SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 18
Baixar para ler offline
1



              ข้ อเสนอ
ร่ างรั ฐธรรมนูญว่ าด้ วยนิรโทษกรรม
        และการขจัดความขัดแย้ ง
                         ๑๓ มกราคม ๒๕๕๖
ร่ างรัฐธรรมนูญว่ าด้ วยนิรโทษกรรมฉบับนี
               เกียวข้ องกับบุคคลใด ?
                                      2


• บุคคลผูเ้ ข้าร่ วมเดินขบวน และชุมนุมทางการเมืองอันเนืองมาจากการแย่งชิง
อํานาจรัฐ 19 กันยายน 2549
• บุคคลผูกระทําความผิดโดยมีมูลเหตุจูงใจทีเกียวข้องกับความขัดแย้งทาง
           ้
การเมืองหลังจากการแย่งชิงอํานาจรัฐ จากวันที 19 กันยายน 2549 ถึง 9
พฤษภาคม 2554
ร่ างรัฐธรรมนูญว่ าด้ วยนิรโทษกรรมฉบับนี
             ไม่ เกียวข้ องกับบุคคลใด ?
                                    3


• ผูดารงตําแหน่งทางการเมืองทีถูกแย่งชิงอํานาจรัฐและได้รับผลกระทบจากการ
    ้ํ
แย่งชิงอํานาจรัฐ 19 กันยายน 2549
                  ่
• กรณี นี ปรากฏอยูในข้อเสนอของคณะนิ ติราษฎร์ เรื องการลบล้างผลพวง
รัฐประหาร 19 กันยายน 2549
ทําไมข้ อเสนอคณะนิตราษฎร์
                             ิ
เรืองนิรโทษกรรมจึงต้ องทําในรู ปรั ฐธรรมนูญ?
                                     4


                                    1.
        นิรโทษกรรมครังนีมีความสลับซับซ้อนมากกว่าครังอืนๆ เพราะมีการชุมนุม
ทางการเมืองหลายครัง ปล่อยเวลาทอดนานตังแต่ 19 กันยายน 2549 มีการดําเนิ นคดีไป
แล้วหลายกรณี การนิรโทษกรรมโดยอาศัยรู ปของพระราชบัญญัติหรื อพระราชกําหนด
อาจถูกเหนียวรังขัดขวางโดยกระบวนการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญได้
ทําไมข้ อเสนอคณะนิตราษฎร์
                             ิ
เรืองนิรโทษกรรมจึงต้ องทําในรู ปรั ฐธรรมนูญ?
                                 5


                                2.
          ประชาชนจํานวน 50,000 คนขึนไปสามารถใช้สิทธิเข้าชือ
 เสนอร่ างรัฐธรรมนูญ ฯ ในขณะทีถ้าทําเป็ น พ.ร.บ. การเข้าชือเสนอ
 กฎหมาย แม้จะใช้จานวนแค่ 10,000 คน แต่ประธานรัฐสภามีอานาจ
                       ํ                                     ํ
 วินิจฉัยได้วาร่ าง พ.ร.บ. นันไม่เข้าหมวดสาม และหมวดห้า ของ
             ่
 รัฐธรรมนูญ 2550 ทําให้ร่าง พ.ร.บ. ตกไป
ทําไมข้ อเสนอคณะนิตราษฎร์
                             ิ
เรืองนิรโทษกรรมจึงต้ องทําในรู ปรั ฐธรรมนูญ?
                            6


                           3.
         การร่ างรัฐธรรมนูญสามารถทําได้รวดเร็ วกว่าการ
 ตราพระราชบัญญัติ เพราะพิจารณาโดยการประชุม
 ร่ วมกันของทังสองสภา
ทําไมข้ อเสนอคณะนิตราษฎร์
                             ิ
เรืองนิรโทษกรรมจึงต้ องทําในรู ปรั ฐธรรมนูญ?
                               7


                              4.
 คณะกรรมการขจัดความขัดแย้ง เป็ นองค์กรตามรัฐธรรมนูญ ใช้อานาจ
                                                        ํ
 ในระดับรัฐธรรมนูญ
ทําไมข้ อเสนอคณะนิตราษฎร์
                             ิ
เรืองนิรโทษกรรมจึงต้ องทําในรู ปรั ฐธรรมนูญ?
                                 8


