SlideShare a Scribd company logo
1 of 68
Download to read offline
โครงการ
  “ ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด สร้างสามัคคี สู่น้องพี่ชาวอีสาน ”



       ณ โรงเรียนบ้านหนองคูวิทยาคม
 ม. ๗ ต.สระโพนทอง อ.เกษตรสมบูรณ์ จ.ชัยภูมิ
      ระหว่างวันที่ ๖-๒๑ มีนาคม ๒๕๕๔


ชมรมศิลปวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร


                         ผู้ประสานโครงการ
            นายวีระยุทธ นาคนุช   เบอร์ติดต่อ ๐๘-๕๐๙๕๔๔๘๕
            นายชวาลา บุญโญ       เบอร์ติดต่อ ๐๘-๙๗๖๙๙๘๔๖
รายละเอียดโครงการ
โครงการ
     “ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด สร้างสามัคคี สูน้องพีชาวอีสาน ”
                                              ่     ่
ชื่อโครงการ               ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด สร้างสามัคคี สู่น้องพี่ชาวอีสาน

ลักษณะโครงการ             โครงการต่อเนื่องจัดทุกปี

เจ้าของโครงการ            ชมรมศิลปวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ อาจารย์สรัญญา รุจเิ รขเรืองรอง

ผู้รับผิดชอบโครงการ
                          นายวีระยุทธ นาคนุช
                          นายชวาลา บุญโญ
                          นายเสกสรร สร้อยจรุง

วัตถุประสงค์โครงการ ๑. สร้างอาคารอเนกประสงค์พร้อมห้องพยาบาล
                    ๒.โครงการปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ
                    ๓. โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น

ระยะเวลาปฏิบัติงาน
                          ๑.ขั้นตอนการเตรียมงาน ๑๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ – ๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
                          ๒.ระยะเวลาในการดาเนินงาน ๖ – ๒๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
                          ๓.ประเมินผล ๒๒ มีนาคม – ๓๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔

สถานที่ปฏิบัติงาน         โรงเรียนบ้านหนองคูวิทยาคม หมู่ ๗ ตาบลสระโพนทอง อาเภอเกษตรสมบูรณ์
กก                        จังหวัดชัยภูมิ ๓๖๑๒๐

จานวนผู้เข้าร่วมโครงการ
                          ๑. อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ        ๑        คน
                          ๒. นักศึกษาเข้าร่วมโครงการ        ๕๗       คน
                          ๓. ชาวชุมชนรอบโรงเรียน
                          ก และนักเรียน                     ๕๐๐ คน
                          ก                      รวม        ๕๕๘ คน
หลักการและเหตุผล
          ปัจจุบันสังคมไทยกาลังเผชิ ญปัญหานานัปการไม่ว่าจะเป็นปัญหาการเมือง ปัญหาเศรษฐกิจตกต่า ปัญหา
สังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คือปัญหา การแตกแยกทางความคิดอย่างรุนแรงของคนในชาติ เป็นเหตุให้เกิดความไม่
สงบขึ้ นในสังคมตามที่ ป รากฏในสื่ อมวลชนต่างๆ ซึ่งเชื่อว่าสาเหตุประการหนึ่งมาจากประเทศพั ฒนาสู่ความ
ทันสมัยโดยรับวิทยาการสมัยใหม่เข้ามา พร้อมกับรับวัฒนธรรมตะวันตกเข้ามามากเสียจนกลืนกินความเป็นไทย
ทาให้น่าหวั่นเกรงว่าคนไทยจะลืมรากเหง้าของวีถีไทย ลืมวัฒนธรรมของบรรพบุรุษ และอีกประการคือท้องถิ่น
ชนบทส่วนใหญ่ประสบกับปัญหาความยากจน ด้อยโอกาสทางการศึกษา จากปัญหาต่างๆ ทาให้สภาพแวดล้อมใน
ชนบทไม่เอื้อต่อการเรียนรู้ เด็ก และเยาวชนในชนบทยังมิได้รับโอกาสทางการศึกษาเท่าที่ควร นักศึกษาชมรม
ศิลปวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร จึงรวมกลุ่มผู้มีจิตอาสา มาทางานกันภายใต้ความมีระเบียบ
วินัย เสียสละ และความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน โดยดาเนินโครงการ “ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด สร้างสามัคคี สู่น้อง
พี่ชาวอีสาน” ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์หลักในการพัฒนาโรงเรียนบ้านหนองคูวิทยาคม ตาบลสระโพนทอง อาเภอ
เกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ ซึ่งมีนักเรียน ๓๔ คน ตั้งแต่ชั้นอนุบาล ๑ – ประถมศึกษาปีที่ ๖ มีครูอาจารย์และ
เจ้าหน้าที่ รวม ๖ คน โดยโรงเรียนนี้ขาดแคลนงบประมาณ พัฒนาอาคารเรียนและห้องพยาบาล นอกจากนี้ชมรม
ศิลปวัฒนธรรมอีสานได้เล็งเห็น โอกาสของการปลูกฝังคุณค่าของป่าไม้ ให้แก่ชาวชุมชนรอบๆโรงเรียน และการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ระหว่างนักศึกษาของมหาวิทยาลัยกับนักเรียนตลอดจนชาว
ชุมชนดังกล่าวด้วย

