SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 58
Baixar para ler offline
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! "!
ฟสิกส บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
ตอนที่ 1 กฏของคูลอมบ!
กฏแรงดึงดูดระหวางประจุของคูลอมบ
! # เมื่อประจุไฟฟา 2 ตัวอยูหางกันขนาดหนึ่ง จะมีแรงกระทําซึ่งกันและกันเสมอ !
! ! หากเปนประจุชนิดเดียวจะมีแรงผลักกัน หากเปนประจุตางชนิดกันจะมีแรงดึงดูดกัน$!
แรงกระทําที่เกิดหาคาไดจาก
!
F = 2R
2Q1KQ
! ! เมื่อ! ! ! F = แรงกระทํา (นิวตัน)
K = คาคงที่ของคูลอมบ = 9 x 109 N.m2 /c2! ! !
Q1 , Q2 = ขนาดของประจุตัวที่ 1 และตัวที่ 2 ตามลําดับ (คูลอมบ)
R = ระยะหางระหวางประจุทั้งสอง (เมตร)
1. จากรูปใหหาแรงกระทําระหวางประจุทั้งสองนี้
วิธีทํา ( 0.01 N )
2. ประจุ +5.0 x 10–5 C และ –2.0 x 10–5 C วางอยูหางกัน 1 เมตร จะมีแรงดูดกัน หรือ
ผลักกันกี่นิวตัน ( แรงดูดกัน 9 นิวตัน )
วิธีทํา
!
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! %!
3. ประจุขนาด A คูลอมบ และ 1.0 x 10–5 คูลอมบ วางอยูหางกัน 3 เมตร จะมีแรงกระทํา
ตอกัน 1 นิวตัน จงหาวาประจุ A เปนประจุขนาดกี่คูลอมบ (1.0x10–4 )
วิธีทํา
4. แรงผลักระหวางประจุที่เหมือนกันคูหนึ่งเปน 27 นิวตัน จงหาขนาดของแรงผลักระหวาง
ประจุคูนี้ ถาระยะหางของประจุเปน 3 เทาของเดิม ( 3 N)
วิธีทํา
5. ประจุคูหนึ่งวางใหหางกันเปน 2 เทาของระยะเดิม แรงกระทําระหวางประจุในตอนหลัง
จะมีคาเปนกี่เทาของตอนแรก ( 1/4 เทา)
วิธีทํา
6. ลูกพิธ 2 ลูกวางหางกัน 8 ซม. จะเกิดแรงผลักกันคาหนึ่ง ถาเพิ่มประจุลูกหนึ่งเปน 2 เทา
และอีกลูกหนึ่งเปน 3 เทา จะตองวางลูกพิธทั้งสองหางกันเทาใด จึงจะเกิดแรงกระทําเทาเดิม
วิธีทํา ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ( 8 6 ซม.)!
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! &!
กรณีที่โจทยไมบอกประจุ มาให เราอาจหาคาประจุนั้น ๆ ไดจาก
Q = n e
เมื่อ n = จํานวนอิเลคตรอน
e = ประจุอิเลคตรอน 1 ตัว = 1.6 x 10–19 คูลอมบ
7. กอนโลหะ 2 กอน มีระยะหางระหวางจุดศูนยกลางของโลหะทั้งสองเปน 3 เมตร ในกอน
โลหะแตละกอนมีอิเล็กตรอนอิสระอยู 1x1015 ตัว จงหาขนาดแรงผลักที่เกิด ( 25.6N )
วิธีทํา
8. กอนทองแดง 2 กอน วางหางกัน 3 เมตร แตละกอนมีอิเล็กตรอนอิสระอยู 5 x 1014 ตัว
จงหาขนาดของแรงผลักที่เกิดขึ้นในหนวยนิวตัน
ก. 1.4 ข. 2.4 ค. 4.4 ง. 6.4 (ขอ ง)
วิธีทํา
9. ทรงกลมเล็ก ๆ 2 อัน เปนกลางทางไฟฟา และวางอยูหางกัน 0.5 เมตร สมมติวาอิเล็กตรอน
3.0 x 10+13 ตัว หลุดออกจากทรงกลมหนึ่งและไปอยูที่อีกทรงกลมหนึ่ง (a) จงหาขนาด
ของแรงที่เกิดกับทรงกลมแตละอัน (b) แรงที่เกิดขึ้นเปนแรงดูดหรือแรงผลัก
วิธีทํา ( เปนแรงดูด 0.83 N )
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! '!
10. จากรูป จงหาแรงลัพธที่
กระทําตอประจุ B
( 1.1 N )
วิธีทํา
11. จากรูป จงหาแรงลัพธที่
กระทําตอประจุ B
( 0.1 N )
วิธีทํา
12. ประจุ +5.0 x 10–6 C และ –3.0 x 10–6 C วางอยูหางกัน 20 เซนติเมตร ถานําประจุ
ทดสอบขนาด +1.0 x 10–6 C มาวางไวที่จุดกึ่งกลางระหวางประจุทั้งสองขนาด และมี
ทิศทางของแรงที่กระทําตอประจุทดสอบคือ
ก. 0.72 นิวตัน และมีทิศชี้เขาหาประจุลบ
ข. 1.8 นิวตัน และมีทิศเขาหาประจุบวก
ค. 7.2 นิวตัน และมีทิศเขาหาประจุลบ
ง. 7.2 นิวตัน และมีทิศเขาหาประจุบวก (ขอ ค)
วิธีทํา
A = +6 x 10–5 C!
B = +1 x 10–5 C!
C = −5 x 10–5 C!
3 ม.! 3 ม.!
A = −6 x 10–5 C! B = +1x10–5 C! C = −5 x 10–5 C!
3 ม.! 3 ม.!
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! (!
13. จากรูป จงหาแรงลัพธที่กระทําตอประจุ B
วิธีทํา ( 5 N )
14(มช 34) สามเหลี่ยมดานเทารูปหนึ่งมีความยาวดานละ 30 เซนติเมตร และที่แตละมุมของ
สามเหลี่ยมนี้ มีจุดประจุ +2 , –2 และ +5 ไมโครคูลอมบ วางอยู อยากทราบวาขนาด
ของแรงไฟฟาบนประจุ +5 ไมโครคูลอมบมีคากี่นิวตัน (1 นิวตัน)!
วิธีทํา
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""
A = −4 x 10–5 C!
B = +1 x 10–4 C!
C = +3 x 10–5 C!
3 ม.!
3 ม.!
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! )!
ตอนที่ 2 สนามไฟฟา
สนามไฟฟา (E) คือ บริเวณรอบ ๆ ประจุซึ่งจะมีแรงทางไฟฟาแผออกมา !
ตลอดเวลา สนามไฟฟาเปนปริมาณเวกเตอร!
ทิศทางของสนามไฟฟา กําหนดวา!
! สําหรับประจุบวก สนามไฟฟามีทิศออกตัวประจุ!
! สําหรับตัวประจุลบ สนามไฟฟามีทิศเขาตัวประจุ!
!
!
!
!
15. ถา +Q และ –Q เปนประจุตนกําเนิดสนามโดยที่ +q และ –q เปนประจุทดสอบ รูปใด
แสดงทิศของ F และ E ไมถูกตอง
ก. ข.
ค. ง.
!
! ! จ.!! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! (ขอ จ)
ขนาดความเขมสนามไฟฟาหาคาไดจาก!
! ! ! ! ! E = 2R
KQ
เมื่อ E คือ ความเขมสนามไฟฟา (N/C , V/m) K = 9 x 109 N. m2 / C2
Q คือ ขนาดของประจุตนเหตุ (C) R คือ ระยะหางจากประจุตนเหตุ (m)
16. จากรูป จงหาวาสนามไฟฟาของประจุ +2x10–3 คูลอมบ
ณ.จุด A จะมีความเขมกี่นิวตัน/คูลอมบ และ มีทิศไปทาง
ซายหรือขวา ( 2x106 N/C ไปทางขวา)
วิธีทํา
! !
!
Q = +2 x 10–3 C!
3 ม.!
*!
A
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! *!
17. จากรูป จงหาวาสนามไฟฟาของประจุ –4x10–3 คูลอมบ
ณ.จุด A จะมีความเขมกี่นิวตัน/คูลอมบ และ มีทิศขึ้นหรือ
ลง (36x106 N/C มีทิศขึ้น)
วิธีทํา
18. จากรูปที่กําหนดให จงหาวาสนาม
ไฟฟาลัพธที่จุด X มีขนาดเทาใด
วิธีทํา ( 7 N/C )
!
19(มช 44) ประจุบวก q1 = 2 ไมโครคูลอมบ วางหางจาก ประจุลบ q2 = –2 ไมโครคูลอมบ
เปนระยะ 6 เมตร สนามไฟฟาที่ตําแหนงกึ่งกลางระหวาง 2 ประจุนี้ ในหนวยของ N/C
มีคาเปนเทาใด
1. –2 x103 2. 0 3. 2 x 103 4. 4 x103 (ขอ 4)
วิธีทํา
Q = −4 x 10–3 C!
1 ม.!
*!A
*!
X
A = +4 x 10–9 C!
3 ม.! 3 ม.!
B = −3 x 10–9 C!
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! +!
20. จากรูปที่กําหนดให จงหาวาสนามไฟฟาลัพธ
ที่จุด X มีขนาดเทาใด
วิธีทํา ( 5 N/C )
21. จงหาความเขมสนามไฟฟาที่จุด B ในรูปที่กําหนด
( กําหนด cos 127o = –0.6 )
วิธีทํา (7.26x106 N/C)
22. ประจุ q1 , q2 มีขนาดเทากันอยูหางกัน 0.1 m สนามไฟฟา ณ จุดกึ่งกลางระหวางประจุ
ทั้งสองมีทิศพุงเขาหา q2 และมีขนาด 4.8x104 V/m จงหา q1 , q2 ( ±±±± 6.67x10–9 C)
วิธีทํา
*!
X
A = +4 x 10–9 C!
B = −3 x 10–9 C!
3 ม.!
3 ม.!
37o
8 cm
53o
6 cm
10 cm
+5 µC –3.6 µC
B
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! ,!
จุดสะเทิน คือ จุดที่มีคาสนามไฟฟาลัพธมีคาเปนศูนย
โดยทั่วไปแลว 1. จุดสะเทินจะ เกิดขึ้นไดเพียงจุดเดียวเทานั้น
2. หากเปนจุดสะเทินของประจุ 2 ตัว จะเกิดในแนวเสนตรงที่ลากผานประจุทั้งสอง
และ หากประจุทั้งสองเปนประจุชนิดเดียวกัน
จุดสะเทินจะอยูระหวางกลางประจุทั้งสอง
หากประจุทั้งสองเปนประจุตางชนิดกัน
จุดสะเทินจะอยูรอบนอกประจุทั้งสอง
3. จุดสะเทินจะเกิดอยูใกลประจุที่มีคานอยกวา
!
23. ประจุไฟฟาขนาด +15 และ –30 หนวย
ประจุวางอยูดังรูป ตําแหนงใดควรเปนจุดสะเทิน!
! ! ก. A ข. B ค. C ง. D จ. ไมมีคําตอบถูก (ขอ จ)
ตอบ
24. ตําแหนงที่สนามไฟฟารวมเปนศูนย ซึ่งสนามนั้นเกิดจากประจุ 2 ประจุ
1. เกิดขึ้นไดเพียงจุดเดียวเทานั้น
2. เกิดอยูใกลประจุที่มีคานอย
3. เกิดในแนวเสนตรงที่ลากผานประจุทั้งสอง (ขอ ก)
ก. ขอ 1 , 2 , 3 ข. ขอ 1 , 2 ค. ขอ 1 , 3 ง. ขอ 2 , 3
ตอบ
25. ประจุไฟฟาขนาด +9 µC ถูกวางไวที่ตําแหนง X = 0 ม. และประจุไฟฟาที่สอง +4 µC
ถูกวางไวที่ตําแหนง X = 1 ม. จุดสะเทินจะอยูหางจากประจุ +9 µC กี่เมตร (0.6 เมตร)
วิธีทํา
+Q2!
Eรวม = 0!
+Q1!
*!
−Q2!
Eรวม = 0!
+Q1!
*!
!
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! "-!
26(มช 37) วางประจุ +9Q คูลอมบ ที่ตําแหนงจุดกําเนิด (0 , 0) และจุดประจุ –4Q คูลอมบ
ที่ตําแหนง x = 1 เมตร y = 0 จงหาระยะบนแกน x ที่สนามไฟฟาเปนศูนย (3 เมตร)
วิธีทํา
!
ขนาดของแรงกระทําตอประจุทดสอบหาจาก!
! ! ! ! ! F = q E
เมื่อ F คือ แรงกระทํา (N) q คือ ประจุทดสอบที่ถูกแรงกระทํานั้น (C)
27. กําหนดใหจุด A อยูหางจากประจุ 4 x 10–9 คูลอมบ เปนระยะ 1 เมตร
ก) สนามไฟฟา ณ.จุด A จะมีความเขมกี่นิวตัน/คูลอมบ ( 36 N/C )
ข) หากนําอิเลคตรอน 1 ตัว ไปวางตรงจุด A จงหาแรงกระทําตออิเลคตรอนนี้
( กําหนด ประจุอิเลคตรอน 1 ตัว เทากับ 1.6 x 10–19 คูลอมบ ) (5.76x10–18 N)
ค. จงหาความเรงในการเคลื่อนที่ของอิเลคตรอนนี้
( กําหนด มวลอิเลคตรอน 1 ตัว เทากับ 9.1 x 10–31 กิโลกรัม ) (6.33x1012 m/s2)
วิธีทํา
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! ""!
28. กําหนดใหจุด A อยูหางจากประจุ 5 x 10–9 คูลอมบ เปนระยะ 3 เมตร
ก) สนามไฟฟา ณ.จุด A จะมีความเขมกี่นิวตัน/คูลอมบ ( 5 นิวตัน/คูลอมบ )
ข) หากนําอิเลคตรอน 1 ตัว ไปวางตรงจุด A จงหาแรงกระทําตออิเลคตรอนนี้
( กําหนด ประจุอิเลคตรอน 1 ตัว เทากับ 1.6 x 10–19 คูลอมบ ) (8 x 10–19 นิวตัน)
วิธีทํา
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""
! ตอนที่ 3 !ศักยไฟฟา!
!!!เราสามารถหาคาศักยไฟฟา ณ. จุดรอบ ๆ ประจุไดจากสมการ!
V = R
KQ !
!
เมื่อ !!!V !คือ ศักยไฟฟา (โวลต)!
! Q คือ ประจุตนเหตุ (คูลอมบ)
R คือ ระยะหางจากประจุตนเหตุ (เมตร)
ขอควรทราบ!
! 1) ศักยไฟฟา เปนปริมาณสเกลลาร มีแตขนาด ไมมีทิศทาง การคํานวณหาศักยไฟฟา !
! ! ตองแทนเครื่องหมาย + – ของ ประจุ (Q) ดวยเสมอ
2)
!
!! ! เมื่อทําการเลื่อนประจุทดสอบจากจุดหนึ่งไปสูจุดที่สอง!
! ! จะไดวา! ! V2 – V1 = q
W
!! ! เมื่อ!V1 คือ ศักยไฟฟาที่จุดเริ่มตน (โวลต) !!!V2 คือ ศักยไฟฟาที่จุดสุดทาย (โวลต)
W คือ งานที่ใชในการเลื่อนประจุ (จูล) q คือ ประจุที่เคลื่อนที่ (คูลอมบ)
Q !
R!
*!
A
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! "%!
29. จากรูป ประจุ Q มีขนาด –2 x1 0–9 คูลอมบ
ก. จงหาศักยไฟฟาที่จุด A ( –18 V)
! ! ข. จงหาศักยไฟฟาที่จุด B ( –6 V )
ค. หากเลื่อนประจุขนาด 2 คูลอมบ
จาก B ไป A จะตองทํางานเทาใด ( –24 J) !
วิธีทํา
!
!
30. จากรูป ประจุ Q มีขนาด –5 x1 0–9 คูลอมบ
จงหาศักยไฟฟาที่จุด A และ B ตามลําดับ
! ! 1. −45 , 15!! ! ! ! 2. −30 , −15! ! !
! ! 3. −45 , −15! ! ! ! 4. −30 , 15!! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! (ขอ 3)!
วิธีทํา
31. จากขอที่ผานมา หากเลื่อนประจุขนาด 2 คูลอมบ จาก B ไป A จะตองทํางานเทาใด
1. 45 2. −45 3. 60 4. −60 (ขอ 4)!
วิธีทํา
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! "&!
32(En 32) A และ B เปนจุดที่อยูหางจากประจุ 4 x 10–6 คูลอมบ เปนระยะทาง 2 และ
12 เมตร ตามลําดับ ถาตองการเลื่อนประจุ – 4 คูลอมบ จาก A ไป B ตองใชงานใน
หนวยกิโลจูลเทาใด
1. 8.75 2. 15 3. –35 4. +60 (ขอ 4)
วิธีทํา
33. จุด A อยูหางจากประจุ –2 x 10–10 C เปนระยะ 1 เมตร จงหางานที่ตองทําในการพา
ประจุ 3 x 10–12 C จากที่ไกลมากมาที่จุด A นี้ (–5.4 x10–12 J)
วิธีทํา
34. มีประจุขนาด –4 x 10–10 C จุด A อยูหางจากประจุนี้ 1 เมตร จงหางานที่ตองทําใน
การพาประจุ 2 x 10–12 C จากที่ไกลมากมาที่จุด A นี้ (– 7.2x10–12 J )
วิธีทํา
35. จากขอที่ผานมาจงหางานในการพาประจุ 2 x 10–12 C จากจุด A ไปวาง ณ.จุดซึ่งไกลมาก
วิธีทํา (7.2x 10–12 J)
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! "'!
36. ในการนําประจุ 2 x10–4 C จาก infinity เขาหาประจุบวกถึงจุด ๆ หนึ่งตองสิ้นเปลืองงาน
5 x10–2 จูล จุดนั้นมีศักยไฟฟากี่โวลต
ก. 2.5 x 102 ข. 4 x 10–3 ค. 1 x 10–5 ง. 2.5 x 10–6 (ขอ ก)
วิธีทํา
!
กรณีที่มีศักยไฟฟายอยหลายๆ ตัว หากตองการหาคาศักยไฟฟารวม ใหนําศักยไฟฟายอย
แตละตัวมารวมกันแบบพีชคณิตธรรมดา เพราะศักยไฟฟาเปนปริมาณสเกลารไมใชเวกเตอร
37. จากรูปที่กําหนดให จงหาวาศักยไฟฟารวม
ที่จุด X มีขนาดเทาใด (3 V)
วิธีทํา
38. จากรูปที่กําหนดให จงหาวา ศักย
ไฟฟารวมที่จุด X มีขนาดเทาใด
วิธีทํา (–18 โวลต)
*!
X
A = –1 x 10–9 C!
3 ม.! 3 ม.!
B = −5 x 10–9 C!
*!
X
A = +4 x 10–9 C!
3 ม.!
3 ม.!
B = −3 x 10–9 C!
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! "(!
39. จากรูป A , B และ C มีจุดประจุขนาด 3.0 x 10–6 , 1.0 x 10–6 และ –1.0 x 10–6 คูลอมบ
ตามลําดับ เมื่อ AP = 0.6 เมตร , CP = 0.3 เมตร และ
BP = 0.1 เมตร ศักยไฟฟาที่ตําแหนง P มีคาเทาใด
1. 1.05 x 105 โวลต 2. 1.83 x 105 โวลต
3. 2.10 x 105 โวลต 4. 3.66x 105 โวลต (ขอ 1 )
วิธีทํา
40. จากขอที่ผานมา หากนําประจุขนาด –1.0 x 10–6 คูลอมบ จากจุดที่ไกลมากมาวางที่จุด P
จะตองทํางานกี่จูล
1. –2.10 2. –1.05 3. –0.105 4. –10.5 (ขอ 3)
วิธีทํา
•! •!
•!C
BA P
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! ")!
!ตอนที่ 4 สนามไฟฟา และศักยไฟฟารอบตัวนํา!
การคํานวณหาสนามไฟฟา และศักยไฟฟารอบตัวเก็บประจุ
กรณีที่ 1 หากจุดที่จะคํานวณอยูภายนอก หรืออยูที่ผิววัตถุ
ใหใชสมการ E = 2R
KQ และ V = R
KQ
เมื่อ R คือ ระยะที่วัดจากจุดศูนยกลางวัตถุถึงจุดที่จะคํานวณ
กรณีที่ 2 หากจุดที่จะคํานวณอยูภายในวัตถุ
Eภายใน = 0
Vภายใน = Vที่ผิววัตถุ
41. ทรงกลมรัศมี 1 เมตร และมีประจุ –5x10–9 C จงหาสนามไฟฟาและศักยไฟฟาที่
ก. ระยะทาง 2 เมตร จากผิวทรงกลม ( 5 N/C , –15V )
ข. ผิวทรงกลม ( 45 N/C , –45V )
ค. ระยะ 0.2 เมตร จากจุดศูนยกลางทรงกลม
วิธีทํา ( 0 N/C , –45V )
!
42. ตัวนําทรงกลมมีรัศมี 10 เซนติเมตร มีประจุกระจายอยางสม่ําเสมอบนผิวตัวนํา ถาสนาม
ไฟฟาที่ผิวทรงกลมมีคา 5.0 x106 โวลต/เมตร จงหาคาศักยไฟฟาที่ผิวทรงกลมนี้ (5 x 105 โวลต)
วิธีทํา
!
1 ม.! 2 ม.!
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! "*!
43(En 42/1) ทรงกลมโลหะกลวงมีรัศมี 20 เซนติเมตร ทําใหมีศักยไฟฟา 10000 โวลต !
! สนามไฟฟาภายนอกทรงกลมบริเวณใกลเคียงผิว จะมีคาเทาใดในหนวยโวลตตอเซนติเมตร
วิธีทํา ( 500 โวลต / เซนติเมตร )
44. ทรงกลมตัวนํามีประจุ –200 µc รัศมี 50 cm จงหา
ก. ศักยไฟฟาที่ผิวของทรงกลม ( –3.6x106 โวลต )
ข. งานที่ในการพาประจุ –20 µc จาก infinity มาที่ผิวนี้ (72 J)
วิธีทํา
45(มช 32) ถาตองการเคลื่อนประจุขนาด q คูลอมบ ไปตามผิวนอกของทรงกลมซึ่งมีประจุ Q
อยูภายในจากตําแหนงหนึ่งไปสูอีกตําแหนงหนึ่ง งานที่ใชในการเคลื่อนประจุคือ
ก. 2
KqQ J ข. 3
KqQ J ค. 4
KqQ J ง. 0 J (ขอ ง)
วิธีทํา
46(มช 32) หากมีประจุกระจายอยูบนตัวนําทรงกลมกลวงอยางสม่ําเสมอศักยไฟฟา และสนาม
ไฟฟาภายในจุดศูนยกลางทรงกลมกลวงมีคา (ขอ ข)
ก. ทั้งศักยไฟฟา และสนามไฟฟาเปนศูนย ข. ศักยไฟฟาเทากัน สนามไฟฟาเปนศูนย
ค. ศักยไฟฟาเทากัน และสนามไฟฟาเทากัน! ง. ศักยไฟฟาเปนศูนยสนามไฟฟาเทากัน!
ตอบ
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! "+!
ตอนที่ 5 สนามไฟฟาสม่ําเสมอ!
สนามไฟฟาซึ่งอยูระหวางกลางขั้วไฟฟาบวก-ลบ จะมีคาเทากันทุกจุด จึงเรียก สนามไฟฟาสม่ําเสมอ
เราหาคาสนามสม่ําเสมอไดจาก E = d
V
เมื่อ E = สนามไฟฟาสม่ําเสมอ (N/C , V/m)
V = ความตางศักยระหวางจุดที่คํานวณ (โวลต)
d = ระยะหางระหวางจุดที่คํานวณ (เมตร)
47. แผนโลหะคูขนาน วางหางกัน 1 มิลลิเมตร ตออยูกับขั้วบวก-ลบของแบตเตอรี่ 1.5 โวลต
สนามไฟฟาระหวางแผนตัวนําคูขนานจะมีคาเทาใด ( 1500 V/m)
วิธีทํา
48(En 41) แผนตัวนําคูขนานเทากัน วางหางกัน 3 มิลลิเมตร ถาตอแผนคูขนานนี้เขากับ
แบตเตอรี่ 9 โวลต สนามไฟฟาระหวางแผนตัวนําคูขนานจะมีคาเทาใด (ขอ 4)
1. 0.027 V–m 2. 27 V–m 3. 3 V/m 4. 3000 V/m
วิธีทํา
49. แผนตัวนําคูขนานเทากัน วางหางกัน 5 เซนติเมตร มีสนามไฟฟาสม่ําเสมอเขม 20 V/m
จะมีคาความตางศักยระหวางขั้วบวกและลบ กี่โวลต (1 โวลต)
วิธีทํา
เงื่อนไขการใชสูตร V = E d
1. E และ d (การขจัด) ตองอยูในแนวขนานกัน
หาก d ตั้งฉากกับ E ตอบ V = 0
หาก d เอียงทํามุมกับ E ตองแตกการขจัด d นั้นใหขนานกับ E กอน
2. ถาการขจัด d มีทิศเดียวกับสนามไฟฟา E ใหใชการขจัด d เปนลบ
ถา d และ E สวนทางกันใช d เปนบวก
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! ",!
50. จงหาความตางศักยไฟฟาระหวาง A ไป B ตามกรณีตอไปนี้
ก. ข. ค.
วิธีทํา ( ก. 5 โวลต ข. 0 โวลต ค. 10 โวลต )
51. จงหาความตางศักยไฟฟาระหวาง A ไป B ตามกรณีตอไปนี้
ก. ข. ค.
!
วิธีทํา ( ก. 5 โวลต ข. -5 โวลต ค. –10 โวลต )
52. สนามไฟฟาสม่ําเสมอขนาดเทากับ 8 โวลต/เมตร ตําแหนง
A และ B อยูหาง กัน 0.5 เมตร ดังรูป จงหาความตางศักย
ไฟฟาระหวาง A ไป B (4 โวลต )
วิธีทํา
.! /!
0.5 m 0!
.! /!
0.5 m
E=10 V/m
.!
/!
0.5 m
E=10 V/m
.!
/!
2 m
E=10 V/m
60o!
/!
.!
2 m
E=10 V/m
60o!/! .!
0.5 m
E=10 V/m
.! /!
0.5 m
E=10 V/m
