SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
คู่มือการใช้งานชุดถังหมักก๊าซชีวภาพ
โครงการศึกษาประเมินปริมาณการลดก๊าซเรือนกระจก
จากของเสียชุมชนในพื้นที่นาร่องด้วยมาตรการนากลับมา
ใช้ประโยชน์ใหม่และเทคโนโลยีพลังงาน
เสนอ
ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
จัดทาโดย
ศูนย์บริการเทคโนโลยีสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
1
ก๊าซชีวภาพ
ก๊าซชีวภาพ หรือ ไบโอก๊าซ คือ ก๊าซที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติจากการหมักย่อยสลายของ
สารอินทรีย์ภายใต้สภาวะที่ปราศจากออกซิเจน โดยทั่วไปองค์ประกอบส่วนใหญ่ของก๊าซชีวภาพ
จะเป็นแก๊สมีเทน(CH4) ประมาณ 50-70% โดยกระบวนการนี้สามารถเกิดขึ้นได้ในหลุมขยะ กอง
มูลสัตว์ และก้นบ่อแหล่งน้านิ่ง กล่าวคือเมื่อไหร่ก็ตามที่มีสารอินทรีย์หมักหมมกันเป็นเวลานานก็
อาจเกิดก๊าซ ชีวภาพ ได้ และของเสียจากชุมชนนี้เอง นับเป็นแหล่งกาเนิดและปล่อยก๊าซมีเทนที่เป็น
สาเหตุ ทาให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หรือรู้จักกัน
ดีคือ ‘‘ภาวะโลกร้อน’’ ดังนั้นขยะอินทรีย์ของเสียที่เกิดขึ้นจากแหล่งชุมชน เราควรจะนาไปใช้ให้
เกิดประโยชน์มากที่สุด เพื่อลดปริมาณมลพิษออกสู่สิ่งแวดล้อม
ขยะอินทรีย์ คือ ขยะที่สามารถย่อยสลายได้เช่น เศษอาหาร เศษผัก เปลือกผลไม้ เป็นต้น
การหมักก๊าซชีวภาพ เป็นกระบวนการย่อยสลายสารอินทรีย์ในสภาวะปราศจากออกซิเจน
โดยมีจุลินทรีย์ กลุ่มสร้างมีเทน และจุลินทรีย์กลุ่มสร้างกรด มาช่วยย่อยในสภาวะไร้อากาศ และ
ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดก๊าซ หลักๆ มีอยู่ 2 อย่าง คือ ค่าความเป็นกรดด่าง และอุณหภูมิโดยค่าความ
เป็นกรดด่างที่เหมาะสมสาหรับจุลินทรีย์กลุ่มสร้างกรด จะอยู่ในช่วง 6.2-6.8 ส่วนจุลินทรีย์กลุ่ม
สร้างก๊าซมีเทนค่าความเป็นกรดด่างที่เหมาะสมจะอยู่ในช่วง 6.7-7.1 และช่วงอุณหภูมิที่เหมาะสม
ในการทางานของจุลินทรีย์ทั้ง 2 นั้นอยู่ในช่วง 30-40 องศาเซลเซียส
ประเภทของขยะอินทรีย์ที่นามาใช้หมัก
- เศษอาหาร
- เศษผัก
ในการจะนาเศษอาหารลงหมักควรที่จะเลือกเอาเฉพาะที่สามารถย่อยสลายได้ง่ายไม่ควรที่
จะเอาเศษอาหารที่แข็งย่อยสลายได้ยากเติมลงไป เช่น กระดูก เปลือกไข่ ก้างปลา เป็นต้น
2
ขั้นตอนในการหมักก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์
รูปที่ 1 แสดงระบบถังหมักก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์
การทางานของอุปกรณ์แต่ละอย่างในการผลิตก๊าซชีวภาพ
หมายเลข 1 ถังผลิตกรด : เปลี่ยนสารอินทรีย์ให้กลายเป็นกรดอินทรีย์ต่างๆโดยจุลินทรีย์ผลิตกรด
หมายเลข 2 ถังผลิตก๊าซ : เปลี่ยนสารพวกกรดอินทรีย์ให้เป็นก๊าซมีเทนโดย methanogens
หมายเลข 3 ชุดถังเก็บก๊าซ : เก็บก๊าซที่ผลิตได้จากถังผลิตก๊าซเพื่อรอจ่ายให้กับหัวจุดก๊าซ
หมายเลข 4 หัวจุดแก๊ส : เพื่อจุดไฟใช้
หมายเลข 5 ปั๊ม :ทาหน้าที่สูบน้าหมักภายในถังเพื่อทาให้เกิดการผสมกันของน้าหมัก
หมายเลข 6 สายวัดระดับน้า : เพื่อวัดระดับน้าหมักภายในถัง
หมายเลข 7 ระบบท่อลาเลียง : เพื่อวนน้าจากถังหมักก๊าซ
หมายเลข 8 สายลาเลียงก๊าซ : สายยางลาเลียงก๊าซเข้าถังเก็บ