                                5.
 ร่ างรัฐธรรมนูญ ฯ นีกําหนดให้เจ้าหน้าทีของรัฐผูกระทําความผิดใน
                                                ้
 เหตุการณ์การชุมนุมและการสลายการชุมนุม ยังคงมีความผิดต่อไป
 ไม่ได้รับการนิรโทษกรรม ดังนันการนิรโทษกรรม เจ้าหน้าทีของรัฐไม่
 สามารถกระทําได้ในรู ปของ พ.ร.บ. หรื อ พ.ร.ก. เพราะจะขัดหรื อแย้ง
 กับรัฐธรรมนูญ
ทําไมไม่ ให้ ศาลยุตธรรมวินิจฉัย?
                        ิ
                                    9


         ศาลพิจารณาตามองค์ประกอบทางกฎหมาย โดยไม่คานึ งถึงมูลเหตุจูงใจ
                                                        ํ
ทางการเมืองทีมาจากความขัดแย้งทางการเมือง ดังนันภายใต้โครงสร้างปกติตาม
รัฐธรรมนูญจึงไม่สามารถแก้ความขัดแย้งทางการเมืองได้ เพราะความผิดทีเกิดขึน
มีความสัมพันธ์โดยตรงกับความขัดแย้งทางการเมือง
          ดังนันจึงต้องจัดตังคณะกรรมการขจัดความขัดแย้ง และให้มีฐานะเป็ น
 องค์กรทางรัฐธรรมนูญ เพือให้วินิจฉัยกรณี การกระทําความผิดอันผูกระทําได้
                                                              ้
 กระทําไปโดยมีมูลเหตุจูงใจทางการเมือง
ไม่ นิรโทษกรรมแก่ เจ้ าหน้ าที
      ผู้ปฏิบตการในระดับใดทังสิน
             ั ิ
                           10



        เพือเป็ นการวางมาตรฐานว่าต่อไปว่าเจ้าหน้าทีต้อง
ปฏิเสธการปฏิบติการตามคําสังทีไม่ชอบด้วยกฎหมายอย่างชัด
                 ั
แจ้ง ในกรณี ทีเจ้าหน้าทีปฏิบติการตามกรอบของกฎหมาย ย่อม
                            ั
          ่
พ้นผิดอยูแล้วตาม พ.ร.ก. การบริ หารราชการในสถานการณ์
ฉุกเฉิ น พ.ศ. 2548 มาตรา 17
ไม่ นิรโทษกรรมแก่ เจ้ าหน้ าที
         ผู้ปฏิบตการในระดับใดทังสิน
                ั ิ
                                        11


           มาตรา 17 พนักงานเจ้าหน้าทีและผูมีอานาจหน้าทีเช่นเดียวกับพนักงาน
                                              ้ ํ
เจ้าหน้าทีตามพระราชกําหนดนี ไม่ตองรับผิดทังทางแพ่ง ทางอาญา หรื อทางวินย
                                       ้                                       ั
เนืองจากการปฏิบติหน้าทีในการระงับหรื อป้ องกันการกระทําผิดกฎหมาย หาก
                   ั
เป็ นการกระทําทีสุ จริ ต ไม่เลือกปฏิบติ และไม่เกินสมควรแก่เหตุหรื อไม่เกินกว่า
                                     ั
กรณี จาเป็ น แต่ไม่ตดสิ ทธิ ผได้รับความเสี ยหายทีจะเรี ยกร้องค่าเสี ยหายจากทาง
       ํ             ั       ู้
ราชการตามกฎหมายว่าด้วย ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที
ระยะเวลา
                              12


                หลังจาก 19 กันยายน 2549
(หลังจากวันรัฐประหารโดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิ ปไตย
                 อันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข)
                                    ์
                          ถึง
                    9 พฤษภาคม 2554
 (นายอภิสิทธิ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี ประกาศยุบสภาผูแทนราษฎร)
                                                   ้
พ้นจากความผิดและ
                              ความรับผิดโดยสิ นเชิง
                                        13




