำาให้ผู้ป่วย/ญาติ ระวังยุงกัดในเวลากลางวัน 3. ดูแลสิ่งแวดล้อมในตึก ไม่ให้มี นำ้าขังเป็นแหล่งเพาะพันธ์ยุง 4. ประสานงานกับฝ่ายสุขาภิบาล ในการเฝ้าระวัง และควบคุมโรค 1. ให้ความเป็นกันเอง โดย ทำาความรู้จัก และเรียกชื่อเล่นของ เด็กแทน และแนะนำาชื่อตนเองกับ เด็ก
  • 6. 2. ให้การพยาบาลอย่างนุ่มนวล 3. ก่อนให้สารนำ้า หรือ เจาะเลือด ต้องอธิบายให้ ผู้ป่วยที่ทราบ ในเด็กโต ให้ร่วม ตัดสินใจ และตอบคำาถามที่สงสัย เช่น ให้เลือกที่เจาะเลือด หรือ ให้สารนำ้าเอง ให้เวลาโดยไม่ เร่งรัด 4. ให้ผู้ปกครองอยู่ให้กำาลังใจเด็ก ตลอดเวลา 5. ให้การพยาบาลที่รวดเร็ว ระยะของโรค ปัญหา ข้อวินิจฉัย ทางการ พยาบาล วัตถุประสงค์ การพยาบาล 2. ระยะวิกฤต/ 1. มีการั่วของ 8. ญาติมีความวิตก กังวลเกี่ยวกับอาการ เจ็บป่วยเนื่องจาก ขาดความรู้ความ เข้าใจ 1. เพื่อลดความวิตก กังวล 2. เพื่อให้เกิดความ ร่วมมือในการรักษา พยาบาล 1. สร้างสัมพันธ์ภาพ กับญาติ และ แนะนำา /ให้ความรู้เรื่องไข้เลือด ออกเดงกี่และการปฏิบัติตนคร่าวๆ 2. ก่อนการทำาหัตถการ และรักษา พยาบาลทุกครั้ง บอกให้ญาติรับทราบและร่วม ตัดสินใจ 3.ขณะให้การพยาบาลให้ญาติมี ส่วนร่วมทุกครั้ง 4. แจ้งผลการตรวจทางห้องปฏิบัติ
  • 7. ช็อก พลาสมา 2. เกล็ดเลือดตำ่า น้อยกว่า 100,000 เซล/ลบ/ ซม. 3.ช็อก v/s unstable 4. ตับโต ปวดท้อง 5.Hct เพิ่มมากว่า 10-20% 6.Hct ลด และ มี ปริมาณเลือดออก มากกว่า 10 % blood volum 7. ซึมมาก 8.ปัสสาวะออกน้อย/ ไม่ออก 1.มี ภาวะ hypovolemi c shock เนื่องจากมี การั่วซึมของ พลาสมาออกนอก เส้นเลือด 2.เสี่ยงต่อ ภาวะ hypovolemi c shock เนื่องจากมี การั่วซึมของ พลาสมาออกนอก เส้นเลือด 1. เพื่อให้ภาวะ hypovolemic shock กลับสู่ภาวะปกติ การให้ทราบ 5. ประสานงานกับแพทย์ กรณี ญาติต้องการสอบถามอาการและ แนวทางการรักษากับแพทย์ โดยตรง 1. Check and record V/S ทุก 15-30 นาที until stable จึงวัดทุก 1-2 ชม. 2. ให้ oxygen mask8 LPM/canular5-6 LPM ทุกรายที่ช็อก สังเกต ปลายมือ - เท้าเขียว 3. ให้สารนำ้าตามแผนการรักษา ด้วยเทคนิค sterile 4. ตรวจนับจำานวนหยดสารนำ้าทุก 1 ชั่วโมง เพื่อให้ได้รับตรงตาม จำานวน 5. กระตุ้นให้ดื่มนำ้าเกลือแร่/นำ้าผล ไม้บ่อยๆโดยผลไม้ที่มีวิตตามิน ซี สูงจะช่วยให้หลอดเลือดแข็งแรง 6. ให้รับประทานอาหารอ่อนย่อย ง่าย ครั้งละน้อย แต่บ่อยครั้ง และแนะนำาญาติให้มี ส่วนร่วม