V สัญลักษณ์วาวล์ : เปิด-ปิด น้าหมักหรือก๊าซ
3
ขั้นตอนในการหมักก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์ในการหมักจะแบ่งเป็น 2 ช่วง ดังนี้
ช่วงที่ 1 การเริ่มเดินระบบ
ขั้นตอนที่ 1 ตรวจสอบความพร้อมของอุปกรณ์ต่าง ๆ ของระบบ เช่น ถังหมัก ถังเก็บ
ก๊าซ ปั๊ม ระบบท่อ ข้อต่อต่าง ๆ วาวล์น้า และสายส่งก๊าซ ว่ามีรอยแตกร้าว รั่วซึม หรือชารุดหรือไม่
ซึ่งอุปกรณ์ทุกอย่างควรอยู่ในสภาพเรียบร้อย และพร้อมใช้งาน
ขั้นตอนที่ 2 เติมขี้วัว 27-28 กิโลกรัม (รูปที่ 2) และขยะอินทรีย์ 8-10 กิโลกรัมลงในถัง
ผลิตก๊าซ (หมายเลข 2) จากนั้นเติมน้าจนได้ปริมาตร 200 ลิตร แล้วปิดฝาถังทิ้งไว้ให้เกิดการหมัก
เป็นเวลาประมาณ 3 วัน
รูปที่ 2 แสดงการชั่งมูลวัวเพื่อเติมลงในถังผลิตก๊าซ
ขั้นตอนที่ 3 หลังจากดาเนินการครบ 3 วัน แล้วจึงเริ่มเติมมูลวัว 12-14 กิโลกรัมลงในถัง
ผลิตกรด (หมายเลข 1) ดังแสดงในรูปที่ 3 และขยะอินทรีย์ 14-20 กิโลกรัม จากนั้นเติมน้าจนได้
ปริมาตร 100 ลิตร ปิดฝาถังแล้วทิ้งไว้จนเกิดการผลิตกรด ซึ่งใช้เวลาประมาณ 1 วัน
รูปที่ 3 แสดงการชั่งมูลวัวเพื่อเติมลงในถังผลิตกรด
4
หลังจากดาเนินการตามขั้นตอนที่ 3 และทิ้งไว้จนเกิดการผลิตกรด ซึ่งใช้เวลา
ประมาณ 1 วัน จากนั้นจะเริ่มเดินระบบในช่วงที่ 2 คือการเติมขยะอินทรีย์ในแต่ละวัน
ช่วงที่ 2 การเติมเศษอาหารในแต่ละวัน
ขั้นตอนที่ 1 การจัดเตรียมขยะอินทรียโดยการคัดแยกสิ่งแปลกปลอมที่ไม่สามารถย่อย
สลายได้ หรือย่อยสลายได้ยาก เช่นไม้เสียบลูกชิ้น เศษพลาสติก กระดูกชิ้นใหญ่ เปลือกหอย เชือก
ฟาง เป็นต้น
รูปที่ 4 แสดงการคัดแยกสิ่งแปลกปลอมออกจากเศษอาหาร
ส่วนเศษผักเมื่อแยกสิ่งปลอมปนออกไปแล้วจะทาการสับให้มีขนาดเล็กลงเพื่อให้ง่ายต่อ
การย่อยสลาย ก่อนนาไปเติมลงในถังผลิตกรด ดังรูปที่ 5
รูปที่ 5 แสดงการเตรียมเศษผักโดยการสับเพื่อให้มีขนาดเล็กลง
5
จากนั้นทาการชั่งขยะที่เตรียมแล้วมา 1.5 กิโลกรัม ผสมกับน้า (1.5 กิโลกรัม) ใน
อัตราส่วน 1:1 เพื่อปรับอัตราส่วนปริมาณของแข็งให้ได้ประมาณ 10 % หรือให้เนื้อขยะกับน้ามี
สัดส่วนเท่า ๆ กันดังรูปที่ 6 และ 7
รูปที่ 6 แสดงการชั่งเศษอาหารที่ผสมกับน้าก่อนเติมลงในถังผลิตกรด
รูปที่ 7 แสดงการชั่งเศษผักที่ผสมกับน้าก่อนเติมลงในถังผลิตกรด
ขั้นตอนที่ 2 เติมขยะอินทรีย์ในถังผลิตกรด หลังจากระบบมีการหมักเพื่อผลิตกรดในถัง
ผลิตกรดแล้ว เริ่มเติมขยะอินทรีย์ที่ผ่านการคัดแยกและเตรียมแล้วเข้าไปในถังผลิตกรด(หมายเลข 1)
ดังรูปที่ 8
6
รูปที่ 8 แสดงการเติมเศษอาหารลงในถังผลิตกรด
จากนั้นทาการกวนผสมเศษอาหารภายในถังผลิตกรดเพื่อให้เศษอาหารที่เติมลงไปใหม่
ผสมกันกับเศษอาหารเดิม โดยการใช้ไม้กวนดังรูปที่ 9
รูปที่ 9 แสดงการกวนผสมเศษอาหารให้เข้ากันภายในถังผลิตกรด
ขั้นตอนที่ 3 ปล่อยน้าหมักขยะอินทรีย์จากถังผลิตกรดไปยังถังผลิตก๊าซ หลังจากกวน
ผสมเศษอาหารในถังผลิตกรดให้เข้ากันแล้ว ก็ระบายน้าหมักจากถังผลิตกรด (หมายเลข 1) ไปยังถัง
ผลิตก๊าซ (หมายเลข 2) โดยการเปิดวาวล์หมายเลข 2 (V2) (รูปที่10) ซึ่งน้าหมักจะไหลไปในทิศทาง
ที่แสดงดังรูปที่ 11
7
รูปที่ 10 แสดงตาแหน่งและลักษณะการเปิดของวาวล์ที่ 2 (V2)
รูปที่ 11 แสดงตาแหน่งของอุปกรณ์ต่าง ๆ และทิศทางการไหล
