SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
Download to read offline
พันเอก มารวย ส่งทานินทร์ maruays@hotmail.com
25 เมษายน 2558
Harvard Business Review, May 2015
บทสรุปสาหรับผู้บริหาร
ทุกคนตั้งแต่ผู้บริหารสูงสุดจนถึงคนงาน กระทาความผิดพลาดที่ป้ องกันได้
ตัวอย่างเช่น การประเมินระยะเวลาที่ใช้ในการเสร็จสิ้นโครงการ หรือการมุ่งเน้น
ข้อมูลที่สนับสนุนมุมมองปัจจุบันของพวกเขามากเกินไป
มันเป็นเรื่องยากที่จะปรับสมองของมนุษย์ เพื่อยกเลิกรูปแบบที่นาไปสู่ความ
ผิดพลาดดังกล่าว แต่มีวิธีการอื่นคือ เปลี่ยนสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมผู้ที่จะทาการ
ตัดสินใจ ให้มีวิธีการตัดสินใจที่นาไปสู่ผลลัพธ์ที่ดีกว่าเดิมได้
ในบทความนี้ Beshears และ Gino เสนอกระบวนการห้าขั้นตอนในการ
บรรเทาผลกระทบจากอคติ และแรงจูงใจต่า ของการตัดสินใจ:
1. เข้าใจชนิดข้อผิดพลาดที่ผู้คนก่อ และปัจจัยที่มีผลกระทบต่อแรงจูงใจ
2. กาหนดปัญหา เพื่อตรวจสอบว่าเป็นปัญหาทางพฤติกรรมหรือไม่
3. การวินิจฉัยสาเหตุ
4. การปรับแต่งสภาพแวดล้อม เพื่อลดหรือบรรเทาผลกระทบเชิงลบของอคติและ
แรงจูงใจต่า
5. ทดสอบวิธีแก้ปัญหาที่นาเสนออย่างจริงจัง
คาถามที่ 1
 ถามว่า ลูกบอล 1 ลูก รวมไม้ตี 1 อัน ราคารวมกัน 1.10 เหรียญ
ถ้าไม้ตีราคาแพงกว่าลูกบอล 1 เหรียญ ถามว่าลูกบอลราคา
เท่าใด ?
 ถ้าตอบว่าราคา .10 เหรียญ ให้คิดใหม่
 คาตอบที่ถูกคือ ลูกบอลราคา .05 เหรียญ ราคาไม้ตี 1.05
เหรียญ ราคารวมกันจึงได้ 1.10 เหรียญ (คาถามบอกว่า ไม้ตี
ราคาแพงกว่าลูกบอล 1 เหรียญ)
คาถามที่ 2
 ถ้าใช้เครื่องจักร 5 เครื่อง ผลิตเครื่องมือได้ 5 ชิ้ น ในเวลา 5 นาที
ถามว่า ต้องใช้เวลาเท่าใด ถ้าใช้เครื่องจักร 100 เครื่อง ในการ
ผลิตเครื่องมือ 100 ชิ้น
 ถ้าตอบว่า 100 นาที ให้คิดใหม่อีกครั้ง
 คาตอบที่ถูกต้องคือ 5 นาที เราอาจตกหลุมพราง 5-5-5 พอ
มาถึง 100-100 เลยตอบว่า 100
คาถามที่ 3
 ณ สระน้าแห่งหนึ่ง มีใบบัวขยายตัวรวมกันได้หนึ่งเท่าตัวทุกวัน
ต้องใช้เวลา 48 วัน ใบบัวทั้งหมดจึงคลุมสระน้าได้พอดี ถามว่า
ตอนที่ใบบัวทั้งหมดคลุมได้ครึ่งหนึ่งของสระน้าต้องใช้เวลากี่วัน?
 ถ้าตอบว่า 24 วัน ให้กลับไปดูคาถามใหม่อีกรอบ
 คาตอบที่ถูกคือ 47 วัน ที่ตอบผิดเพราะตกหลุม 48 หารด้วย 2
= 24 แต่ถ้าใครตอบว่า หนึ่งวัน ก็เป็นคาตอบที่ถูกต้อง เพราะ
การขยายตัวของใบบัวเหล่านั้นเกิดขึ้นหนึ่งเท่าของทุกวัน ดังนั้น
การขยายเต็มครึ่งหนึ่งก็ใช้เวลา 1 วันเช่นกัน สมควรได้รับ
คะแนนเพิ่มเติม
เกริ่นนา
 พนักงานทุกคนจนถึงผู้บริหารสูงสุดกระทาผิดพลาดที่ป้ องกันได้
เช่น ประเมินการใช้เวลาที่งานจะแล้วเสร็จ มองข้ามหรือละเลย
ข้อมูลที่แสดงให้เห็นข้อบกพร่องในการวางแผน หรือล้มเหลวใน
การรับผลประโยชน์ที่ดีที่สุดของบริษัท
 มันเป็นเรื่องยากที่จะปรับสมองของมนุษย์ เพื่อยกเลิกรูปแบบที่
นาไปสู่ความผิดพลาดดังกล่าว แต่มีวิธีการอื่นคือ เปลี่ยน
สภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมคนที่จะทาการตัดสินใจ ให้มีวิธีการที่
ตัดสินใจเพื่อมุ่งสู่ผลลัพธ์ที่ดีกว่าเดิม
ห้าขั้นตอนวิธีพื้นฐาน
 1. เข้าใจข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นในการตัดสินใจ
 2. ตรวจสอบว่าเป็นปัญหาทางพฤติกรรมหรือไม่
 3. ระบุสาเหตุที่เฉพาะเจาะจง
 4. ออกแบบบริบทการตัดสินใจ ที่จะลดผลกระทบเชิงลบของ
อคติและแรงจูงใจต่า
 5. ทดสอบการแก้ปัญหาอย่างจริงจัง
1. เข้าใจวิธีการตัดสินใจ
 หลายทศวรรษที่ผ่านมา นักวิจัยพฤติกรรมการตัดสินใจและ
นักจิตวิทยาได้ชี้ให้เห็นว่า มนุษย์มีสองแบบของการประมวลผล
ข้อมูลและการตัดสินใจ
 ระบบที่ 1 (System 1 thinking) คิดโดยอัตโนมัติ ใช้สัญชาตญาณ
และอารมณ์ เป็นทางลัดสั้นทางความคิด เพื่อสร้างคาตอบที่ใช้
งานง่าย ในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น ณ ขณะนั้น
 ระบบที่ 2 (System 2 thinking) คิดอย่างช้า ๆ เป็นตรรกะ และ
โดยเจตนา
2. กาหนดปัญหา
 ก่อนที่จะใช้เครื่องมือทางพฤติกรรม ควรจะตรวจสอบว่า:
 1. พฤติกรรมของมนุษย์เป็นปัญหาหลัก
 2. ผู้คนแสดงออกในลักษณะที่ขัดกับผลประโยชน์ที่ดีที่สุดของเขา
 เครื่องมือจะมีประสิทธิภาพมากที่สุด ในสถานการณ์ที่ส่งเสริมให้
ผู้คน เปลี่ยนจากตัวเลือกที่ขัดกับผลประโยชน์ของพวกเขา เป็นมี
ความสอดคล้องในทางที่ดีขึ้นกับตัวของเขาเอง
3. การวินิจฉัยสาเหตุ
 มีสองสาเหตุหลักของการตัดสินใจที่ไม่ดีคือ แรงจูงใจที่ไม่
เพียงพอ และอคติ (insufficient motivation and cognitive biases)
 มีสองคาถามที่ควรจะถาม
 1. เป็นปัญหาที่เกิดจากความล้มเหลวของผู้คน ที่จะดาเนินการ
ใด ๆ หรือไม่? ถ้าเป็นเช่นนั้น สาเหตุคือ การขาดแรงจูงใจ (lack
of motivation)
 2. มีคนดาเนินการ แต่มีข้อผิดพลาดของระบบที่เป็นกระบวนการ
ตัดสินใจ? ถ้าเป็นเช่นนั้น ปัญหาอยู่ที่ อคติ (cognitive biases)
4. การออกแบบวิธีแก้ปัญหา
 โดยใช้ สถาปัตยกรรมทางเลือกและการสะกิดทางความคิด
(Choice architecture and nudges) โดย Richard Thaler และ Cass