วัตถุประสงค์โครงการ
        ๑. เพื่อก่อสร้างอาคารอเนกประสงค์ขนาด ๖ x ๑๒ เมตร พร้อมห้องพยาบาลภายใน
        ๒. เพื่อจัดกิจกรรมให้ความรู้เรื่องป่าไม้ และคุณค่าของการปลูกป่า ภายใต้โครงการ “ปลูกป่าเฉลิมพระ
           เกียรติ”
        ๓. เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิถีชีวิต ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่นของ
           ภาคอีสาน ระหว่างนักศึกษากับนักเรียนและชาวชุมชนรอบโรงเรียน
ขอบเขตการดาเนินงาน
        ๑. สร้างอาคารอเนกประสงค์พร้อมห้องพยาบาล ขนาดพื้นที่ ๗๒ ตารางเมตร (๖ × ๑๒ เมตร)
 -                งานปรับพื้นที่
 -                งานโครงสร้างอาคาร
 -                งานมุงหลังคากระเบื้อง
 -                งานเทพื้นคอนกรีต
        ๒. กิจกรรมปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ
 -                 ในความรู้ชาวบ้านเรื่องประโยชน์ของป่า
 -                 ปลุกจิตสานึกให้ชาวบ้านตระหนักถึงปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 -                 ปลุกจิตสานึกให้ชาวบ้านช่วยกันอนุรักษ์ผืนป่าและทรัพยากรธรรมชาติ
                - ขยายพื้นที่ป่าชุมชนให้ชาวบ้านได้ใช้ประโยชน์ร่วมกัน
๓. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น
            - จัดวิทยากรให้ความรู้ เกี่ยวกับ ประวัติชุมชน ศิลปวัฒนธรรมของชาวอีสาน และภูมิปัญญา
กก          ก ท้องถิ่น แก่นักเรียนและชาวชุมชน
            - เรียนรู้ศิลปะพื้นบ้านและประเพณีต่างๆ เช่น การเซิ้งบั้งไฟ , ผญา/สอย , เป่าแคน , ดีดพิณ ,   กก
กก            หมอลา , พิธีบายศรีสู่ขวัญ , ฮีตสิบสอง ครองสิบสี่
            - เรียนรู้วีถีชีวิตของคนในชุมชน , เรียนรู้ภาษาท้องถิ่น , กิจกรรมพ่อฮักแม่ฮัก
            - จัดแข่งขันกีฬาพื้นบ้านระหว่าง นักศึกษา นักเรียน และชาวชุมชน
       ๔. กิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์
            - ช่วยสอนหนังสือน้องๆ
            - จัดทาสื่อการเรียนการสอนเพิ่มเติมให้โรงเรียน
            - ทาความสะอาดบริเวณวัดและหมู่บ้าน
       ๕. บริจาคอุปกรณ์การเรียนการสอนและอุปกรณ์การกีฬา