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! %-!
53. จากขอที่ผานมา หากเลื่อนประจุขนาด 2 x 10–6 คูลอมบ จากจุด A ไป B จะตอง
ทํางานกี่จูล (8x10–6 จูล)
วิธีทํา
54. จงหางานในการเลื่อนประจุขนาด 2 x 10–6 คูลอมบ จาก
จุด A ไป B ซึ่งอยูภายใตสนามไฟฟา 8 โวลต/เมตร ดังรูป
วิธีทํา (–16 x 10–6 จูล)
55. ถา E
!
เปนสนามไฟฟาสม่ําเสมอมีขนาด 12 โวลต/เมตร
จงหางานที่ใชในการเคลื่อนที่ประจุทดสอบ 3.0 x 10–6
คูลอมบ จาก A → B → C (1.8x10–6 จูล)
วิธีทํา
!
!
หากเรานําประจุทดสอบ( q ) ไปวางในสนามไฟฟาสม่ําเสมอ ประจุทดสอบนั้นจะถูก
แรงกระทําแลวทําใหเกิดการเคลื่อนที่ในสนามสม่ําเสมอนั้น
โดย ประจุไฟฟาบวก จะวิ่งไปหาขั้วไฟฟาลบ
และ ประจุไฟฟาลบ จะวิ่งไปหาขั้วไฟฟาบวก
! โปรดสังเกตุวา
แรงกระทําตอประจุบวกจะมีทิศเดียวกับสนามไฟฟา
แรงกระทําตอประจุจะมีทิศตรงกันขามกับสนามไฟฟา!
และ เราสามารถหาขนาดของแรงกระทํานั้น ไดจาก
F = q E หรือ F = q d
V
5 ซม.!
5 ซม.!
B
C
E
!
!
A
.!
/!
2 m
60o!
0!
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! %"!
เมื่อ F คือ แรงที่กระทําตอประจุ q
E = สนามไฟฟาสม่ําเสมอ (N/C , V/m)
V = ความตางศักยระหวางจุดที่คํานวณ (โวลต)
d = ระยะหางระหวางจุดที่คํานวณ (เมตร)
56. ประจุไฟฟาขนาด +1 x 10–6 คูลอมบ อยูในสนามไฟฟาสม่ําเสมอซึ่งมีทิศจากซายไปขวา
และมีความเขม 8 โวลต / เมตร จะถูกแรงกระทําเทาใดและไปทางไหน ( 8x10–6N , ไปทางขวา)
วิธีทํา
!
57(En 32) เมื่อนําประจุ –2 x 10–6 คูลอมบ เขาไปวางไว ณ จุด ๆ หนึ่ง ปรากฏวามีแรง
8 x 10–6 นิวตัน มากระทําตอประจุนี้ในทิศจากซายไปขวา สนามไฟฟาตรงจุดนั้น
1. มีความเขม 4 โวลต/เมตร ทิศจากซายไปขวา
2. มีความเขม 4 โวลต/เมตร ทิศจากขวาไปซาย
3. มีความเขม 0.25 โวลต/เมตร ทิศจากซายไปขวา
4. มีความเขม 0.25 โวลต/เมตร ทิศจากขวาไปซาย (ขอ 2)
วิธีทํา
!
58. เมื่อนําประจุ 3.6x10–14 คูลอมบ วางในสนามไฟฟาของแผนโลหะสองแผน ซึ่งมีความ
ตางศักย 105 โวลต และอยูหางกัน 0.3 เมตร จะเกิดแรงกระทําตอประจุเทาไร
ก . 1.2x10–9 N ข . 1.2x10–10 N ค. 1.2 x 10–11 N ง. 1.2x10–12 N (ค.)
วิธีทํา
!
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! %%!
59(En 35) แผนโลหะขนาน 2 แผน วางหางกันเปนระยะ d และมีประจุไฟฟาชนิดตรงขาม
อิเล็กตรอนที่หลุดจากแผนลบจะวิ่งดวยความเรง a ไปยังแผนบวก ถาให m และ q เปนมวล
และประจุของอิเล็กตรอนตามลําดับ แผนโลหะทั้งสองมีความตางศักยเทาไร
1. q
md 2. m
qE 3. qma 4. q
mad (ขอ 4)
วิธีทํา
!
60. ในการทดลองตามแบบของมิลลิแกน พบวาหยดน้ํามันหยดหนึ่งลอยนิ่งไดระหวางแผนโลหะ
ขนาน 2 แผน ซึ่งหางกัน 0.8 เซนติเมตร โดยมีความตางศักยระหวางแผนทําใหเกิดสนาม
12000 โวลตตอเมตร ถาหยดน้ํามันมีประจุไฟฟา 8.0 x 10–19 คูลอมบ จะมีน้ําหนักเทากับ
1 . 7.7 x 10–17 N 2 . 6.4 x 10–19 N
3. 9.6 x 10–19 N 4. 9.6x10–15 N ( 4.)
วิธีทํา
!
61. การทดลองหยดน้ํามันของมิลลิเกน พบวาถาตองการใหหยดน้ํามันซึ่งมีมวล m และอิเล็ก–
ตรอนเกาะติดอยู n ตัว ลอยนิ่งอยูระหวางแผนโลหะ 2 แผน ซึ่งวางขนานหางกัน เปนระยะ
ทาง d และมีความตางศักย V ประจุของอิเล็กตรอนที่คํานวณไดจากการทดลองนี้จะมีคาเทาใด
1. nV
mgd 2. nd
mgV 3. V
nmgd 4. d
nmgV (ขอ 1)
วิธีทํา
!
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! %&!
ตอนที่ 6 ตัวเก็บประจุ และ การตอตัวเก็บประจุ!
!
! ตัวเก็บประจุ คือ วัสดุที่สามารถเก็บสะสมประจุไฟฟาไวภายในตัวเองได
!! ตัวเก็บประจุ แบบทรงกลม!
! ! ตัวเก็บประจุแบบนี้เราสามารถหาคาความจุประจุไดจาก!
K
a=C หรือ V
Q=C
เมื่อ C คือ คาความจุประจุ (ฟารัด)
a คือ รัศมีทรงกลม
K = 9x109 N. m2/c2
Q คือ ประจุที่เก็บสะสม (คูลอมบ)
V คือ ศักยไฟฟาที่ผิว (โวลต)
62. ตัวนําทรงกลมรัศมี 10 เซนติเมตร ความจุประจุของทรงกลมมีคากี่ฟารัด (1.1x10–11 F)
วิธีทํา
!
63. จากโจทยที่ผานมา หากศักยไฟฟาสูงสุดที่ผิวตัวนํามีคาเทากับ 3x102 โวลต ประจุไฟฟา
สูงสุดที่ทรงกลมนี้สามารถเก็บไดมีคากี่ไมโครคูลอมบ (3.3x10–4)
วิธีทํา
!
64(En 41/2) ศักยไฟฟาของตัวนําทรงกลมรัศมี 60 เซนติเมตร มีคาเทากับ 3 x 105 โวลต
ประจุไฟฟาในขอใดที่ตัวนํา ทรงกลมนี้สามารถเก็บได (ขอ 3)
1. 12 µC 2. 18 µC 3. 20 µC 4. 24 µC
วิธีทํา
!
!
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! %'!
ตัวเก็บประจุแบบแผนโลหะคูขนาน
! ! ตัวเก็บประจุแบบนี้เราสามารถหาคาความจุประจุไดจาก!
V
Q=C
Q คือ ประจุที่ขั้วบวก (คูลอมบ)
V คือ ความตางศักยระหวางขั้วไฟฟา (โวลต)
!
65. ตัวเก็บประจุตัวหนึ่งมีความจุ 0.2 µF ใชงานกับความตางศักย 250 โวลต จะเก็บประจุไว
ไดกี่คูลอมบ (ขอ ง)
ก. 0.5 x 102 ข . 1.25 x 102 ค. 2.5 x 10–5 ง. 5 x10–5
วิธีทํา
!
66. แผนโลหะขนาดหางกัน 0.1 เมตร ใชทําเปนตัวเก็บประจุที่มีคาความจุ 9 นาโนฟารัด ถา
สนามไฟฟาระหวางแผนโลหะมีคา 3 N/C อยากทราบวาตัวเก็บประจุนี้ มีประจุกี่คูลอมบ
ก. 2.7 x 10–4 ข . 2.7 x 10–6 ค. 2.7 x 10–9 ง. 2.7x10–11 (ขอ ค)
วิธีทํา
!
! เราสามารถหา พลังงานไฟฟาที่เก็บสะสมในตัวเก็บประจุแผนโลหะคูขนานไดจาก!
U = 2
1 QV หรือ U = 2
1
C
2Q หรือ U = 2
1 CV2
เมื่อ U คือ พลังงานที่เก็บสะสม (จูล)
67. จงหาพลังงานที่สะสมในคาปาซิเตอรที่มีความจุ 2 µF เมื่อประจุไฟฟาใหคาปาซิเตอรจน
มีความตางศักย 2 V (4x10–6 จูล)
วิธีทํา
!
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! %(!
68. จงหาพลังงานที่สะสมในคาปาซิเตอรที่มีความจุ 2 µF เมื่อประจุไฟฟาใหคาปาซิเตอรจน
มีความตางศักย 100 V (10–2 J)
วิธีทํา
!
69(มช 42) ตัวเก็บประจุ 16 ไมโครฟารัด ตอเขากับความตางศักยคาหนึ่ง ทําใหมีพลังงาน
สะสมในตัวเก็บประจุ 0.5 จูล จงหาคาความตางศักยนี้ในหนวยของโวลต
1. 220 2. 150 3. 250 4. 180 (ขอ 3)
วิธีทํา
!
กฏการตอตัวเก็บประจุแบบอนุกรม
1) Qรวม = Q1 = Q2
2) V1 ≠ V2
3 ) Vรวม = V1 + V2 V1 =
1C
1Q
V2 =
2C
2Q
4)
รวมC
1 =
1C
1 +
2C
1
ตัวอยางที่ 1 จากวงจรดังรูป จงหา
ก. ใหหาคา Cรวม
ข. ใหหาคา Q1 และ Q2
ค. ใหหาคา V1 และ V2
ง. ใหหาคา Vรวม
วิธีทํา ก. จาก
รวมC
1 =
1C
1 +
2C
1
รวมC
1 = 4
1 + 12
1
รวมC
1 = 12
13+
Cรวม = 3µµµµF
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! %)!
ข. เนื่องจาก Q1 = Q2 = Qรวม = 24 µC
ค. จาก V1 =
1C
1Q
= µ
µ
4
24 = 6 โวลต
และ V2 =
2C
2Q
= µ
µ
12
24 = 2 โวลต
ง. ใหหาคา Vรวม จาก Vรวม = V1 + V2 = 6 + 2 = 8
หรือ Vรวม =
รวมC
รวมQ
= µ
µ
3
24 = 8 โวลต
70. จากรูป ก. ใหหาคา Cรวม (2 µµµµF)
ข. ใหหาคา Q1 และ Q2 (18 µµµµC)
ค. ใหหาคา V1 และ V2 ( 6 , 3)
ง. ใหหาคา Vรวม (9 โวลต)
วิธีทํา
!
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! %*!
71. จากรูป จงหา Cรวม และ Qรวม (4 µµµµF , 144 µµµµC)
วิธีทํา
!
72. จากขอที่ผานมา จงหาประจุ และ ความตางศักยของ
ตัวเก็บ 6 µF (144 µµµµC , 24 โวลต)
วิธีทํา
!
73. จากขอที่ผานมา จงหาประจุ และ ความตางศักยของ
ตัวเก็บ 12 µF (144 µµµµC , 12 โวลต)
วิธีทํา
!
74. จากขอที่ผานมา จงหาพลังงานไฟฟาของตัวเก็บ 12 µF ( 8.64 x 10–4 จูล)
วิธีทํา
!
6 µF 12 µF
Vรวม = 36 โวลต
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! %+!
กฏการตอตัวเก็บประจุแบบขนาน
1) Qรวม ≠ Q1 ≠ Q2
2) Qรวม = Q1 + Q2
3) Vรวม = V1 = V2
4) Cรวม = C1 + C2
ตัวอยางที่ 2 จากวงจรดังรูป จงหา
ก. ใหหาคา Cรวม
ข. ใหหาคา Vรวม
ค. ใหหาคา V1 และ V2
ง. ใหหาคา Q1 และ Q2
วิธีทํา ก. จาก Cรวม = C1 + C2 = 3 + 6 = 9µF
ข. จาก Vรวม =
รวมC
รวมQ
= µ
µ
9
18 = 2 โวลต
ค. จาก V1 = V2 = Vรวม = 2 โวลต
ง. จาก V = C
Q
จะได Q = CV
Q1 = C1V1 = (3µ)(2) = 6 µ
Q2 = C2V2 = (6µ)(2) = 12 µ
หรือ อาจทําอีกวิธีดังนี้ ขั้นแรก สมมุติกระแส Q1 และ Q2 ดังรูป
เนื่องจาก V1 = V2
1C
1Q
=
2C
2Q
µ3
x = µ6
x18-
2x = 18 – x
x = 6
ดังนั้น Q1 = x = 6 µ
Q2 = 18 – x = 18 –6 = 12 µ
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! %,!
75. จากรูป
ก. ใหหาคา Cรวม (16 µµµµF)
ข. ใหหาคา Vรวม (3 โวลต)
ค. ใหหาคา V1 และ V2 (3 โวลต)
ง. ใหหาคา Q1 และ Q2 ( 12 µµµµ , 36 µµµµ)
วิธีทํา
!
76(มช 39) จากรูป จงหาคาความจุรวม และ
ประจุไฟฟารวมบนตัวเก็บประจุทั้งสอง (ขอ 3)
1. 7 pF , 0.05 pC 2. 1.4 pF , 196 pC
3. 7 pF , 980 pC 4. 1.4 pF , 1960 pC
วิธีทํา
!
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! &-!
77. จากรูป จงหาความตางศักยระหวางจุด A กับจุด B
และ ประจุไฟฟาในตัวเก็บประจุ 2 µF
วิธีทํา ( 36 V , 72 µµµµC)
78. จากขอที่ผานมา จงหาความตางศักยระหวางจุด C กับจุด D และ ประจุไฟฟาในตัวเก็บประจุ
6 µF ( 36 V , 72 µµµµC)
วิธีทํา
!
79. จากขอที่ผานมา ความตางศักยของตัวเก็บประจุ 6 µF ( 12 V )
วิธีทํา
!
80. จากขอที่ผานมา พลังงานไฟฟาที่สะสมในตัวเก็บประจุ 6 µF (4.32x10–4 จูล)
วิธีทํา
!
6 µF 3 µF
Vรวม = 36 โวลต
2 µFA B
DC
*
* *
*
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! &"!
81(En 44/1) วงจรไฟฟาประกอบดวยตัวเก็บประจุสามตัวตออยูกับ
ความตางศักย 12 โวลต ดังรูป จงคํานวณหาขนาดของความ
ตางศักยที่ครอมตัวเก็บประจุ 3 ไมโครฟารัด และ 6 ไมโครฟารัด
ตามลําดับ (ขอ 4)
1. 12 V และ 12 V 2. 6 V และ 6 V 3. 4 V และ 8 V 4. 8 V และ 4 V
วิธีทํา
!
82(En 42/2) จากรูป เมื่อกอนปดวงจรตัวเก็บประจุทั้งสาม
ยังไมมีประจุไฟฟาอยูภายในเลย เมื่อปดวงจรและเมื่อ
เวลาผานไปนานพอสมควร พลังงานไฟฟาที่สะสมอยู
ในตัวเก็บประจุ C1 มีคาเทาใด (ขอ 1)
1. 4.5 x 10–6 J 2. 6.0 x 10–6 J 3. 9.0 x 10–6 J 4. 18.0 x 10–6 J
วิธีทํา
!
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! &%!
83. C1 = 4 ไมโครฟารัด C2 = 6 ไมโครฟารัด
C3 = 6 ไมโครฟารัด C4 = 6 ไมโครฟารัด
ตอตัวเก็บประจุ C1 , C2 , C3 และ C4 ดังรูป จงหา
ความจุรวมของตัวเก็บประจุทั้งหมดในหนวยไมโครฟารัด (6 ไมโครฟารัด)
วิธีทํา
!
!
กฏเกี่ยวกับการแตะกันของตัวเก็บประจุ
เมื่อนําตัวเก็บประจุหลาย ตัวมาแตะกัน
1) หลังแตะ ศักยไฟฟาของตัวเก็บประจุทุกตัวจะเทากัน
2) ประจุ ( Q ) รวมกอนแตะ = ประจุ ( Q ) รวมหลังแตะ
84. ตัวนําทรงกลมรัศมี a ที่มีประจุ –Q ไปแตะกับตัวนําทรงกลมรัศมี 2 a ที่มีประจุ +4Q
หลังจากแยกออกจากกันแลวตัวนําทรงกลมรัศมี a จะมีประจุเทาใด
1. 2
Q 2. Q 3. 2
3Q 4. 2Q (ขอ 2)
วิธีทํา
!
!
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! &&!
85. ตัวนําทรงกลมรัศมี a ที่มีประจุ –Q ไปแตะกับตัวนําทรงกลมรัศมี 3a ที่มีประจุ +9Q หลัง
จากแยกออกจากกันแลวตัวนําทรงกลมรัศมี a จะมีประจุเทาใด
1. 2
Q 2. Q 3. 2
3Q 4. 2Q (ขอ 4.)
วิธีทํา
!
86(En 36) ) ตัวเก็บประจุขนาด 50 µF อันหนึ่ง มีความตางศักย 16 โวลต เมื่อนํามาตอ
ขนานกับตัวเก็บประจุขนาด 30 µF ซึ่งแตเดิมไมมีประจุอยูเลย จงหาความตางศักยของ
ตัวเก็บประจุ 30 µF (10 โวลต)
วิธีทํา
!
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! &'!
7. ประจุไฟฟา และการเหนี่ยวนําทางไฟฟา
พิจารณาตัวอยางสมมุติ การถูแทงพลาสติกกับผาสักหลาด!
1!ปกติแลวอะตอมในแทงพลาสติก และในผาสักหลาดจะมี!
! ! จํานวนอิเลคตรอน (ประจุลบ) เทากับจํานวนโปรตรอน!
(ประจุบวก) แตเมื่อเกิดการเสียดสี จะทําใหเกิดการหมุน!
เวียนของอิเลคตรอนของแทงพลาสติกกับผาสักหลาด !
1!หากแทงพลาสติกไดรับอิเลคตรอนมากกวาที่เสียไป!
! จะทําใหแทงพลาสติกมีประจุสะสมเปนลบ !
1! ประจุที่สะสมตรงนี้เรียกวา ไฟฟาสถิตย !
!
!! 1! ตอไปหากเรานําแทง พลาสติกที่มีประจุลบสะสม!
อยูนี้ ไปวางใกลๆ วัตถุเล็กๆ ซึ่งปกติในวัตถุนั้นจะมีอิเลคตรอน และ โปรตรอนของ!
อะตอมกระจายตัวอยูอยางสม่ําเสมอในปริมาณที่เทากัน แตเมื่อถูกแทงพลาสติกเขาใกล!
ประจุลบบนแทงพลาสติก จะผลักอิเลคตรอนในวัตถุใหเคลื่อนไปอยูฝงตรงกันขาม !
เหลือประจุบวกในฝงใกลแทงพลาสติก และจะทําใหเกิดแรงดูดระหวางประจุบวกบน!
วัตถุกับลบบนแทงพลาสติก ทําใหวัตถุเคลื่อนที่ เขามาหาแทงพลาสติกใหเห็นได !
1!การจัดเรียงประจุบนวัตถุ เมื่อถูกไฟฟาสถิตยเขาใกล เรียกวาเปนการเหนี่ยวนําทางไฟฟา!
87. จงเติมขอความลงในชองวางตอไปนี้ใหไดใจความที่ถูกตอง และ สมบูรณ
สมมุตินําวัตถุ A มาถูกับผาสักหลาด B แลวปรากฏวา มีอิเลคตรอนเคลื่อนเขามายังแทง
วัตถุ A มากกวาจํานวนอิเลคตรอนที่เคลื่อนออกจากวัตถุ A เมื่อแยกวัตถุ A ออกจาก
ผาสักหลาด วัตถุ A จะมีประจุสะสมเปน (1) และเมื่อนําวัตถุ A ไปวาง
ใกล ๆ วัตถุเล็ก ๆ จะเกิดการจัดเรียงประจุบนวัตถุนั้นดังรูป
การจัดเรียงประจุบนวัตถุเล็กๆ หลังจากนํา
วัตถุ A เขาใกล เรียก (4)
( 1. ลบ 2. −−−− 3. + 4. การเหนี่ยวนําทางไฟฟา )
2!
+ +!+ +!
2! 2!
2!
2!
+ +!+ +!
2! 2!
2!
2!
+ !
−
−
−
+
+
3−
−
−
2!
'2!
−
−
−
(2) (3)
เติมประจุ + หรือ −!
/
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! &(!
1! จากตัวอยางสมมุติที่ผานมา หากแทงพลาสติก !
เสียอิเลคตรอนมากกวาที่ไดรับมา จะทําใหแทง!
พลาสติกมีประจุสะสมเปนบวก ประจุที่สะสม!
ตรงนี้เรียกก็วา ไฟฟาสถิตย !
1!ตอไปหากเรานําแทงพลาสติกที่มีประจุบวกสะสม!
อยูนี้ ไปไวใกลวัตถุเล็กๆ ประจุบวกบนพลาสติก!
จะดูดอิเลคตรอนในวัตถุ ใหเคลื่อนไปอยูฝงใกล!
แทงพลาสติก เหลือประจุบวกในฝงตรงกันขาม !
และจะทําใหเกิดแรงดูดระหวางประจุบวกบนแทง!
พลาสติกกับลบบนวัตถุ ทําใหวัตถุเคลื่อนที่เขามาหาแทงพลาสติกใหเห็นไดเชนกัน !
1! การจัดเรียงประจุบนวัตถุ เมื่อถูกไฟฟาสถิตยเขาใกล เรียกวาเปนการเหนี่ยวนําทางไฟฟา!
88. จงเติมขอความลงในชองวางตอไปนี้ใหไดใจความที่ถูกตอง และ สมบูรณ
สมมุตินําวัตถุ A มาถูกับผาสักหลาด B แลวปรากฏวา มีอิเลคตรอนเคลื่อนออกจากแทง
วัตถุ A มากกวาจํานวนอิเลคตรอนที่เคลื่อนเขามาหาวัตถุ A เมื่อแยกวัตถุ A ออกจาก
ผาสักหลาด วัตถุ A จะมีประจุสะสมเปน (1)
และเมื่อนําวัตถุ A ไปวางใกลๆ วัตถุเล็กๆ จะเกิดการจัดเรียงประจุบนวัตถุนั้นดังรูป
การจัดเรียงประจุบนวัตถุเล็กๆ หลังจากนํา
วัตถุ A เขาใกล เรียก (4)
( 1. บวก 2. + 3. −−−− 4. การเหนี่ยวนําทางไฟฟา )
89. จากขอที่ผานมาโปรตรอน(ประจุบวก) จะเคลื่อนที่จากวัตถุ A มาหาผาสักหลาด
หรือ เคลื่อนจากผาสักหลาดมาหาวัตถุ A ไดหรือไม เพราะเหตุใด
( ไมได เพราะโปรตรอนมีมวลมาก ( มากกวาอิเลคตรอน 1835 เทา ) การเคลื่อนที่จึงทําไดยาก )
2!
+ +!+ +!
2! 2!
2!
2!
+ +!+ +!
2! 2!
2!
2!
+ !
3
3
+
−
−
−
3
3
+
(2!
2!
3
+
3
(2) (3)
เติมประจุ + หรือ −!
/
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! &)!
90. เมื่อถูแทงแกวดวยผาไหม แทงแกวจะมีประจุไฟฟาเปนบวกเพราะวาสาเหตุใด
1. โปรตรอนบางตัวในไหมถายเทไปแทงแกว
2. อิเล็กตรอนบางตัวหลุดจากแทงแกว และถายเทไปยังผาไหมทําใหเหลือประจุไฟฟา
บวกบนแทงแกวมากกวาประจุไฟฟาลบ
3. ทั้งขอ ก และ ข ถูกตอง
4. ผิดหมดทุกขอ (ขอ 2)
91(มช 32) เมื่อนําแทงพีวีซีที่ถูกับผาสักหลาดแลวไปวางใกล ๆ กับลูกพิธที่เปนกลางทางไฟฟา
จะสังเกตเห็นเหตุการณที่เกิดขึ้นดังนี้
ก. ลูกพิธจะหยุดนิ่ง
ข. ลูกพิธจะเคลื่อนที่เขาหาแทงพีวีซี
ค. ลูกพิธจะเคลื่อนที่ออกหางจากแทงพีวีซี
ง. ลูกพิธจะเคลื่อนที่เขาหาแทงพีวีซีในตอนแรก แลวจะเคลื่อนที่จากไปภายหลัง (ขอ ข)!
92(มช 36) ทรงกลมโลหะ A และ B วางสัมผัสกันโดยยึดไว
ดวยฉนวน เมื่อนําแทงอิโบไนทซึ่งมีประจุลบเขาใกลทรงกลม
A ดังรูป จะมีประจุไฟฟาชนิดใด เกิดขึ้นที่ตัวนําทรงกลมทั้งสอง
ก. ทรงกลมทั้งสองจะมีประจุบวก
ข. ทรงกลมทั้งสองจะมีประจุลบ
ค. ทรงกลม A จะมีประจุบวก และทรงกลม B มีประจุลบ
ง. ทรงกลม A จะมีประจุลบ และทรงกลม B มีประจุบวก
จ. ไมเกิดไฟฟาที่ทรงกลมทั้งสอง (ขอ ค)
93(En 34) โลหะทรงกระบอกยาวปลายมนเปนกลางทาง
ไฟฟาตั้งอยูบนฐานที่เปนฉนวน ถานําประจุบวก
ขนาดเทากันมาใกลปลายทั้งสองขางพรอมกันโดยระยะ
หางจากปลายเทา ๆ กัน ตามลําดับ การกระจายของประจุสวน A สวน B และ C ของ
ทรงกระบอกเปนอยางไร
1. A และ C เปนลบแต B เปนกลาง 2. A และ C เปนกลาง แต B เปนบวก
3. A และ C เปนบวก แต B เปนลบ 4. A และ C เปนลบแต B เปนบวก (ขอ 4)
!
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! &*!
94(มช 31) เมื่อนําสาร ก มาถูกกับสาร ข พบวา สาร ก มีประจุไฟฟาเกิดขึ้น สาร ก ตองเปนสารใด
ก. ตัวนํา ข. ฉนวน ค. กึ่งตัวนํา ง. โลหะ (ขอ ข)
อิเลคโตรสโคป คือ เครื่องมือใชตรวจหาไฟฟาสถิตย
อิเลคโตรสโคป มี 2 ชนิด คือ
1) อิเลคโตรสโคปแบบลูกพิธ
เปนอิเลคโตรสโคปซึ่งทําจากเม็ดโฟม ฉาบผิว
เอาไวดวยอลูมิเนียม เมื่อมีวัตถุที่มีไฟฟาสถิตย
เขาใกล จะเกิดการเหนี่ยวนําทางไฟฟาทําให
อิเลคโตรสโคปเอียงเขาหาวัตถุนั้น
95. จงเติมขอความลงในชองวางตอไปนี้ใหไดใจความที่ถูกตอง และ สมบูรณ
( 1. −−−− 2. + 3. + 4. −−−− )