Sunstein ในปี ค.ศ. 2008
 เป้ าหมายของสถาปัตยกรรมทางเลือกคือ การปรับปรุงการ
ตัดสินใจของผู้คน โดยมีโครงสร้างอย่างรอบคอบ และมีตัวเลือก
ที่จะนาเสนอให้กับพวกเขา ที่สาคัญ ต้องให้พวกเขามีเสรีภาพใน
การตัดสินใจด้วยตนเอง
รูปแบบของสถาปัตยกรรมทางเลือก (slide แผ่นนี้ สาคัญ เป็นการปรับสิ่งแวดล้อม)
 4.1 แบบที่ 1 ระบบการกระตุ้น (เนื่องจากไม่ลงมือทา)
 4.1 (ก) การกระตุ้นอารมณ์
 4.1 (ข) อคติเทียม
 4.1 (ค) ลดความซับซ้อนของกระบวนการ
 4.2 แบบที่ 2 ระบบส่วนร่วม (เนื่องจากเกิดอคติ)
 4.2 (ก) การประเมินร่วมกันมากกว่าการประเมินผลแยกต่างหาก
 4.2 (ข) การสร้างโอกาสในการสะท้อน
 4.2 (ค) การวางแผนให้พร้อมสรรพ
 4.2 (ง) การสร้างแรงบันดาลใจให้ความคิดกว้างขึ้น
 4.2 (จ) การเพิ่มความรับผิดชอบ
 4.2 (ฉ) การส่งเสริมให้พิจารณาหลักฐานที่ไม่ยืนยัน
 4.2 (ช) การแจ้งเตือน
 4.3 ก้าวข้ามทั้งสองระบบ (ตัดสินใจแทน)
 4.3 (ก) การตั้งค่าเริ่มต้น
 4.3 (ข) สร้างการปรับอัตโนมัติ
4.1 แบบที่ 1 ระบบการกระตุ้น
 4.1 (ก) การกระตุ้นอารมณ์ (Arouse emotions): เป็นการสร้าง
ความเข้มแข็งของการเชื่อมต่อทางอารมณ์ของพนักงานกับองค์กร
 โดยขอให้พวกเขาคิดเกี่ยวกับจุดแข็งของพวกเขา และวิธีการที่
พวกเขาสามารถนาจุดแข็งไปใช้ในงานของพวกเขาได้
 เพื่อช่วยให้พวกเขารู้สึกว่า พวกเขาเป็นตัวของตัวเองในที่ทางาน
ส่งผลต่อความผูกพันทางอารมณ์กับองค์กร
 ทาให้อัตราการหมุนเวียนของพนักงานลดลง และทาให้
ประสิทธิภาพการทางานสูงขึ้น โดยวัดจากความพึงพอใจของลูกค้า
4.1 แบบที่ 1 ระบบการกระตุ้น (ต่อ)
 4.1 (ข) อคติเทียม (Harness biases): การวิจัยแสดงให้เห็นว่า
ผู้คนรู้สึกไม่ดีเป็นสองเท่าเกี่ยวกับการสูญเสีย เทียบกับขณะที่
พวกเขารู้สึกดีเกี่ยวกับการได้รับกาไรของเงินในจานวนเดียวกัน
และผู้คนจะให้ความสนใจเป็นพิเศษในข้อมูลที่ฉูดฉาด
 องค์กรสามารถเน้นข้อเสียของการล้มเหลวในการดาเนินการ
เพื่อกระตุ้นพนักงานที่อ่อนแอ ที่เรียกว่า มีคนรออยู่ที่นั่งสารอง
(man on the bench effect) ซึ่งมีความเป็นไปได้ที่พวกเขาจะ
สูญเสียงานหรือโบนัส เป็นการสร้างแรงจูงใจ ให้พวกเขาต้อง
ทางานหนักขึ้น
4.1 แบบที่ 1 ระบบการกระตุ้น (ต่อ)
 4.1 (ค) ลดความซับซ้อนของกระบวนการ (Simplify the
process): กระบวนการขององค์กรมักจะเกี่ยวข้องกับขั้นตอนที่ไม่
จาเป็น ทาให้แรงจูงใจลดลง หรือทาให้เกิดอคติเพิ่มขึ้น
 โดยการปรับปรุงกระบวนการ (Streamlining processes) ทาให้
ผู้บริหารสามารถลดปัญหาดังกล่าวได้ ส่งผลให้พนักงานมี
แรงจูงใจมากขึ้น ในการทาข้อมูลให้ทันสมัยและการใช้งานระบบ
4.2 แบบที่ 2 ระบบส่วนร่วม
 4.2 (ก) การประเมินร่วมกันมากกว่าการประเมินผลแยก
ต่างหาก (Use Joint, rather than, separate evaluations): เป็นการ
ประเมินทุกทางเลือกในการตัดสินใจพร้อมกันไปเลย มากกว่า
พิจารณาตามลาดับ จะช่วยลดอคติได้
 มีประโยชน์ในหลาย ๆ สถานการณ์เช่น การเลือกผลิตภัณฑ์ที่จะ
ก้าวไปสู่การพัฒนาต่อไป กระบวนการประเมินทางเลือกในการ
ลงทุน และการตั้งทิศทางเชิงกลยุทธ์
4.2 แบบที่ 2 ระบบส่วนร่วม (ต่อ)
 4.2 (ข) การสร้างโอกาสในการสะท้อน (Create opportunities for
reflection): การขอเวลานอกในวันทางานเพื่อให้พนักงานได้คิด
อาจมองว่าไม่คุ้มค่า แต่ก็เป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพของระบบการมี
ส่วนร่วม
 การสะท้อน ช่วยในการฝึกอบรมและพัฒนาพนักงาน และมี
ประโยชน์ต่อพนักงาน เพราะจะมีผลกระทบต่อการดาเนินงาน
4.2 แบบที่ 2 ระบบส่วนร่วม (ต่อ)
 4.2 (ค) การวางแผนให้พร้อมสรรพ (Use planning prompts):
ผู้คนมักจะมุ่งการทาหน้าที่แก้ปัญหา แต่มักลืมหรือล้มเหลวที่จะ
ติดตามงาน (Follow through)
 เราสามารถนามาใช้ในการปรับปรุงประสิทธิภาพการทางานของ
ทีม ที่ไม่สามารถตอบสนองวัตถุประสงค์ และจบลงด้วยการให้
คามั่นว่า จะทาให้ดีขึ้นในครั้งต่อไป แต่น่าเสียดาย ที่สัญญานี้
ไม่ได้ป้ องกันทีม จากการทาผิดพลาดซ้าอย่างเดียวกันอีก
 ผู้นาสามารถช่วยให้ทีมงาน โดยจัดให้มีการสร้างแผนที่ชัดเจน
สาหรับการบรรลุถึงเป้ าหมาย ที่มีรายละเอียดว่า เมื่อไร และ
อย่างไร
4.2 แบบที่ 2 ระบบส่วนร่วม (ต่อ)
 4.2 (ง) การสร้างแรงบันดาลใจให้ความคิดกว้างขึ้น (Inspire broader
thinking): คนเราโดยทั่วไปแก้ปัญหาโดยการถามตัวเองว่า ฉันควรจะ
ทาอย่างไร (What should I do?)
 ให้ถามตัวเองใหม่ว่า ฉันจะทาอะไรได้บ้าง (What could I do?) จะ
ช่วยให้เราตระหนักถึงทางเลือกอื่น เป็นการลดอคติในการประเมิน
ปัญหา และใช้ในการตัดสินใจครั้งสุดท้าย
 การเปลี่ยนแปลงภาษาที่ใช้ "ทาได้" มากกว่า "ควรทา" จะช่วยให้เรา
แทนที่จะคิดว่า ต้องเป็นสีดาหรือสีขาวเท่านั้น มาเป็นสีเทา และช่วย
ให้เราพิจารณาการแก้ประเด็นขัดแย้งทางจริยธรรม ที่จาเป็นต้อง
เลือกตัวเลือกหนึ่งมากกว่าอีกตัวเลือกหนึ่ง
4.2 แบบที่ 2 ระบบส่วนร่วม (ต่อ)
 4.2 (จ) การเพิ่มความรับผิดชอบ (Increase accountability):
การทาให้บุคคลรับผิดชอบในการตัดสินและการกระทาของพวก