ของน้าหมักจากถังผลิตกรดไปยังถังผลิตก๊าซ
ขั้นตอนที่ 4 การหมุนเวียนคลุกเคล้าตะกอนในถังผลิตก๊าซ (โดยใช้อุปกรณ์สูบขยะอินทรีย์)
ปล่อยให้เครื่องปั๊ม (หมายเลข 5) สูบทางานประมาณ 10 นาที เพื่อให้ขยะอินทรีย์มีโอกาสสัมผัสกับ
จุลินทรีย์มากขึ้น ดังรูปที่ 12 โดยการสูบนั้นต้องเปิดวาวล์หมายเลข 3 (V3) และ 4 (V4) และต้องปิด
วาวล์หมายเลข 8,2,10 (V8) แล้วจึงถอดปลั๊กเครื่องสูบเพื่อดาเนินการในขั้นตอนต่อไป
8
รูปที่ 12 แสดงการสูบเวียนน้าหมักเพื่อทาการผสมน้าหมักภายในถังหมักก๊าซ
ขั้นตอนที่ 5 การระบายน้าหมักออกจากถังผลิตก๊าซ เมื่อระบายน้าหมักจากถังผลิตกรดเข้าสู่
ถังผลิตก๊าซจากข้อ 2.1.3 แล้ว ก็ทาการปล่อยน้าหมักออกจากถังผลิตก๊าซเพื่อรักษาระดับน้าภายใน
ถังผลิตก๊าซให้เท่าเดิม ซึ่งน้าหมักที่ปล่อยออกนี้สามารถนาไปใช้เป็นปุ๋ ยน้าชีวภาพได้ โดยการ
ระบายน้าหมักออกนี้ต้องทาการเปิดวาวล์ที่ 9 (V9) ดังรูปที่ 13
รูปที่ 13 แสดงการปล่อยน้าหมักออกจากถังผลิตก๊าซและลักษณะของน้าหมักที่ถูกปล่อยออกมา
ขั้นตอนที่ 6 การระบายตะกอนออกจากถังหมักกรดลงกระบะตากตะกอน เปิดวาล์ว
หมายเลข 1 (V1) ที่ท่อระบายตะกอนด้านล่างของถังผลิตกรดดังรูปที่ 14 เพื่อระบายตะกอนออก
ประมาณ 20 ลิตร ลงกะบะตากตะกอน เมื่อตะกอนมีปริมาณเกินระดับ 70 เปอร์เซ็นต์ของปริมาตร
ทางาน (จะมีระดับความสูงที่กาหนดไว้อยู่ด้านข้างถังหมัก) ซึ่งประมาณ 1 เดือนจะมีการระบาย
ตะกอนหนึ่งครั้ง
9
รูปที่ 14 แสดงตาแหน่งของวาวล์เพื่อใช้ในการระบายตะกอนของถังผลิตกรด
การนาก๊าซชีวภาพไปใช้งาน
ก่อนอื่นต้องสังเกต ดูว่าถังเก็บก๊าซ(ถังหมายเลข 3 ) ที่คว่าอยู่ลอยขึ้นมารึยัง ปกติหลังจาก
ทาการหมักไป 1 สัปดาห์ จึงจะเริ่มผลิตก๊าซในช่วงแรกที่ถังลอยขึ้นให้ปล่อยทิ้งก่อน แล้วปิดวาล์ว
ไว้เหมือนเดิมเมื่อถังลอยขึ้นมาใหม่ จึงจะสามารถนาไปใช้ได้ในการต่อก๊าซชีวภาพไปใช้งานกับหัว
จุดแก๊ส ก่อนอื่นต้องทาการปรับแต่งหัวแก๊สให้เหมาะสมกับการใช้งาน โดยการเจาะรูหัวทองเหลือง
หรือ นมหนู ที่อยู่ในหัวปรับแก๊ส ให้มีขนาดโตขึ้นประมาณ 4- 5 มม. เนื่องจากในถังเก็บก๊าซที่ลอย
ขึ้นไม่มีแรงดันมากพอ ดังนั้นเราจึงต้องทาให้ก๊าซไหลออกมาได้สะดวก จากนั้นก็ประกอบเข้าที่
เดิมและปิดรูรั่วที่จะทาให้ก๊าซไหลออกไปที่อื่น เพื่อที่จะให้ก๊าซไหลออกที่หัวเตาเท่านั้น เสร็จแล้ว
ลองเปิดก๊าซแต่ยังไม่ต้องจุดไฟเพื่อเช็คดูว่า ก๊าซที่ต่อเข้ามาออกที่หัวแก๊สหรือไม่ เมื่อตรวจดูแล้วว่า
ออกที่หัวเตาแก๊สค่อยจุดไฟ ในชุดถังเก็บก๊าซที่ลอยขึ้นจนสุดถัง คือมีปริมาณก๊าซเต็มถังเก็บ จะ
สามารถจุดไฟได้ประมาณ10 นาที
รูปที่ 15 การตรวจเช็คก๊าซ โดยการดมกลิ่น
ก่อนที่จะจุดไฟ
10
ข้อควรปฏิบัติ
1. ควรวางชุดถังหมักไว้ในที่มีอากาศถ่ายเทได้สะดวก และห่างจากที่อุณหภูมิสูง
2. ควรหาพื้นที่วางชุดถังหมักไว้ในที่แยกต่างหาก และพ้นจากเด็ก
3. ควรตรวจดูรอยรั่วรอบๆถังหมักก๊าซ เนื่องจากในถังหมักมีแรงดันเพิ่มขึ้นจากการหมัก
4. ควรตรวจดูระดับน้าในชุดถังเก็บก๊าซ และควรที่จะหาทรายอะเบทมาใส่เพื่อป้ องกันไม่ให้
เป็นแหล่งเพราะพันธ์ยุง
5. น้าหมัก หรือ ตะกอนที่ปล่อยออกจากถังไม่ควรนาไปทิ้งสามารถนาไปผสมกับน้ารถผัก
หรือต้นไม้ได้