          มาตรา 291/1                                        มาตรา 291/2
ผูกระทําความผิดตาม พ.ร.ก.
   ้                                    ผูเ้ ข้าร่ วมชุมนุมทางการเมืองในเขตพืนที ตาม
ฉุกเฉิ น ฯ 2548 หรื อ                   ประกาศ ตาม พ.ร.ก. ฉุ กเฉิ น ฯ 2548 หรื อ
พ.ร.บ. ความมันคง ฯ 2551                 พ.ร.บ. ความมันคง ฯ 2551 และกระทําความผิด
ซึ งใช้เนืองจากการชุมนุมทาง             •ในความผิดลหุ โทษ ตามประมวลกฎหมาย
การเมือง หลังรัฐประหาร 19               อาญา หรื อ
กันยายน 2549                            •ในความผิดทีมีโทษปรับเพียงสถานเดียว หรื อ
                                        •ในความผิดทีมีโทษจําคุกไม่เกิน 2 ปี ตาม
                                        กฎหมายอืน
ระงับกระบวนพิจารณาคดี
                                      ชัวคราว / ปล่อยตัวทันที
                                 คณะกรรมการขจัดความขัดแย้ ง
                                           14
                                             วินิจฉัย


           มาตรา 291/3                           • ผูไม่ได้เข้าร่ วมชุมนุม แต่ได้กระทําความผิด
                                                     ้
ผูชุมนุมทีกระทําความผิดซึ งไม่เข้า
  ้                                              หลังจาก 19 กันยายน 2549 ถึง 9
ตามมาตรา 291/1 และ 291/2 แต่                     พฤษภาคม 2554
การกระทําความผิดนันมีมูลเหตุจูง                  • การกระทํานันมีมูลเหตุเกียวข้องหรื อ
ใจทางการเมืองเกียวข้องกับการ                     เกียวเนืองกับความขัดแย้งทางการเมือง
รัฐประหาร 19 กันยายน 2549                        ภายหลังรัฐประหาร 19 กันยา 49 ไม่วาการ ่
                                                 กระทํานันจะเป็ นทางกายภาพหรื อแสดงความ
                                                 คิดเห็น
                                                 • กระทําความผิดไปโดยมีมูลเหตุจูงใจทาง
                                                 การเมือง
ระงับกระบวนพิจารณาคดี
                  พ้นจากความผิดและ                                                      ชัวคราว / ปล่อยตัวทันที
                 ความรับผิดโดยสิ นเชิง                                               คณะกรรมการขจัดความขัดแย้ ง
                                                                                                        วินิจฉัย
                                                                       15

       มาตรา 291/1                            มาตรา 291/2                           มาตรา 291/3
ผูกระทําความผิดตาม
  ้                        ผูเ้ ข้าร่ วมชุมนุ มทางการเมืองในเขตพืนที        ผูชุมนุมทีกระทําความผิด
                                                                               ้                          • ผูไม่ได้เข้าร่ วมชุมนุ ม แต่ได้กระทํา
                                                                                                              ้
พ.ร.ก. ฉุ กเฉิ น ฯ 2548    ตามประกาศ ตาม พ.ร.ก. ฉุ กเฉิ น ฯ                 ซึ งไม่เข้าตามมาตรา 291/1     ความผิด หลัง จาก 19 กันยายน
หรื อ พ.ร.บ. ความมันคง ฯ   2548 หรื อ พ.ร.บ. ความมันคง ฯ 2551               และ 291/2 แต่การกระทํา        2549 ถึง 9 พฤษภาคม 2554
2551 ซึ งใช้เนืองจากการ    และกระทําความผิด                                 ความผิดนันมีมูลเหตุจูงใจ      • การกระทํานันมีมูลเหตุเกียวข้อง
ชุมนุมทางการเมือง หลัง     •ในความผิดลหุ โทษ ตามประมวล                      ทางการเมืองเกียวข้องกับ       หรื อเกียวเนืองกับความขัดแย้งทาง
รัฐประหาร 19 กันยายน       กฎหมายอาญา หรื อ                                 การรัฐประหาร 19               การเมืองภายหลังรัฐประหาร 19 กันยา
2549                       •ในความผิดทีมีโทษปรับเพียงสถาน                   กันยายน 2549                           ่
                                                                                                          49 ไม่วาการกระทํานันจะเป็ นทาง
                           เดียว หรื อ                                                                    กายภาพหรื อแสดงความคิดเห็น
                           •ในความผิดทีมีโทษจําคุกไม่เกิน 2 ปี                                            • กระทําความผิดไปโดยมีมูลเหตุจูง
                           ตามกฎหมายอืน                                                                   ใจทางการเมือง




                            ทังหมดต้องไม่ขดกับพันธกรณี ตามกฎหมายระหว่างประเทศ
                                          ั
คณะกรรมการขจัดความขัดแย้ ง
                                         16