เขา เป็นการเพิ่มโอกาสที่พวกเขาจะต้องระมัดระวัง เกี่ยวกับการ
ขจัดอคติจากการตัดสินใจของพวกเขา
4.2 แบบที่ 2 ระบบส่วนร่วม (ต่อ)
 4.2 (ฉ) ส่งเสริมให้พิจารณาหลักฐานที่ไม่ยืนยัน (Encourage the
consideration of disconfirming evidence): เมื่อเราคิดว่ามีการ
ดาเนินการที่ถูกต้องแน่นอน แนวโน้มของเราคือ การสนับสนุน
ความคิดนั้น (ยืนยันอคติ -confirm bias) นอกจากนี้ เรายังยืนยัน
การลงทุนทรัพยากรในการกระทานั้นต่อไป แม้ข้อมูลใหม่แสดง
ให้เห็นว่าการทาเช่นนั้นไม่ฉลาด (การเพิ่มของความมุ่งมั่น-
escalation of commitment)
 ทั้งสองประการร่วมกัน ทาให้ผู้มีอานาจตัดสินใจเกิดอคติ ที่จะไม่
สนใจความเป็นไปได้ของทางเลือกที่ดีกว่า
4.2 แบบที่ 2 ระบบส่วนร่วม (ต่อ)
 4.2 (ฉ) ส่งเสริมการพิจารณาหลักฐานที่ไม่ยืนยัน (Encourage
the consideration of disconfirming evidence)(ต่อ)
 องค์กรสามารถแก้ปัญหานี้ โดยการสนับสนุนการคิดคัดค้าน (โดย
ถามว่า อะไรคือเหตุการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ ถ้าเรามีการกระทาที่
แตกต่างกันออกไป?) หรือกาหนดให้สมาชิกหนึ่งคน ถามคาถาม
ที่ยาก และมองหาหลักฐานที่แสดงให้เห็นข้อบกพร่อง ในการ
วางแผนของการดาเนินการ
 ผู้นาอาจจะขอให้ผลัดกันเป็นประธาน โดยการเวียนบทบาทของ
พวกเขา เพื่อที่จะได้มีมุมมองใหม่ ทาให้คนเห็นทางเลือกมากขึ้น
4.2 แบบที่ 2 ระบบส่วนร่วม (ต่อ)
 4.2 (ช) ใช้การแจ้งเตือน (Use reminders): การแจ้งเตือนเป็นวิธี
ที่มีประสิทธิภาพในการมีส่วนร่วมของระบบที่ 2
 ช่วยให้เราหลีกเลี่ยงอคติที่มาจากการพึ่งพิงในระบบที่ 1 มาก
เกินไป ระบบการแจ้งเตือนยังทาหน้าที่เน้นเป้ าหมายที่เรา
ต้องการจะประสบความสาเร็จ (เช่น จบการนาเสนอในเวลา) ซึ่ง
เป็นการเพิ่มแรงจูงใจ
 Atul Gawande อธิบายว่า เขาแนะนา รายการตรวจสอบการผ่าตัด
(surgery checklist) ในปี ค.ศ. 2008 ก่อนที่จะทาการผ่าตัด เพื่อ
เตือนการมีส่วนร่วม ส่งผลให้ภาวะแทรกซ้อนที่สาคัญลดลง 36%
และเสียชีวิตลดลง 47%
4.3 ก้าวข้ามทั้งสองระบบ
 4.3 (ก) การตั้งค่าเริ่มต้น (Set the default): การเปลี่ยนค่า
เริ่มต้นสาหรับกระบวนการมาตรฐานโดยอัตโนมัติ โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งสาหรับการตัดสินใจที่มีความซับซ้อนหรือยุ่งยาก เช่นการ
ลงทะเบียนพนักงานในการวางแผนการเกษียณอายุ เพื่อผลลัพธ์
ที่ดีที่สุด
 4.3 (ข) สร้างการปรับเปลี่ยนอัตโนมัติ (Build in Automatic
adjustments): เป็นอีกวิธีที่มีประสิทธิภาพในการตอบโต้อคติคือ
ปิดจุดอ่อนของระบบที่ 1 และระบบที่ 2 เช่น เพิ่มเวลาสารอง
(add buffer time) ให้กับโครงการต่าง ๆ
การเลือกวิธีการที่ถูกต้อง
 หากการก้าวข้ามทั้งสองระบบทาไม่ได้ ก็ต้องเลือกว่า จะใช้ระบบ
กระตุ้นที่ 1 หรือระบบการมีส่วนร่วม 2
 การใช้ระบบที่ 2 สามารถลดความผิดพลาดที่เกิดจากระบบที่ 1
แต่ก็มีข้อจากัด เพราะการตัดสินใจใช้สาหรับคนหนึ่ง
หมายความว่า มันอาจไม่สามารถใช้ได้สาหรับคนอื่น ๆ ได้อีก
และค่าใช้จ่ายนี้ จะต้องนามาพิจารณาด้วย
5. ทดสอบการแก้ปัญหา
 ขั้นตอนสุดท้ายคือ การทดสอบอย่างเข้มงวดของวิธีการแก้ปัญหา
ที่นาเสนอ เพื่อตรวจสอบว่า มันสามารถจะบรรลุวัตถุประสงค์
 การทดสอบ จะช่วยหลีกเลี่ยงความผิดพลาดที่มีค่าใช้จ่ายสูง และ
ให้ข้อมูลเชิงลึกที่นาไปสู่การแก้ปัญหาที่ดียิ่งขึ้ น
 การทดสอบควรมีสามองค์ประกอบคือ:
 5.1 ระบุผลลัพธ์ที่ต้องการ
 5.2 ระบุการแก้ปัญหาที่เป็นไปได้ต่าง ๆ แล้วมุ่งเน้นไปที่ข้อเดียว
 5.3 นาการเปลี่ยนแปลงใช้ในบางพื้นที่ขององค์กร ( "กลุ่มทดลอง")
ไม่ใช้กับคนอื่น ๆ ( "กลุ่มควบคุม")
สามองค์ประกอบของการทดสอบ
 5.1 ระบุผลที่ต้องการ (Identify the desired outcome): ผลลัพธ์ควรจะ
เป็นการเฉพาะเจาะจงและสามารถวัดผลได้
 5.2 ระบุการแก้ปัญหาที่เป็นไปได้ต่าง ๆ แล้วมุ่งเน้นไปที่หนึ่งเดียว
(Identify possible solutions and focus on one): ถ้าคุณปรับเปลี่ยน
มากเกินไปในครั้งเดียว จะเป็นเรื่องยากที่จะตรวจสอบว่า การ
เปลี่ยนแปลงใด ที่ให้ผลสมความปรารถนา
 5.3 นาการเปลี่ยนแปลงใช้ในบางพื้นที่ขององค์กรคือกลุ่มทดลอง ไม่
ใช้กับคนอื่น ๆ คือกลุ่มควบคุม (Introduce the change in some areas
of the organization (the Treatment group) and not others (the
Control group): ถ้าเป็นไปได้ ให้แบ่งบุคคล ทีมงาน หรือหน่วยงาน
ต่างๆ โดยการสุ่มออกเป็นสองกลุ่ม ผลลัพธ์ที่แตกต่างระหว่างสอง
กลุ่ม สามารถนามาใช้ประกอบในการเปลี่ยนแปลง
สรุป
 การมีอคติและการมีแรงจูงใจที่ไม่เพียงพอ มักจะเป็นปัจจัยหลัก
ที่อยู่เบื้องหลังปัญหาในการตัดสินใจขององค์กรอย่างมีนัยสาคัญ
ซึ่งเป็นเรื่องยากมากที่จะเปลี่ยนวิธีการคิดของผู้คน
 แต่การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมของการตัดสินใจ ที่ผ่านการ
ปรับเปลี่ยนอย่างง่าย ๆ คือ ระบบกระตุ้น ระบบส่วนร่วม และ
ก้าวข้ามทั้งสองระบบ ส่งผลให้ผู้บริหารสามารถสร้างประโยชน์
ให้กับพนักงานและองค์กร
Thomas Edison