ชี้แจงวิธีการดาเนินงาน
 ขั้นตอนการดาเนินงานเพื่อเตรียมออกค่าย
        ๑. ประชุมสมาชิกชมรมเพื่อกาหนดจุดประสงค์และเป้าหมายของการออกค่าย
        ๒. ประชุมสมาชิกชมรมเพื่อวางแนวทางในการจัดกิจกรรมต่างๆ ภายในค่ายพร้อมทั้งเลือกโรงเรียนที่
           เหมาะสม ซึ่งนามาพิจารณาในที่ประชุมทั้งสิ้น ๔ โรงเรียน เพื่อกาหนดโรงเรียนที่จะไปสารวจเพื่อ
           พิจารณาออกค่ายต่อไป
        ๓. แจ้งให้ทางโรงเรียนที่จะไปออกสารวจทราบ
        ๔. ออกพื้นที่สารวจโรงเรียนตามที่ได้เลือกไว้ว่าตรงตามจุดประสงค์หรือไม่ และประชุมวางแผนในการ
           จัดกิจกรรมต่างๆร่วมกับทางโรงเรียนและชุมชน
ขั้นตอนการดาเนินโครงการ
           ๑. ประชุมเพื่อกาหนดรูปแบบค่าย ระยะเวลาดาเนินงาน กิจกรรมภายในค่าย และแนวทางในการหา
               ทุนออกค่าย (กาหนดยอดที่ต้องการ ค่าอาหาร ค่าอาคาร ค่ากิจกรรมอื่นๆ)
           ๒. ขั้นตอนเตรียมค่าย (เตรียมสถานที่โครงการ ,วัสดุอุปกรณ์ และประสานงานกับคนในพื้นที่)
           ๓. ขั้นตอนการดาเนินโครงการ (รายละเอียดอยู่ในหัวข้อกาหนดการปฏิบัติงาน)
ปฏิทินดาเนินการโครงการ

                                                ปี พ.ศ. ๒๕๕๓                   ปี พ.ศ. ๒๕๕๔
ลาดับ            กิจกรรม
                                      ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค.

  ๑.    ประชุมเพื่อหาแนวทาง
        รูปแบบค่าย
  ๒.    ออกสารวจภาคสนาม
  ๓.    ประชุมเพื่อวางแผน
        โครงการ
  ๔.    ประชาสัมพันธ์โครงการ
  ๕.    จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์
  ๖.    เตรียมสถานที่ทาโครงการ
  ๗.    ดาเนินการโครงการฯ
  ๘.    สรุปและประเมินผลงาน

งบประมาณในการดาเนินโครงการ
        ๑. อาคารอเนกประสงค์พร้อมห้องพยาบาล (รายละเอียดยู่ในส่วนต่อไป) ๑๙๖,๕๑๕              บาท
        ๒. ค่ากิจกรรมโครงการปลูกป่าเฉลิมประเกียรติ                             ๓,๐๐๐      บาท
        ๓. ค่าอาหารและสวัสดิการต่างๆ ๕๗ คน/๘๐บาท/วัน (๑๖วัน)                   ๗๒,๙๖๐      บาท
        ๔. ค่ารถโดยสารไป-กลับ กรุงเทพฯ – อ.เกษตรสมบูรณ์                        ๓๔,๐๐๐      บาท
        ๕. ค่าเตรียมโครงการ                                                    ๕,๐๐๐       บาท
        ๖. ค่าประชาสัมพันธ์ และติดต่อประสานงาน                                 ๑,๐๐๐       บาท
        ๗. ค่าสรุปโครงการ                                                      ๑,๐๐๐       บาท
        ๘.อื่นๆ (ค่าทาป้ายอาคาร, อุปกรณ์กีฬาและอุปกรณ์การศึกษา)                ๔,๐๐๐       บาท
                         รวมงบประมาณทั้งสิ้น                                   ๓๑๗,๔๗๕ บาท
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
        ๑. โรงเรียนบ้านหนองคูวิทยาคม นักเรียน และชุมชน
             - โรงเรียนได้อาคารอเนกประสงค์พร้อมห้องพยาบาลหลังใหม่
             - ชาวชุมชนและนักเรียนมีจิตสานึกในด้านความสามัคคี และชุมชนมีความแข็งแกร่งสามารถพึ่งตนเองได้
             - ได้เป็นการยกระดับคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของนักเรียนและชุมชนให้ดีขึ้นอีกทางหนึ่ง
             - เกิดความสัมพันธ์และทัศนคติที่ดีระหว่างโรงเรียน ชุมชน นักเรียน และนักศึกษา
             - นักเรียนและชุมชนรู้คุณค่าของทรัพยากรป่าไม้
             - นักเรียนและชุมชนตระหนักถึงคุณค่าของศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น
๒. นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ
   - นักศึกษาเกิดความรัก สามัคคีกันในหมู่คณะ
   - นักศึกษาได้นาความรู้ความสามารถไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนาในถิ่นทุรกันดาร
   - นักศึกษาได้ศึกษาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ศึกษาวัฒนธรรมขนบธรรมเนียม ประเพณีอันดีงามและ
       ภูมิปัญญาท้องถิ่นของภาคอีสาน
   - นักศึกษาได้สืบทอด อนุรักษ์และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี อันดีงามของ
       ภาคอีสาน
   - นักศึกษาได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและมีจิตสานึกความรับผิดชอบต่อสังคมและ
       ส่วนรวม
   - นักศึกษามีจิตสานึกรักบ้านเกิด และได้กลับไปพัฒนาบ้านเกิด
   - นักศึกษาได้ประสบการณ์ และรู้จักการทางานเป็นหมู่คณะ
รายละเอียด
กาหนดการปฏิบัติงาน
กาหนดการปฏิบัติงาน
                    โครงการ “ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด สร้างสามัคคี สู่น้องพี่ชาวอีสาน”
                                    ณ โรงเรียนบ้านหนองคูวิทยาคม
                      หมู่ ๗ ตาบลสระโพนทอง อาเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ
                                ระหว่างวันที่ ๖ - ๒๑ มีนาคม ๒๕๕๔
                       ชมรมศิลปวัฒนธรรมอีสานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