  • 8. ระยะของโรค ปัญหา ข้อวินิจฉัย ทางการ พยาบาล วัตถุประสงค์ การพยาบาล 3. มี ภาวะ hemorragic shock เนื่องจาก มี เลือดออก จำานวนมากจาก ภาวะเกล็ดเลือดตำ่า 4. เสี่ยงต่อภาวะ DIC เนื่องจากมี ภาวะช็อกนาน 1.เพื่อให้ภาวะ hypovolemic shock กลับสู่ภาวะปกติ 2.ความเข้มข้นเลือด ปกติ มากกว่า 30% 3. การทำางานของ vital organ ทำางานปกติ 7. Check and record intake/out ถ้า urine < 1 cc/kg/hr.หรือ ไม่ปัสสาวะ ภายใน 4 ชม รายงานแพทย์ 8.เจาะตรวจ lab ตามแผนการ รักษาโดยเทคนิค sterile และติดตามผลรายงาน ให้แพทย์ทราบ 9.สังเกตอาการเลือดออกทุกระบบ อาการที่แสดงว่ามีเลือดออกที่ ภายใน คือ เปลือกตาซีด ค่า Hct ลดลง 10-20% ปวดท้องมาก อาเจียน/ถ่ายเป็นเลือด BP drop , PP แคบ ,pulse เบาเร็ว 10. พักผ่อนให้เพียงพอ จัดให้ พักใกล้ เคาเตอร์ พยาบาล 11. สังเกตอาการนำ้าเกิน เช่น ไอ เหนื่อยหอบ หนังตาบวม 1. อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติทราบ ถึงสาเหตุที่เกิดถึง
  • 9. สาเหตุที่ทำาให้เกิดเลือดออกง่าย และร่วมในการสังเกต อาการผิด ปกติ 2. Check and record V/S ทุก 15-30 นาที until stable จึงวัดทุก 1-2 ชม. 3. ให้ oxygen mask8 LPM/canular5-6 LPM ทุกรายที่ช็อก ระยะของโรค ปัญหา ข้อวินิจฉัย ทางการ พยาบาล วัตถุประสงค์ การพยาบาล 4. record ปริมาณ เลือดที่ออก และรายงานแพทย์ เช่นอาเจียน/ถ่ายอุจจาระ /เลือด กำาเดา/สีปัสสาวะ ในผู้กำาลังมีประจำาเดือน ต้อง สังเกตปริมาณเลือดที่ออกเพิ่มขึ้น 5. ประสานงานขอเลือดจาก ห้อง lab และให้เลือด ถูกชนิด ปริมาณ ตามแผนการรักษา และ สังเกต ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด อย่างใกล้ชิด 6.กรณีไม่มีเลือดแจ้งแพทย์ทราบ และเตรียม ส่งตัวไปรับการรักษา ต่อที่ รพ.ศูนย์ 7. Check and record
  • 10. 5.เสี่ยงต่อ vital organ ถูกทำาลายเนื่องจาก อยู่ในภาวะ ช็อกนาน 1.เพื่อให้ vital organ ( สมอง, หัวใจ, ปอด, ตับ ,ไต) ทำางานได้ปกติ และไม่ถูกทำาลาย intake/out ถ้า urine < 1 cc/kg/hr. รายงานแพทย์ 8. งดการใส่ NG tube 9. เจาะเลือดส่งตรวจตามแผนกา รักษา และติดตามผล รายงานแพทย์ กรณีต้องเจาะเลือด ต้องกดจน แน่ใจว่า เลือดหยุดจริง ประมาณ 5 นาที และแนะนำาผู้ป่วย/ญาติ ให้สังเกต 1. แก้ไข ภาวะช็อกให้สิ้นสุดเร็ว ที่สุด 2 . ให้ oxygen mask8 LPM/canular5-6 LPM โดย ต้องดูเรื่องขนาดหน้ากาก / ขนาดสาย canular ให้ เหมาะสม และเปลี่ยน ทำาความสะอาดทุกวัน เติม นำ้ากลั่นให้มีความชุ่มชื้น ระยะของโรค ปัญหา ข้อวินิจฉัย ทางการ พยาบาล วัตถุประสงค์ การพยาบาล 3.สังเกตอาการขาดออกซิเจน เช่น ปลายมือ –เท้า เขียว ริมฝีปากเขียวซีด/ capillary > 2 วินาที