More Related Content

What's hot

Organization diagnosis การวินิจฉัยองค์กร
Organization diagnosis การวินิจฉัยองค์กรOrganization diagnosis การวินิจฉัยองค์กร
Organization diagnosis การวินิจฉัยองค์กรmaruay songtanin
 
Team chemistry เคมีของทีม
Team chemistry เคมีของทีมTeam chemistry เคมีของทีม
Team chemistry เคมีของทีมmaruay songtanin
 
Human Capital Management ทุนมนุษย์จัดการให้ดีสู่ดีเลิศ
Human Capital Management ทุนมนุษย์จัดการให้ดีสู่ดีเลิศHuman Capital Management ทุนมนุษย์จัดการให้ดีสู่ดีเลิศ
Human Capital Management ทุนมนุษย์จัดการให้ดีสู่ดีเลิศDrDanai Thienphut
 
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธเอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธNatepanna Yavirach
 
๑.๑๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ จักราวุธ คำทวี
๑.๑๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ จักราวุธ คำทวี๑.๑๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ จักราวุธ คำทวี
๑.๑๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ จักราวุธ คำทวีนายจักราวุธ คำทวี
 
ทุนมนุษย์
ทุนมนุษย์ทุนมนุษย์
ทุนมนุษย์pomkritta
 
Super motivation 2 การจูงใจที่เป็นเลิศ ภาคที่ 2
Super motivation 2 การจูงใจที่เป็นเลิศ ภาคที่ 2 Super motivation 2 การจูงใจที่เป็นเลิศ ภาคที่ 2
Super motivation 2 การจูงใจที่เป็นเลิศ ภาคที่ 2 maruay songtanin
 
การจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหารการจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหารJuneSwns
 
การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing  การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing Aor's Sometime
 
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การ
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การChapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การ
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การwanna2728
 
The 10 Toughest Aspects (of the Baldrige Criteria) 10 คำถามยอดฮิต (ติดอันดับต...
The 10 Toughest Aspects (of the Baldrige Criteria) 10 คำถามยอดฮิต (ติดอันดับต...The 10 Toughest Aspects (of the Baldrige Criteria) 10 คำถามยอดฮิต (ติดอันดับต...
The 10 Toughest Aspects (of the Baldrige Criteria) 10 คำถามยอดฮิต (ติดอันดับต...maruay songtanin
 
Chapter9 ความสำเร็จและปัญหาของการพัฒนาองค์การ
Chapter9 ความสำเร็จและปัญหาของการพัฒนาองค์การChapter9 ความสำเร็จและปัญหาของการพัฒนาองค์การ
Chapter9 ความสำเร็จและปัญหาของการพัฒนาองค์การwanna2728
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่Aj.Mallika Phongphaew
 
A time to think ให้เวลากับการคิด
A time to think ให้เวลากับการคิดA time to think ให้เวลากับการคิด
A time to think ให้เวลากับการคิดmaruay songtanin
 

What's hot (20)

Organization diagnosis การวินิจฉัยองค์กร
Organization diagnosis การวินิจฉัยองค์กรOrganization diagnosis การวินิจฉัยองค์กร
Organization diagnosis การวินิจฉัยองค์กร
 
Team chemistry เคมีของทีม
Team chemistry เคมีของทีมTeam chemistry เคมีของทีม
Team chemistry เคมีของทีม
 
14321
1432114321
14321
 
Vunst dr delek
Vunst dr delekVunst dr delek
Vunst dr delek
 
Human Capital Management ทุนมนุษย์จัดการให้ดีสู่ดีเลิศ
Human Capital Management ทุนมนุษย์จัดการให้ดีสู่ดีเลิศHuman Capital Management ทุนมนุษย์จัดการให้ดีสู่ดีเลิศ
Human Capital Management ทุนมนุษย์จัดการให้ดีสู่ดีเลิศ
 
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธเอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
 
๑.๑๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ จักราวุธ คำทวี
๑.๑๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ จักราวุธ คำทวี๑.๑๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ จักราวุธ คำทวี
๑.๑๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ จักราวุธ คำทวี
 
ทุนมนุษย์
ทุนมนุษย์ทุนมนุษย์
ทุนมนุษย์
 
Super motivation 2 การจูงใจที่เป็นเลิศ ภาคที่ 2
Super motivation 2 การจูงใจที่เป็นเลิศ ภาคที่ 2 Super motivation 2 การจูงใจที่เป็นเลิศ ภาคที่ 2
Super motivation 2 การจูงใจที่เป็นเลิศ ภาคที่ 2
 
หลักการบริหาร
หลักการบริหารหลักการบริหาร
หลักการบริหาร
 
การจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหารการจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหาร
 
การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing  การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing
 
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การ
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การChapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การ
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การ
 
การฝึกอบรมและพัฒนา Ppt
การฝึกอบรมและพัฒนา Pptการฝึกอบรมและพัฒนา Ppt
การฝึกอบรมและพัฒนา Ppt
 
The 10 Toughest Aspects (of the Baldrige Criteria) 10 คำถามยอดฮิต (ติดอันดับต...
The 10 Toughest Aspects (of the Baldrige Criteria) 10 คำถามยอดฮิต (ติดอันดับต...The 10 Toughest Aspects (of the Baldrige Criteria) 10 คำถามยอดฮิต (ติดอันดับต...
The 10 Toughest Aspects (of the Baldrige Criteria) 10 คำถามยอดฮิต (ติดอันดับต...
 
Chapter9 ความสำเร็จและปัญหาของการพัฒนาองค์การ
Chapter9 ความสำเร็จและปัญหาของการพัฒนาองค์การChapter9 ความสำเร็จและปัญหาของการพัฒนาองค์การ
Chapter9 ความสำเร็จและปัญหาของการพัฒนาองค์การ
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
 
Organization Theory
Organization TheoryOrganization Theory
Organization Theory
 
Beware the next big thing
Beware the next big thingBeware the next big thing
Beware the next big thing
 
A time to think ให้เวลากับการคิด
A time to think ให้เวลากับการคิดA time to think ให้เวลากับการคิด
A time to think ให้เวลากับการคิด
 

Viewers also liked

Lessons from great family businesses
Lessons from great family businessesLessons from great family businesses
Lessons from great family businessesmaruay songtanin
 
Introduction to performance excellence
Introduction to performance excellenceIntroduction to performance excellence
Introduction to performance excellencemaruay songtanin
 
Maruay 17th ha forum ข้อสังเกต การจัดการความรู้
Maruay 17th ha forum ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum ข้อสังเกต การจัดการความรู้
Maruay 17th ha forum ข้อสังเกต การจัดการความรู้ maruay songtanin
 
The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม
The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรมThe truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม
The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรมmaruay songtanin
 
Work + home + community + self
Work + home + community + selfWork + home + community + self
Work + home + community + selfmaruay songtanin
 
2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ
2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ
2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อmaruay songtanin
 
10 steps to an award application
10 steps to an award application10 steps to an award application
10 steps to an award applicationmaruay songtanin
 
How to prepare application report
How to prepare application reportHow to prepare application report
How to prepare application reportmaruay songtanin
 
EdPEx for internal assessment
EdPEx for internal assessmentEdPEx for internal assessment
EdPEx for internal assessmentmaruay songtanin
 
Health care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขัน
Health care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขันHealth care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขัน
Health care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขันmaruay songtanin
 