1. บุคคลทีได้รับเลือกจากคณะรัฐมนตรี 1 คน
2. สมาชิกสภาผูแทนราษฎร 2 คน
                ้
      (จากพรรคการเมืองทีมีผดารงตําแหน่งใน ครม. 1 คน และไม่มีตาแหน่งใน ครม. 1 คน)
                           ู้ ํ                              ํ
3.ผูพิพากษาหรื ออดีตผูพิพากษาในศาลยุติธรรม 1 คน
    ้                 ้
     เลือกโดยรัฐสภา

4.   พนักงานอัยการหรื ออดีตพนักงานอัยการ 1 คน
     เลือกโดยรัฐสภา
คณะกรรมการขจัดความขัดแย้ ง
                  17



คําวินิจฉัยของคณะกรรมการขจัดความขัดแย้ง
    ให้มีผลผูกพันองค์กรของรัฐทุกองค์กร
   และไม่อาจเป็ นวัตถุในการพิจารณาของ
        องค์กรตุลาการหรื อองค์กรอืนใด
ผู้ทรงอํานาจตีความ
                                   18


• รัฐสภาเป็ นผูทรงไว้ซึงสิ ทธิ เด็ดขาดในการตีความบทบัญญัติของ
               ้
  รัฐธรรมนูญหมวดว่าด้วยนิรโทษกรรมและการขจัดความขัดแย้ง
• การตีความของรัฐสภาให้มีผลผูกพันองค์กรของรัฐทุกองค์กร
• การตีความตลอดจนผลของการตีความของรัฐสภา ไม่อาจเป็ นวัตถุในการ
  พิจารณาขององค์กรตุลาการหรื อองค์กรอืนใด

Mais conteúdo relacionado

Mais de Isriya Paireepairit

Wearable Computing: Fad or For Real?
Wearable Computing: Fad or For Real?Wearable Computing: Fad or For Real?
Wearable Computing: Fad or For Real?Isriya Paireepairit
 
ความเห็น กสทช. ต่อ ร่าง พ.ร.บ.ดิจิทัล
ความเห็น กสทช. ต่อ ร่าง พ.ร.บ.ดิจิทัลความเห็น กสทช. ต่อ ร่าง พ.ร.บ.ดิจิทัล
ความเห็น กสทช. ต่อ ร่าง พ.ร.บ.ดิจิทัลIsriya Paireepairit
 
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัลแนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัลIsriya Paireepairit
 
จะสร้างเศรษฐกิจดิจิทัล ต้องคิดแบบดิจิทัล
จะสร้างเศรษฐกิจดิจิทัล ต้องคิดแบบดิจิทัลจะสร้างเศรษฐกิจดิจิทัล ต้องคิดแบบดิจิทัล
จะสร้างเศรษฐกิจดิจิทัล ต้องคิดแบบดิจิทัลIsriya Paireepairit
 
อนาคตของการจัดสรรและใช้ทรัพยากรคลื่น
อนาคตของการจัดสรรและใช้ทรัพยากรคลื่นอนาคตของการจัดสรรและใช้ทรัพยากรคลื่น
อนาคตของการจัดสรรและใช้ทรัพยากรคลื่นIsriya Paireepairit
 
กฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทย
กฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทยกฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทย
กฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทยIsriya Paireepairit
 
ร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติIsriya Paireepairit
 
ขยายระยะเวลาคืนคลื่น 1800 MHz: เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?
ขยายระยะเวลาคืนคลื่น 1800 MHz: เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?ขยายระยะเวลาคืนคลื่น 1800 MHz: เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?
ขยายระยะเวลาคืนคลื่น 1800 MHz: เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?Isriya Paireepairit
 
ทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHz
ทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHzทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHz
ทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHzIsriya Paireepairit
 
โครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ
โครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิโครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ
โครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิIsriya Paireepairit
 
ร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRI
ร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRIร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRI
ร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRIIsriya Paireepairit
 
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการ
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการพรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการ
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการIsriya Paireepairit
 
การกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัล
การกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัลการกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัล
การกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัลIsriya Paireepairit
 
Thailand 1800MHz Frequency Management
Thailand 1800MHz Frequency ManagementThailand 1800MHz Frequency Management
Thailand 1800MHz Frequency ManagementIsriya Paireepairit
 
IPTV and Internet TV - Thailand Case
IPTV and Internet TV - Thailand CaseIPTV and Internet TV - Thailand Case
IPTV and Internet TV - Thailand CaseIsriya Paireepairit
 
ข้อเสนอปรับปรุง (ร่าง) แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคม
ข้อเสนอปรับปรุง (ร่าง) แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคมข้อเสนอปรับปรุง (ร่าง) แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคม
ข้อเสนอปรับปรุง (ร่าง) แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคมIsriya Paireepairit
 

Mais de Isriya Paireepairit (20)

Wearable Computing: Fad or For Real?
Wearable Computing: Fad or For Real?Wearable Computing: Fad or For Real?
Wearable Computing: Fad or For Real?
 