2) อิเลคโตรสโคปแบบจานโลหะ
มีลักษณะดังรูป เมื่อถูกวัตถุที่มีไฟฟาสถิตยเขาใกลจานโลหะดานบน จะเกิดการเหนี่ยวนํา
ทางไฟฟาทําใหแผนโลหะบาง ๆ ดานลางกางออก
!
3
+
3
(3) (4)
เติมประจุ + หรือ −!
−
−
−
(1) (2)
เติมประจุ + หรือ −!
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! &+!
96. จงเติมขอความลงในชองวางตอไปนี้ใหไดใจความที่ถูกตอง และ สมบูรณ
( 1. + 2. −−−− 3. −−−− 4. −−−− 5. + 6. + )
!
การตอสายดิน!
พิจารณาการทดลองตอไปนี้!
!
!
!
!
!
!
!
!
!
!
!
!
!
!
!
!
!
!
!
!
1) อิเลคตรอนถูกผลักลง
ขางลางแผนโลหะจะกาง
2) ตอสายดิน อิเลคตรอนจะวิ่ง
ลงสูพื้นโลกแผนโลหะจะหุบ
3) ตัดสายดินออก
ไมเปลี่ยนแปลง
4) นําวัตถุที่มีประจุดานบนออกอิเลคโตร-
สโคปจะเหลือประจุบวกมากกวาลบแผน
โลหะดานลางจะกางออก
หากนําวัตถุที่มีประจุออกกอนตัดสายดิน อิเลค-
ตรอนที่พื้นโลกจะวิ่งขึ้น มาบนอิเลคโตรสโคป
ทําใหเปนกลางทางไฟฟาแผนโลหะจะไมกางออก!
−−
−
เติมประจุ + หรือ −!
(1)
.!
(2) (3) !
+3
+
เติมประจ + หรือ −!
(4)
.!
(5) (6) !
−
−
+ + + + + + !
−!
−!
− −
−
−
−
+ + + + + + !
−
−
+ + + + + + !
+ + + + !
+!
+!
+
+!
+!
+ − + − + − !
!
+!
−
!
+!
−
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! &,!
97. จงเติมประจุ + หรือ − หรือ 0 หากเปนกลางทางไฟฟา ในตําแหนงที่ 1 − 12
( 1. + 2. −−−− 3. −−−− 4. + 5. 0 6. 0 7. + 8. 0 9. 0 10. + 11. + 12. + )
พิจารณาการทดลองตอไปนี้!
4) นําวัตถุที่มีประจุดานบนออกอิเลคตรอน
ดานบนจะเคลื่อนลงมาดานลาง ทําใหมีลบ
มากเกินไป แผนโลหะดานลางจะกางออก
1) อิเลคตรอนถูกดูดขึ้น แผน
โลหะดานลางจะเหลือบวก
และเกิดแรงผลักทําใหกางออก!
2) ตอสายดิน อิเลคตรอนจากพื้น
โลกจะวิ่งขึ้นมาอยูบนแผนโลหะ
ดานลาง ทําใหแผนโลหะเปนกลาง
ทางไฟฟาแลวหุบลง
3) ตัดสายดินออก
ไมเปลี่ยนแปลง
หากนําวัตถุที่มีประจุออกกอนตัดสายดิน อิเลค-
ตรอนบนอิเลคโตรสโคปที่มากเกินไปจะวิ่งลงพื้น
โลก จนอิเลคโตรสโคปเปนกลาง และจะหุบลง
3
− − − − − −!
+!
+!
− − − !
−!
+!
−
−+ −!
!
!
+!
−
!
+!
−
3
3
3
3
3
+!
+!
+
− − − − − −!
!
+!
−
!
+!
−
− − − − − −!
!
+!
−
!
+!
−
−
−
(1) !
−
− −
−
(2) !
(3) !
(4) !
(5) !
(6) !
(7) !
(8) !
(9) !
(10)
(11)
(12)
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! '-!
98. จงเติมประจุ + หรือ − หรือ 0 หากเปนกลางทางไฟฟา ในตําแหนงที่ 1 − 12
( 1. −−−− 2. + 3. + 4. −−−− 5. 0 6. 0 7. −−−− 8. 0 9. 0 10. −−−− 11. −−−− 12. −−−− )
99(En 29) ถาตองการใหอิเลคโตรสโคปมีประจุบวก ควรมีขั้นตอนในการกระทําเปนอยางไร
1. นําวัตถุที่มีประจุบวกเขาใกลจานโลหะของอิเล็กโตรสโคป
2. นําวัตถุที่มีประจุลบเขาใกลจานโลหะของอิเล็กโตรสโคป
3. ตอสายดินกับจานโลหะของอิเล็กโตรสโคป
4. ดึงวัตถุที่มีประจุออก
5. ดึงสายดินออก
ก. 1 3 4 5 ข. 1 3 5 4 ค. 2 3 4 5 ง. 2 3 5 4 (ขอ ง)
ตอบ
100(มช 40) วัตถุที่มีประจุเขามาใกลจานโลหะหลังจากนั้น ใชสายไฟที่ปลายขางหนึ่งตอโยงกับ
ตัวนําที่ฝงใตดินชื้น ๆ แลวนําอีกปลายหนึ่งมาแตะจานโลหะดังแสดงในรูป จงเลือกขอที่เกิดขึ้น
1. 2. 3. 4.
(ขอ 2)
ตอบ
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""
! !
3
+
(1) !
(2) !
(3) !
(4) !
(5) !
(6) !
(7) !
(8) !
(9) !
(10)
(11)
(12)
3
+ 3
+
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! '"!
ฟสิกส บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
!
! กฎของคูลอมบ!
1. จงหาระยะหางที่เกิดจากจุดประจุทั้งสองที่มีขนาด +1.0 และ –1.0 ไมโครคูลอมบ และมี
แรงดึงดูดตอกัน 440 นิวตัน (4.5x10–3 ม.)
2. นิวเคลียสของอะตอมฮีเลียมประกอบดวยโปรตอน 2 ตัว ซึ่งอยูหางกันประมาณ 3.0x10–15
เมตร จงหาขนาดของแรงที่เกิดกับโปรตอนแตละตัว
(โปรตรอน 1 ตัว มีประจุ 1.6 x 10–19 คูลอมบ ) (25.6 N)
3. ประจุคูหนึ่งวางใหหางกันเปนครึ่งหนึ่งของระยะเดิม แรงกระทําระหวางประจุจะเพิ่มหรือ
ลดจากเดิมเทาไร
ก. เพิ่มขึ้น 2
1 เทา ข. เพิ่มขึ้น 2 เทา
! ! ค. เพิ่มขึ้น 4 เทา! ! ! ! ! ! ! ง. ลดลง 2 เทา! (ขอ ค)!
4. แรงผลักระหวางประจุที่เหมือนกันคูหนึ่งเปน 3.5 นิวตัน จงหาขนาดของแรงผลักระหวาง
ประจุคูนี้ ถาระยะหางของประจุเปน 5 เทาของเดิม (0.14 N)
5. เมื่อวางลูกพิธที่มีประจุหางกัน 10.0 เซนติเมตร ปรากฎวามีแรงกระทําตอกัน 10–6 นิวตัน
ถาวางลูกพิธทั้งสองหางกัน 2.0 เซนติเมตร จะมีแรงกระทําระหวางกันเทาใด (2.5x10–5 N)
6. ลูกพิธ 2 ลูกวางหางกัน 8 ซม. จะเกิดแรงผลักกันคาหนึ่ง ถาเพิ่มประจุลูกหนึ่งเปน 2 เทา
และอีกลูกหนึ่งเปน 3 เทา จะตองวางลูกพิธทั้งสองหางกันเทาใด จึงจะเกิดแรงกระทําเทาเดิม
! ! ( วางหางกัน 8 6 !ซม.)!
7. กอนทองแดง 2 กอน วางหางกัน 3 เมตร แตละกอนมีอิเล็กตรอนอิสระอยู 5 x 1014 ตัว
จงหาขนาดของแรงผลักที่เกิดขึ้นในหนวยนิวตัน
ก. 1.4 ข. 2.4 ค. 4.4 ง. 6.4 (ขอ ง)
8. ทรงกลมโลหะลูกเล็ก ๆ เริ่มแรกไมมีประจุสองลูก จะตองมีการถายเทอิเล็กตรอน จํานวน
กี่ตัว จากลูกหนึ่งไปยังอีกลูกหนึ่ง จึงจะทําใหเกิดแรงดึงดูดระหวางทรงกลมทั้งสอง เทากับ
1.0 นิวตัน ขณะที่อยูหางกัน 10 เซนติเมตร
1. 6.59x1010 ตัว 2. 6.59x109 ตัว
3. 6.59x108 ตัว! ! ! ! ! ! ! 4. 6.59x1012 ตัว! (ขอ 4)
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! '%!
9. ประจุ q1 = +4 x 10–6 คูลอมบ , q2 = –5 x 10–6 คูลอมบ และ q3 = +6 x 10–6
คูลอมบ วางอยู ดังรูป จงหาแรงที่เกิดขึ้นกับประจุ q2 (0.0281 N)
-– – – – – – – – – – – – – –!4!4!4!!4!4!4!4!!
10. ประจุไฟฟา 3 ตัว ขนาด +6 ไมโครคูลอมบ
+10 ไมโครคูลอมบ และ –8 ไมโครคูลอมบ
วางอยูในตําแหนงดังแสดงในรูป จงหาแรง
ลัพธที่เกิดขึ้นกับประจุ +10 ไมโครคูลอมบ
(19 นิวตัน)
11. ประจุไฟฟาเทากันวางอยูที่จุด A , B และ C
โดยระยะ AB = 2 !56!!7!!BC = 1 cm ถา
แรงไฟฟาที่กระทําตอ C เนื่องจาก B เทากับ
1x104 นิวตัน แรงไฟฟาทั้งหมดที่กระทําตอ
B มีขนาดเทาใด ( 2
5 x104 N)
12. จากรูป จงหาขนาดของแรงที่กระทําตอ +3 µC
ก. 6.75x10–2 N ข. 13.5 N
ค. 22.5 N ง. 675 N
จ. 1350 N (ขอ ง)
13. ประจุ +10 ไมโครคูลอมบ , +20 ไมโครคูลอมบ
และ +4 ไมโครคูลอมบ วางอยูในตําแหนงแสดง
ดังรูป จงหาแรงลัพธที่ประจุ +20 ไมโครคูลอมบ
(3.4 N)
– – – – – – – – – – – – – – !+ +30 cm + 10 µµµµC
+ 6 µµµµC
20 cm
– 8 µµµµC
A
C
1 cm
cm2 !
•!
•!
•!
+10 µC
2 cm 2 cm
–10 µC+3 µC 2 cm
+ +
+
+10 µC
80 cm
60 cm100 cm
+20 µC
37o
+4 µC
++
2 m 4 m
q1= 4x10–6 C q2 = –5x10–6 C q3 = +6x10–6 C!
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! '&!
! 1 6
!
สนามไฟฟา
14. จงหาความเขมสนามไฟฟาที่ระยะ 50 ซม. จากประจุ +10–4 คูลอมบ (3.6x106 N/C ทิศออก)
15. ความเขมสนามไฟฟาที่จุดหางจากประจุ 0.15 เมตร เปน 160 นิวตันตอคูลอมบ ที่จุดหาง
จากประจุ 0.45 เมตร จะมีความเขมสนามไฟฟาเทาใด (17.8 N/C)
16. ที่ตําแหนงซึ่งหางจากประจุหนึ่งเปนระยะ 2.0 เซนติเมตร มีขนาดของสนามไฟฟาเปน 105
นิวตันตอคูลอมบ จงหาขนาดของสนามไฟฟาที่หางจากจุดนี้ 1.0 เซนติเมตร (4x105 N/C)
17 (มช 42) วางประจุ 3 x 10–3 คูลอมบ , 2 x 10–3 คูลอมบ
และ –8x10–3 คูลอมบ ที่ตําแหนง A , B และ C ตามลําดับ
จงหาสนามไฟฟาที่ตําแหนง B ในหนวยของนิวตัน/คูลอมบ AB = 3 เมตร , BC = 2 เมตร
1. 21x106 2. 15x106 3. 30x106 4. 42x106 (ขอ 1)
18. ที่ตําแหนง ก , ข และ ค มีประจุเปน 1.0 x 10–7 ,
–1.0 x 10–7 และ –10 x 10–7 คูลอมบ ตามลําดับ
จงหาขนาดของสนามไฟฟาตําแหนง ค. เนื่องจาก
ประจุที่ตําแหนง ก และ ข (900 N/C)
19. จงหาความเขมสนามไฟฟาที่จุด B ในรูปที่กําหนด
( กําหนด cos 127o = cos 53o = 0.6 )
(7.26x106 N/C)
20 (En 38) ประจุ –1 คูลอมบ อยูที่จุด A และจุด B ซึ่งอยู
หางกัน 5 เมตร ที่จุด C ซึ่งอยูหางจากทั้งจุด A และจุด B
เปนระยะทาง 5 เมตร จะมีขนาดของสนามไฟฟาเทาไร
1. 3 25
Ek
N/C 2. 2
3 ⋅ 25
Ek
N/C
3. 25
E2k
N/C 4. 25
Ek
N/C (ขอ 1)
37o
8 cm
53o
6 cm
10 cm
+5 µC –3.6 µC
B
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! ''!
21. สนามไฟฟาที่ทําใหโปรตอนมวล 1.67x10–27 กิโลกรัม มีประจุ 1.6x10–19 คูลอมบ
เกิดความเรง 2x102 เมตรตอวินาที2 มีคาเทาไร
ก. 2x10–6 N/C ข. 2x10–5 N/C
ค. 2x10–4 N/C ง. 2x10–3 N/C (ขอ ก)
22. ที่จุดหางจากประจุตนเหตุ 1.2 m ประจุขนาด 6x10–12 C ถูกแรงกระทํา 6x10–10 N
จงหาคาประจุตนเหตุนี้ (1.6x10–8 C)
23. ที่จุด ๆ หนึ่งในสนามไฟฟา ปรากฎวาเกิดแรงกระทําตออิเล็กตรอนที่จุดนั้นมีคา 4.8 x 10–14 N
จงหาแรงที่กระทําตอประจุขนาด 9.0 x 10−7 C ที่จุดเดียวกันนั้น (0.27 N)
24. ประจุ q1 , q2 มีขนาดเทากันอยูหางกัน 0.1 m สนามไฟฟา ณ จุดกึ่งกลางระหวางประจุ
ทั้งสองมีทิศพุงเขาหา q2 และมีขนาด 4.8x104 V/m จงหา q1 , q2 ( ±±±± 6.67x10–9 C)
25. ประจุไฟฟาหนึ่ง (+5 µC) ถูกวางไวที่ตําแหนง X = 0 ซ.ม. และประจุไฟฟา ที่สอง
(+7 µC) ถูกวางไวที่ตําแหนง X = 100 ซ.ม จะตองวางประจุไฟฟาที่สนามไวที่
ตําแหนงใดจึงจะไดรับแรงสุทธิจากสองประจุแรกเทากับศูนย ( x = 45.80 Cm )
26. จุดประจุ +4 x 10–8 คูลอมบ และ +9 x 10–8 คูลอมบ อยูหางกัน 0.5 เมตร จงหาตําแหนง
ตามแนวเสนตรงระหวางจุดประจุทั้งสองที่มีขนาดของสนามไฟฟาเปนศูนย ณ ตําแหนงนั้น
(0.2 เมตร)
27. ประจุสองประจุมีขนาด –16 และ +4 ไมโครคูลอมบ วางอยูในตําแหนงซึ่งหางกัน 3 เมตร
จงหาตําแหนงที่อยูในแนวระหวางประจุทั้งสองที่จะใหเกิดสนามไฟฟาเปนศูนย (3 เมตร)
28. ประจุ +1 x 10–5 คูลอมบ และ –2 x 10–5 คูลอมบ วางอยูหางกัน 10 ซม. จงหาตําแหนง
ของจุดสะเทิน (จุดที่มีความเขมสนามไฟฟาเปนศูนย) (24.14 cm)
29. จุดประจุ 2 จุด อยูหางกัน 0.5 m จุดประจุหนึ่งมีคา +4 x 10–8 C หากสนามไฟฟาเปน
ศูนยอยูระหวางประจุทั้งสอง และหางจากจุดประจุ +4x10–8 C เทากับ 0.2 m คาของอีก
ประจุหนึ่งมีกี่คูลอมบ
ก. 0.9x10–8 ข. 3x10–8 ค. 9x10–8 ง. 30x10–8 (ขอ ค)
!
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! '(!
ศักยไฟฟา
30 (En 36) โลหะรูปทรงกลมรัศมี 10 cm มีประจุ 10–9 C
จากรูปจงหางานในการนําโปรตรอน 1 ตัว เคลื่อนที่
จากจุด B มายังจุด A ดังรูป
1. 2.9x10–18 J 2. 4.3x10–18 J
3. 7.2x10–18 J 4. 30x10–18 J (ขอ 2)
31. เมื่อนําประจุ 0.5 คูลอมบ จาก A ไป B ตองใชงาน 12.5 จูล ศักยไฟฟาที่ A และ B จะ
ตางกันกี่โวลต
ก. 25 ข. 12.5 ค. 2.5 ง. 0.25 (ขอ ก)
32. ในการเคลื่อนประจุ 5 x 10–2 คูลอมบ จาก A ไปยัง B เปนระยะ 10 เมตร ตองใชแรง
เฉลี่ย 2 นิวตัน ความตางศักยระหวาง AB มีคาเทาไร
ก. 4 x 102 V ข. 2.25 x 102 V
ค. 4 x 103 V ง. 2.25 x 103 V (ขอ ก)
33. จุด A อยูหางจากประจุ Q เปนระยะ r มีศักยไฟฟา V เมื่อนําประจุทดสอบ q
จากระยะอนันตมายังจุด A ตองเปลืองงานเทาไร
ก. r
Kq ข. r
KQ ค. r
KQq ง. 2r
KQq (ขอ ค)
34. จุด A อยูหางจากประจุ Q เปนระยะ d มีศักยไฟฟา V เมื่อนําประจุทดสอบ q จาก
ระยะอนันต (infinity) มายังจุด A จะสิ้นเปลื้องงานไปเทาใด
ก. kg/d ข. KQ/d ค. KQ/qd ง. KQq/d (ขอ ง)
35. จากรูป ถา O เปนจุดที่มีศักยไฟฟาเปนศูนย และอยูในระหวาง A, B แลว BO เทากับ
ก. 3
1 AB ข. 2
1 AB ค. 3
2 AB ง. AB (ขอ ก)
!
• • •
+2 µC –1 µC
A O B!
แนว AB
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! ')!
!
36(มช 38) ที่ตําแหนง O และ Q มีประจุไฟฟา
3.0x10–6 คูลอมบ และ –1.0 x 10–6 คูลอมบ
ดังรูป OR = QR = 0.4 เมตร และ PR = 0.3
เมตร จงหาความตางศักยระหวาง R และ P
(9000 โวลต)
37(มช 42 ) สี่เหลี่ยมจัตุรัสมีเสนทะแยงมุมยาว 0.2 เมตร วางประจุ 5 x 10–6 คูลอมบ ,
3 x 10–6 คูลอมบ –4 x 10–6 คูลอมบ และ –2 x 10–6 คูลอมบ ที่มุมทั้งสี่ของรูปสี่เหลี่ยมนี้
จงหาศักยไฟฟาที่จุดศูนยกลางของสี่เหลี่ยมจัตุรัสในหนวยโวลต
1. 18x104 2. 2x104 3. 14x104 4. 9x104 (ขอ 1)
38(มช 32) จุดประจุ 3 จุดประจุ วางอยูที่มุมของสามเหลี่ยมดานเทายาวดานละ 2 cm ทําให
จุดที่เสนมัธยฐานทั้งสามตัดกันมีศักยไฟฟาเปนศูนยหากจุดประจุ 2 ประจุ มีคา +2 ไมโคร–
คูลอมบ และ +4 ไมโครคูลอมบ จงหาคาจุดประจุตัวที่สามในหนวยไมโครคูลอมบ
ก. –8 ข. –6 ค. +6 ง. +8 (ขอ ข)
สนามไฟฟา และ ศักยไฟฟา รอบตัวนํา
39. ทรงกลมรัศมี 1 เมตร และมีประจุ –5x10–9 C จงหาสนามไฟฟาและศักยไฟฟาที่
ก. ระยะทาง 2 เมตร จากผิวทรงกลม ( 5 N/C , –15V )
ข. ผิวทรงกลม ( 45 N/C , –45V )
ค. ระยะ 0.2 เมตร จากจุดศูนยกลางทรงกลม
( 0 N/C , –45V )
40. ตัวนําทรงกลม A มี O เปนจุดศูนยกลาง เสนผานศูนยกลาง 2.0 cm เมื่อใหประจุ
+8.0 x 10–4 C แกทรงกลม ทรงกลม A ขาดอิเล็กตรอนไปกี่อนุภาค
ก. 5.0x105 ข. 2.0x1014 ค. 5.0x1023 ง. 2.0x1032 (ขอ ค)
41. จากขอที่ผานมา ความเขมสนามไฟฟาที่จุด O มีคาเทาไร
ก. 0 ข. 7.2x10–2 V/m ค. 1.8 V/m ง. 7.2 V/m (ขอ ก)
42. ถาตองการใหสนามไฟฟาที่ผิวทรงกลมตัวนําซึ่งมีรัศมี 10 cm มีความเขม 1.3 x 10–3 N/C
มีทิศพุงเขาสูจุดศูนยกลาง จะตองใหอิเล็กตรอนแกทรงกลมเทาใด
ก. 9x103 ข. 9 x 104 ค. 1014 ง. 1015 ! ! ! (ขอ ก)
1 ม.! 2 ม.!
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! '*!
สนามไฟฟาสม่ําเสมอ
43(มช 27) ขนาดของสนามไฟฟาในบริเวณระหวางแผนโลหะที่มีประจุตางชนิดกันจะมีคาอยางไร
ก. ศูนย ข. สม่ําเสมอตลอดบริเวณ
ค. มากเมื่อเขาใกลแผนประจุบวก ง. มากเมื่อเขาใกลแผนประจุลบ (ขอ ข)
44. จากรูป แผนโลหะ x , y ขนาดใหญตออยูกับขั้วแบต
เตอรี่ขนาด 120 V และอยูในสูญญากาศ สนามไฟฟา
ในระหวางแผนโลหะทั้งสองเปนเทาใด
ก. 6 V/m ข. 60 V/m
ค. 600 V/m ง. 6000 V/m (ขอ ง)
45. แผนโลหะขนานวางหางกัน 2 cm ตออยูกับแบตเตอรี่ตัวหนึ่ง ถาความเขมสนามไฟฟา
ระหวางโลหะทั้งสองเปน E เมื่อเลื่อนแผนโลหะใหหางกัน 4 cm ความเขมของสนาม
ไฟฟาระหวางแผนโลหะทั้งสองเปนเทาไร
ก. 4E ข. 2E ค. E ง. 2
E (ขอ ง)
46(มช 43) สนามไฟฟาสม่ําเสมอขนาดเทากับ 8 x 106 โวลต/เมตร
ตําแหนง A และ B อยูหาง กัน 0.5 เมตร ดังรูป จงหาความ
ตางศักยไฟฟาในหนวยเมกกะโวลต (MV) ระหวาง A และ B (4 เมก
47. ประจุขนาด 2.5 ไมโครคูลอมบ ถูกนําไปวางในสนามไฟฟาซึ่งมีทิศอยางสม่ําเสมอในทิศลง
ดวยความเขม 500 N/C จงหาความตางศักยของจุด 2 จุด ที่ประจุเคลื่อนที่ตามแนวตอไปนี้
ก. 2 เมตร ไปทางขวา ( 0 V)
ข. 0.8 เมตร ในทิศลง ( –400 V)
ค. 0.5 เมตร ในทิศขึ้น ( 250 V)
ง. 3 เมตร ทํามุมขึ้นไป 30o กับแนวระดับ ( 750 V)
48(En 35) แผนโลหะขนาน 2 แผนวางหางกัน d ความตางศักย V ถามีอนุภาคประจุ q
มวล m ลอยอยูระหวางแผนทั้งสอง จะมีแรงกระทําตออนุภาคนั้นเทาใด (ไมคิดแรงโนมถวง)
1. d
qV 2. V
qd 3. V
mqd 4. d
mqV (ขอ 1)
2 cm
3! 4!
120 V
8! 9!
Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
! '+!
49. วัตถุเล็ก ๆ ชิ้นหนึ่งมีประจุ –5 x 10–9 C ถูกนําไปวางที่จุดๆ หนึ่งในสนามไฟฟา ปรากฎวา
มีแรงกระทํา 2.0 x 10–9 N บนวัตถุนั้น สนามไฟฟาที่จุดนั้นมีคาเทาใด
ก. 0.4 N/C ทิศเดียวกับแรง ข. 0.4 N/C ทิศตรงขามกับแรง
ค. 4.0 N/C ทิศเดียวกับแรง ง. 4.0 N/C ทิศตรงขามกับแรง (ขอ ข)
50. จากรูป จงหาแรงไฟฟาที่กระทําตออิเล็กตรอนที่อยูในระหวางแผนโลหะขนาน AB
ก. 3.0 x 10 –33 N ทิศขึ้น
ข. 5.3 x 10–20 N ทิศขึ้น
ค. 5.3 x 10–20 N ทิศลง
ง. 4.8 x 10–19 N ทิศขึ้น (ขอ ข)
51. สนามไฟฟาขนาด 280,000 N/C มีทิศไปทางใต จงหาขนาดและทิศทางของแรงที่กระทํา
ตอประจุ –4.0 µC วางอยูในสนามไฟฟานี้ (ขนาด 1.12 N , ทิศเหนือ)
52. อนุภาคไฟฟาซึ่งมีประจุ –2.0 x 10–9 C ไดรับแรงเนื่องจากสนามไฟฟาสม่ําเสมอ
3.0 x 10–6 N ทิศลง จงหา
ก. สนามไฟฟา ( 1500 N/C)
ข. ขนาดและทิศของแรงที่กระทําตอโปรตอนเมื่ออยูในสนามนี้ ( 2.4x1016 N)
53. แผนตัวนําขนานหางกัน 0.2 เซนติเมตร ทําใหเกิดสนามสม่ําเสมอตามแนวดิ่ง ถาตองการ
ใหอิเล็กตรอนมวล 9.1 x 10–31 กิโลกรัม ที่มีประจุ –1.6x10–19 คูลอมบ ลอยอยูนิ่ง ๆ ได
ที่ตําแหนงหนึ่งระหวางแผนตัวนําขนานนี้ ความตางศักยระหวางตัวนําขนานตองเปนเทาใด
(1.14x10–13 โวลต)
54. หยดน้ํามันหยดหนึ่งมวล 0.02 กรัม ประจุ +q อยูในสนามไฟฟา ความเขม 10 N/C
ปรากฎวาหยดน้ํามันหยุดนิ่งโดยสมดุลกับแรงโนมถวงของโลก จงหาคา q
ก. 2x10–5 C ข. 2x10–4 C ค. 2x10–3 C ง. 2x10–2 C (ขอ ก)
55. หยดน้ํามันมวล 2.88 x 10–14 kg มีประจุไฟฟาทําใหลอยหยุดนิ่งในสนามไฟฟา
3 x 105 N/C ที่มีทิศขึ้นในแนวดิ่ง จงหาคาประจุบนหยดน้ํามัน
ก. 0 ข. 1.6x10–19 C ค. 3.2x10–19 C ง. 9.6x10–19 C (ขอ ง)
3
1E ====
!
!:;<!
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกTa Lattapol
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดpitsanu duangkartok
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น Wijitta DevilTeacher
 