2014 Baldrige award winners รางวัล Baldrige award 2014
2014 Baldrige award winners รางวัล Baldrige award 20142014 Baldrige award winners รางวัล Baldrige award 2014
2014 Baldrige award winners รางวัล Baldrige award 2014maruay songtanin
 

Viewers also liked (20)

Scoring system
Scoring systemScoring system
Scoring system
 
Lessons from great family businesses
Lessons from great family businessesLessons from great family businesses
Lessons from great family businesses
 
Strategy definition
Strategy definitionStrategy definition
Strategy definition
 
Introduction to performance excellence
Introduction to performance excellenceIntroduction to performance excellence
Introduction to performance excellence
 
Comment guidelines 2015
Comment guidelines 2015Comment guidelines 2015
Comment guidelines 2015
 
Board of directors
Board of directorsBoard of directors
Board of directors
 
From learning to writing
From learning to writingFrom learning to writing
From learning to writing
 
Strategic five
Strategic fiveStrategic five
Strategic five
 
Strategy or execution
Strategy or executionStrategy or execution
Strategy or execution
 
Maruay 17th ha forum ข้อสังเกต การจัดการความรู้
Maruay 17th ha forum ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum ข้อสังเกต การจัดการความรู้
Maruay 17th ha forum ข้อสังเกต การจัดการความรู้
 
Man and machine
Man and machineMan and machine
Man and machine
 
The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม
The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรมThe truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม
The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม
 
Work + home + community + self
Work + home + community + selfWork + home + community + self
Work + home + community + self
 
2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ
2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ
2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ
 
10 steps to an award application
10 steps to an award application10 steps to an award application
10 steps to an award application
 
How to prepare application report
How to prepare application reportHow to prepare application report
How to prepare application report
 
EdPEx for internal assessment
EdPEx for internal assessmentEdPEx for internal assessment
EdPEx for internal assessment
 
Health care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขัน
Health care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขันHealth care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขัน
Health care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขัน
 
Executional excellence
Executional excellenceExecutional excellence
Executional excellence
 
2014 Baldrige award winners รางวัล Baldrige award 2014
2014 Baldrige award winners รางวัล Baldrige award 20142014 Baldrige award winners รางวัล Baldrige award 2014
2014 Baldrige award winners รางวัล Baldrige award 2014
 

Similar to Make better decisions

Chapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การ
Chapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การChapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การ
Chapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การwanna2728
 
How to Design Knowledge Toolkit - การออกแบบชุดสื่อเรียนรู้
How to Design Knowledge Toolkit - การออกแบบชุดสื่อเรียนรู้How to Design Knowledge Toolkit - การออกแบบชุดสื่อเรียนรู้
How to Design Knowledge Toolkit - การออกแบบชุดสื่อเรียนรู้Perus Saranurak
 
Execution การทำให้สำเร็จ
Execution การทำให้สำเร็จExecution การทำให้สำเร็จ
Execution การทำให้สำเร็จmaruay songtanin
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3praphol
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมPhakawat Owat
 
OKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdf
OKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdfOKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdf
OKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdfmaruay songtanin
 
Conflict management การจัดการความขัดแย้ง
Conflict management การจัดการความขัดแย้งConflict management การจัดการความขัดแย้ง
Conflict management การจัดการความขัดแย้งmaruay songtanin
 
Stop the meeting madness เลิกการประชุมอย่างบ้าคลั่ง
Stop the meeting madness  เลิกการประชุมอย่างบ้าคลั่งStop the meeting madness  เลิกการประชุมอย่างบ้าคลั่ง
Stop the meeting madness เลิกการประชุมอย่างบ้าคลั่งmaruay songtanin
 
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการCh1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการNittaya Intarat
 
การวางแผนปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม
การวางแผนปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมการวางแผนปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม
การวางแผนปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมMickey Toon Luffy
 
Accelerate การเร่ง
Accelerate การเร่งAccelerate การเร่ง
Accelerate การเร่งmaruay songtanin
 
10 Tips for Effective Leadership: 10 กลเม็ดผู้นำ .pdf
10 Tips for Effective Leadership:  10 กลเม็ดผู้นำ .pdf10 Tips for Effective Leadership:  10 กลเม็ดผู้นำ .pdf
10 Tips for Effective Leadership: 10 กลเม็ดผู้นำ .pdfmaruay songtanin
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้Nona Khet
 
Faqs of baldrige criteria part 3 of 3 ออเจ้าถาม Baldrige ตอบ
Faqs of baldrige criteria part 3 of 3 ออเจ้าถาม Baldrige ตอบFaqs of baldrige criteria part 3 of 3 ออเจ้าถาม Baldrige ตอบ
Faqs of baldrige criteria part 3 of 3 ออเจ้าถาม Baldrige ตอบmaruay songtanin
 

Similar to Make better decisions (20)

Chapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การ
Chapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การChapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การ
Chapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การ
 
How to Design Knowledge Toolkit - การออกแบบชุดสื่อเรียนรู้
How to Design Knowledge Toolkit - การออกแบบชุดสื่อเรียนรู้How to Design Knowledge Toolkit - การออกแบบชุดสื่อเรียนรู้
How to Design Knowledge Toolkit - การออกแบบชุดสื่อเรียนรู้
 
Execution การทำให้สำเร็จ
Execution การทำให้สำเร็จExecution การทำให้สำเร็จ
Execution การทำให้สำเร็จ
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
OKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdf
OKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdfOKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdf
OKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdf
 
Conflict management การจัดการความขัดแย้ง
Conflict management การจัดการความขัดแย้งConflict management การจัดการความขัดแย้ง
Conflict management การจัดการความขัดแย้ง
 
กว่าจะเป็นผู้นำ
กว่าจะเป็นผู้นำกว่าจะเป็นผู้นำ
กว่าจะเป็นผู้นำ
 
Performance dialogue
Performance dialoguePerformance dialogue
Performance dialogue
 
Stop the meeting madness เลิกการประชุมอย่างบ้าคลั่ง
Stop the meeting madness  เลิกการประชุมอย่างบ้าคลั่งStop the meeting madness  เลิกการประชุมอย่างบ้าคลั่ง
Stop the meeting madness เลิกการประชุมอย่างบ้าคลั่ง
 
บรรยายพิเ..
บรรยายพิเ..บรรยายพิเ..
บรรยายพิเ..
 
Managing oneself
Managing oneselfManaging oneself
Managing oneself
 
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการCh1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลง1
การบริหารการเปลี่ยนแปลง1การบริหารการเปลี่ยนแปลง1
การบริหารการเปลี่ยนแปลง1
 
การวางแผนปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม
การวางแผนปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมการวางแผนปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม
การวางแผนปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม
 
Accelerate การเร่ง
Accelerate การเร่งAccelerate การเร่ง
Accelerate การเร่ง
 
Learning Organization
Learning OrganizationLearning Organization
Learning Organization
 
10 Tips for Effective Leadership: 10 กลเม็ดผู้นำ .pdf
10 Tips for Effective Leadership:  10 กลเม็ดผู้นำ .pdf10 Tips for Effective Leadership:  10 กลเม็ดผู้นำ .pdf
10 Tips for Effective Leadership: 10 กลเม็ดผู้นำ .pdf
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
Faqs of baldrige criteria part 3 of 3 ออเจ้าถาม Baldrige ตอบ
Faqs of baldrige criteria part 3 of 3 ออเจ้าถาม Baldrige ตอบFaqs of baldrige criteria part 3 of 3 ออเจ้าถาม Baldrige ตอบ
Faqs of baldrige criteria part 3 of 3 ออเจ้าถาม Baldrige ตอบ
 

More from maruay songtanin

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdfmaruay songtanin
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docxmaruay songtanin
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfmaruay songtanin
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 