ความเห็น กสทช. ต่อ ร่าง พ.ร.บ.ดิจิทัล
ความเห็น กสทช. ต่อ ร่าง พ.ร.บ.ดิจิทัลความเห็น กสทช. ต่อ ร่าง พ.ร.บ.ดิจิทัล
ความเห็น กสทช. ต่อ ร่าง พ.ร.บ.ดิจิทัล
 
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัลแนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
 
จะสร้างเศรษฐกิจดิจิทัล ต้องคิดแบบดิจิทัล
จะสร้างเศรษฐกิจดิจิทัล ต้องคิดแบบดิจิทัลจะสร้างเศรษฐกิจดิจิทัล ต้องคิดแบบดิจิทัล
จะสร้างเศรษฐกิจดิจิทัล ต้องคิดแบบดิจิทัล
 
อนาคตของการจัดสรรและใช้ทรัพยากรคลื่น
อนาคตของการจัดสรรและใช้ทรัพยากรคลื่นอนาคตของการจัดสรรและใช้ทรัพยากรคลื่น
อนาคตของการจัดสรรและใช้ทรัพยากรคลื่น
 
กฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทย
กฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทยกฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทย
กฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทย
 
ร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
 
ขยายระยะเวลาคืนคลื่น 1800 MHz: เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?
ขยายระยะเวลาคืนคลื่น 1800 MHz: เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?ขยายระยะเวลาคืนคลื่น 1800 MHz: เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?
ขยายระยะเวลาคืนคลื่น 1800 MHz: เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?
 
ทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHz
ทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHzทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHz
ทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHz
 
โครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ
โครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิโครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ
โครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ
 
ร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRI
ร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRIร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRI
ร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRI
 
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการ
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการพรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการ
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการ
 
การกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัล
การกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัลการกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัล
การกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัล
 
Agenda Bangkok
Agenda BangkokAgenda Bangkok
Agenda Bangkok
 
Mobile Trends 2012
Mobile Trends 2012Mobile Trends 2012
Mobile Trends 2012
 
Thailand 1800MHz Frequency Management
Thailand 1800MHz Frequency ManagementThailand 1800MHz Frequency Management
Thailand 1800MHz Frequency Management
 
IPTV and Internet TV - Thailand Case
IPTV and Internet TV - Thailand CaseIPTV and Internet TV - Thailand Case
IPTV and Internet TV - Thailand Case
 
Three IT Kingdoms
Three IT KingdomsThree IT Kingdoms
Three IT Kingdoms
 
ข้อเสนอปรับปรุง (ร่าง) แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคม
ข้อเสนอปรับปรุง (ร่าง) แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคมข้อเสนอปรับปรุง (ร่าง) แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคม
ข้อเสนอปรับปรุง (ร่าง) แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคม
 