วันเสาร์ ที่ ๕ มีนาคม ๒๕๕๔
         ๒๐.๐๐ น.            รวมกันที่ห้องชมรม
         ๒๑.๓๐ น.            รถเคลื่อนออกจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
วันอาทิตย์ ที่ ๖ มีนาคม ๒๕๕๔
         ๐๖.๓๐ น.             ถึงโรงเรียนบ้านหนองคูวิทยา อาเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ
         ๐๙.๐๐ น. - ๑๒.๐๐ น. ประธานกล่าวเปิดงาน , นักศึกษาจับฉลากแบ่งกลุ่มแยกไปอยู่กับพ่อฮัก-แม่ฮัก
         ๑๒.๐๐ น. - ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารพร้อมพ่อฮัก-แม่ฮัก และชาวบ้าน
         ๑๓.๐๐ น. - ๑๔.๐๐ น. แต่งตั้งหัวหน้ากลุ่ม และจับฉลากแบ่งกลุ่มทากิจกรรม ( มี ๓ กลุ่ม )
         ๑๔.๐๐ น. - ๑๕.๓๐ น. ทากิจกรรมแรกพบ
         ๑๕.๓๐ น. - ๑๙.๐๐ น. ลงชุมชนทากิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ ( ทาความสะอาดหมู่บ้านและวัด )
         ๑๙.๓๐ น. - ๒๑.๔๐ น. รวมพล ณ โรงเรียน , กิจกรรมละลายพฤติกรรม
         ๒๒.๐๐ น.               เข้านอน
วันจันทร์ ที่ ๗ มีนาคม ๒๕๕๔
         ๐๕.๐๐ น. - ๐๖.๐๐ น. ตื่นนอน ทาธุระส่วนตัว
         ๐๖.๐๐ น. - ๐๘.๔๐ น. ทาบุญตักบาตรพร้อมทั้งรับประทานอาหารเช้าที่วัด
         ๐๘.๐๐ น. - ๑๑.๔๐ น. ออกสารวจหมู่บ้านเพื่อศึกษาวิถีชีวิต ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น
         ๑๒.๐๐ น. - ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน , พักผ่อนตามอัธยาศัย
         ๑๓.๐๐ น. - ๑๖.๓๐ น. อมรมให้ความรู้แก่ นักศึกษา นักเรียน และชาวบ้าน เกี่ยวกับชุมชนและภาคอีสาน
         ๑๖.๓๐ น. - ๑๗.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย
         ๑๗.๐๐ น. - ๑๗.๓๐ น. กิจกรรมแอโรบิค
         ๑๘.๐๐ น. - ๑๙.๐๐ น. ทาธุระส่วนตัว
         ๑๙.๐๐ น.- ๒๒.๐๐ น. รับประทานอาหารเย็น , สรุปงาน , นันทนาการ
         ๒๒.๐๐ น.            เข้านอน
วันอังคาร ที่ ๘ มีนาคม ๒๕๕๔
         ๐๕.๐๐ น. - ๐๖.๔๐ น. ตื่นนอน ทาธุระส่วนตัว
         ๐๗.๐๐ น. - ๐๗.๔๐ น. รับประทานอาหารเช้า
         ๐๘.๐๐ น. - ๑๑.๔๐ น. ปฏิบัติงานตามหน้าที่*
๑๒.๐๐ น. - ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน , พักผ่อนตามอัธยาศัย
         ๑๓.๐๐ น. - ๑๖.๓๐ น. ปฏิบัติงานตามหน้าที่* (ต่อ)
         ๑๖.๓๐ น. - ๑๗.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย
         ๑๗.๐๐ น. - ๑๗.๓๐ น. กิจกรรมแอโรบิค
         ๑๘.๐๐ น. - ๑๙.๐๐ น. ทาธุระส่วนตัว
         ๑๙.๐๐ น. - ๒๒.๐๐ น. รับประทานอาหารเย็น , สรุปงาน , นันทนาการ
         ๒๒.๐๐ น.            เข้านอน
วันพุธ ที่ ๙ มีนาคม ๒๕๕๔
         ๐๕.๐๐ น. - ๐๖.๔๐ น. ตื่นนอน ทาธุระส่วนตัว
         ๐๗.๐๐ น. - ๐๗.๔๐ น. รับประทานอาหารเช้า
         ๐๘.๐๐ น. - ๑๑.๔๐ น. ปฏิบัติงานตามหน้าที่*
         ๑๒.๐๐ น. - ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน , พักผ่อนตามอัธยาศัย