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์Aey Usanee
 
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายSunanthaIamprasert
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงานPhanuwat Somvongs
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาAon Narinchoti
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าTheerawat Duangsin
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหลWijitta DevilTeacher
 
เรื่องที่1การวัด
เรื่องที่1การวัดเรื่องที่1การวัด
เรื่องที่1การวัดApinya Phuadsing
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชAnana Anana
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนพัน พัน
 
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าSomporn Laothongsarn
 
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็กเรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็กApinya Phuadsing
 

Mais procurados (20)

คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์
 
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
 
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้าตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้าการต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า
 
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
 
เรื่องที่1การวัด
เรื่องที่1การวัดเรื่องที่1การวัด
เรื่องที่1การวัด
 
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
 
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็กเรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
 

Destaque

วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol)
วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol) วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol)
วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol) Namchai Chewawiwat
 
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์Apinya Phuadsing
 
How to make science media easy to Thais, part 1
How to make science media easy to Thais, part 1How to make science media easy to Thais, part 1
How to make science media easy to Thais, part 1Namchai Chewawiwat
 
บทที่1 กลุ่มที่ 1
บทที่1 กลุ่มที่ 1บทที่1 กลุ่มที่ 1
บทที่1 กลุ่มที่ 1warayut jongdee
 
ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01Apinya Phuadsing
 
20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น
20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น 20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น
20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น Namchai Chewawiwat
 
เทคโนโลยีกับมนุษย์
เทคโนโลยีกับมนุษย์เทคโนโลยีกับมนุษย์
เทคโนโลยีกับมนุษย์New Sinsumruam
 
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมApinya Phuadsing
 
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนApinya Phuadsing
 
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าApinya Phuadsing
 
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตการวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตTor Jt
 
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคตแนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคตJA Jaruwan
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเกวลิน แก้ววิจิตร
 
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทยโอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทยNamchai Chewawiwat
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นPongtong Kannacham
 

Destaque (20)

วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol)
วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol) วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol)
วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol)
 
Values of science-20141202
Values of science-20141202 Values of science-20141202
Values of science-20141202
 
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
 
How to make science media easy to Thais, part 1
How to make science media easy to Thais, part 1How to make science media easy to Thais, part 1
How to make science media easy to Thais, part 1
 
บทที่1 กลุ่มที่ 1
บทที่1 กลุ่มที่ 1บทที่1 กลุ่มที่ 1
บทที่1 กลุ่มที่ 1
 
Img 0001
Img 0001Img 0001
Img 0001
 
ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01
 
20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น
20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น 20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น
20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น
 