Teleuse@BOP4
Teleuse@BOP4Teleuse@BOP4
Teleuse@BOP4
 

สไลด์ข้อเสนอร่างรัฐธรรมนูญว่าด้วยนิรโทษกรรม และการขจัดความขัดแย้ง

  • 1. 1 ข้ อเสนอ ร่ างรั ฐธรรมนูญว่ าด้ วยนิรโทษกรรม และการขจัดความขัดแย้ ง ๑๓ มกราคม ๒๕๕๖
  • 2. ร่ างรัฐธรรมนูญว่ าด้ วยนิรโทษกรรมฉบับนี เกียวข้ องกับบุคคลใด ? 2 • บุคคลผูเ้ ข้าร่ วมเดินขบวน และชุมนุมทางการเมืองอันเนืองมาจากการแย่งชิง อํานาจรัฐ 19 กันยายน 2549 • บุคคลผูกระทําความผิดโดยมีมูลเหตุจูงใจทีเกียวข้องกับความขัดแย้งทาง ้ การเมืองหลังจากการแย่งชิงอํานาจรัฐ จากวันที 19 กันยายน 2549 ถึง 9 พฤษภาคม 2554
  • 3. ร่ างรัฐธรรมนูญว่ าด้ วยนิรโทษกรรมฉบับนี ไม่ เกียวข้ องกับบุคคลใด ? 3 • ผูดารงตําแหน่งทางการเมืองทีถูกแย่งชิงอํานาจรัฐและได้รับผลกระทบจากการ ้ํ แย่งชิงอํานาจรัฐ 19 กันยายน 2549 ่ • กรณี นี ปรากฏอยูในข้อเสนอของคณะนิ ติราษฎร์ เรื องการลบล้างผลพวง รัฐประหาร 19 กันยายน 2549
  • 4. ทําไมข้ อเสนอคณะนิตราษฎร์ ิ เรืองนิรโทษกรรมจึงต้ องทําในรู ปรั ฐธรรมนูญ? 4 1. นิรโทษกรรมครังนีมีความสลับซับซ้อนมากกว่าครังอืนๆ เพราะมีการชุมนุม ทางการเมืองหลายครัง ปล่อยเวลาทอดนานตังแต่ 19 กันยายน 2549 มีการดําเนิ นคดีไป แล้วหลายกรณี การนิรโทษกรรมโดยอาศัยรู ปของพระราชบัญญัติหรื อพระราชกําหนด อาจถูกเหนียวรังขัดขวางโดยกระบวนการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญได้
  • 5. ทําไมข้ อเสนอคณะนิตราษฎร์ ิ เรืองนิรโทษกรรมจึงต้ องทําในรู ปรั ฐธรรมนูญ? 5 2. ประชาชนจํานวน 50,000 คนขึนไปสามารถใช้สิทธิเข้าชือ เสนอร่ างรัฐธรรมนูญ ฯ ในขณะทีถ้าทําเป็ น พ.ร.บ. การเข้าชือเสนอ กฎหมาย แม้จะใช้จานวนแค่ 10,000 คน แต่ประธานรัฐสภามีอานาจ ํ ํ วินิจฉัยได้วาร่ าง พ.ร.บ. นันไม่เข้าหมวดสาม และหมวดห้า ของ ่ รัฐธรรมนูญ 2550 ทําให้ร่าง พ.ร.บ. ตกไป
  • 6. ทําไมข้ อเสนอคณะนิตราษฎร์ ิ เรืองนิรโทษกรรมจึงต้ องทําในรู ปรั ฐธรรมนูญ? 6 3. การร่ างรัฐธรรมนูญสามารถทําได้รวดเร็ วกว่าการ ตราพระราชบัญญัติ เพราะพิจารณาโดยการประชุม ร่ วมกันของทังสองสภา
  • 7. ทําไมข้ อเสนอคณะนิตราษฎร์ ิ เรืองนิรโทษกรรมจึงต้ องทําในรู ปรั ฐธรรมนูญ? 7 4. คณะกรรมการขจัดความขัดแย้ง เป็ นองค์กรตามรัฐธรรมนูญ ใช้อานาจ ํ ในระดับรัฐธรรมนูญ
  • 8. ทําไมข้ อเสนอคณะนิตราษฎร์ ิ เรืองนิรโทษกรรมจึงต้ องทําในรู ปรั ฐธรรมนูญ? 8 5. ร่ างรัฐธรรมนูญ ฯ นีกําหนดให้เจ้าหน้าทีของรัฐผูกระทําความผิดใน ้ เหตุการณ์การชุมนุมและการสลายการชุมนุม ยังคงมีความผิดต่อไป ไม่ได้รับการนิรโทษกรรม ดังนันการนิรโทษกรรม เจ้าหน้าทีของรัฐไม่ สามารถกระทําได้ในรู ปของ พ.ร.บ. หรื อ พ.ร.ก. เพราะจะขัดหรื อแย้ง กับรัฐธรรมนูญ