         ๑๓.๐๐ น. - ๑๖.๓๐ น. ปฏิบัติงานตามหน้าที่* (ต่อ)
         ๑๖.๓๐ น. - ๑๗.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย
         ๑๗.๐๐ น. - ๑๗.๓๐ น. กิจกรรมแอโรบิค
         ๑๘.๐๐ น. - ๑๙.๐๐ น. ทาธุระส่วนตัว
         ๑๙.๐๐ น. - ๒๒.๐๐ น. รับประทานอาหารเย็น , สรุปงาน , นันทนาการ
         ๒๒.๐๐ น.            เข้านอน
วันพฤหัสบดี ที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๕๔
         ๐๕.๐๐ น. - ๐๖.๔๐ น. ตื่นนอน ทาธุระส่วนตัว
         ๐๗.๐๐ น. - ๐๗.๔๐ น. รับประทานอาหารเช้า
         ๐๘.๐๐ น. - ๑๑.๔๐ น. ปฏิบัติงานตามหน้าที่*
         ๑๒.๐๐ น. - ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน , พักผ่อนตามอัธยาศัย
         ๑๓.๐๐ น. - ๑๖.๓๐ น. ปฏิบัติงานตามหน้าที่* (ต่อ)
         ๑๖.๓๐ น. - ๑๗.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย
         ๑๗.๐๐ น. - ๑๗.๓๐ น. กิจกรรมแอโรบิค
         ๑๘.๐๐ น. - ๑๙.๐๐ น. ทาธุระส่วนตัว
         ๑๙.๐๐ น. - ๒๒.๐๐ น. รับประทานอาหารเย็น , สรุปงาน , นันทนาการ
         ๒๒.๐๐ น.            เข้านอน
วันศุกร์ ที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๕๔
         ๐๕.๐๐ น. - ๐๖.๔๐ น. ตื่นนอน ทาธุระส่วนตัว
         ๐๗.๐๐ น. - ๐๗.๔๐ น. รับประทานอาหารเช้า
         ๐๘.๐๐ น. - ๑๑.๔๐ น. ปฏิบัติงานตามหน้าที่*
         ๑๒.๐๐ น. - ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน , พักผ่อนตามอัธยาศัย
๑๓.๐๐ น. - ๑๖.๓๐ น. ปฏิบัติงานตามหน้าที่* (ต่อ)
         ๑๖.๓๐ น. - ๑๗.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย
         ๑๗.๐๐ น. - ๑๙.๐๐ น. แบ่งกันไปตามบ้านพ่อฮักแม่ฮัก เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิถีชีวิตของชาวบ้าน
         ๑๙.๐๐ น. – ๒๐.๐๐ น. รับประทานอาหารเย็นร่วมกับพ่อฮักแม่ฮัก
         ๒๐.๐๐ น. - ๒๒.๐๐ น. กลับมารวมพล ณ โรงเรียน , ตัวแทนบ้านเล่าประสบการณ์ที่ได้จากพ่อฮักแม่ฮัก
         ๒๒.๐๐ น.             เข้านอน
วันเสาร์ ที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๕๔
         ๐๕.๐๐ น. - ๐๖.๔๐ น. ตื่นนอน ทาธุระส่วนตัว
         ๐๗.๐๐ น. - ๐๗.๔๐ น. รับประทานอาหารเช้า
         ๐๘.๐๐ น. - ๑๑.๔๐ น. ปฏิบัติงานตามหน้าที่*
         ๑๒.๐๐ น. - ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน , พักผ่อนตามอัธยาศัย
         ๑๓.๐๐ น. - ๑๖.๐๐ น. ปฏิบัติงานตามหน้าที่* (ต่อ)
         ๑๖.๐๐ น. - ๑๗.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย
         ๑๗.๐๐ น. - ๑๗.๓๐ น. กิจกรรมแอโรบิค
         ๑๘.๐๐ น. - ๑๙.๐๐ น. ทาธุระส่วนตัว
         ๑๙.๐๐ น. - ๒๒.๐๐ น. รับประทานอาหารเย็น , สรุปงาน , นันทนาการ
         ๒๒.๐๐ น.             เข้านอน
วันอาทิตย์ ที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๔
         ๐๕.๐๐ น. - ๐๖.๔๐ น. ตื่นนอน ทาธุระส่วนตัว