  • 11. 4. ให้พักผ่อนให้เต็มที่ และรักษา ความอบอุ่นของร่างกาย เพื่อลด การใช้ออกซิเจน 5. Check and record V/S สักเกต ลักษณะ การหายใจ ว่า หอบเหนื่อยลดลง หรือไม่ มีไอ มีเสมหะสีอะไร 6.. Check and record intake/out โดยสังเกต สี / ปริมาณ ถ้า urine < 1 cc/kg/hr. ต้องรายงาน 7. ในรายที่ต้องสวนปัสสาวะต้อง ทำาตามขั้นตอน ด้วย เทคนิค sterile ดูแลไม่ให้ สานพับงอ และผู้ป่วยสุขสบาย มากที่สุด ไม่ดึงรั้ง ถุงปัสสาวะต้อง ตำ่ากว่าระดับเอว และ flushing ด้วย savlon 1: 200 วันละ 2 ครั้ง ซับให้แห้ง 8. สังเกตพฤติกรรมที่แสดงว่ามี อาการผิดปกติทางสมอง เช่น ซึม มาก / เอะอะโวยวาย และ รายงานแพทย์ทราบ โดยแนะนำา ให้ญาติช่วยสังเกต 9. เตรียมรถฉุกเฉินให้พร้อมใช้ พร้อม 1.0 จัดพยาบาลดูแลอย่างใกล้ชิด และ ส่งต่ออย่างมี
  • 12. ประสิทธิภาพ ระยะของโรค ปัญหา ข้อวินิจฉัย ทางการ พยาบาล วัตถุประสงค์ การพยาบาล 3. ระยะฟักฟื้น 1. ได้รับสารนำ้า/ เลือด จำานวนมากใน ขณะช็อก 2. ตับโต ปวดท้อง ท้องอืด 6. เสี่ยงต่อภาวะ fluid overload เนื่องจากการให้สาร นำ้าจำานวนมากเพื่อ แก้ไขภาวะช็อก 1. เสี่ยงต่อภาวะ heart fail. Pulmonary 1. เพื่อป้องกันภาวะ fluid overload 1. เฝ้าระวังและสามารถ แก้ปัญหาได้ ทันที 1. ดูแลให้ได้สารนำ้าตามแผนการ รักษา โดยตรวจสอบจำานวนหยด ทุก 1 ชม. และแนะนำาญาติ ให้ สังเกต ถ้าไม่ไหล ให้แจ้ง จนท. และไม่ปรับระดับความสูงของเสา นำ้าเกลือเอง 2. สังเกตอาการนำ้าเกิน เช่น หอบ เหนื่อย ไอเสมหะเป็นฟองสีชมพู , เปลือกตาบวม ,ท้องโตแน่น, ตัวบวมตึง 3. Check and record intake/out 4. Check and record V/S ทุก 2- 4 ชม. 5. เตรียมอุปกรณ์ cut down ให้ พร้อมใช้ เพื่อประเมิน cvp 6. กรณีแพทย์ทำา cut down ต้อง ทำาแบบ sterile และ check and record ค่า cvp รายงายผลผิดปกติ ให้แพทย์ทราบ
  • 13. 3. ปัสสาวะบ่อย และ มาก edema เนื่องจาก การมีการมีการดูด ซึมกลับของนำ้าเข้า เส้นเลือด ค่าปกติ(6-12) เซนติเมตรนำ้า 1. อธิบายให้ผู้ป่วย/ญาติทราบถึง ระยะของโรค และการปฏิบัติตน 2. Check and record V/S ทุ ก 4 ชม. โดย จะมี BP สูง เต้นแรง pulse เต้นช้าและแรง 3. หยุดให้สารนำ้าตามแผนการ รักษา 4. สังเกตอาการ หอบเหนื่อย / หนังตาบวม นอนราบไม่ได้ , แน่นท้อง ระยะของโรค ปัญหา ข้อวินิจฉัย ทางการ พยาบาล วัตถุประสงค์ การพยาบาล 4. ปากแห้ง/ อ่อนเพลีย ทำาให้ รับประทานอาหาร น้อย ทั้งที่อยากรับ ประทาน 6. คันตามตัว มีconvalescencs petichia rash 2. เสี่ยงต่อภาวะ hyponathemia / hypokalemia เนื่องจากปัสสาวะ ออกจำานวนมาก 1. เพื่อป้องกันการเกิด ภาวะ hyponathemia /hypokalemia 5. . Check and record intake/out ทุก 8 ชม. 1. Check and record V/S ทุก 4 ชม. สัเกตจังหวะการเต้นของ หัวใจ ที่จะเต้นผิดจังหวะในผู้ที่มี ภาวะ hypokalemia 2. สังเกตอาการ เช่นอาการ สับสน/ซึมลง ปัสสาวะออกน้อย ซึ่งพบในผู้ที่มีภาวะ