  • 9. ทําไมไม่ ให้ ศาลยุตธรรมวินิจฉัย? ิ 9 ศาลพิจารณาตามองค์ประกอบทางกฎหมาย โดยไม่คานึ งถึงมูลเหตุจูงใจ ํ ทางการเมืองทีมาจากความขัดแย้งทางการเมือง ดังนันภายใต้โครงสร้างปกติตาม รัฐธรรมนูญจึงไม่สามารถแก้ความขัดแย้งทางการเมืองได้ เพราะความผิดทีเกิดขึน มีความสัมพันธ์โดยตรงกับความขัดแย้งทางการเมือง ดังนันจึงต้องจัดตังคณะกรรมการขจัดความขัดแย้ง และให้มีฐานะเป็ น องค์กรทางรัฐธรรมนูญ เพือให้วินิจฉัยกรณี การกระทําความผิดอันผูกระทําได้ ้ กระทําไปโดยมีมูลเหตุจูงใจทางการเมือง
  • 10. ไม่ นิรโทษกรรมแก่ เจ้ าหน้ าที ผู้ปฏิบตการในระดับใดทังสิน ั ิ 10 เพือเป็ นการวางมาตรฐานว่าต่อไปว่าเจ้าหน้าทีต้อง ปฏิเสธการปฏิบติการตามคําสังทีไม่ชอบด้วยกฎหมายอย่างชัด ั แจ้ง ในกรณี ทีเจ้าหน้าทีปฏิบติการตามกรอบของกฎหมาย ย่อม ั ่ พ้นผิดอยูแล้วตาม พ.ร.ก. การบริ หารราชการในสถานการณ์ ฉุกเฉิ น พ.ศ. 2548 มาตรา 17
  • 11. ไม่ นิรโทษกรรมแก่ เจ้ าหน้ าที ผู้ปฏิบตการในระดับใดทังสิน ั ิ 11 มาตรา 17 พนักงานเจ้าหน้าทีและผูมีอานาจหน้าทีเช่นเดียวกับพนักงาน ้ ํ เจ้าหน้าทีตามพระราชกําหนดนี ไม่ตองรับผิดทังทางแพ่ง ทางอาญา หรื อทางวินย ้ ั เนืองจากการปฏิบติหน้าทีในการระงับหรื อป้ องกันการกระทําผิดกฎหมาย หาก ั เป็ นการกระทําทีสุ จริ ต ไม่เลือกปฏิบติ และไม่เกินสมควรแก่เหตุหรื อไม่เกินกว่า ั กรณี จาเป็ น แต่ไม่ตดสิ ทธิ ผได้รับความเสี ยหายทีจะเรี ยกร้องค่าเสี ยหายจากทาง ํ ั ู้ ราชการตามกฎหมายว่าด้วย ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที
  • 12. ระยะเวลา 12 หลังจาก 19 กันยายน 2549 (หลังจากวันรัฐประหารโดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิ ปไตย อันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข) ์ ถึง 9 พฤษภาคม 2554 (นายอภิสิทธิ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี ประกาศยุบสภาผูแทนราษฎร) ้
  • 13. พ้นจากความผิดและ ความรับผิดโดยสิ นเชิง 13 มาตรา 291/1 มาตรา 291/2 ผูกระทําความผิดตาม พ.ร.ก. ้ ผูเ้ ข้าร่ วมชุมนุมทางการเมืองในเขตพืนที ตาม ฉุกเฉิ น ฯ 2548 หรื อ ประกาศ ตาม พ.ร.ก. ฉุ กเฉิ น ฯ 2548 หรื อ พ.ร.บ. ความมันคง ฯ 2551 พ.ร.บ. ความมันคง ฯ 2551 และกระทําความผิด ซึ งใช้เนืองจากการชุมนุมทาง •ในความผิดลหุ โทษ ตามประมวลกฎหมาย การเมือง หลังรัฐประหาร 19 อาญา หรื อ กันยายน 2549 •ในความผิดทีมีโทษปรับเพียงสถานเดียว หรื อ •ในความผิดทีมีโทษจําคุกไม่เกิน 2 ปี ตาม กฎหมายอืน