Make better decisions

  • 1. พันเอก มารวย ส่งทานินทร์ maruays@hotmail.com 25 เมษายน 2558
  • 3. บทสรุปสาหรับผู้บริหาร ทุกคนตั้งแต่ผู้บริหารสูงสุดจนถึงคนงาน กระทาความผิดพลาดที่ป้ องกันได้ ตัวอย่างเช่น การประเมินระยะเวลาที่ใช้ในการเสร็จสิ้นโครงการ หรือการมุ่งเน้น ข้อมูลที่สนับสนุนมุมมองปัจจุบันของพวกเขามากเกินไป มันเป็นเรื่องยากที่จะปรับสมองของมนุษย์ เพื่อยกเลิกรูปแบบที่นาไปสู่ความ ผิดพลาดดังกล่าว แต่มีวิธีการอื่นคือ เปลี่ยนสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมผู้ที่จะทาการ ตัดสินใจ ให้มีวิธีการตัดสินใจที่นาไปสู่ผลลัพธ์ที่ดีกว่าเดิมได้ ในบทความนี้ Beshears และ Gino เสนอกระบวนการห้าขั้นตอนในการ บรรเทาผลกระทบจากอคติ และแรงจูงใจต่า ของการตัดสินใจ: 1. เข้าใจชนิดข้อผิดพลาดที่ผู้คนก่อ และปัจจัยที่มีผลกระทบต่อแรงจูงใจ 2. กาหนดปัญหา เพื่อตรวจสอบว่าเป็นปัญหาทางพฤติกรรมหรือไม่ 3. การวินิจฉัยสาเหตุ 4. การปรับแต่งสภาพแวดล้อม เพื่อลดหรือบรรเทาผลกระทบเชิงลบของอคติและ แรงจูงใจต่า 5. ทดสอบวิธีแก้ปัญหาที่นาเสนออย่างจริงจัง
  • 4.
  • 5.
  • 6. คาถามที่ 1  ถามว่า ลูกบอล 1 ลูก รวมไม้ตี 1 อัน ราคารวมกัน 1.10 เหรียญ ถ้าไม้ตีราคาแพงกว่าลูกบอล 1 เหรียญ ถามว่าลูกบอลราคา เท่าใด ?  ถ้าตอบว่าราคา .10 เหรียญ ให้คิดใหม่  คาตอบที่ถูกคือ ลูกบอลราคา .05 เหรียญ ราคาไม้ตี 1.05 เหรียญ ราคารวมกันจึงได้ 1.10 เหรียญ (คาถามบอกว่า ไม้ตี ราคาแพงกว่าลูกบอล 1 เหรียญ)
  • 7. คาถามที่ 2  ถ้าใช้เครื่องจักร 5 เครื่อง ผลิตเครื่องมือได้ 5 ชิ้ น ในเวลา 5 นาที ถามว่า ต้องใช้เวลาเท่าใด ถ้าใช้เครื่องจักร 100 เครื่อง ในการ ผลิตเครื่องมือ 100 ชิ้น  ถ้าตอบว่า 100 นาที ให้คิดใหม่อีกครั้ง  คาตอบที่ถูกต้องคือ 5 นาที เราอาจตกหลุมพราง 5-5-5 พอ มาถึง 100-100 เลยตอบว่า 100
  • 8. คาถามที่ 3  ณ สระน้าแห่งหนึ่ง มีใบบัวขยายตัวรวมกันได้หนึ่งเท่าตัวทุกวัน ต้องใช้เวลา 48 วัน ใบบัวทั้งหมดจึงคลุมสระน้าได้พอดี ถามว่า ตอนที่ใบบัวทั้งหมดคลุมได้ครึ่งหนึ่งของสระน้าต้องใช้เวลากี่วัน?  ถ้าตอบว่า 24 วัน ให้กลับไปดูคาถามใหม่อีกรอบ  คาตอบที่ถูกคือ 47 วัน ที่ตอบผิดเพราะตกหลุม 48 หารด้วย 2 = 24 แต่ถ้าใครตอบว่า หนึ่งวัน ก็เป็นคาตอบที่ถูกต้อง เพราะ การขยายตัวของใบบัวเหล่านั้นเกิดขึ้นหนึ่งเท่าของทุกวัน ดังนั้น การขยายเต็มครึ่งหนึ่งก็ใช้เวลา 1 วันเช่นกัน สมควรได้รับ คะแนนเพิ่มเติม
  • 9. เกริ่นนา  พนักงานทุกคนจนถึงผู้บริหารสูงสุดกระทาผิดพลาดที่ป้ องกันได้ เช่น ประเมินการใช้เวลาที่งานจะแล้วเสร็จ มองข้ามหรือละเลย ข้อมูลที่แสดงให้เห็นข้อบกพร่องในการวางแผน หรือล้มเหลวใน การรับผลประโยชน์ที่ดีที่สุดของบริษัท  มันเป็นเรื่องยากที่จะปรับสมองของมนุษย์ เพื่อยกเลิกรูปแบบที่ นาไปสู่ความผิดพลาดดังกล่าว แต่มีวิธีการอื่นคือ เปลี่ยน สภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมคนที่จะทาการตัดสินใจ ให้มีวิธีการที่ ตัดสินใจเพื่อมุ่งสู่ผลลัพธ์ที่ดีกว่าเดิม
  • 10. ห้าขั้นตอนวิธีพื้นฐาน  1. เข้าใจข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นในการตัดสินใจ  2. ตรวจสอบว่าเป็นปัญหาทางพฤติกรรมหรือไม่  3. ระบุสาเหตุที่เฉพาะเจาะจง  4. ออกแบบบริบทการตัดสินใจ ที่จะลดผลกระทบเชิงลบของ อคติและแรงจูงใจต่า  5. ทดสอบการแก้ปัญหาอย่างจริงจัง
  • 11.
  • 12. 1. เข้าใจวิธีการตัดสินใจ  หลายทศวรรษที่ผ่านมา นักวิจัยพฤติกรรมการตัดสินใจและ นักจิตวิทยาได้ชี้ให้เห็นว่า มนุษย์มีสองแบบของการประมวลผล ข้อมูลและการตัดสินใจ  ระบบที่ 1 (System 1 thinking) คิดโดยอัตโนมัติ ใช้สัญชาตญาณ และอารมณ์ เป็นทางลัดสั้นทางความคิด เพื่อสร้างคาตอบที่ใช้ งานง่าย ในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น ณ ขณะนั้น  ระบบที่ 2 (System 2 thinking) คิดอย่างช้า ๆ เป็นตรรกะ และ โดยเจตนา
  • 13. 2. กาหนดปัญหา  ก่อนที่จะใช้เครื่องมือทางพฤติกรรม ควรจะตรวจสอบว่า:  1. พฤติกรรมของมนุษย์เป็นปัญหาหลัก  2. ผู้คนแสดงออกในลักษณะที่ขัดกับผลประโยชน์ที่ดีที่สุดของเขา  เครื่องมือจะมีประสิทธิภาพมากที่สุด ในสถานการณ์ที่ส่งเสริมให้ ผู้คน เปลี่ยนจากตัวเลือกที่ขัดกับผลประโยชน์ของพวกเขา เป็นมี ความสอดคล้องในทางที่ดีขึ้นกับตัวของเขาเอง
  • 14. 3. การวินิจฉัยสาเหตุ  มีสองสาเหตุหลักของการตัดสินใจที่ไม่ดีคือ แรงจูงใจที่ไม่ เพียงพอ และอคติ (insufficient motivation and cognitive biases)  มีสองคาถามที่ควรจะถาม  1. เป็นปัญหาที่เกิดจากความล้มเหลวของผู้คน ที่จะดาเนินการ ใด ๆ หรือไม่? ถ้าเป็นเช่นนั้น สาเหตุคือ การขาดแรงจูงใจ (lack of motivation)  2. มีคนดาเนินการ แต่มีข้อผิดพลาดของระบบที่เป็นกระบวนการ ตัดสินใจ? ถ้าเป็นเช่นนั้น ปัญหาอยู่ที่ อคติ (cognitive biases)