More Related Content

What's hot

สารละลายกรด เบส ครูเจริญ
สารละลายกรด เบส ครูเจริญสารละลายกรด เบส ครูเจริญ
สารละลายกรด เบส ครูเจริญกุ้ง ณัฐรดา
 
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์Aun Chun Cha Ree
 
โครงงานปันน้ำใจ ห่วงใยโรงเรียน
โครงงานปันน้ำใจ  ห่วงใยโรงเรียนโครงงานปันน้ำใจ  ห่วงใยโรงเรียน
โครงงานปันน้ำใจ ห่วงใยโรงเรียนพัน พัน
 
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลายความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลายFaris Singhasena
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2557
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2557บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2557
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2557Pinutchaya Nakchumroon
 
หินอัคนี.pdf
หินอัคนี.pdfหินอัคนี.pdf
หินอัคนี.pdfKru Bio Hazad
 
ยานี ๑๑ แม่ก กา
ยานี ๑๑ แม่ก กายานี ๑๑ แม่ก กา
ยานี ๑๑ แม่ก กาCHANIN111
 
มัลติเปิล อัลลีล (Multiple allele)
มัลติเปิล อัลลีล (Multiple allele)มัลติเปิล อัลลีล (Multiple allele)
มัลติเปิล อัลลีล (Multiple allele)Waridchaya Charoensombut
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2Sukanya Nak-on
 
กาพย์เห่เรือ ชมไม้
กาพย์เห่เรือ ชมไม้กาพย์เห่เรือ ชมไม้
กาพย์เห่เรือ ชมไม้Smile Petsuk
 
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์ โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์ พัน พัน
 
ประเทศไทยกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น
ประเทศไทยกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นประเทศไทยกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น
ประเทศไทยกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นTaraya Srivilas
 
Biochemical Oxygen Demand Test
 Biochemical  Oxygen  Demand  Test  Biochemical  Oxygen  Demand  Test
Biochemical Oxygen Demand Test BELL N JOYE
 
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์Jariya Jaiyot
 
6 solution (2)
6 solution (2)6 solution (2)
6 solution (2)Saisard
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันEyezz Alazy
 

What's hot (20)

สารละลายกรด เบส ครูเจริญ
สารละลายกรด เบส ครูเจริญสารละลายกรด เบส ครูเจริญ
สารละลายกรด เบส ครูเจริญ
 
หลวงประดิษฐ์ไพเราะ
หลวงประดิษฐ์ไพเราะหลวงประดิษฐ์ไพเราะ
หลวงประดิษฐ์ไพเราะ
 
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
 
โครงงานปันน้ำใจ ห่วงใยโรงเรียน
โครงงานปันน้ำใจ  ห่วงใยโรงเรียนโครงงานปันน้ำใจ  ห่วงใยโรงเรียน
โครงงานปันน้ำใจ ห่วงใยโรงเรียน
 
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลายความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2557
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2557บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2557
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2557
 
หินอัคนี.pdf
หินอัคนี.pdfหินอัคนี.pdf
หินอัคนี.pdf
 
ยานี ๑๑ แม่ก กา
ยานี ๑๑ แม่ก กายานี ๑๑ แม่ก กา
ยานี ๑๑ แม่ก กา
 
ชุดการสอนที่ 4 ตับอ่อน (อาบ)
ชุดการสอนที่ 4 ตับอ่อน (อาบ)ชุดการสอนที่ 4 ตับอ่อน (อาบ)
ชุดการสอนที่ 4 ตับอ่อน (อาบ)
 
มัลติเปิล อัลลีล (Multiple allele)
มัลติเปิล อัลลีล (Multiple allele)มัลติเปิล อัลลีล (Multiple allele)
มัลติเปิล อัลลีล (Multiple allele)
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
กาพย์เห่เรือ ชมไม้
กาพย์เห่เรือ ชมไม้กาพย์เห่เรือ ชมไม้
กาพย์เห่เรือ ชมไม้
 
C3
C3C3
C3
 
ข้อตกลงของห้องเรียน
ข้อตกลงของห้องเรียนข้อตกลงของห้องเรียน
ข้อตกลงของห้องเรียน
 
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์ โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
 
ประเทศไทยกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น
ประเทศไทยกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นประเทศไทยกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น
ประเทศไทยกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น
 
Biochemical Oxygen Demand Test
 Biochemical  Oxygen  Demand  Test  Biochemical  Oxygen  Demand  Test
Biochemical Oxygen Demand Test
 
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
 
6 solution (2)
6 solution (2)6 solution (2)
6 solution (2)
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
 

Viewers also liked

Definitions of unit 2
Definitions of unit 2Definitions of unit 2
Definitions of unit 2quintomat
 
Бизнес-завтрак: эффективные инструменты в ретейле
Бизнес-завтрак: эффективные инструменты в ретейлеБизнес-завтрак: эффективные инструменты в ретейле
Бизнес-завтрак: эффективные инструменты в ретейлеЕвгений Золотухин
 
Discriminating shapes: On violins and the latent morphology of grape leaves
Discriminating shapes: On violins and the latent morphology of grape leavesDiscriminating shapes: On violins and the latent morphology of grape leaves
Discriminating shapes: On violins and the latent morphology of grape leavesDanChitwood
 
Anna prezent.
Anna prezent.Anna prezent.
Anna prezent.megikatq
 
Presentation kalinka
Presentation kalinkaPresentation kalinka
Presentation kalinkamegikatq
 
Catedral de santiago_Touro2015
Catedral de santiago_Touro2015Catedral de santiago_Touro2015
Catedral de santiago_Touro2015danieyago
 
Public Safety Hiring Tutorial
Public Safety Hiring TutorialPublic Safety Hiring Tutorial
Public Safety Hiring Tutorialcwhms
 
Ed401 group presentation
Ed401 group presentationEd401 group presentation
Ed401 group presentationuakeia
 
Verbos y cuantificadores, rodriguez avila
Verbos y cuantificadores, rodriguez avilaVerbos y cuantificadores, rodriguez avila
Verbos y cuantificadores, rodriguez avilaJussely Rodríguez
 