  • 14. ระงับกระบวนพิจารณาคดี ชัวคราว / ปล่อยตัวทันที คณะกรรมการขจัดความขัดแย้ ง 14 วินิจฉัย มาตรา 291/3 • ผูไม่ได้เข้าร่ วมชุมนุม แต่ได้กระทําความผิด ้ ผูชุมนุมทีกระทําความผิดซึ งไม่เข้า ้ หลังจาก 19 กันยายน 2549 ถึง 9 ตามมาตรา 291/1 และ 291/2 แต่ พฤษภาคม 2554 การกระทําความผิดนันมีมูลเหตุจูง • การกระทํานันมีมูลเหตุเกียวข้องหรื อ ใจทางการเมืองเกียวข้องกับการ เกียวเนืองกับความขัดแย้งทางการเมือง รัฐประหาร 19 กันยายน 2549 ภายหลังรัฐประหาร 19 กันยา 49 ไม่วาการ ่ กระทํานันจะเป็ นทางกายภาพหรื อแสดงความ คิดเห็น • กระทําความผิดไปโดยมีมูลเหตุจูงใจทาง การเมือง
  • 15. ระงับกระบวนพิจารณาคดี พ้นจากความผิดและ ชัวคราว / ปล่อยตัวทันที ความรับผิดโดยสิ นเชิง คณะกรรมการขจัดความขัดแย้ ง วินิจฉัย 15 มาตรา 291/1 มาตรา 291/2 มาตรา 291/3 ผูกระทําความผิดตาม ้ ผูเ้ ข้าร่ วมชุมนุ มทางการเมืองในเขตพืนที ผูชุมนุมทีกระทําความผิด ้ • ผูไม่ได้เข้าร่ วมชุมนุ ม แต่ได้กระทํา ้ พ.ร.ก. ฉุ กเฉิ น ฯ 2548 ตามประกาศ ตาม พ.ร.ก. ฉุ กเฉิ น ฯ ซึ งไม่เข้าตามมาตรา 291/1 ความผิด หลัง จาก 19 กันยายน หรื อ พ.ร.บ. ความมันคง ฯ 2548 หรื อ พ.ร.บ. ความมันคง ฯ 2551 และ 291/2 แต่การกระทํา 2549 ถึง 9 พฤษภาคม 2554 2551 ซึ งใช้เนืองจากการ และกระทําความผิด ความผิดนันมีมูลเหตุจูงใจ • การกระทํานันมีมูลเหตุเกียวข้อง ชุมนุมทางการเมือง หลัง •ในความผิดลหุ โทษ ตามประมวล ทางการเมืองเกียวข้องกับ หรื อเกียวเนืองกับความขัดแย้งทาง รัฐประหาร 19 กันยายน กฎหมายอาญา หรื อ การรัฐประหาร 19 การเมืองภายหลังรัฐประหาร 19 กันยา 2549 •ในความผิดทีมีโทษปรับเพียงสถาน กันยายน 2549 ่ 49 ไม่วาการกระทํานันจะเป็ นทาง เดียว หรื อ กายภาพหรื อแสดงความคิดเห็น •ในความผิดทีมีโทษจําคุกไม่เกิน 2 ปี • กระทําความผิดไปโดยมีมูลเหตุจูง ตามกฎหมายอืน ใจทางการเมือง ทังหมดต้องไม่ขดกับพันธกรณี ตามกฎหมายระหว่างประเทศ ั
  • 16. คณะกรรมการขจัดความขัดแย้ ง 16 1. บุคคลทีได้รับเลือกจากคณะรัฐมนตรี 1 คน 2. สมาชิกสภาผูแทนราษฎร 2 คน ้ (จากพรรคการเมืองทีมีผดารงตําแหน่งใน ครม. 1 คน และไม่มีตาแหน่งใน ครม. 1 คน) ู้ ํ ํ 3.ผูพิพากษาหรื ออดีตผูพิพากษาในศาลยุติธรรม 1 คน ้ ้ เลือกโดยรัฐสภา 4. พนักงานอัยการหรื ออดีตพนักงานอัยการ 1 คน เลือกโดยรัฐสภา
  • 17. คณะกรรมการขจัดความขัดแย้ ง 17 คําวินิจฉัยของคณะกรรมการขจัดความขัดแย้ง ให้มีผลผูกพันองค์กรของรัฐทุกองค์กร และไม่อาจเป็ นวัตถุในการพิจารณาของ องค์กรตุลาการหรื อองค์กรอืนใด
  • 18. ผู้ทรงอํานาจตีความ 18 • รัฐสภาเป็ นผูทรงไว้ซึงสิ ทธิ เด็ดขาดในการตีความบทบัญญัติของ ้ รัฐธรรมนูญหมวดว่าด้วยนิรโทษกรรมและการขจัดความขัดแย้ง • การตีความของรัฐสภาให้มีผลผูกพันองค์กรของรัฐทุกองค์กร • การตีความตลอดจนผลของการตีความของรัฐสภา ไม่อาจเป็ นวัตถุในการ พิจารณาขององค์กรตุลาการหรื อองค์กรอืนใด