  • 14. 3. ไม่สุขสบาย เนื่องจาก คันตามตัว 1. อาการคันลดลง 2. ผู้ป่วยสุขสบาย สามารถนอนหลับ หรือสามารถเล่นได้ hyponathemia และรายงานอาการให้แพทย์ทราบ 3. Check and record intake/out ถ้า urine < 1 cc/kg/hr.รายงานให้แพทย์ ทราบ 4. ส่งตรวจ eletrolyte ตาม แผนการรักษาและติดตามผล 5. แนะนำาและกระตุ้นให้ดี่มนำ้า เกลือแร่ บ่อยๆ และ รับประทาน ส้ม ,กล้วยหอม เพราะมีปริมาณ โปรแทสเซียมสูง 1. อธิบายให้ผู้ป่วย/ญาติทราบว่า อาการนี้แสดงว่า อยู่ในระยะพักฟื้นที่จะค่อยๆหาย ภายใน 3-4 วัน และ การปฏิบัติ ตน 2. จัดหาที่ตัดเล็บให้ตัด และ แนะนำาให้ลูบเบาๆแทนการเกา เพื่อป้องกันการติดเชื้อ 3. ดูแลความสะอาดของร่างกาย และให้ใส่เสื้อผ้าแห้งสะอาด ระยะของโรค ปัญหา ข้อวินิจฉัย ทางการ พยาบาล วัตถุประสงค์ การพยาบาล
  • 15. 4. เสี่ยงต่อการได้รับ สารอาหาร/ นำ้าไม่ เพียงพอ เนื่องจากมี อาการอ่อนเพลีย , ปากแห้งและเจ็บ 5. ผู้ป่วยและญาติ วิตกกังวล เกี่ยวกับ การดูแล ตนเองเนื่องจากขาด ความรู้ความเข้าใจ 1 . เพื่อให้ได้รับสาร อาหารและนำ้า เพียงพอ 2. ผู้ป่วยอาการเจ็บป่วย ดีขึ้น 1. เพื่อลดความวิตก กังวล 2. เพื่อให้สามารถ ปฏิบัติตน/ให้การดูแล ได้ถูกต้อง 4. จัดหายาทาแก้คัน calamide lotion และ แนะนำาวิธี การใช้ยา 5. ดูแลให้ยาแก้คันตามแผนการ รักษา 1. กระตุ้นให้รับประทานอาหาร อ่อน มีคุณค่าทางอาหารครบ 5 หมู่ บ่อยๆ และแนะนำาญาติให้ จัดหาอาหารที่ผู้ป่วยชอบมาให้รับ ประทาน 2. แนะนำาเรื่องการทำาความสะอาด ปากและฟัน ด้วยการบ้วนปากหรือแปรงฟัน ด้วยขนแปรงนุ่ม 3.ดูแลสิ่งแวดล้อมให้สะอาดไม่มี กลิ่น 4. จัด ผลไม้ / นำ้าผลไม้ เช่น นำ้าส้ม ให้ดื่ม โดยเฉพาะ ในรายที่ท้องอืด และลำาไส้บีบตัว น้อย 5. ถ้ามีแผลในปาก จัดยาทาให้ ตามแผนการรักษา 6. ประเมินอาการ ขาดนำ้าจาก ผิวหนัง ริมฝีปาก 1. อธิบายให้ทราบถึงอาการเจ็บ บริเวณชายโครงขวาจะค่อยๆหาย
  • 16. ร่วมกับตับจะยุบสู่ภาวะปกติ ใน 1- 2 สัปดาห์ 2. หลีกเลี่ยงถูงกระทบกระแทก แรงๆ อีก 3-5 วัน เพราะเกล็ดเลือดตำ่ากว่าปกติ และ จะเพิ่มเป็นปกติ ระยะของโรค ปัญหา ข้อวินิจฉัย ทางการ พยาบาล วัตถุประสงค์ การพยาบาล 3. ผู้ป่วยเมื่อกลับบ้านสามารถไป เรียนได้ตามปกติ ไม่เป็นพาหะโรค 4. ถ้าผู้ที่อยู่ในบ้านเดียวกันมีไข้ สูง ให้นำามาตรวจ เพราะเสี่ยงต่อการติดเชื้อเดงกี่สูง 5. แนะนำาเรื่องการป้องกันโรคไข้ เลือดออก  ทำาลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง  ป้องกันยุงกัด โดยเฉพาะ กลางวัน  จัดบ้านให้โปร่ง สว่าง อากาศถ่ายเทดี