台北國際禮品暨文具展 攤位圈選會議簡報
台北國際禮品暨文具展 攤位圈選會議簡報台北國際禮品暨文具展 攤位圈選會議簡報
台北國際禮品暨文具展 攤位圈選會議簡報Jason334
 
презентац форми страхува
презентац форми страхувапрезентац форми страхува
презентац форми страхуваRudInna
 
Портфолио воспитателя
Портфолио воспитателяПортфолио воспитателя
Портфолио воспитателяvasko253
 
2013 Green Rep Sustainability Report
2013 Green Rep Sustainability Report2013 Green Rep Sustainability Report
2013 Green Rep Sustainability ReportErin Zseller
 
Crea presentación de microsoft office power point 97 2003 (2)
Crea presentación de microsoft office power point 97 2003 (2)Crea presentación de microsoft office power point 97 2003 (2)
Crea presentación de microsoft office power point 97 2003 (2)pgkikasv
 
Vocabulario agronomico rodriguez avila, rivera giron
Vocabulario agronomico  rodriguez avila, rivera gironVocabulario agronomico  rodriguez avila, rivera giron
Vocabulario agronomico rodriguez avila, rivera gironJussely Rodríguez
 
портфоліо Квятковська Оксана Павлівна
портфоліо Квятковська Оксана Павлівнапортфоліо Квятковська Оксана Павлівна
портфоліо Квятковська Оксана Павлівнаkviatkovska
 
Permanenthiring
PermanenthiringPermanenthiring
PermanenthiringNeuhiring
 
Verbos y cuantificadores, rodriguez avila
Verbos y cuantificadores, rodriguez avilaVerbos y cuantificadores, rodriguez avila
Verbos y cuantificadores, rodriguez avilaJussely Rodríguez
 

Viewers also liked (20)

Definitions of unit 2
Definitions of unit 2Definitions of unit 2
Definitions of unit 2
 
Бизнес-завтрак: эффективные инструменты в ретейле
Бизнес-завтрак: эффективные инструменты в ретейлеБизнес-завтрак: эффективные инструменты в ретейле
Бизнес-завтрак: эффективные инструменты в ретейле
 
Discriminating shapes: On violins and the latent morphology of grape leaves
Discriminating shapes: On violins and the latent morphology of grape leavesDiscriminating shapes: On violins and the latent morphology of grape leaves
Discriminating shapes: On violins and the latent morphology of grape leaves
 
Anna prezent.
Anna prezent.Anna prezent.
Anna prezent.
 
Presentation kalinka
Presentation kalinkaPresentation kalinka
Presentation kalinka
 
Catedral de santiago_Touro2015
Catedral de santiago_Touro2015Catedral de santiago_Touro2015
Catedral de santiago_Touro2015
 
Public Safety Hiring Tutorial
Public Safety Hiring TutorialPublic Safety Hiring Tutorial
Public Safety Hiring Tutorial
 
Ed401 group presentation
Ed401 group presentationEd401 group presentation
Ed401 group presentation
 
Mypreson 27
Mypreson 27Mypreson 27
Mypreson 27
 
Verbos y cuantificadores, rodriguez avila
Verbos y cuantificadores, rodriguez avilaVerbos y cuantificadores, rodriguez avila
Verbos y cuantificadores, rodriguez avila
 
CURRICULUM VITAE
CURRICULUM VITAECURRICULUM VITAE
CURRICULUM VITAE
 
台北國際禮品暨文具展 攤位圈選會議簡報
台北國際禮品暨文具展 攤位圈選會議簡報台北國際禮品暨文具展 攤位圈選會議簡報
台北國際禮品暨文具展 攤位圈選會議簡報
 
презентац форми страхува
презентац форми страхувапрезентац форми страхува
презентац форми страхува
 
Портфолио воспитателя
Портфолио воспитателяПортфолио воспитателя
Портфолио воспитателя
 
2013 Green Rep Sustainability Report
2013 Green Rep Sustainability Report2013 Green Rep Sustainability Report
2013 Green Rep Sustainability Report
 
Crea presentación de microsoft office power point 97 2003 (2)
Crea presentación de microsoft office power point 97 2003 (2)Crea presentación de microsoft office power point 97 2003 (2)
Crea presentación de microsoft office power point 97 2003 (2)
 
Vocabulario agronomico rodriguez avila, rivera giron
Vocabulario agronomico  rodriguez avila, rivera gironVocabulario agronomico  rodriguez avila, rivera giron
Vocabulario agronomico rodriguez avila, rivera giron
 
портфоліо Квятковська Оксана Павлівна
портфоліо Квятковська Оксана Павлівнапортфоліо Квятковська Оксана Павлівна
портфоліо Квятковська Оксана Павлівна
 
Permanenthiring
PermanenthiringPermanenthiring
Permanenthiring
 
Verbos y cuantificadores, rodriguez avila
Verbos y cuantificadores, rodriguez avilaVerbos y cuantificadores, rodriguez avila
Verbos y cuantificadores, rodriguez avila
 

Similar to คู่มือการใช้ถึงหมักก๊าชชีวภาพ

เตรียมสอบ O net 57 วิทย์ชุด2
เตรียมสอบ O net 57  วิทย์ชุด2เตรียมสอบ O net 57  วิทย์ชุด2
เตรียมสอบ O net 57 วิทย์ชุด2jutarattubtim
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2Thitiporn Klainil
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2klainil
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2553Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2553Postharvest Technology Innovation Center
 

Similar to คู่มือการใช้ถึงหมักก๊าชชีวภาพ (8)

เตรียมสอบ O net 57 วิทย์ชุด2
เตรียมสอบ O net 57  วิทย์ชุด2เตรียมสอบ O net 57  วิทย์ชุด2
เตรียมสอบ O net 57 วิทย์ชุด2
 