เทคโนโลยีกับมนุษย์
เทคโนโลยีกับมนุษย์เทคโนโลยีกับมนุษย์
เทคโนโลยีกับมนุษย์
 
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
 
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
 
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตการวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
 
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
เทคโนโลยีในโลกอนาคต
เทคโนโลยีในโลกอนาคตเทคโนโลยีในโลกอนาคต
เทคโนโลยีในโลกอนาคต
 
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคตแนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
 
ระบบเทคโนโลยี
ระบบเทคโนโลยีระบบเทคโนโลยี
ระบบเทคโนโลยี
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทยโอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้น
 

Semelhante a เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์

เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์thanakit553
 
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่นเรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่นthanakit553
 
เรื่องที่5งานและพลังงาน
เรื่องที่5งานและพลังงานเรื่องที่5งานและพลังงาน
เรื่องที่5งานและพลังงานApinya Phuadsing
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
 
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)Worrachet Boonyong
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3Wijitta DevilTeacher
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3Wijitta DevilTeacher
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2Wijitta DevilTeacher
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2Wijitta DevilTeacher
 
เรื่องที่ 13 แสง
เรื่องที่ 13  แสงเรื่องที่ 13  แสง
เรื่องที่ 13 แสงthanakit553
 

Semelhante a เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์ (20)

ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
P15
P15P15
P15
 
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
 
P08
P08P08
P08
 
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่นเรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่น
 
เรื่องที่5งานและพลังงาน
เรื่องที่5งานและพลังงานเรื่องที่5งานและพลังงาน
เรื่องที่5งานและพลังงาน
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
งานพลังงาน
งานพลังงานงานพลังงาน
งานพลังงาน
 
Elect01
Elect01Elect01
Elect01
 
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
 
P03
P03P03
P03
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
 
13.แสง
13.แสง13.แสง
13.แสง
 
เรื่องที่ 13 แสง
เรื่องที่ 13  แสงเรื่องที่ 13  แสง
เรื่องที่ 13 แสง
 
13.แสง
13.แสง13.แสง
13.แสง
 
P13
P13P13
P13
 

Mais de Apinya Phuadsing

แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมีแบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมีApinya Phuadsing
 
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนApinya Phuadsing
 
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนApinya Phuadsing
 
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนApinya Phuadsing
 
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาApinya Phuadsing
 
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาApinya Phuadsing
 
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาApinya Phuadsing
 
แนะนำอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
แนะนำอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาแนะนำอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
แนะนำอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาApinya Phuadsing
 
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2Apinya Phuadsing
 
เรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสงเรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสงApinya Phuadsing
 
เรื่องที่12เสียง
เรื่องที่12เสียงเรื่องที่12เสียง
เรื่องที่12เสียงApinya Phuadsing
 
เรื่องที่11คลื่นกล
เรื่องที่11คลื่นกลเรื่องที่11คลื่นกล
เรื่องที่11คลื่นกลApinya Phuadsing
 
เรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อนเรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อนApinya Phuadsing
 
เรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลเรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลApinya Phuadsing
 
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชนเรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชนApinya Phuadsing
 
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆเรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆApinya Phuadsing
 

Mais de Apinya Phuadsing (20)

แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมีแบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
 
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
 
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
 
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
 
Img2
Img2Img2
Img2
 
Img1
Img1Img1
Img1
 
Img
ImgImg
Img
 
Img 0001
Img 0001Img 0001
Img 0001
 
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
 
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
 
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
 
แนะนำอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
แนะนำอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาแนะนำอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
แนะนำอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
 
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
 
เรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสงเรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสง
 
เรื่องที่12เสียง
เรื่องที่12เสียงเรื่องที่12เสียง
เรื่องที่12เสียง
 
เรื่องที่11คลื่นกล
เรื่องที่11คลื่นกลเรื่องที่11คลื่นกล
เรื่องที่11คลื่นกล
 
เรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อนเรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อน
 
เรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลเรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหล
 
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชนเรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
 
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆเรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
 

เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์

  • 1. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! "! ฟสิกส บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ตอนที่ 1 กฏของคูลอมบ! กฏแรงดึงดูดระหวางประจุของคูลอมบ ! # เมื่อประจุไฟฟา 2 ตัวอยูหางกันขนาดหนึ่ง จะมีแรงกระทําซึ่งกันและกันเสมอ ! ! ! หากเปนประจุชนิดเดียวจะมีแรงผลักกัน หากเปนประจุตางชนิดกันจะมีแรงดึงดูดกัน$! แรงกระทําที่เกิดหาคาไดจาก ! F = 2R 2Q1KQ ! ! เมื่อ! ! ! F = แรงกระทํา (นิวตัน) K = คาคงที่ของคูลอมบ = 9 x 109 N.m2 /c2! ! ! Q1 , Q2 = ขนาดของประจุตัวที่ 1 และตัวที่ 2 ตามลําดับ (คูลอมบ) R = ระยะหางระหวางประจุทั้งสอง (เมตร) 1. จากรูปใหหาแรงกระทําระหวางประจุทั้งสองนี้ วิธีทํา ( 0.01 N ) 2. ประจุ +5.0 x 10–5 C และ –2.0 x 10–5 C วางอยูหางกัน 1 เมตร จะมีแรงดูดกัน หรือ ผลักกันกี่นิวตัน ( แรงดูดกัน 9 นิวตัน ) วิธีทํา !
  • 2. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! %! 3. ประจุขนาด A คูลอมบ และ 1.0 x 10–5 คูลอมบ วางอยูหางกัน 3 เมตร จะมีแรงกระทํา ตอกัน 1 นิวตัน จงหาวาประจุ A เปนประจุขนาดกี่คูลอมบ (1.0x10–4 ) วิธีทํา 4. แรงผลักระหวางประจุที่เหมือนกันคูหนึ่งเปน 27 นิวตัน จงหาขนาดของแรงผลักระหวาง ประจุคูนี้ ถาระยะหางของประจุเปน 3 เทาของเดิม ( 3 N) วิธีทํา 5. ประจุคูหนึ่งวางใหหางกันเปน 2 เทาของระยะเดิม แรงกระทําระหวางประจุในตอนหลัง จะมีคาเปนกี่เทาของตอนแรก ( 1/4 เทา) วิธีทํา 6. ลูกพิธ 2 ลูกวางหางกัน 8 ซม. จะเกิดแรงผลักกันคาหนึ่ง ถาเพิ่มประจุลูกหนึ่งเปน 2 เทา และอีกลูกหนึ่งเปน 3 เทา จะตองวางลูกพิธทั้งสองหางกันเทาใด จึงจะเกิดแรงกระทําเทาเดิม วิธีทํา ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ( 8 6 ซม.)!
  • 3. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! &! กรณีที่โจทยไมบอกประจุ มาให เราอาจหาคาประจุนั้น ๆ ไดจาก Q = n e เมื่อ n = จํานวนอิเลคตรอน e = ประจุอิเลคตรอน 1 ตัว = 1.6 x 10–19 คูลอมบ 7. กอนโลหะ 2 กอน มีระยะหางระหวางจุดศูนยกลางของโลหะทั้งสองเปน 3 เมตร ในกอน โลหะแตละกอนมีอิเล็กตรอนอิสระอยู 1x1015 ตัว จงหาขนาดแรงผลักที่เกิด ( 25.6N ) วิธีทํา 8. กอนทองแดง 2 กอน วางหางกัน 3 เมตร แตละกอนมีอิเล็กตรอนอิสระอยู 5 x 1014 ตัว จงหาขนาดของแรงผลักที่เกิดขึ้นในหนวยนิวตัน ก. 1.4 ข. 2.4 ค. 4.4 ง. 6.4 (ขอ ง) วิธีทํา 9. ทรงกลมเล็ก ๆ 2 อัน เปนกลางทางไฟฟา และวางอยูหางกัน 0.5 เมตร สมมติวาอิเล็กตรอน 3.0 x 10+13 ตัว หลุดออกจากทรงกลมหนึ่งและไปอยูที่อีกทรงกลมหนึ่ง (a) จงหาขนาด ของแรงที่เกิดกับทรงกลมแตละอัน (b) แรงที่เกิดขึ้นเปนแรงดูดหรือแรงผลัก วิธีทํา ( เปนแรงดูด 0.83 N )
  • 4. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! '! 10. จากรูป จงหาแรงลัพธที่ กระทําตอประจุ B ( 1.1 N ) วิธีทํา 11. จากรูป จงหาแรงลัพธที่ กระทําตอประจุ B ( 0.1 N ) วิธีทํา 12. ประจุ +5.0 x 10–6 C และ –3.0 x 10–6 C วางอยูหางกัน 20 เซนติเมตร ถานําประจุ ทดสอบขนาด +1.0 x 10–6 C มาวางไวที่จุดกึ่งกลางระหวางประจุทั้งสองขนาด และมี ทิศทางของแรงที่กระทําตอประจุทดสอบคือ ก. 0.72 นิวตัน และมีทิศชี้เขาหาประจุลบ ข. 1.8 นิวตัน และมีทิศเขาหาประจุบวก ค. 7.2 นิวตัน และมีทิศเขาหาประจุลบ ง. 7.2 นิวตัน และมีทิศเขาหาประจุบวก (ขอ ค) วิธีทํา A = +6 x 10–5 C! B = +1 x 10–5 C! C = −5 x 10–5 C! 3 ม.! 3 ม.! A = −6 x 10–5 C! B = +1x10–5 C! C = −5 x 10–5 C! 3 ม.! 3 ม.!
  • 5. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! (! 13. จากรูป จงหาแรงลัพธที่กระทําตอประจุ B วิธีทํา ( 5 N ) 14(มช 34) สามเหลี่ยมดานเทารูปหนึ่งมีความยาวดานละ 30 เซนติเมตร และที่แตละมุมของ สามเหลี่ยมนี้ มีจุดประจุ +2 , –2 และ +5 ไมโครคูลอมบ วางอยู อยากทราบวาขนาด ของแรงไฟฟาบนประจุ +5 ไมโครคูลอมบมีคากี่นิวตัน (1 นิวตัน)! วิธีทํา !!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"" A = −4 x 10–5 C! B = +1 x 10–4 C! C = +3 x 10–5 C! 3 ม.! 3 ม.!
  • 6. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! )! ตอนที่ 2 สนามไฟฟา สนามไฟฟา (E) คือ บริเวณรอบ ๆ ประจุซึ่งจะมีแรงทางไฟฟาแผออกมา ! ตลอดเวลา สนามไฟฟาเปนปริมาณเวกเตอร! ทิศทางของสนามไฟฟา กําหนดวา! ! สําหรับประจุบวก สนามไฟฟามีทิศออกตัวประจุ! ! สําหรับตัวประจุลบ สนามไฟฟามีทิศเขาตัวประจุ! ! ! ! ! 15. ถา +Q และ –Q เปนประจุตนกําเนิดสนามโดยที่ +q และ –q เปนประจุทดสอบ รูปใด แสดงทิศของ F และ E ไมถูกตอง ก. ข. ค. ง. ! ! ! จ.!! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! (ขอ จ) ขนาดความเขมสนามไฟฟาหาคาไดจาก! ! ! ! ! ! E = 2R KQ เมื่อ E คือ ความเขมสนามไฟฟา (N/C , V/m) K = 9 x 109 N. m2 / C2 Q คือ ขนาดของประจุตนเหตุ (C) R คือ ระยะหางจากประจุตนเหตุ (m) 16. จากรูป จงหาวาสนามไฟฟาของประจุ +2x10–3 คูลอมบ ณ.จุด A จะมีความเขมกี่นิวตัน/คูลอมบ และ มีทิศไปทาง ซายหรือขวา ( 2x106 N/C ไปทางขวา) วิธีทํา ! ! ! Q = +2 x 10–3 C! 3 ม.! *! A
  • 7. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! *! 17. จากรูป จงหาวาสนามไฟฟาของประจุ –4x10–3 คูลอมบ ณ.จุด A จะมีความเขมกี่นิวตัน/คูลอมบ และ มีทิศขึ้นหรือ ลง (36x106 N/C มีทิศขึ้น) วิธีทํา 18. จากรูปที่กําหนดให จงหาวาสนาม ไฟฟาลัพธที่จุด X มีขนาดเทาใด วิธีทํา ( 7 N/C ) ! 19(มช 44) ประจุบวก q1 = 2 ไมโครคูลอมบ วางหางจาก ประจุลบ q2 = –2 ไมโครคูลอมบ เปนระยะ 6 เมตร สนามไฟฟาที่ตําแหนงกึ่งกลางระหวาง 2 ประจุนี้ ในหนวยของ N/C มีคาเปนเทาใด 1. –2 x103 2. 0 3. 2 x 103 4. 4 x103 (ขอ 4) วิธีทํา Q = −4 x 10–3 C! 1 ม.! *!A *! X A = +4 x 10–9 C! 3 ม.! 3 ม.! B = −3 x 10–9 C!
  • 8. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! +! 20. จากรูปที่กําหนดให จงหาวาสนามไฟฟาลัพธ ที่จุด X มีขนาดเทาใด วิธีทํา ( 5 N/C ) 21. จงหาความเขมสนามไฟฟาที่จุด B ในรูปที่กําหนด ( กําหนด cos 127o = –0.6 ) วิธีทํา (7.26x106 N/C) 22. ประจุ q1 , q2 มีขนาดเทากันอยูหางกัน 0.1 m สนามไฟฟา ณ จุดกึ่งกลางระหวางประจุ ทั้งสองมีทิศพุงเขาหา q2 และมีขนาด 4.8x104 V/m จงหา q1 , q2 ( ±±±± 6.67x10–9 C) วิธีทํา *! X A = +4 x 10–9 C! B = −3 x 10–9 C! 3 ม.! 3 ม.! 37o 8 cm 53o 6 cm 10 cm +5 µC –3.6 µC B
  • 9. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! ,! จุดสะเทิน คือ จุดที่มีคาสนามไฟฟาลัพธมีคาเปนศูนย โดยทั่วไปแลว 1. จุดสะเทินจะ เกิดขึ้นไดเพียงจุดเดียวเทานั้น 2. หากเปนจุดสะเทินของประจุ 2 ตัว จะเกิดในแนวเสนตรงที่ลากผานประจุทั้งสอง และ หากประจุทั้งสองเปนประจุชนิดเดียวกัน จุดสะเทินจะอยูระหวางกลางประจุทั้งสอง หากประจุทั้งสองเปนประจุตางชนิดกัน จุดสะเทินจะอยูรอบนอกประจุทั้งสอง 3. จุดสะเทินจะเกิดอยูใกลประจุที่มีคานอยกวา ! 23. ประจุไฟฟาขนาด +15 และ –30 หนวย ประจุวางอยูดังรูป ตําแหนงใดควรเปนจุดสะเทิน! ! ! ก. A ข. B ค. C ง. D จ. ไมมีคําตอบถูก (ขอ จ) ตอบ 24. ตําแหนงที่สนามไฟฟารวมเปนศูนย ซึ่งสนามนั้นเกิดจากประจุ 2 ประจุ 1. เกิดขึ้นไดเพียงจุดเดียวเทานั้น 2. เกิดอยูใกลประจุที่มีคานอย 3. เกิดในแนวเสนตรงที่ลากผานประจุทั้งสอง (ขอ ก) ก. ขอ 1 , 2 , 3 ข. ขอ 1 , 2 ค. ขอ 1 , 3 ง. ขอ 2 , 3 ตอบ 25. ประจุไฟฟาขนาด +9 µC ถูกวางไวที่ตําแหนง X = 0 ม. และประจุไฟฟาที่สอง +4 µC ถูกวางไวที่ตําแหนง X = 1 ม. จุดสะเทินจะอยูหางจากประจุ +9 µC กี่เมตร (0.6 เมตร) วิธีทํา +Q2! Eรวม = 0! +Q1! *! −Q2! Eรวม = 0! +Q1! *! !
  • 10. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! "-! 26(มช 37) วางประจุ +9Q คูลอมบ ที่ตําแหนงจุดกําเนิด (0 , 0) และจุดประจุ –4Q คูลอมบ ที่ตําแหนง x = 1 เมตร y = 0 จงหาระยะบนแกน x ที่สนามไฟฟาเปนศูนย (3 เมตร) วิธีทํา ! ขนาดของแรงกระทําตอประจุทดสอบหาจาก! ! ! ! ! ! F = q E เมื่อ F คือ แรงกระทํา (N) q คือ ประจุทดสอบที่ถูกแรงกระทํานั้น (C) 27. กําหนดใหจุด A อยูหางจากประจุ 4 x 10–9 คูลอมบ เปนระยะ 1 เมตร ก) สนามไฟฟา ณ.จุด A จะมีความเขมกี่นิวตัน/คูลอมบ ( 36 N/C ) ข) หากนําอิเลคตรอน 1 ตัว ไปวางตรงจุด A จงหาแรงกระทําตออิเลคตรอนนี้ ( กําหนด ประจุอิเลคตรอน 1 ตัว เทากับ 1.6 x 10–19 คูลอมบ ) (5.76x10–18 N) ค. จงหาความเรงในการเคลื่อนที่ของอิเลคตรอนนี้ ( กําหนด มวลอิเลคตรอน 1 ตัว เทากับ 9.1 x 10–31 กิโลกรัม ) (6.33x1012 m/s2) วิธีทํา
  • 11. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! ""! 28. กําหนดใหจุด A อยูหางจากประจุ 5 x 10–9 คูลอมบ เปนระยะ 3 เมตร ก) สนามไฟฟา ณ.จุด A จะมีความเขมกี่นิวตัน/คูลอมบ ( 5 นิวตัน/คูลอมบ ) ข) หากนําอิเลคตรอน 1 ตัว ไปวางตรงจุด A จงหาแรงกระทําตออิเลคตรอนนี้ ( กําหนด ประจุอิเลคตรอน 1 ตัว เทากับ 1.6 x 10–19 คูลอมบ ) (8 x 10–19 นิวตัน) วิธีทํา !!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"" ! ตอนที่ 3 !ศักยไฟฟา! !!!เราสามารถหาคาศักยไฟฟา ณ. จุดรอบ ๆ ประจุไดจากสมการ! V = R KQ ! ! เมื่อ !!!V !คือ ศักยไฟฟา (โวลต)! ! Q คือ ประจุตนเหตุ (คูลอมบ) R คือ ระยะหางจากประจุตนเหตุ (เมตร) ขอควรทราบ! ! 1) ศักยไฟฟา เปนปริมาณสเกลลาร มีแตขนาด ไมมีทิศทาง การคํานวณหาศักยไฟฟา ! ! ! ตองแทนเครื่องหมาย + – ของ ประจุ (Q) ดวยเสมอ 2) ! !! ! เมื่อทําการเลื่อนประจุทดสอบจากจุดหนึ่งไปสูจุดที่สอง! ! ! จะไดวา! ! V2 – V1 = q W !! ! เมื่อ!V1 คือ ศักยไฟฟาที่จุดเริ่มตน (โวลต) !!!V2 คือ ศักยไฟฟาที่จุดสุดทาย (โวลต) W คือ งานที่ใชในการเลื่อนประจุ (จูล) q คือ ประจุที่เคลื่อนที่ (คูลอมบ) Q ! R! *! A
  • 12. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! "%! 29. จากรูป ประจุ Q มีขนาด –2 x1 0–9 คูลอมบ ก. จงหาศักยไฟฟาที่จุด A ( –18 V) ! ! ข. จงหาศักยไฟฟาที่จุด B ( –6 V ) ค. หากเลื่อนประจุขนาด 2 คูลอมบ จาก B ไป A จะตองทํางานเทาใด ( –24 J) ! วิธีทํา ! ! 30. จากรูป ประจุ Q มีขนาด –5 x1 0–9 คูลอมบ จงหาศักยไฟฟาที่จุด A และ B ตามลําดับ ! ! 1. −45 , 15!! ! ! ! 2. −30 , −15! ! ! ! ! 3. −45 , −15! ! ! ! 4. −30 , 15!! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! (ขอ 3)! วิธีทํา 31. จากขอที่ผานมา หากเลื่อนประจุขนาด 2 คูลอมบ จาก B ไป A จะตองทํางานเทาใด 1. 45 2. −45 3. 60 4. −60 (ขอ 4)! วิธีทํา
  • 13. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! "&! 32(En 32) A และ B เปนจุดที่อยูหางจากประจุ 4 x 10–6 คูลอมบ เปนระยะทาง 2 และ 12 เมตร ตามลําดับ ถาตองการเลื่อนประจุ – 4 คูลอมบ จาก A ไป B ตองใชงานใน หนวยกิโลจูลเทาใด 1. 8.75 2. 15 3. –35 4. +60 (ขอ 4) วิธีทํา 33. จุด A อยูหางจากประจุ –2 x 10–10 C เปนระยะ 1 เมตร จงหางานที่ตองทําในการพา ประจุ 3 x 10–12 C จากที่ไกลมากมาที่จุด A นี้ (–5.4 x10–12 J) วิธีทํา 34. มีประจุขนาด –4 x 10–10 C จุด A อยูหางจากประจุนี้ 1 เมตร จงหางานที่ตองทําใน การพาประจุ 2 x 10–12 C จากที่ไกลมากมาที่จุด A นี้ (– 7.2x10–12 J ) วิธีทํา 35. จากขอที่ผานมาจงหางานในการพาประจุ 2 x 10–12 C จากจุด A ไปวาง ณ.จุดซึ่งไกลมาก วิธีทํา (7.2x 10–12 J)
  • 14. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! "'! 36. ในการนําประจุ 2 x10–4 C จาก infinity เขาหาประจุบวกถึงจุด ๆ หนึ่งตองสิ้นเปลืองงาน 5 x10–2 จูล จุดนั้นมีศักยไฟฟากี่โวลต ก. 2.5 x 102 ข. 4 x 10–3 ค. 1 x 10–5 ง. 2.5 x 10–6 (ขอ ก) วิธีทํา ! กรณีที่มีศักยไฟฟายอยหลายๆ ตัว หากตองการหาคาศักยไฟฟารวม ใหนําศักยไฟฟายอย แตละตัวมารวมกันแบบพีชคณิตธรรมดา เพราะศักยไฟฟาเปนปริมาณสเกลารไมใชเวกเตอร 37. จากรูปที่กําหนดให จงหาวาศักยไฟฟารวม ที่จุด X มีขนาดเทาใด (3 V) วิธีทํา 38. จากรูปที่กําหนดให จงหาวา ศักย ไฟฟารวมที่จุด X มีขนาดเทาใด วิธีทํา (–18 โวลต) *! X A = –1 x 10–9 C! 3 ม.! 3 ม.! B = −5 x 10–9 C! *! X A = +4 x 10–9 C! 3 ม.! 3 ม.! B = −3 x 10–9 C!
  • 15. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! "(! 39. จากรูป A , B และ C มีจุดประจุขนาด 3.0 x 10–6 , 1.0 x 10–6 และ –1.0 x 10–6 คูลอมบ ตามลําดับ เมื่อ AP = 0.6 เมตร , CP = 0.3 เมตร และ BP = 0.1 เมตร ศักยไฟฟาที่ตําแหนง P มีคาเทาใด 1. 1.05 x 105 โวลต 2. 1.83 x 105 โวลต 3. 2.10 x 105 โวลต 4. 3.66x 105 โวลต (ขอ 1 ) วิธีทํา 40. จากขอที่ผานมา หากนําประจุขนาด –1.0 x 10–6 คูลอมบ จากจุดที่ไกลมากมาวางที่จุด P จะตองทํางานกี่จูล 1. –2.10 2. –1.05 3. –0.105 4. –10.5 (ขอ 3) วิธีทํา •! •! •!C BA P
  • 16. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! ")! !ตอนที่ 4 สนามไฟฟา และศักยไฟฟารอบตัวนํา! การคํานวณหาสนามไฟฟา และศักยไฟฟารอบตัวเก็บประจุ กรณีที่ 1 หากจุดที่จะคํานวณอยูภายนอก หรืออยูที่ผิววัตถุ ใหใชสมการ E = 2R KQ และ V = R KQ เมื่อ R คือ ระยะที่วัดจากจุดศูนยกลางวัตถุถึงจุดที่จะคํานวณ กรณีที่ 2 หากจุดที่จะคํานวณอยูภายในวัตถุ Eภายใน = 0 Vภายใน = Vที่ผิววัตถุ 41. ทรงกลมรัศมี 1 เมตร และมีประจุ –5x10–9 C จงหาสนามไฟฟาและศักยไฟฟาที่ ก. ระยะทาง 2 เมตร จากผิวทรงกลม ( 5 N/C , –15V ) ข. ผิวทรงกลม ( 45 N/C , –45V ) ค. ระยะ 0.2 เมตร จากจุดศูนยกลางทรงกลม วิธีทํา ( 0 N/C , –45V ) ! 42. ตัวนําทรงกลมมีรัศมี 10 เซนติเมตร มีประจุกระจายอยางสม่ําเสมอบนผิวตัวนํา ถาสนาม ไฟฟาที่ผิวทรงกลมมีคา 5.0 x106 โวลต/เมตร จงหาคาศักยไฟฟาที่ผิวทรงกลมนี้ (5 x 105 โวลต) วิธีทํา ! 1 ม.! 2 ม.!
  • 17. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! "*! 43(En 42/1) ทรงกลมโลหะกลวงมีรัศมี 20 เซนติเมตร ทําใหมีศักยไฟฟา 10000 โวลต ! ! สนามไฟฟาภายนอกทรงกลมบริเวณใกลเคียงผิว จะมีคาเทาใดในหนวยโวลตตอเซนติเมตร วิธีทํา ( 500 โวลต / เซนติเมตร ) 44. ทรงกลมตัวนํามีประจุ –200 µc รัศมี 50 cm จงหา ก. ศักยไฟฟาที่ผิวของทรงกลม ( –3.6x106 โวลต ) ข. งานที่ในการพาประจุ –20 µc จาก infinity มาที่ผิวนี้ (72 J) วิธีทํา 45(มช 32) ถาตองการเคลื่อนประจุขนาด q คูลอมบ ไปตามผิวนอกของทรงกลมซึ่งมีประจุ Q อยูภายในจากตําแหนงหนึ่งไปสูอีกตําแหนงหนึ่ง งานที่ใชในการเคลื่อนประจุคือ ก. 2 KqQ J ข. 3 KqQ J ค. 4 KqQ J ง. 0 J (ขอ ง) วิธีทํา 46(มช 32) หากมีประจุกระจายอยูบนตัวนําทรงกลมกลวงอยางสม่ําเสมอศักยไฟฟา และสนาม ไฟฟาภายในจุดศูนยกลางทรงกลมกลวงมีคา (ขอ ข) ก. ทั้งศักยไฟฟา และสนามไฟฟาเปนศูนย ข. ศักยไฟฟาเทากัน สนามไฟฟาเปนศูนย ค. ศักยไฟฟาเทากัน และสนามไฟฟาเทากัน! ง. ศักยไฟฟาเปนศูนยสนามไฟฟาเทากัน! ตอบ
  • 18. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! "+! ตอนที่ 5 สนามไฟฟาสม่ําเสมอ! สนามไฟฟาซึ่งอยูระหวางกลางขั้วไฟฟาบวก-ลบ จะมีคาเทากันทุกจุด จึงเรียก สนามไฟฟาสม่ําเสมอ เราหาคาสนามสม่ําเสมอไดจาก E = d V เมื่อ E = สนามไฟฟาสม่ําเสมอ (N/C , V/m) V = ความตางศักยระหวางจุดที่คํานวณ (โวลต) d = ระยะหางระหวางจุดที่คํานวณ (เมตร) 47. แผนโลหะคูขนาน วางหางกัน 1 มิลลิเมตร ตออยูกับขั้วบวก-ลบของแบตเตอรี่ 1.5 โวลต สนามไฟฟาระหวางแผนตัวนําคูขนานจะมีคาเทาใด ( 1500 V/m) วิธีทํา 48(En 41) แผนตัวนําคูขนานเทากัน วางหางกัน 3 มิลลิเมตร ถาตอแผนคูขนานนี้เขากับ แบตเตอรี่ 9 โวลต สนามไฟฟาระหวางแผนตัวนําคูขนานจะมีคาเทาใด (ขอ 4) 1. 0.027 V–m 2. 27 V–m 3. 3 V/m 4. 3000 V/m วิธีทํา 49. แผนตัวนําคูขนานเทากัน วางหางกัน 5 เซนติเมตร มีสนามไฟฟาสม่ําเสมอเขม 20 V/m จะมีคาความตางศักยระหวางขั้วบวกและลบ กี่โวลต (1 โวลต) วิธีทํา เงื่อนไขการใชสูตร V = E d 1. E และ d (การขจัด) ตองอยูในแนวขนานกัน หาก d ตั้งฉากกับ E ตอบ V = 0 หาก d เอียงทํามุมกับ E ตองแตกการขจัด d นั้นใหขนานกับ E กอน 2. ถาการขจัด d มีทิศเดียวกับสนามไฟฟา E ใหใชการขจัด d เปนลบ ถา d และ E สวนทางกันใช d เปนบวก
  • 19. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! ",! 50. จงหาความตางศักยไฟฟาระหวาง A ไป B ตามกรณีตอไปนี้ ก. ข. ค. วิธีทํา ( ก. 5 โวลต ข. 0 โวลต ค. 10 โวลต ) 51. จงหาความตางศักยไฟฟาระหวาง A ไป B ตามกรณีตอไปนี้ ก. ข. ค. ! วิธีทํา ( ก. 5 โวลต ข. -5 โวลต ค. –10 โวลต ) 52. สนามไฟฟาสม่ําเสมอขนาดเทากับ 8 โวลต/เมตร ตําแหนง A และ B อยูหาง กัน 0.5 เมตร ดังรูป จงหาความตางศักย ไฟฟาระหวาง A ไป B (4 โวลต ) วิธีทํา .! /! 0.5 m 0! .! /! 0.5 m E=10 V/m .! /! 0.5 m E=10 V/m .! /! 2 m E=10 V/m 60o! /! .! 2 m E=10 V/m 60o!/! .! 0.5 m E=10 V/m .! /! 0.5 m E=10 V/m