         ๐๗.๐๐ น. - ๐๗.๔๐ น. รับประทานอาหารเช้า
         ๐๘.๐๐ น. - ๑๑.๔๐ น. ปฏิบัติงานตามหน้าที่*
         ๑๒.๐๐ น. - ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน , พักผ่อนตามอัธยาศัย
         ๑๓.๐๐ น. - ๑๖.๓๐ น. ปฏิบัติงานตามหน้าที่* (ต่อ)
         ๑๖.๓๐ น. - ๑๗.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย
         ๑๗.๐๐ น. - ๑๗.๓๐ น. กิจกรรมแอโรบิค
         ๑๘.๐๐ น. - ๑๙.๐๐ น. ทาธุระส่วนตัว
         ๑๙.๐๐ น. - ๒๒.๐๐ น. รับประทานอาหารเย็น , สรุปงาน , นันทนาการ
         ๒๒.๐๐ น.             เข้านอน
วันจันทร์ ที่ ๑๔ มีนาคม ๒๕๕๔
         ๐๕.๐๐ น. - ๐๖.๔๐ น. ตื่นนอน ทาธุระส่วนตัว
         ๐๗.๐๐ น. - ๐๗.๔๐ น. รับประทานอาหารเช้า
         ๐๘.๐๐ น. - ๑๑.๔๐ น. ปฏิบัติงานตามหน้าที่*
         ๑๒.๐๐ น. - ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน , พักผ่อนตามอัธยาศัย
         ๑๓.๐๐ น. - ๑๖.๓๐ น. ปฏิบัติงานตามหน้าที่* (ต่อ)
๑๖.๓๐ น. - ๑๗.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย
        ๑๗.๐๐ น. - ๑๗.๓๐ น. กิจกรรมแอโรบิค
        ๑๘.๐๐ น. - ๑๙.๐๐ น. ทาธุระส่วนตัว
        ๑๙.๐๐ น. - ๒๒.๐๐ น. รับประทานอาหารเย็น , สรุปงาน , นันทนาการ
        ๒๒.๐๐ น.             เข้านอน
วันอังคาร ที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๔
        ๐๕.๐๐ น. - ๐๖.๔๐ น. ตื่นนอน ทาธุระส่วนตัว
        ๐๗.๐๐ น. - ๐๗.๔๐ น. รับประทานอาหารเช้า
        ๐๘.๐๐ น. - ๑๑.๔๐ น. ปฏิบัติงานตามหน้าที่*
        ๑๒.๐๐ น. - ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน , พักผ่อนตามอัธยาศัย
        ๑๓.๐๐ น. - ๑๖.๐๐ น. ปฏิบัติงานตามหน้าที่* (ต่อ)
        ๑๖.๐๐ น. - ๑๗.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย
        ๑๗.๐๐ น. - ๑๙.๐๐ น. แบ่งกันไปตามบ้านพ่อฮักแม่ฮัก เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิถีชีวิตของชาวบ้าน
        ๑๙.๐๐ น. – ๒๐.๐๐ น. รับประทานอาหารเย็นร่วมกับพ่อฮักแม่ฮัก
        ๒๐.๐๐ น. - ๒๒.๐๐ น. กลับมารวมพล ณ โรงเรียน , ตัวแทนบ้านเล่าประสบการณ์ที่ได้จากพ่อฮักแม่ฮัก
        ๒๒.๐๐ น.             เข้านอน
วันพุธ ที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๕๔
        ๐๕.๐๐ น. - ๐๖.๔๐ น. ตื่นนอน ทาธุระส่วนตัว
        ๐๗.๐๐ น. - ๐๗.๔๐ น. รับประทานอาหารเช้า
        ๐๘.๐๐ น. - ๑๑.๔๐ น. ปฏิบัติงานตามหน้าที่*
        ๑๒.๐๐ น. - ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน , พักผ่อนตามอัธยาศัย
        ๑๓.๐๐ น. - ๑๖.๓๐ น. ปฏิบัติงานตามหน้าที่* (ต่อ)
        ๑๖.๓๐ น. - ๑๗.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย
        ๑๗.๐๐ น. - ๑๗.๓๐ น. กิจกรรมแอโรบิค
        ๑๘.๐๐ น. - ๑๙.๐๐ น. ทาธุระส่วนตัว
        ๑๙.๐๐ น. - ๒๒.๐๐ น. รับประทานอาหารเย็น , สรุปงาน , นันทนาการ
        ๒๒.๐๐ น.             เข้านอน