Science.m.6.2
Science.m.6.2Science.m.6.2
Science.m.6.2
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
 
Docu3000029045
Docu3000029045Docu3000029045
Docu3000029045
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2553Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2553
 
Chap8
Chap8Chap8
Chap8
 
Photosynthesis process
Photosynthesis processPhotosynthesis process
Photosynthesis process
 

คู่มือการใช้ถึงหมักก๊าชชีวภาพ

  • 1. คู่มือการใช้งานชุดถังหมักก๊าซชีวภาพ โครงการศึกษาประเมินปริมาณการลดก๊าซเรือนกระจก จากของเสียชุมชนในพื้นที่นาร่องด้วยมาตรการนากลับมา ใช้ประโยชน์ใหม่และเทคโนโลยีพลังงาน เสนอ ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม จัดทาโดย ศูนย์บริการเทคโนโลยีสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • 2. 1 ก๊าซชีวภาพ ก๊าซชีวภาพ หรือ ไบโอก๊าซ คือ ก๊าซที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติจากการหมักย่อยสลายของ สารอินทรีย์ภายใต้สภาวะที่ปราศจากออกซิเจน โดยทั่วไปองค์ประกอบส่วนใหญ่ของก๊าซชีวภาพ จะเป็นแก๊สมีเทน(CH4) ประมาณ 50-70% โดยกระบวนการนี้สามารถเกิดขึ้นได้ในหลุมขยะ กอง มูลสัตว์ และก้นบ่อแหล่งน้านิ่ง กล่าวคือเมื่อไหร่ก็ตามที่มีสารอินทรีย์หมักหมมกันเป็นเวลานานก็ อาจเกิดก๊าซ ชีวภาพ ได้ และของเสียจากชุมชนนี้เอง นับเป็นแหล่งกาเนิดและปล่อยก๊าซมีเทนที่เป็น สาเหตุ ทาให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หรือรู้จักกัน ดีคือ ‘‘ภาวะโลกร้อน’’ ดังนั้นขยะอินทรีย์ของเสียที่เกิดขึ้นจากแหล่งชุมชน เราควรจะนาไปใช้ให้ เกิดประโยชน์มากที่สุด เพื่อลดปริมาณมลพิษออกสู่สิ่งแวดล้อม ขยะอินทรีย์ คือ ขยะที่สามารถย่อยสลายได้เช่น เศษอาหาร เศษผัก เปลือกผลไม้ เป็นต้น การหมักก๊าซชีวภาพ เป็นกระบวนการย่อยสลายสารอินทรีย์ในสภาวะปราศจากออกซิเจน โดยมีจุลินทรีย์ กลุ่มสร้างมีเทน และจุลินทรีย์กลุ่มสร้างกรด มาช่วยย่อยในสภาวะไร้อากาศ และ ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดก๊าซ หลักๆ มีอยู่ 2 อย่าง คือ ค่าความเป็นกรดด่าง และอุณหภูมิโดยค่าความ เป็นกรดด่างที่เหมาะสมสาหรับจุลินทรีย์กลุ่มสร้างกรด จะอยู่ในช่วง 6.2-6.8 ส่วนจุลินทรีย์กลุ่ม สร้างก๊าซมีเทนค่าความเป็นกรดด่างที่เหมาะสมจะอยู่ในช่วง 6.7-7.1 และช่วงอุณหภูมิที่เหมาะสม ในการทางานของจุลินทรีย์ทั้ง 2 นั้นอยู่ในช่วง 30-40 องศาเซลเซียส ประเภทของขยะอินทรีย์ที่นามาใช้หมัก - เศษอาหาร - เศษผัก ในการจะนาเศษอาหารลงหมักควรที่จะเลือกเอาเฉพาะที่สามารถย่อยสลายได้ง่ายไม่ควรที่ จะเอาเศษอาหารที่แข็งย่อยสลายได้ยากเติมลงไป เช่น กระดูก เปลือกไข่ ก้างปลา เป็นต้น
  • 3. 2 ขั้นตอนในการหมักก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์ รูปที่ 1 แสดงระบบถังหมักก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์ การทางานของอุปกรณ์แต่ละอย่างในการผลิตก๊าซชีวภาพ หมายเลข 1 ถังผลิตกรด : เปลี่ยนสารอินทรีย์ให้กลายเป็นกรดอินทรีย์ต่างๆโดยจุลินทรีย์ผลิตกรด หมายเลข 2 ถังผลิตก๊าซ : เปลี่ยนสารพวกกรดอินทรีย์ให้เป็นก๊าซมีเทนโดย methanogens หมายเลข 3 ชุดถังเก็บก๊าซ : เก็บก๊าซที่ผลิตได้จากถังผลิตก๊าซเพื่อรอจ่ายให้กับหัวจุดก๊าซ หมายเลข 4 หัวจุดแก๊ส : เพื่อจุดไฟใช้ หมายเลข 5 ปั๊ม :ทาหน้าที่สูบน้าหมักภายในถังเพื่อทาให้เกิดการผสมกันของน้าหมัก หมายเลข 6 สายวัดระดับน้า : เพื่อวัดระดับน้าหมักภายในถัง หมายเลข 7 ระบบท่อลาเลียง : เพื่อวนน้าจากถังหมักก๊าซ หมายเลข 8 สายลาเลียงก๊าซ : สายยางลาเลียงก๊าซเข้าถังเก็บ V สัญลักษณ์วาวล์ : เปิด-ปิด น้าหมักหรือก๊าซ