  • 20. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! %-! 53. จากขอที่ผานมา หากเลื่อนประจุขนาด 2 x 10–6 คูลอมบ จากจุด A ไป B จะตอง ทํางานกี่จูล (8x10–6 จูล) วิธีทํา 54. จงหางานในการเลื่อนประจุขนาด 2 x 10–6 คูลอมบ จาก จุด A ไป B ซึ่งอยูภายใตสนามไฟฟา 8 โวลต/เมตร ดังรูป วิธีทํา (–16 x 10–6 จูล) 55. ถา E ! เปนสนามไฟฟาสม่ําเสมอมีขนาด 12 โวลต/เมตร จงหางานที่ใชในการเคลื่อนที่ประจุทดสอบ 3.0 x 10–6 คูลอมบ จาก A → B → C (1.8x10–6 จูล) วิธีทํา ! ! หากเรานําประจุทดสอบ( q ) ไปวางในสนามไฟฟาสม่ําเสมอ ประจุทดสอบนั้นจะถูก แรงกระทําแลวทําใหเกิดการเคลื่อนที่ในสนามสม่ําเสมอนั้น โดย ประจุไฟฟาบวก จะวิ่งไปหาขั้วไฟฟาลบ และ ประจุไฟฟาลบ จะวิ่งไปหาขั้วไฟฟาบวก ! โปรดสังเกตุวา แรงกระทําตอประจุบวกจะมีทิศเดียวกับสนามไฟฟา แรงกระทําตอประจุจะมีทิศตรงกันขามกับสนามไฟฟา! และ เราสามารถหาขนาดของแรงกระทํานั้น ไดจาก F = q E หรือ F = q d V 5 ซม.! 5 ซม.! B C E ! ! A .! /! 2 m 60o! 0!
  • 21. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! %"! เมื่อ F คือ แรงที่กระทําตอประจุ q E = สนามไฟฟาสม่ําเสมอ (N/C , V/m) V = ความตางศักยระหวางจุดที่คํานวณ (โวลต) d = ระยะหางระหวางจุดที่คํานวณ (เมตร) 56. ประจุไฟฟาขนาด +1 x 10–6 คูลอมบ อยูในสนามไฟฟาสม่ําเสมอซึ่งมีทิศจากซายไปขวา และมีความเขม 8 โวลต / เมตร จะถูกแรงกระทําเทาใดและไปทางไหน ( 8x10–6N , ไปทางขวา) วิธีทํา ! 57(En 32) เมื่อนําประจุ –2 x 10–6 คูลอมบ เขาไปวางไว ณ จุด ๆ หนึ่ง ปรากฏวามีแรง 8 x 10–6 นิวตัน มากระทําตอประจุนี้ในทิศจากซายไปขวา สนามไฟฟาตรงจุดนั้น 1. มีความเขม 4 โวลต/เมตร ทิศจากซายไปขวา 2. มีความเขม 4 โวลต/เมตร ทิศจากขวาไปซาย 3. มีความเขม 0.25 โวลต/เมตร ทิศจากซายไปขวา 4. มีความเขม 0.25 โวลต/เมตร ทิศจากขวาไปซาย (ขอ 2) วิธีทํา ! 58. เมื่อนําประจุ 3.6x10–14 คูลอมบ วางในสนามไฟฟาของแผนโลหะสองแผน ซึ่งมีความ ตางศักย 105 โวลต และอยูหางกัน 0.3 เมตร จะเกิดแรงกระทําตอประจุเทาไร ก . 1.2x10–9 N ข . 1.2x10–10 N ค. 1.2 x 10–11 N ง. 1.2x10–12 N (ค.) วิธีทํา !
  • 22. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! %%! 59(En 35) แผนโลหะขนาน 2 แผน วางหางกันเปนระยะ d และมีประจุไฟฟาชนิดตรงขาม อิเล็กตรอนที่หลุดจากแผนลบจะวิ่งดวยความเรง a ไปยังแผนบวก ถาให m และ q เปนมวล และประจุของอิเล็กตรอนตามลําดับ แผนโลหะทั้งสองมีความตางศักยเทาไร 1. q md 2. m qE 3. qma 4. q mad (ขอ 4) วิธีทํา ! 60. ในการทดลองตามแบบของมิลลิแกน พบวาหยดน้ํามันหยดหนึ่งลอยนิ่งไดระหวางแผนโลหะ ขนาน 2 แผน ซึ่งหางกัน 0.8 เซนติเมตร โดยมีความตางศักยระหวางแผนทําใหเกิดสนาม 12000 โวลตตอเมตร ถาหยดน้ํามันมีประจุไฟฟา 8.0 x 10–19 คูลอมบ จะมีน้ําหนักเทากับ 1 . 7.7 x 10–17 N 2 . 6.4 x 10–19 N 3. 9.6 x 10–19 N 4. 9.6x10–15 N ( 4.) วิธีทํา ! 61. การทดลองหยดน้ํามันของมิลลิเกน พบวาถาตองการใหหยดน้ํามันซึ่งมีมวล m และอิเล็ก– ตรอนเกาะติดอยู n ตัว ลอยนิ่งอยูระหวางแผนโลหะ 2 แผน ซึ่งวางขนานหางกัน เปนระยะ ทาง d และมีความตางศักย V ประจุของอิเล็กตรอนที่คํานวณไดจากการทดลองนี้จะมีคาเทาใด 1. nV mgd 2. nd mgV 3. V nmgd 4. d nmgV (ขอ 1) วิธีทํา !
  • 23. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! %&! ตอนที่ 6 ตัวเก็บประจุ และ การตอตัวเก็บประจุ! ! ! ตัวเก็บประจุ คือ วัสดุที่สามารถเก็บสะสมประจุไฟฟาไวภายในตัวเองได !! ตัวเก็บประจุ แบบทรงกลม! ! ! ตัวเก็บประจุแบบนี้เราสามารถหาคาความจุประจุไดจาก! K a=C หรือ V Q=C เมื่อ C คือ คาความจุประจุ (ฟารัด) a คือ รัศมีทรงกลม K = 9x109 N. m2/c2 Q คือ ประจุที่เก็บสะสม (คูลอมบ) V คือ ศักยไฟฟาที่ผิว (โวลต) 62. ตัวนําทรงกลมรัศมี 10 เซนติเมตร ความจุประจุของทรงกลมมีคากี่ฟารัด (1.1x10–11 F) วิธีทํา ! 63. จากโจทยที่ผานมา หากศักยไฟฟาสูงสุดที่ผิวตัวนํามีคาเทากับ 3x102 โวลต ประจุไฟฟา สูงสุดที่ทรงกลมนี้สามารถเก็บไดมีคากี่ไมโครคูลอมบ (3.3x10–4) วิธีทํา ! 64(En 41/2) ศักยไฟฟาของตัวนําทรงกลมรัศมี 60 เซนติเมตร มีคาเทากับ 3 x 105 โวลต ประจุไฟฟาในขอใดที่ตัวนํา ทรงกลมนี้สามารถเก็บได (ขอ 3) 1. 12 µC 2. 18 µC 3. 20 µC 4. 24 µC วิธีทํา ! !
  • 24. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! %'! ตัวเก็บประจุแบบแผนโลหะคูขนาน ! ! ตัวเก็บประจุแบบนี้เราสามารถหาคาความจุประจุไดจาก! V Q=C Q คือ ประจุที่ขั้วบวก (คูลอมบ) V คือ ความตางศักยระหวางขั้วไฟฟา (โวลต) ! 65. ตัวเก็บประจุตัวหนึ่งมีความจุ 0.2 µF ใชงานกับความตางศักย 250 โวลต จะเก็บประจุไว ไดกี่คูลอมบ (ขอ ง) ก. 0.5 x 102 ข . 1.25 x 102 ค. 2.5 x 10–5 ง. 5 x10–5 วิธีทํา ! 66. แผนโลหะขนาดหางกัน 0.1 เมตร ใชทําเปนตัวเก็บประจุที่มีคาความจุ 9 นาโนฟารัด ถา สนามไฟฟาระหวางแผนโลหะมีคา 3 N/C อยากทราบวาตัวเก็บประจุนี้ มีประจุกี่คูลอมบ ก. 2.7 x 10–4 ข . 2.7 x 10–6 ค. 2.7 x 10–9 ง. 2.7x10–11 (ขอ ค) วิธีทํา ! ! เราสามารถหา พลังงานไฟฟาที่เก็บสะสมในตัวเก็บประจุแผนโลหะคูขนานไดจาก! U = 2 1 QV หรือ U = 2 1 C 2Q หรือ U = 2 1 CV2 เมื่อ U คือ พลังงานที่เก็บสะสม (จูล) 67. จงหาพลังงานที่สะสมในคาปาซิเตอรที่มีความจุ 2 µF เมื่อประจุไฟฟาใหคาปาซิเตอรจน มีความตางศักย 2 V (4x10–6 จูล) วิธีทํา !
  • 25. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! %(! 68. จงหาพลังงานที่สะสมในคาปาซิเตอรที่มีความจุ 2 µF เมื่อประจุไฟฟาใหคาปาซิเตอรจน มีความตางศักย 100 V (10–2 J) วิธีทํา ! 69(มช 42) ตัวเก็บประจุ 16 ไมโครฟารัด ตอเขากับความตางศักยคาหนึ่ง ทําใหมีพลังงาน สะสมในตัวเก็บประจุ 0.5 จูล จงหาคาความตางศักยนี้ในหนวยของโวลต 1. 220 2. 150 3. 250 4. 180 (ขอ 3) วิธีทํา ! กฏการตอตัวเก็บประจุแบบอนุกรม 1) Qรวม = Q1 = Q2 2) V1 ≠ V2 3 ) Vรวม = V1 + V2 V1 = 1C 1Q V2 = 2C 2Q 4) รวมC 1 = 1C 1 + 2C 1 ตัวอยางที่ 1 จากวงจรดังรูป จงหา ก. ใหหาคา Cรวม ข. ใหหาคา Q1 และ Q2 ค. ใหหาคา V1 และ V2 ง. ใหหาคา Vรวม วิธีทํา ก. จาก รวมC 1 = 1C 1 + 2C 1 รวมC 1 = 4 1 + 12 1 รวมC 1 = 12 13+ Cรวม = 3µµµµF
  • 26. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! %)! ข. เนื่องจาก Q1 = Q2 = Qรวม = 24 µC ค. จาก V1 = 1C 1Q = µ µ 4 24 = 6 โวลต และ V2 = 2C 2Q = µ µ 12 24 = 2 โวลต ง. ใหหาคา Vรวม จาก Vรวม = V1 + V2 = 6 + 2 = 8 หรือ Vรวม = รวมC รวมQ = µ µ 3 24 = 8 โวลต 70. จากรูป ก. ใหหาคา Cรวม (2 µµµµF) ข. ใหหาคา Q1 และ Q2 (18 µµµµC) ค. ใหหาคา V1 และ V2 ( 6 , 3) ง. ใหหาคา Vรวม (9 โวลต) วิธีทํา !
  • 27. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! %*! 71. จากรูป จงหา Cรวม และ Qรวม (4 µµµµF , 144 µµµµC) วิธีทํา ! 72. จากขอที่ผานมา จงหาประจุ และ ความตางศักยของ ตัวเก็บ 6 µF (144 µµµµC , 24 โวลต) วิธีทํา ! 73. จากขอที่ผานมา จงหาประจุ และ ความตางศักยของ ตัวเก็บ 12 µF (144 µµµµC , 12 โวลต) วิธีทํา ! 74. จากขอที่ผานมา จงหาพลังงานไฟฟาของตัวเก็บ 12 µF ( 8.64 x 10–4 จูล) วิธีทํา ! 6 µF 12 µF Vรวม = 36 โวลต
  • 28. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! %+! กฏการตอตัวเก็บประจุแบบขนาน 1) Qรวม ≠ Q1 ≠ Q2 2) Qรวม = Q1 + Q2 3) Vรวม = V1 = V2 4) Cรวม = C1 + C2 ตัวอยางที่ 2 จากวงจรดังรูป จงหา ก. ใหหาคา Cรวม ข. ใหหาคา Vรวม ค. ใหหาคา V1 และ V2 ง. ใหหาคา Q1 และ Q2 วิธีทํา ก. จาก Cรวม = C1 + C2 = 3 + 6 = 9µF ข. จาก Vรวม = รวมC รวมQ = µ µ 9 18 = 2 โวลต ค. จาก V1 = V2 = Vรวม = 2 โวลต ง. จาก V = C Q จะได Q = CV Q1 = C1V1 = (3µ)(2) = 6 µ Q2 = C2V2 = (6µ)(2) = 12 µ หรือ อาจทําอีกวิธีดังนี้ ขั้นแรก สมมุติกระแส Q1 และ Q2 ดังรูป เนื่องจาก V1 = V2 1C 1Q = 2C 2Q µ3 x = µ6 x18- 2x = 18 – x x = 6 ดังนั้น Q1 = x = 6 µ Q2 = 18 – x = 18 –6 = 12 µ
  • 29. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! %,! 75. จากรูป ก. ใหหาคา Cรวม (16 µµµµF) ข. ใหหาคา Vรวม (3 โวลต) ค. ใหหาคา V1 และ V2 (3 โวลต) ง. ใหหาคา Q1 และ Q2 ( 12 µµµµ , 36 µµµµ) วิธีทํา ! 76(มช 39) จากรูป จงหาคาความจุรวม และ ประจุไฟฟารวมบนตัวเก็บประจุทั้งสอง (ขอ 3) 1. 7 pF , 0.05 pC 2. 1.4 pF , 196 pC 3. 7 pF , 980 pC 4. 1.4 pF , 1960 pC วิธีทํา !
  • 30. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! &-! 77. จากรูป จงหาความตางศักยระหวางจุด A กับจุด B และ ประจุไฟฟาในตัวเก็บประจุ 2 µF วิธีทํา ( 36 V , 72 µµµµC) 78. จากขอที่ผานมา จงหาความตางศักยระหวางจุด C กับจุด D และ ประจุไฟฟาในตัวเก็บประจุ 6 µF ( 36 V , 72 µµµµC) วิธีทํา ! 79. จากขอที่ผานมา ความตางศักยของตัวเก็บประจุ 6 µF ( 12 V ) วิธีทํา ! 80. จากขอที่ผานมา พลังงานไฟฟาที่สะสมในตัวเก็บประจุ 6 µF (4.32x10–4 จูล) วิธีทํา ! 6 µF 3 µF Vรวม = 36 โวลต 2 µFA B DC * * * *
  • 31. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! &"! 81(En 44/1) วงจรไฟฟาประกอบดวยตัวเก็บประจุสามตัวตออยูกับ ความตางศักย 12 โวลต ดังรูป จงคํานวณหาขนาดของความ ตางศักยที่ครอมตัวเก็บประจุ 3 ไมโครฟารัด และ 6 ไมโครฟารัด ตามลําดับ (ขอ 4) 1. 12 V และ 12 V 2. 6 V และ 6 V 3. 4 V และ 8 V 4. 8 V และ 4 V วิธีทํา ! 82(En 42/2) จากรูป เมื่อกอนปดวงจรตัวเก็บประจุทั้งสาม ยังไมมีประจุไฟฟาอยูภายในเลย เมื่อปดวงจรและเมื่อ เวลาผานไปนานพอสมควร พลังงานไฟฟาที่สะสมอยู ในตัวเก็บประจุ C1 มีคาเทาใด (ขอ 1) 1. 4.5 x 10–6 J 2. 6.0 x 10–6 J 3. 9.0 x 10–6 J 4. 18.0 x 10–6 J วิธีทํา !
  • 32. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! &%! 83. C1 = 4 ไมโครฟารัด C2 = 6 ไมโครฟารัด C3 = 6 ไมโครฟารัด C4 = 6 ไมโครฟารัด ตอตัวเก็บประจุ C1 , C2 , C3 และ C4 ดังรูป จงหา ความจุรวมของตัวเก็บประจุทั้งหมดในหนวยไมโครฟารัด (6 ไมโครฟารัด) วิธีทํา ! ! กฏเกี่ยวกับการแตะกันของตัวเก็บประจุ เมื่อนําตัวเก็บประจุหลาย ตัวมาแตะกัน 1) หลังแตะ ศักยไฟฟาของตัวเก็บประจุทุกตัวจะเทากัน 2) ประจุ ( Q ) รวมกอนแตะ = ประจุ ( Q ) รวมหลังแตะ 84. ตัวนําทรงกลมรัศมี a ที่มีประจุ –Q ไปแตะกับตัวนําทรงกลมรัศมี 2 a ที่มีประจุ +4Q หลังจากแยกออกจากกันแลวตัวนําทรงกลมรัศมี a จะมีประจุเทาใด 1. 2 Q 2. Q 3. 2 3Q 4. 2Q (ขอ 2) วิธีทํา ! !
  • 33. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! &&! 85. ตัวนําทรงกลมรัศมี a ที่มีประจุ –Q ไปแตะกับตัวนําทรงกลมรัศมี 3a ที่มีประจุ +9Q หลัง จากแยกออกจากกันแลวตัวนําทรงกลมรัศมี a จะมีประจุเทาใด 1. 2 Q 2. Q 3. 2 3Q 4. 2Q (ขอ 4.) วิธีทํา ! 86(En 36) ) ตัวเก็บประจุขนาด 50 µF อันหนึ่ง มีความตางศักย 16 โวลต เมื่อนํามาตอ ขนานกับตัวเก็บประจุขนาด 30 µF ซึ่งแตเดิมไมมีประจุอยูเลย จงหาความตางศักยของ ตัวเก็บประจุ 30 µF (10 โวลต) วิธีทํา ! !!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""
  • 34. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! &'! 7. ประจุไฟฟา และการเหนี่ยวนําทางไฟฟา พิจารณาตัวอยางสมมุติ การถูแทงพลาสติกกับผาสักหลาด! 1!ปกติแลวอะตอมในแทงพลาสติก และในผาสักหลาดจะมี! ! ! จํานวนอิเลคตรอน (ประจุลบ) เทากับจํานวนโปรตรอน! (ประจุบวก) แตเมื่อเกิดการเสียดสี จะทําใหเกิดการหมุน! เวียนของอิเลคตรอนของแทงพลาสติกกับผาสักหลาด ! 1!หากแทงพลาสติกไดรับอิเลคตรอนมากกวาที่เสียไป! ! จะทําใหแทงพลาสติกมีประจุสะสมเปนลบ ! 1! ประจุที่สะสมตรงนี้เรียกวา ไฟฟาสถิตย ! ! !! 1! ตอไปหากเรานําแทง พลาสติกที่มีประจุลบสะสม! อยูนี้ ไปวางใกลๆ วัตถุเล็กๆ ซึ่งปกติในวัตถุนั้นจะมีอิเลคตรอน และ โปรตรอนของ! อะตอมกระจายตัวอยูอยางสม่ําเสมอในปริมาณที่เทากัน แตเมื่อถูกแทงพลาสติกเขาใกล! ประจุลบบนแทงพลาสติก จะผลักอิเลคตรอนในวัตถุใหเคลื่อนไปอยูฝงตรงกันขาม ! เหลือประจุบวกในฝงใกลแทงพลาสติก และจะทําใหเกิดแรงดูดระหวางประจุบวกบน! วัตถุกับลบบนแทงพลาสติก ทําใหวัตถุเคลื่อนที่ เขามาหาแทงพลาสติกใหเห็นได ! 1!การจัดเรียงประจุบนวัตถุ เมื่อถูกไฟฟาสถิตยเขาใกล เรียกวาเปนการเหนี่ยวนําทางไฟฟา! 87. จงเติมขอความลงในชองวางตอไปนี้ใหไดใจความที่ถูกตอง และ สมบูรณ สมมุตินําวัตถุ A มาถูกับผาสักหลาด B แลวปรากฏวา มีอิเลคตรอนเคลื่อนเขามายังแทง วัตถุ A มากกวาจํานวนอิเลคตรอนที่เคลื่อนออกจากวัตถุ A เมื่อแยกวัตถุ A ออกจาก ผาสักหลาด วัตถุ A จะมีประจุสะสมเปน (1) และเมื่อนําวัตถุ A ไปวาง ใกล ๆ วัตถุเล็ก ๆ จะเกิดการจัดเรียงประจุบนวัตถุนั้นดังรูป การจัดเรียงประจุบนวัตถุเล็กๆ หลังจากนํา วัตถุ A เขาใกล เรียก (4) ( 1. ลบ 2. −−−− 3. + 4. การเหนี่ยวนําทางไฟฟา ) 2! + +!+ +! 2! 2! 2! 2! + +!+ +! 2! 2! 2! 2! + ! − − − + + 3− − − 2! '2! − − − (2) (3) เติมประจุ + หรือ −! /
  • 35. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! &(! 1! จากตัวอยางสมมุติที่ผานมา หากแทงพลาสติก ! เสียอิเลคตรอนมากกวาที่ไดรับมา จะทําใหแทง! พลาสติกมีประจุสะสมเปนบวก ประจุที่สะสม! ตรงนี้เรียกก็วา ไฟฟาสถิตย ! 1!ตอไปหากเรานําแทงพลาสติกที่มีประจุบวกสะสม! อยูนี้ ไปไวใกลวัตถุเล็กๆ ประจุบวกบนพลาสติก! จะดูดอิเลคตรอนในวัตถุ ใหเคลื่อนไปอยูฝงใกล! แทงพลาสติก เหลือประจุบวกในฝงตรงกันขาม ! และจะทําใหเกิดแรงดูดระหวางประจุบวกบนแทง! พลาสติกกับลบบนวัตถุ ทําใหวัตถุเคลื่อนที่เขามาหาแทงพลาสติกใหเห็นไดเชนกัน ! 1! การจัดเรียงประจุบนวัตถุ เมื่อถูกไฟฟาสถิตยเขาใกล เรียกวาเปนการเหนี่ยวนําทางไฟฟา! 88. จงเติมขอความลงในชองวางตอไปนี้ใหไดใจความที่ถูกตอง และ สมบูรณ สมมุตินําวัตถุ A มาถูกับผาสักหลาด B แลวปรากฏวา มีอิเลคตรอนเคลื่อนออกจากแทง วัตถุ A มากกวาจํานวนอิเลคตรอนที่เคลื่อนเขามาหาวัตถุ A เมื่อแยกวัตถุ A ออกจาก ผาสักหลาด วัตถุ A จะมีประจุสะสมเปน (1) และเมื่อนําวัตถุ A ไปวางใกลๆ วัตถุเล็กๆ จะเกิดการจัดเรียงประจุบนวัตถุนั้นดังรูป การจัดเรียงประจุบนวัตถุเล็กๆ หลังจากนํา วัตถุ A เขาใกล เรียก (4) ( 1. บวก 2. + 3. −−−− 4. การเหนี่ยวนําทางไฟฟา ) 89. จากขอที่ผานมาโปรตรอน(ประจุบวก) จะเคลื่อนที่จากวัตถุ A มาหาผาสักหลาด หรือ เคลื่อนจากผาสักหลาดมาหาวัตถุ A ไดหรือไม เพราะเหตุใด ( ไมได เพราะโปรตรอนมีมวลมาก ( มากกวาอิเลคตรอน 1835 เทา ) การเคลื่อนที่จึงทําไดยาก ) 2! + +!+ +! 2! 2! 2! 2! + +!+ +! 2! 2! 2! 2! + ! 3 3 + − − − 3 3 + (2! 2! 3 + 3 (2) (3) เติมประจุ + หรือ −! /
  • 36. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! &)! 90. เมื่อถูแทงแกวดวยผาไหม แทงแกวจะมีประจุไฟฟาเปนบวกเพราะวาสาเหตุใด 1. โปรตรอนบางตัวในไหมถายเทไปแทงแกว 2. อิเล็กตรอนบางตัวหลุดจากแทงแกว และถายเทไปยังผาไหมทําใหเหลือประจุไฟฟา บวกบนแทงแกวมากกวาประจุไฟฟาลบ 3. ทั้งขอ ก และ ข ถูกตอง 4. ผิดหมดทุกขอ (ขอ 2) 91(มช 32) เมื่อนําแทงพีวีซีที่ถูกับผาสักหลาดแลวไปวางใกล ๆ กับลูกพิธที่เปนกลางทางไฟฟา จะสังเกตเห็นเหตุการณที่เกิดขึ้นดังนี้ ก. ลูกพิธจะหยุดนิ่ง ข. ลูกพิธจะเคลื่อนที่เขาหาแทงพีวีซี ค. ลูกพิธจะเคลื่อนที่ออกหางจากแทงพีวีซี ง. ลูกพิธจะเคลื่อนที่เขาหาแทงพีวีซีในตอนแรก แลวจะเคลื่อนที่จากไปภายหลัง (ขอ ข)! 92(มช 36) ทรงกลมโลหะ A และ B วางสัมผัสกันโดยยึดไว ดวยฉนวน เมื่อนําแทงอิโบไนทซึ่งมีประจุลบเขาใกลทรงกลม A ดังรูป จะมีประจุไฟฟาชนิดใด เกิดขึ้นที่ตัวนําทรงกลมทั้งสอง ก. ทรงกลมทั้งสองจะมีประจุบวก ข. ทรงกลมทั้งสองจะมีประจุลบ ค. ทรงกลม A จะมีประจุบวก และทรงกลม B มีประจุลบ ง. ทรงกลม A จะมีประจุลบ และทรงกลม B มีประจุบวก จ. ไมเกิดไฟฟาที่ทรงกลมทั้งสอง (ขอ ค) 93(En 34) โลหะทรงกระบอกยาวปลายมนเปนกลางทาง ไฟฟาตั้งอยูบนฐานที่เปนฉนวน ถานําประจุบวก ขนาดเทากันมาใกลปลายทั้งสองขางพรอมกันโดยระยะ หางจากปลายเทา ๆ กัน ตามลําดับ การกระจายของประจุสวน A สวน B และ C ของ ทรงกระบอกเปนอยางไร 1. A และ C เปนลบแต B เปนกลาง 2. A และ C เปนกลาง แต B เปนบวก 3. A และ C เปนบวก แต B เปนลบ 4. A และ C เปนลบแต B เปนบวก (ขอ 4) !