  • 15. 4. การออกแบบวิธีแก้ปัญหา  โดยใช้ สถาปัตยกรรมทางเลือกและการสะกิดทางความคิด (Choice architecture and nudges) โดย Richard Thaler และ Cass Sunstein ในปี ค.ศ. 2008  เป้ าหมายของสถาปัตยกรรมทางเลือกคือ การปรับปรุงการ ตัดสินใจของผู้คน โดยมีโครงสร้างอย่างรอบคอบ และมีตัวเลือก ที่จะนาเสนอให้กับพวกเขา ที่สาคัญ ต้องให้พวกเขามีเสรีภาพใน การตัดสินใจด้วยตนเอง
  • 16. รูปแบบของสถาปัตยกรรมทางเลือก (slide แผ่นนี้ สาคัญ เป็นการปรับสิ่งแวดล้อม)  4.1 แบบที่ 1 ระบบการกระตุ้น (เนื่องจากไม่ลงมือทา)  4.1 (ก) การกระตุ้นอารมณ์  4.1 (ข) อคติเทียม  4.1 (ค) ลดความซับซ้อนของกระบวนการ  4.2 แบบที่ 2 ระบบส่วนร่วม (เนื่องจากเกิดอคติ)  4.2 (ก) การประเมินร่วมกันมากกว่าการประเมินผลแยกต่างหาก  4.2 (ข) การสร้างโอกาสในการสะท้อน  4.2 (ค) การวางแผนให้พร้อมสรรพ  4.2 (ง) การสร้างแรงบันดาลใจให้ความคิดกว้างขึ้น  4.2 (จ) การเพิ่มความรับผิดชอบ  4.2 (ฉ) การส่งเสริมให้พิจารณาหลักฐานที่ไม่ยืนยัน  4.2 (ช) การแจ้งเตือน  4.3 ก้าวข้ามทั้งสองระบบ (ตัดสินใจแทน)  4.3 (ก) การตั้งค่าเริ่มต้น  4.3 (ข) สร้างการปรับอัตโนมัติ
  • 17. 4.1 แบบที่ 1 ระบบการกระตุ้น  4.1 (ก) การกระตุ้นอารมณ์ (Arouse emotions): เป็นการสร้าง ความเข้มแข็งของการเชื่อมต่อทางอารมณ์ของพนักงานกับองค์กร  โดยขอให้พวกเขาคิดเกี่ยวกับจุดแข็งของพวกเขา และวิธีการที่ พวกเขาสามารถนาจุดแข็งไปใช้ในงานของพวกเขาได้  เพื่อช่วยให้พวกเขารู้สึกว่า พวกเขาเป็นตัวของตัวเองในที่ทางาน ส่งผลต่อความผูกพันทางอารมณ์กับองค์กร  ทาให้อัตราการหมุนเวียนของพนักงานลดลง และทาให้ ประสิทธิภาพการทางานสูงขึ้น โดยวัดจากความพึงพอใจของลูกค้า
  • 18. 4.1 แบบที่ 1 ระบบการกระตุ้น (ต่อ)  4.1 (ข) อคติเทียม (Harness biases): การวิจัยแสดงให้เห็นว่า ผู้คนรู้สึกไม่ดีเป็นสองเท่าเกี่ยวกับการสูญเสีย เทียบกับขณะที่ พวกเขารู้สึกดีเกี่ยวกับการได้รับกาไรของเงินในจานวนเดียวกัน และผู้คนจะให้ความสนใจเป็นพิเศษในข้อมูลที่ฉูดฉาด  องค์กรสามารถเน้นข้อเสียของการล้มเหลวในการดาเนินการ เพื่อกระตุ้นพนักงานที่อ่อนแอ ที่เรียกว่า มีคนรออยู่ที่นั่งสารอง (man on the bench effect) ซึ่งมีความเป็นไปได้ที่พวกเขาจะ สูญเสียงานหรือโบนัส เป็นการสร้างแรงจูงใจ ให้พวกเขาต้อง ทางานหนักขึ้น
  • 19. 4.1 แบบที่ 1 ระบบการกระตุ้น (ต่อ)  4.1 (ค) ลดความซับซ้อนของกระบวนการ (Simplify the process): กระบวนการขององค์กรมักจะเกี่ยวข้องกับขั้นตอนที่ไม่ จาเป็น ทาให้แรงจูงใจลดลง หรือทาให้เกิดอคติเพิ่มขึ้น  โดยการปรับปรุงกระบวนการ (Streamlining processes) ทาให้ ผู้บริหารสามารถลดปัญหาดังกล่าวได้ ส่งผลให้พนักงานมี แรงจูงใจมากขึ้น ในการทาข้อมูลให้ทันสมัยและการใช้งานระบบ
  • 20. 4.2 แบบที่ 2 ระบบส่วนร่วม  4.2 (ก) การประเมินร่วมกันมากกว่าการประเมินผลแยก ต่างหาก (Use Joint, rather than, separate evaluations): เป็นการ ประเมินทุกทางเลือกในการตัดสินใจพร้อมกันไปเลย มากกว่า พิจารณาตามลาดับ จะช่วยลดอคติได้  มีประโยชน์ในหลาย ๆ สถานการณ์เช่น การเลือกผลิตภัณฑ์ที่จะ ก้าวไปสู่การพัฒนาต่อไป กระบวนการประเมินทางเลือกในการ ลงทุน และการตั้งทิศทางเชิงกลยุทธ์
  • 21. 4.2 แบบที่ 2 ระบบส่วนร่วม (ต่อ)  4.2 (ข) การสร้างโอกาสในการสะท้อน (Create opportunities for reflection): การขอเวลานอกในวันทางานเพื่อให้พนักงานได้คิด อาจมองว่าไม่คุ้มค่า แต่ก็เป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพของระบบการมี ส่วนร่วม  การสะท้อน ช่วยในการฝึกอบรมและพัฒนาพนักงาน และมี ประโยชน์ต่อพนักงาน เพราะจะมีผลกระทบต่อการดาเนินงาน
  • 22. 4.2 แบบที่ 2 ระบบส่วนร่วม (ต่อ)  4.2 (ค) การวางแผนให้พร้อมสรรพ (Use planning prompts): ผู้คนมักจะมุ่งการทาหน้าที่แก้ปัญหา แต่มักลืมหรือล้มเหลวที่จะ ติดตามงาน (Follow through)  เราสามารถนามาใช้ในการปรับปรุงประสิทธิภาพการทางานของ ทีม ที่ไม่สามารถตอบสนองวัตถุประสงค์ และจบลงด้วยการให้ คามั่นว่า จะทาให้ดีขึ้นในครั้งต่อไป แต่น่าเสียดาย ที่สัญญานี้ ไม่ได้ป้ องกันทีม จากการทาผิดพลาดซ้าอย่างเดียวกันอีก  ผู้นาสามารถช่วยให้ทีมงาน โดยจัดให้มีการสร้างแผนที่ชัดเจน สาหรับการบรรลุถึงเป้ าหมาย ที่มีรายละเอียดว่า เมื่อไร และ อย่างไร
  • 23. 4.2 แบบที่ 2 ระบบส่วนร่วม (ต่อ)  4.2 (ง) การสร้างแรงบันดาลใจให้ความคิดกว้างขึ้น (Inspire broader thinking): คนเราโดยทั่วไปแก้ปัญหาโดยการถามตัวเองว่า ฉันควรจะ ทาอย่างไร (What should I do?)  ให้ถามตัวเองใหม่ว่า ฉันจะทาอะไรได้บ้าง (What could I do?) จะ ช่วยให้เราตระหนักถึงทางเลือกอื่น เป็นการลดอคติในการประเมิน ปัญหา และใช้ในการตัดสินใจครั้งสุดท้าย  การเปลี่ยนแปลงภาษาที่ใช้ "ทาได้" มากกว่า "ควรทา" จะช่วยให้เรา แทนที่จะคิดว่า ต้องเป็นสีดาหรือสีขาวเท่านั้น มาเป็นสีเทา และช่วย ให้เราพิจารณาการแก้ประเด็นขัดแย้งทางจริยธรรม ที่จาเป็นต้อง เลือกตัวเลือกหนึ่งมากกว่าอีกตัวเลือกหนึ่ง
  • 24. 4.2 แบบที่ 2 ระบบส่วนร่วม (ต่อ)  4.2 (จ) การเพิ่มความรับผิดชอบ (Increase accountability): การทาให้บุคคลรับผิดชอบในการตัดสินและการกระทาของพวก เขา เป็นการเพิ่มโอกาสที่พวกเขาจะต้องระมัดระวัง เกี่ยวกับการ ขจัดอคติจากการตัดสินใจของพวกเขา