  • 4. 3 ขั้นตอนในการหมักก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์ในการหมักจะแบ่งเป็น 2 ช่วง ดังนี้ ช่วงที่ 1 การเริ่มเดินระบบ ขั้นตอนที่ 1 ตรวจสอบความพร้อมของอุปกรณ์ต่าง ๆ ของระบบ เช่น ถังหมัก ถังเก็บ ก๊าซ ปั๊ม ระบบท่อ ข้อต่อต่าง ๆ วาวล์น้า และสายส่งก๊าซ ว่ามีรอยแตกร้าว รั่วซึม หรือชารุดหรือไม่ ซึ่งอุปกรณ์ทุกอย่างควรอยู่ในสภาพเรียบร้อย และพร้อมใช้งาน ขั้นตอนที่ 2 เติมขี้วัว 27-28 กิโลกรัม (รูปที่ 2) และขยะอินทรีย์ 8-10 กิโลกรัมลงในถัง ผลิตก๊าซ (หมายเลข 2) จากนั้นเติมน้าจนได้ปริมาตร 200 ลิตร แล้วปิดฝาถังทิ้งไว้ให้เกิดการหมัก เป็นเวลาประมาณ 3 วัน รูปที่ 2 แสดงการชั่งมูลวัวเพื่อเติมลงในถังผลิตก๊าซ ขั้นตอนที่ 3 หลังจากดาเนินการครบ 3 วัน แล้วจึงเริ่มเติมมูลวัว 12-14 กิโลกรัมลงในถัง ผลิตกรด (หมายเลข 1) ดังแสดงในรูปที่ 3 และขยะอินทรีย์ 14-20 กิโลกรัม จากนั้นเติมน้าจนได้ ปริมาตร 100 ลิตร ปิดฝาถังแล้วทิ้งไว้จนเกิดการผลิตกรด ซึ่งใช้เวลาประมาณ 1 วัน รูปที่ 3 แสดงการชั่งมูลวัวเพื่อเติมลงในถังผลิตกรด
  • 5. 4 หลังจากดาเนินการตามขั้นตอนที่ 3 และทิ้งไว้จนเกิดการผลิตกรด ซึ่งใช้เวลา ประมาณ 1 วัน จากนั้นจะเริ่มเดินระบบในช่วงที่ 2 คือการเติมขยะอินทรีย์ในแต่ละวัน ช่วงที่ 2 การเติมเศษอาหารในแต่ละวัน ขั้นตอนที่ 1 การจัดเตรียมขยะอินทรียโดยการคัดแยกสิ่งแปลกปลอมที่ไม่สามารถย่อย สลายได้ หรือย่อยสลายได้ยาก เช่นไม้เสียบลูกชิ้น เศษพลาสติก กระดูกชิ้นใหญ่ เปลือกหอย เชือก ฟาง เป็นต้น รูปที่ 4 แสดงการคัดแยกสิ่งแปลกปลอมออกจากเศษอาหาร ส่วนเศษผักเมื่อแยกสิ่งปลอมปนออกไปแล้วจะทาการสับให้มีขนาดเล็กลงเพื่อให้ง่ายต่อ การย่อยสลาย ก่อนนาไปเติมลงในถังผลิตกรด ดังรูปที่ 5 รูปที่ 5 แสดงการเตรียมเศษผักโดยการสับเพื่อให้มีขนาดเล็กลง
  • 6. 5 จากนั้นทาการชั่งขยะที่เตรียมแล้วมา 1.5 กิโลกรัม ผสมกับน้า (1.5 กิโลกรัม) ใน อัตราส่วน 1:1 เพื่อปรับอัตราส่วนปริมาณของแข็งให้ได้ประมาณ 10 % หรือให้เนื้อขยะกับน้ามี สัดส่วนเท่า ๆ กันดังรูปที่ 6 และ 7 รูปที่ 6 แสดงการชั่งเศษอาหารที่ผสมกับน้าก่อนเติมลงในถังผลิตกรด รูปที่ 7 แสดงการชั่งเศษผักที่ผสมกับน้าก่อนเติมลงในถังผลิตกรด ขั้นตอนที่ 2 เติมขยะอินทรีย์ในถังผลิตกรด หลังจากระบบมีการหมักเพื่อผลิตกรดในถัง ผลิตกรดแล้ว เริ่มเติมขยะอินทรีย์ที่ผ่านการคัดแยกและเตรียมแล้วเข้าไปในถังผลิตกรด(หมายเลข 1) ดังรูปที่ 8
  • 7. 6 รูปที่ 8 แสดงการเติมเศษอาหารลงในถังผลิตกรด จากนั้นทาการกวนผสมเศษอาหารภายในถังผลิตกรดเพื่อให้เศษอาหารที่เติมลงไปใหม่ ผสมกันกับเศษอาหารเดิม โดยการใช้ไม้กวนดังรูปที่ 9 รูปที่ 9 แสดงการกวนผสมเศษอาหารให้เข้ากันภายในถังผลิตกรด ขั้นตอนที่ 3 ปล่อยน้าหมักขยะอินทรีย์จากถังผลิตกรดไปยังถังผลิตก๊าซ หลังจากกวน ผสมเศษอาหารในถังผลิตกรดให้เข้ากันแล้ว ก็ระบายน้าหมักจากถังผลิตกรด (หมายเลข 1) ไปยังถัง ผลิตก๊าซ (หมายเลข 2) โดยการเปิดวาวล์หมายเลข 2 (V2) (รูปที่10) ซึ่งน้าหมักจะไหลไปในทิศทาง ที่แสดงดังรูปที่ 11