  • 37. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! &*! 94(มช 31) เมื่อนําสาร ก มาถูกกับสาร ข พบวา สาร ก มีประจุไฟฟาเกิดขึ้น สาร ก ตองเปนสารใด ก. ตัวนํา ข. ฉนวน ค. กึ่งตัวนํา ง. โลหะ (ขอ ข) อิเลคโตรสโคป คือ เครื่องมือใชตรวจหาไฟฟาสถิตย อิเลคโตรสโคป มี 2 ชนิด คือ 1) อิเลคโตรสโคปแบบลูกพิธ เปนอิเลคโตรสโคปซึ่งทําจากเม็ดโฟม ฉาบผิว เอาไวดวยอลูมิเนียม เมื่อมีวัตถุที่มีไฟฟาสถิตย เขาใกล จะเกิดการเหนี่ยวนําทางไฟฟาทําให อิเลคโตรสโคปเอียงเขาหาวัตถุนั้น 95. จงเติมขอความลงในชองวางตอไปนี้ใหไดใจความที่ถูกตอง และ สมบูรณ ( 1. −−−− 2. + 3. + 4. −−−− ) 2) อิเลคโตรสโคปแบบจานโลหะ มีลักษณะดังรูป เมื่อถูกวัตถุที่มีไฟฟาสถิตยเขาใกลจานโลหะดานบน จะเกิดการเหนี่ยวนํา ทางไฟฟาทําใหแผนโลหะบาง ๆ ดานลางกางออก ! 3 + 3 (3) (4) เติมประจุ + หรือ −! − − − (1) (2) เติมประจุ + หรือ −!
  • 38. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! &+! 96. จงเติมขอความลงในชองวางตอไปนี้ใหไดใจความที่ถูกตอง และ สมบูรณ ( 1. + 2. −−−− 3. −−−− 4. −−−− 5. + 6. + ) ! การตอสายดิน! พิจารณาการทดลองตอไปนี้! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! 1) อิเลคตรอนถูกผลักลง ขางลางแผนโลหะจะกาง 2) ตอสายดิน อิเลคตรอนจะวิ่ง ลงสูพื้นโลกแผนโลหะจะหุบ 3) ตัดสายดินออก ไมเปลี่ยนแปลง 4) นําวัตถุที่มีประจุดานบนออกอิเลคโตร- สโคปจะเหลือประจุบวกมากกวาลบแผน โลหะดานลางจะกางออก หากนําวัตถุที่มีประจุออกกอนตัดสายดิน อิเลค- ตรอนที่พื้นโลกจะวิ่งขึ้น มาบนอิเลคโตรสโคป ทําใหเปนกลางทางไฟฟาแผนโลหะจะไมกางออก! −− − เติมประจุ + หรือ −! (1) .! (2) (3) ! +3 + เติมประจ + หรือ −! (4) .! (5) (6) ! − − + + + + + + ! −! −! − − − − − + + + + + + ! − − + + + + + + ! + + + + ! +! +! + +! +! + − + − + − ! ! +! − ! +! −
  • 39. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! &,! 97. จงเติมประจุ + หรือ − หรือ 0 หากเปนกลางทางไฟฟา ในตําแหนงที่ 1 − 12 ( 1. + 2. −−−− 3. −−−− 4. + 5. 0 6. 0 7. + 8. 0 9. 0 10. + 11. + 12. + ) พิจารณาการทดลองตอไปนี้! 4) นําวัตถุที่มีประจุดานบนออกอิเลคตรอน ดานบนจะเคลื่อนลงมาดานลาง ทําใหมีลบ มากเกินไป แผนโลหะดานลางจะกางออก 1) อิเลคตรอนถูกดูดขึ้น แผน โลหะดานลางจะเหลือบวก และเกิดแรงผลักทําใหกางออก! 2) ตอสายดิน อิเลคตรอนจากพื้น โลกจะวิ่งขึ้นมาอยูบนแผนโลหะ ดานลาง ทําใหแผนโลหะเปนกลาง ทางไฟฟาแลวหุบลง 3) ตัดสายดินออก ไมเปลี่ยนแปลง หากนําวัตถุที่มีประจุออกกอนตัดสายดิน อิเลค- ตรอนบนอิเลคโตรสโคปที่มากเกินไปจะวิ่งลงพื้น โลก จนอิเลคโตรสโคปเปนกลาง และจะหุบลง 3 − − − − − −! +! +! − − − ! −! +! − −+ −! ! ! +! − ! +! − 3 3 3 3 3 +! +! + − − − − − −! ! +! − ! +! − − − − − − −! ! +! − ! +! − − − (1) ! − − − − (2) ! (3) ! (4) ! (5) ! (6) ! (7) ! (8) ! (9) ! (10) (11) (12)
  • 40. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! '-! 98. จงเติมประจุ + หรือ − หรือ 0 หากเปนกลางทางไฟฟา ในตําแหนงที่ 1 − 12 ( 1. −−−− 2. + 3. + 4. −−−− 5. 0 6. 0 7. −−−− 8. 0 9. 0 10. −−−− 11. −−−− 12. −−−− ) 99(En 29) ถาตองการใหอิเลคโตรสโคปมีประจุบวก ควรมีขั้นตอนในการกระทําเปนอยางไร 1. นําวัตถุที่มีประจุบวกเขาใกลจานโลหะของอิเล็กโตรสโคป 2. นําวัตถุที่มีประจุลบเขาใกลจานโลหะของอิเล็กโตรสโคป 3. ตอสายดินกับจานโลหะของอิเล็กโตรสโคป 4. ดึงวัตถุที่มีประจุออก 5. ดึงสายดินออก ก. 1 3 4 5 ข. 1 3 5 4 ค. 2 3 4 5 ง. 2 3 5 4 (ขอ ง) ตอบ 100(มช 40) วัตถุที่มีประจุเขามาใกลจานโลหะหลังจากนั้น ใชสายไฟที่ปลายขางหนึ่งตอโยงกับ ตัวนําที่ฝงใตดินชื้น ๆ แลวนําอีกปลายหนึ่งมาแตะจานโลหะดังแสดงในรูป จงเลือกขอที่เกิดขึ้น 1. 2. 3. 4. (ขอ 2) ตอบ !!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"" ! ! 3 + (1) ! (2) ! (3) ! (4) ! (5) ! (6) ! (7) ! (8) ! (9) ! (10) (11) (12) 3 + 3 +
  • 41. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! '"! ฟสิกส บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! ! กฎของคูลอมบ! 1. จงหาระยะหางที่เกิดจากจุดประจุทั้งสองที่มีขนาด +1.0 และ –1.0 ไมโครคูลอมบ และมี แรงดึงดูดตอกัน 440 นิวตัน (4.5x10–3 ม.) 2. นิวเคลียสของอะตอมฮีเลียมประกอบดวยโปรตอน 2 ตัว ซึ่งอยูหางกันประมาณ 3.0x10–15 เมตร จงหาขนาดของแรงที่เกิดกับโปรตอนแตละตัว (โปรตรอน 1 ตัว มีประจุ 1.6 x 10–19 คูลอมบ ) (25.6 N) 3. ประจุคูหนึ่งวางใหหางกันเปนครึ่งหนึ่งของระยะเดิม แรงกระทําระหวางประจุจะเพิ่มหรือ ลดจากเดิมเทาไร ก. เพิ่มขึ้น 2 1 เทา ข. เพิ่มขึ้น 2 เทา ! ! ค. เพิ่มขึ้น 4 เทา! ! ! ! ! ! ! ง. ลดลง 2 เทา! (ขอ ค)! 4. แรงผลักระหวางประจุที่เหมือนกันคูหนึ่งเปน 3.5 นิวตัน จงหาขนาดของแรงผลักระหวาง ประจุคูนี้ ถาระยะหางของประจุเปน 5 เทาของเดิม (0.14 N) 5. เมื่อวางลูกพิธที่มีประจุหางกัน 10.0 เซนติเมตร ปรากฎวามีแรงกระทําตอกัน 10–6 นิวตัน ถาวางลูกพิธทั้งสองหางกัน 2.0 เซนติเมตร จะมีแรงกระทําระหวางกันเทาใด (2.5x10–5 N) 6. ลูกพิธ 2 ลูกวางหางกัน 8 ซม. จะเกิดแรงผลักกันคาหนึ่ง ถาเพิ่มประจุลูกหนึ่งเปน 2 เทา และอีกลูกหนึ่งเปน 3 เทา จะตองวางลูกพิธทั้งสองหางกันเทาใด จึงจะเกิดแรงกระทําเทาเดิม ! ! ( วางหางกัน 8 6 !ซม.)! 7. กอนทองแดง 2 กอน วางหางกัน 3 เมตร แตละกอนมีอิเล็กตรอนอิสระอยู 5 x 1014 ตัว จงหาขนาดของแรงผลักที่เกิดขึ้นในหนวยนิวตัน ก. 1.4 ข. 2.4 ค. 4.4 ง. 6.4 (ขอ ง) 8. ทรงกลมโลหะลูกเล็ก ๆ เริ่มแรกไมมีประจุสองลูก จะตองมีการถายเทอิเล็กตรอน จํานวน กี่ตัว จากลูกหนึ่งไปยังอีกลูกหนึ่ง จึงจะทําใหเกิดแรงดึงดูดระหวางทรงกลมทั้งสอง เทากับ 1.0 นิวตัน ขณะที่อยูหางกัน 10 เซนติเมตร 1. 6.59x1010 ตัว 2. 6.59x109 ตัว 3. 6.59x108 ตัว! ! ! ! ! ! ! 4. 6.59x1012 ตัว! (ขอ 4)
  • 42. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! '%! 9. ประจุ q1 = +4 x 10–6 คูลอมบ , q2 = –5 x 10–6 คูลอมบ และ q3 = +6 x 10–6 คูลอมบ วางอยู ดังรูป จงหาแรงที่เกิดขึ้นกับประจุ q2 (0.0281 N) -– – – – – – – – – – – – – –!4!4!4!!4!4!4!4!! 10. ประจุไฟฟา 3 ตัว ขนาด +6 ไมโครคูลอมบ +10 ไมโครคูลอมบ และ –8 ไมโครคูลอมบ วางอยูในตําแหนงดังแสดงในรูป จงหาแรง ลัพธที่เกิดขึ้นกับประจุ +10 ไมโครคูลอมบ (19 นิวตัน) 11. ประจุไฟฟาเทากันวางอยูที่จุด A , B และ C โดยระยะ AB = 2 !56!!7!!BC = 1 cm ถา แรงไฟฟาที่กระทําตอ C เนื่องจาก B เทากับ 1x104 นิวตัน แรงไฟฟาทั้งหมดที่กระทําตอ B มีขนาดเทาใด ( 2 5 x104 N) 12. จากรูป จงหาขนาดของแรงที่กระทําตอ +3 µC ก. 6.75x10–2 N ข. 13.5 N ค. 22.5 N ง. 675 N จ. 1350 N (ขอ ง) 13. ประจุ +10 ไมโครคูลอมบ , +20 ไมโครคูลอมบ และ +4 ไมโครคูลอมบ วางอยูในตําแหนงแสดง ดังรูป จงหาแรงลัพธที่ประจุ +20 ไมโครคูลอมบ (3.4 N) – – – – – – – – – – – – – – !+ +30 cm + 10 µµµµC + 6 µµµµC 20 cm – 8 µµµµC A C 1 cm cm2 ! •! •! •! +10 µC 2 cm 2 cm –10 µC+3 µC 2 cm + + + +10 µC 80 cm 60 cm100 cm +20 µC 37o +4 µC ++ 2 m 4 m q1= 4x10–6 C q2 = –5x10–6 C q3 = +6x10–6 C!
  • 43. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! '&! ! 1 6 ! สนามไฟฟา 14. จงหาความเขมสนามไฟฟาที่ระยะ 50 ซม. จากประจุ +10–4 คูลอมบ (3.6x106 N/C ทิศออก) 15. ความเขมสนามไฟฟาที่จุดหางจากประจุ 0.15 เมตร เปน 160 นิวตันตอคูลอมบ ที่จุดหาง จากประจุ 0.45 เมตร จะมีความเขมสนามไฟฟาเทาใด (17.8 N/C) 16. ที่ตําแหนงซึ่งหางจากประจุหนึ่งเปนระยะ 2.0 เซนติเมตร มีขนาดของสนามไฟฟาเปน 105 นิวตันตอคูลอมบ จงหาขนาดของสนามไฟฟาที่หางจากจุดนี้ 1.0 เซนติเมตร (4x105 N/C) 17 (มช 42) วางประจุ 3 x 10–3 คูลอมบ , 2 x 10–3 คูลอมบ และ –8x10–3 คูลอมบ ที่ตําแหนง A , B และ C ตามลําดับ จงหาสนามไฟฟาที่ตําแหนง B ในหนวยของนิวตัน/คูลอมบ AB = 3 เมตร , BC = 2 เมตร 1. 21x106 2. 15x106 3. 30x106 4. 42x106 (ขอ 1) 18. ที่ตําแหนง ก , ข และ ค มีประจุเปน 1.0 x 10–7 , –1.0 x 10–7 และ –10 x 10–7 คูลอมบ ตามลําดับ จงหาขนาดของสนามไฟฟาตําแหนง ค. เนื่องจาก ประจุที่ตําแหนง ก และ ข (900 N/C) 19. จงหาความเขมสนามไฟฟาที่จุด B ในรูปที่กําหนด ( กําหนด cos 127o = cos 53o = 0.6 ) (7.26x106 N/C) 20 (En 38) ประจุ –1 คูลอมบ อยูที่จุด A และจุด B ซึ่งอยู หางกัน 5 เมตร ที่จุด C ซึ่งอยูหางจากทั้งจุด A และจุด B เปนระยะทาง 5 เมตร จะมีขนาดของสนามไฟฟาเทาไร 1. 3 25 Ek N/C 2. 2 3 ⋅ 25 Ek N/C 3. 25 E2k N/C 4. 25 Ek N/C (ขอ 1) 37o 8 cm 53o 6 cm 10 cm +5 µC –3.6 µC B
  • 44. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! ''! 21. สนามไฟฟาที่ทําใหโปรตอนมวล 1.67x10–27 กิโลกรัม มีประจุ 1.6x10–19 คูลอมบ เกิดความเรง 2x102 เมตรตอวินาที2 มีคาเทาไร ก. 2x10–6 N/C ข. 2x10–5 N/C ค. 2x10–4 N/C ง. 2x10–3 N/C (ขอ ก) 22. ที่จุดหางจากประจุตนเหตุ 1.2 m ประจุขนาด 6x10–12 C ถูกแรงกระทํา 6x10–10 N จงหาคาประจุตนเหตุนี้ (1.6x10–8 C) 23. ที่จุด ๆ หนึ่งในสนามไฟฟา ปรากฎวาเกิดแรงกระทําตออิเล็กตรอนที่จุดนั้นมีคา 4.8 x 10–14 N จงหาแรงที่กระทําตอประจุขนาด 9.0 x 10−7 C ที่จุดเดียวกันนั้น (0.27 N) 24. ประจุ q1 , q2 มีขนาดเทากันอยูหางกัน 0.1 m สนามไฟฟา ณ จุดกึ่งกลางระหวางประจุ ทั้งสองมีทิศพุงเขาหา q2 และมีขนาด 4.8x104 V/m จงหา q1 , q2 ( ±±±± 6.67x10–9 C) 25. ประจุไฟฟาหนึ่ง (+5 µC) ถูกวางไวที่ตําแหนง X = 0 ซ.ม. และประจุไฟฟา ที่สอง (+7 µC) ถูกวางไวที่ตําแหนง X = 100 ซ.ม จะตองวางประจุไฟฟาที่สนามไวที่ ตําแหนงใดจึงจะไดรับแรงสุทธิจากสองประจุแรกเทากับศูนย ( x = 45.80 Cm ) 26. จุดประจุ +4 x 10–8 คูลอมบ และ +9 x 10–8 คูลอมบ อยูหางกัน 0.5 เมตร จงหาตําแหนง ตามแนวเสนตรงระหวางจุดประจุทั้งสองที่มีขนาดของสนามไฟฟาเปนศูนย ณ ตําแหนงนั้น (0.2 เมตร) 27. ประจุสองประจุมีขนาด –16 และ +4 ไมโครคูลอมบ วางอยูในตําแหนงซึ่งหางกัน 3 เมตร จงหาตําแหนงที่อยูในแนวระหวางประจุทั้งสองที่จะใหเกิดสนามไฟฟาเปนศูนย (3 เมตร) 28. ประจุ +1 x 10–5 คูลอมบ และ –2 x 10–5 คูลอมบ วางอยูหางกัน 10 ซม. จงหาตําแหนง ของจุดสะเทิน (จุดที่มีความเขมสนามไฟฟาเปนศูนย) (24.14 cm) 29. จุดประจุ 2 จุด อยูหางกัน 0.5 m จุดประจุหนึ่งมีคา +4 x 10–8 C หากสนามไฟฟาเปน ศูนยอยูระหวางประจุทั้งสอง และหางจากจุดประจุ +4x10–8 C เทากับ 0.2 m คาของอีก ประจุหนึ่งมีกี่คูลอมบ ก. 0.9x10–8 ข. 3x10–8 ค. 9x10–8 ง. 30x10–8 (ขอ ค) !
  • 45. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! '(! ศักยไฟฟา 30 (En 36) โลหะรูปทรงกลมรัศมี 10 cm มีประจุ 10–9 C จากรูปจงหางานในการนําโปรตรอน 1 ตัว เคลื่อนที่ จากจุด B มายังจุด A ดังรูป 1. 2.9x10–18 J 2. 4.3x10–18 J 3. 7.2x10–18 J 4. 30x10–18 J (ขอ 2) 31. เมื่อนําประจุ 0.5 คูลอมบ จาก A ไป B ตองใชงาน 12.5 จูล ศักยไฟฟาที่ A และ B จะ ตางกันกี่โวลต ก. 25 ข. 12.5 ค. 2.5 ง. 0.25 (ขอ ก) 32. ในการเคลื่อนประจุ 5 x 10–2 คูลอมบ จาก A ไปยัง B เปนระยะ 10 เมตร ตองใชแรง เฉลี่ย 2 นิวตัน ความตางศักยระหวาง AB มีคาเทาไร ก. 4 x 102 V ข. 2.25 x 102 V ค. 4 x 103 V ง. 2.25 x 103 V (ขอ ก) 33. จุด A อยูหางจากประจุ Q เปนระยะ r มีศักยไฟฟา V เมื่อนําประจุทดสอบ q จากระยะอนันตมายังจุด A ตองเปลืองงานเทาไร ก. r Kq ข. r KQ ค. r KQq ง. 2r KQq (ขอ ค) 34. จุด A อยูหางจากประจุ Q เปนระยะ d มีศักยไฟฟา V เมื่อนําประจุทดสอบ q จาก ระยะอนันต (infinity) มายังจุด A จะสิ้นเปลื้องงานไปเทาใด ก. kg/d ข. KQ/d ค. KQ/qd ง. KQq/d (ขอ ง) 35. จากรูป ถา O เปนจุดที่มีศักยไฟฟาเปนศูนย และอยูในระหวาง A, B แลว BO เทากับ ก. 3 1 AB ข. 2 1 AB ค. 3 2 AB ง. AB (ขอ ก) ! • • • +2 µC –1 µC A O B! แนว AB
  • 46. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! ')! ! 36(มช 38) ที่ตําแหนง O และ Q มีประจุไฟฟา 3.0x10–6 คูลอมบ และ –1.0 x 10–6 คูลอมบ ดังรูป OR = QR = 0.4 เมตร และ PR = 0.3 เมตร จงหาความตางศักยระหวาง R และ P (9000 โวลต) 37(มช 42 ) สี่เหลี่ยมจัตุรัสมีเสนทะแยงมุมยาว 0.2 เมตร วางประจุ 5 x 10–6 คูลอมบ , 3 x 10–6 คูลอมบ –4 x 10–6 คูลอมบ และ –2 x 10–6 คูลอมบ ที่มุมทั้งสี่ของรูปสี่เหลี่ยมนี้ จงหาศักยไฟฟาที่จุดศูนยกลางของสี่เหลี่ยมจัตุรัสในหนวยโวลต 1. 18x104 2. 2x104 3. 14x104 4. 9x104 (ขอ 1) 38(มช 32) จุดประจุ 3 จุดประจุ วางอยูที่มุมของสามเหลี่ยมดานเทายาวดานละ 2 cm ทําให จุดที่เสนมัธยฐานทั้งสามตัดกันมีศักยไฟฟาเปนศูนยหากจุดประจุ 2 ประจุ มีคา +2 ไมโคร– คูลอมบ และ +4 ไมโครคูลอมบ จงหาคาจุดประจุตัวที่สามในหนวยไมโครคูลอมบ ก. –8 ข. –6 ค. +6 ง. +8 (ขอ ข) สนามไฟฟา และ ศักยไฟฟา รอบตัวนํา 39. ทรงกลมรัศมี 1 เมตร และมีประจุ –5x10–9 C จงหาสนามไฟฟาและศักยไฟฟาที่ ก. ระยะทาง 2 เมตร จากผิวทรงกลม ( 5 N/C , –15V ) ข. ผิวทรงกลม ( 45 N/C , –45V ) ค. ระยะ 0.2 เมตร จากจุดศูนยกลางทรงกลม ( 0 N/C , –45V ) 40. ตัวนําทรงกลม A มี O เปนจุดศูนยกลาง เสนผานศูนยกลาง 2.0 cm เมื่อใหประจุ +8.0 x 10–4 C แกทรงกลม ทรงกลม A ขาดอิเล็กตรอนไปกี่อนุภาค ก. 5.0x105 ข. 2.0x1014 ค. 5.0x1023 ง. 2.0x1032 (ขอ ค) 41. จากขอที่ผานมา ความเขมสนามไฟฟาที่จุด O มีคาเทาไร ก. 0 ข. 7.2x10–2 V/m ค. 1.8 V/m ง. 7.2 V/m (ขอ ก) 42. ถาตองการใหสนามไฟฟาที่ผิวทรงกลมตัวนําซึ่งมีรัศมี 10 cm มีความเขม 1.3 x 10–3 N/C มีทิศพุงเขาสูจุดศูนยกลาง จะตองใหอิเล็กตรอนแกทรงกลมเทาใด ก. 9x103 ข. 9 x 104 ค. 1014 ง. 1015 ! ! ! (ขอ ก) 1 ม.! 2 ม.!
  • 47. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! '*! สนามไฟฟาสม่ําเสมอ 43(มช 27) ขนาดของสนามไฟฟาในบริเวณระหวางแผนโลหะที่มีประจุตางชนิดกันจะมีคาอยางไร ก. ศูนย ข. สม่ําเสมอตลอดบริเวณ ค. มากเมื่อเขาใกลแผนประจุบวก ง. มากเมื่อเขาใกลแผนประจุลบ (ขอ ข) 44. จากรูป แผนโลหะ x , y ขนาดใหญตออยูกับขั้วแบต เตอรี่ขนาด 120 V และอยูในสูญญากาศ สนามไฟฟา ในระหวางแผนโลหะทั้งสองเปนเทาใด ก. 6 V/m ข. 60 V/m ค. 600 V/m ง. 6000 V/m (ขอ ง) 45. แผนโลหะขนานวางหางกัน 2 cm ตออยูกับแบตเตอรี่ตัวหนึ่ง ถาความเขมสนามไฟฟา ระหวางโลหะทั้งสองเปน E เมื่อเลื่อนแผนโลหะใหหางกัน 4 cm ความเขมของสนาม ไฟฟาระหวางแผนโลหะทั้งสองเปนเทาไร ก. 4E ข. 2E ค. E ง. 2 E (ขอ ง) 46(มช 43) สนามไฟฟาสม่ําเสมอขนาดเทากับ 8 x 106 โวลต/เมตร ตําแหนง A และ B อยูหาง กัน 0.5 เมตร ดังรูป จงหาความ ตางศักยไฟฟาในหนวยเมกกะโวลต (MV) ระหวาง A และ B (4 เมก 47. ประจุขนาด 2.5 ไมโครคูลอมบ ถูกนําไปวางในสนามไฟฟาซึ่งมีทิศอยางสม่ําเสมอในทิศลง ดวยความเขม 500 N/C จงหาความตางศักยของจุด 2 จุด ที่ประจุเคลื่อนที่ตามแนวตอไปนี้ ก. 2 เมตร ไปทางขวา ( 0 V) ข. 0.8 เมตร ในทิศลง ( –400 V) ค. 0.5 เมตร ในทิศขึ้น ( 250 V) ง. 3 เมตร ทํามุมขึ้นไป 30o กับแนวระดับ ( 750 V) 48(En 35) แผนโลหะขนาน 2 แผนวางหางกัน d ความตางศักย V ถามีอนุภาคประจุ q มวล m ลอยอยูระหวางแผนทั้งสอง จะมีแรงกระทําตออนุภาคนั้นเทาใด (ไมคิดแรงโนมถวง) 1. d qV 2. V qd 3. V mqd 4. d mqV (ขอ 1) 2 cm 3! 4! 120 V 8! 9!
  • 48. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ! '+! 49. วัตถุเล็ก ๆ ชิ้นหนึ่งมีประจุ –5 x 10–9 C ถูกนําไปวางที่จุดๆ หนึ่งในสนามไฟฟา ปรากฎวา มีแรงกระทํา 2.0 x 10–9 N บนวัตถุนั้น สนามไฟฟาที่จุดนั้นมีคาเทาใด ก. 0.4 N/C ทิศเดียวกับแรง ข. 0.4 N/C ทิศตรงขามกับแรง ค. 4.0 N/C ทิศเดียวกับแรง ง. 4.0 N/C ทิศตรงขามกับแรง (ขอ ข) 50. จากรูป จงหาแรงไฟฟาที่กระทําตออิเล็กตรอนที่อยูในระหวางแผนโลหะขนาน AB ก. 3.0 x 10 –33 N ทิศขึ้น ข. 5.3 x 10–20 N ทิศขึ้น ค. 5.3 x 10–20 N ทิศลง ง. 4.8 x 10–19 N ทิศขึ้น (ขอ ข) 51. สนามไฟฟาขนาด 280,000 N/C มีทิศไปทางใต จงหาขนาดและทิศทางของแรงที่กระทํา ตอประจุ –4.0 µC วางอยูในสนามไฟฟานี้ (ขนาด 1.12 N , ทิศเหนือ) 52. อนุภาคไฟฟาซึ่งมีประจุ –2.0 x 10–9 C ไดรับแรงเนื่องจากสนามไฟฟาสม่ําเสมอ 3.0 x 10–6 N ทิศลง จงหา ก. สนามไฟฟา ( 1500 N/C) ข. ขนาดและทิศของแรงที่กระทําตอโปรตอนเมื่ออยูในสนามนี้ ( 2.4x1016 N) 53. แผนตัวนําขนานหางกัน 0.2 เซนติเมตร ทําใหเกิดสนามสม่ําเสมอตามแนวดิ่ง ถาตองการ ใหอิเล็กตรอนมวล 9.1 x 10–31 กิโลกรัม ที่มีประจุ –1.6x10–19 คูลอมบ ลอยอยูนิ่ง ๆ ได ที่ตําแหนงหนึ่งระหวางแผนตัวนําขนานนี้ ความตางศักยระหวางตัวนําขนานตองเปนเทาใด (1.14x10–13 โวลต) 54. หยดน้ํามันหยดหนึ่งมวล 0.02 กรัม ประจุ +q อยูในสนามไฟฟา ความเขม 10 N/C ปรากฎวาหยดน้ํามันหยุดนิ่งโดยสมดุลกับแรงโนมถวงของโลก จงหาคา q ก. 2x10–5 C ข. 2x10–4 C ค. 2x10–3 C ง. 2x10–2 C (ขอ ก) 55. หยดน้ํามันมวล 2.88 x 10–14 kg มีประจุไฟฟาทําใหลอยหยุดนิ่งในสนามไฟฟา 3 x 105 N/C ที่มีทิศขึ้นในแนวดิ่ง จงหาคาประจุบนหยดน้ํามัน ก. 0 ข. 1.6x10–19 C ค. 3.2x10–19 C ง. 9.6x10–19 C (ขอ ง) 3 1E ==== ! !:;<!