  • 25. 4.2 แบบที่ 2 ระบบส่วนร่วม (ต่อ)  4.2 (ฉ) ส่งเสริมให้พิจารณาหลักฐานที่ไม่ยืนยัน (Encourage the consideration of disconfirming evidence): เมื่อเราคิดว่ามีการ ดาเนินการที่ถูกต้องแน่นอน แนวโน้มของเราคือ การสนับสนุน ความคิดนั้น (ยืนยันอคติ -confirm bias) นอกจากนี้ เรายังยืนยัน การลงทุนทรัพยากรในการกระทานั้นต่อไป แม้ข้อมูลใหม่แสดง ให้เห็นว่าการทาเช่นนั้นไม่ฉลาด (การเพิ่มของความมุ่งมั่น- escalation of commitment)  ทั้งสองประการร่วมกัน ทาให้ผู้มีอานาจตัดสินใจเกิดอคติ ที่จะไม่ สนใจความเป็นไปได้ของทางเลือกที่ดีกว่า
  • 26. 4.2 แบบที่ 2 ระบบส่วนร่วม (ต่อ)  4.2 (ฉ) ส่งเสริมการพิจารณาหลักฐานที่ไม่ยืนยัน (Encourage the consideration of disconfirming evidence)(ต่อ)  องค์กรสามารถแก้ปัญหานี้ โดยการสนับสนุนการคิดคัดค้าน (โดย ถามว่า อะไรคือเหตุการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ ถ้าเรามีการกระทาที่ แตกต่างกันออกไป?) หรือกาหนดให้สมาชิกหนึ่งคน ถามคาถาม ที่ยาก และมองหาหลักฐานที่แสดงให้เห็นข้อบกพร่อง ในการ วางแผนของการดาเนินการ  ผู้นาอาจจะขอให้ผลัดกันเป็นประธาน โดยการเวียนบทบาทของ พวกเขา เพื่อที่จะได้มีมุมมองใหม่ ทาให้คนเห็นทางเลือกมากขึ้น
  • 27. 4.2 แบบที่ 2 ระบบส่วนร่วม (ต่อ)  4.2 (ช) ใช้การแจ้งเตือน (Use reminders): การแจ้งเตือนเป็นวิธี ที่มีประสิทธิภาพในการมีส่วนร่วมของระบบที่ 2  ช่วยให้เราหลีกเลี่ยงอคติที่มาจากการพึ่งพิงในระบบที่ 1 มาก เกินไป ระบบการแจ้งเตือนยังทาหน้าที่เน้นเป้ าหมายที่เรา ต้องการจะประสบความสาเร็จ (เช่น จบการนาเสนอในเวลา) ซึ่ง เป็นการเพิ่มแรงจูงใจ  Atul Gawande อธิบายว่า เขาแนะนา รายการตรวจสอบการผ่าตัด (surgery checklist) ในปี ค.ศ. 2008 ก่อนที่จะทาการผ่าตัด เพื่อ เตือนการมีส่วนร่วม ส่งผลให้ภาวะแทรกซ้อนที่สาคัญลดลง 36% และเสียชีวิตลดลง 47%
  • 28. 4.3 ก้าวข้ามทั้งสองระบบ  4.3 (ก) การตั้งค่าเริ่มต้น (Set the default): การเปลี่ยนค่า เริ่มต้นสาหรับกระบวนการมาตรฐานโดยอัตโนมัติ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งสาหรับการตัดสินใจที่มีความซับซ้อนหรือยุ่งยาก เช่นการ ลงทะเบียนพนักงานในการวางแผนการเกษียณอายุ เพื่อผลลัพธ์ ที่ดีที่สุด  4.3 (ข) สร้างการปรับเปลี่ยนอัตโนมัติ (Build in Automatic adjustments): เป็นอีกวิธีที่มีประสิทธิภาพในการตอบโต้อคติคือ ปิดจุดอ่อนของระบบที่ 1 และระบบที่ 2 เช่น เพิ่มเวลาสารอง (add buffer time) ให้กับโครงการต่าง ๆ
  • 29. การเลือกวิธีการที่ถูกต้อง  หากการก้าวข้ามทั้งสองระบบทาไม่ได้ ก็ต้องเลือกว่า จะใช้ระบบ กระตุ้นที่ 1 หรือระบบการมีส่วนร่วม 2  การใช้ระบบที่ 2 สามารถลดความผิดพลาดที่เกิดจากระบบที่ 1 แต่ก็มีข้อจากัด เพราะการตัดสินใจใช้สาหรับคนหนึ่ง หมายความว่า มันอาจไม่สามารถใช้ได้สาหรับคนอื่น ๆ ได้อีก และค่าใช้จ่ายนี้ จะต้องนามาพิจารณาด้วย
  • 30. 5. ทดสอบการแก้ปัญหา  ขั้นตอนสุดท้ายคือ การทดสอบอย่างเข้มงวดของวิธีการแก้ปัญหา ที่นาเสนอ เพื่อตรวจสอบว่า มันสามารถจะบรรลุวัตถุประสงค์  การทดสอบ จะช่วยหลีกเลี่ยงความผิดพลาดที่มีค่าใช้จ่ายสูง และ ให้ข้อมูลเชิงลึกที่นาไปสู่การแก้ปัญหาที่ดียิ่งขึ้ น  การทดสอบควรมีสามองค์ประกอบคือ:  5.1 ระบุผลลัพธ์ที่ต้องการ  5.2 ระบุการแก้ปัญหาที่เป็นไปได้ต่าง ๆ แล้วมุ่งเน้นไปที่ข้อเดียว  5.3 นาการเปลี่ยนแปลงใช้ในบางพื้นที่ขององค์กร ( "กลุ่มทดลอง") ไม่ใช้กับคนอื่น ๆ ( "กลุ่มควบคุม")
  • 31. สามองค์ประกอบของการทดสอบ  5.1 ระบุผลที่ต้องการ (Identify the desired outcome): ผลลัพธ์ควรจะ เป็นการเฉพาะเจาะจงและสามารถวัดผลได้  5.2 ระบุการแก้ปัญหาที่เป็นไปได้ต่าง ๆ แล้วมุ่งเน้นไปที่หนึ่งเดียว (Identify possible solutions and focus on one): ถ้าคุณปรับเปลี่ยน มากเกินไปในครั้งเดียว จะเป็นเรื่องยากที่จะตรวจสอบว่า การ เปลี่ยนแปลงใด ที่ให้ผลสมความปรารถนา  5.3 นาการเปลี่ยนแปลงใช้ในบางพื้นที่ขององค์กรคือกลุ่มทดลอง ไม่ ใช้กับคนอื่น ๆ คือกลุ่มควบคุม (Introduce the change in some areas of the organization (the Treatment group) and not others (the Control group): ถ้าเป็นไปได้ ให้แบ่งบุคคล ทีมงาน หรือหน่วยงาน ต่างๆ โดยการสุ่มออกเป็นสองกลุ่ม ผลลัพธ์ที่แตกต่างระหว่างสอง กลุ่ม สามารถนามาใช้ประกอบในการเปลี่ยนแปลง
  • 32. สรุป  การมีอคติและการมีแรงจูงใจที่ไม่เพียงพอ มักจะเป็นปัจจัยหลัก ที่อยู่เบื้องหลังปัญหาในการตัดสินใจขององค์กรอย่างมีนัยสาคัญ ซึ่งเป็นเรื่องยากมากที่จะเปลี่ยนวิธีการคิดของผู้คน  แต่การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมของการตัดสินใจ ที่ผ่านการ ปรับเปลี่ยนอย่างง่าย ๆ คือ ระบบกระตุ้น ระบบส่วนร่วม และ ก้าวข้ามทั้งสองระบบ ส่งผลให้ผู้บริหารสามารถสร้างประโยชน์ ให้กับพนักงานและองค์กร