  • 8. 7 รูปที่ 10 แสดงตาแหน่งและลักษณะการเปิดของวาวล์ที่ 2 (V2) รูปที่ 11 แสดงตาแหน่งของอุปกรณ์ต่าง ๆ และทิศทางการไหล ของน้าหมักจากถังผลิตกรดไปยังถังผลิตก๊าซ ขั้นตอนที่ 4 การหมุนเวียนคลุกเคล้าตะกอนในถังผลิตก๊าซ (โดยใช้อุปกรณ์สูบขยะอินทรีย์) ปล่อยให้เครื่องปั๊ม (หมายเลข 5) สูบทางานประมาณ 10 นาที เพื่อให้ขยะอินทรีย์มีโอกาสสัมผัสกับ จุลินทรีย์มากขึ้น ดังรูปที่ 12 โดยการสูบนั้นต้องเปิดวาวล์หมายเลข 3 (V3) และ 4 (V4) และต้องปิด วาวล์หมายเลข 8,2,10 (V8) แล้วจึงถอดปลั๊กเครื่องสูบเพื่อดาเนินการในขั้นตอนต่อไป
  • 9. 8 รูปที่ 12 แสดงการสูบเวียนน้าหมักเพื่อทาการผสมน้าหมักภายในถังหมักก๊าซ ขั้นตอนที่ 5 การระบายน้าหมักออกจากถังผลิตก๊าซ เมื่อระบายน้าหมักจากถังผลิตกรดเข้าสู่ ถังผลิตก๊าซจากข้อ 2.1.3 แล้ว ก็ทาการปล่อยน้าหมักออกจากถังผลิตก๊าซเพื่อรักษาระดับน้าภายใน ถังผลิตก๊าซให้เท่าเดิม ซึ่งน้าหมักที่ปล่อยออกนี้สามารถนาไปใช้เป็นปุ๋ ยน้าชีวภาพได้ โดยการ ระบายน้าหมักออกนี้ต้องทาการเปิดวาวล์ที่ 9 (V9) ดังรูปที่ 13 รูปที่ 13 แสดงการปล่อยน้าหมักออกจากถังผลิตก๊าซและลักษณะของน้าหมักที่ถูกปล่อยออกมา ขั้นตอนที่ 6 การระบายตะกอนออกจากถังหมักกรดลงกระบะตากตะกอน เปิดวาล์ว หมายเลข 1 (V1) ที่ท่อระบายตะกอนด้านล่างของถังผลิตกรดดังรูปที่ 14 เพื่อระบายตะกอนออก ประมาณ 20 ลิตร ลงกะบะตากตะกอน เมื่อตะกอนมีปริมาณเกินระดับ 70 เปอร์เซ็นต์ของปริมาตร ทางาน (จะมีระดับความสูงที่กาหนดไว้อยู่ด้านข้างถังหมัก) ซึ่งประมาณ 1 เดือนจะมีการระบาย ตะกอนหนึ่งครั้ง
  • 10. 9 รูปที่ 14 แสดงตาแหน่งของวาวล์เพื่อใช้ในการระบายตะกอนของถังผลิตกรด การนาก๊าซชีวภาพไปใช้งาน ก่อนอื่นต้องสังเกต ดูว่าถังเก็บก๊าซ(ถังหมายเลข 3 ) ที่คว่าอยู่ลอยขึ้นมารึยัง ปกติหลังจาก ทาการหมักไป 1 สัปดาห์ จึงจะเริ่มผลิตก๊าซในช่วงแรกที่ถังลอยขึ้นให้ปล่อยทิ้งก่อน แล้วปิดวาล์ว ไว้เหมือนเดิมเมื่อถังลอยขึ้นมาใหม่ จึงจะสามารถนาไปใช้ได้ในการต่อก๊าซชีวภาพไปใช้งานกับหัว จุดแก๊ส ก่อนอื่นต้องทาการปรับแต่งหัวแก๊สให้เหมาะสมกับการใช้งาน โดยการเจาะรูหัวทองเหลือง หรือ นมหนู ที่อยู่ในหัวปรับแก๊ส ให้มีขนาดโตขึ้นประมาณ 4- 5 มม. เนื่องจากในถังเก็บก๊าซที่ลอย ขึ้นไม่มีแรงดันมากพอ ดังนั้นเราจึงต้องทาให้ก๊าซไหลออกมาได้สะดวก จากนั้นก็ประกอบเข้าที่ เดิมและปิดรูรั่วที่จะทาให้ก๊าซไหลออกไปที่อื่น เพื่อที่จะให้ก๊าซไหลออกที่หัวเตาเท่านั้น เสร็จแล้ว ลองเปิดก๊าซแต่ยังไม่ต้องจุดไฟเพื่อเช็คดูว่า ก๊าซที่ต่อเข้ามาออกที่หัวแก๊สหรือไม่ เมื่อตรวจดูแล้วว่า ออกที่หัวเตาแก๊สค่อยจุดไฟ ในชุดถังเก็บก๊าซที่ลอยขึ้นจนสุดถัง คือมีปริมาณก๊าซเต็มถังเก็บ จะ สามารถจุดไฟได้ประมาณ10 นาที รูปที่ 15 การตรวจเช็คก๊าซ โดยการดมกลิ่น ก่อนที่จะจุดไฟ
  • 11. 10 ข้อควรปฏิบัติ 1. ควรวางชุดถังหมักไว้ในที่มีอากาศถ่ายเทได้สะดวก และห่างจากที่อุณหภูมิสูง 2. ควรหาพื้นที่วางชุดถังหมักไว้ในที่แยกต่างหาก และพ้นจากเด็ก 3. ควรตรวจดูรอยรั่วรอบๆถังหมักก๊าซ เนื่องจากในถังหมักมีแรงดันเพิ่มขึ้นจากการหมัก 4. ควรตรวจดูระดับน้าในชุดถังเก็บก๊าซ และควรที่จะหาทรายอะเบทมาใส่เพื่อป้ องกันไม่ให้ เป็นแหล่งเพราะพันธ์ยุง 5. น้าหมัก หรือ ตะกอนที่ปล่อยออกจากถังไม่ควรนาไปทิ้งสามารถนาไปผสมกับน้ารถผัก หรือต้นไม้ได้