วันพฤหัสบดี ที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๕๔
       ๐๕.๐๐ น. - ๐๖.๔๐ น. ตื่นนอน ทาธุระส่วนตัว
       ๐๗.๐๐ น. - ๐๗.๔๐ น. รับประทานอาหารเช้า
       ๐๘.๐๐ น. - ๑๑.๔๐ น. ปฏิบัติงานตามหน้าที่*
       ๑๒.๐๐ น. - ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน , พักผ่อนตามอัธยาศัย
       ๑๓.๐๐ น. - ๑๖.๓๐ น. ปฏิบัติงานตามหน้าที่* (ต่อ)
๑๖.๓๐ น. - ๑๗.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย
         ๑๗.๐๐ น. - ๑๗.๓๐ น. กิจกรรมแอโรบิค
         ๑๘.๐๐ น. - ๑๙.๐๐ น. ทาธุระส่วนตัว
         ๑๙.๐๐ น. - ๒๒.๐๐ น. รับประทานอาหารเย็น , สรุปงาน , นันทนาการ
         ๒๒.๐๐ น.             เข้านอน
วันศุกร์ ที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๕๔
         ๐๕.๐๐ น. - ๐๖.๔๐ น. ตื่นนอน ทาธุระส่วนตัว
         ๐๗.๐๐ น. - ๐๗.๔๐ น. รับประทานอาหารเช้า
         ๐๘.๐๐ น. - ๑๑.๔๐ น. ปฏิบัตงานตามหน้าที่*
                                    ิ
         ๑๒.๐๐ น. - ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน , พักผ่อนตามอัธยาศัย
         ๑๓.๐๐ น. - ๑๖.๓๐ น. ปฏิบัติงานตามหน้าที่* (ต่อ)
         ๑๖.๓๐ น. - ๑๗.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย
         ๑๗.๐๐ น. - ๑๗.๓๐ น. กิจกรรมแอโรบิค
         ๑๘.๐๐ น. - ๑๙.๐๐ น. ทาธุระส่วนตัว
         ๑๙.๐๐ น. - ๒๒.๐๐ น. รับประทานอาหารเย็น , สรุปงาน , นันทนาการ
         ๒๒.๐๐ น.             เข้านอน
วันเสาร์ ที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๔
         ๐๕.๐๐ น. - ๐๖.๔๐ น. ตื่นนอน ทาธุระส่วนตัว
         ๐๗.๐๐ น. - ๐๗.๔๐ น. รับประทานอาหารเช้า
         ๐๘.๐๐ น. - ๑๑.๔๐ น. กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับคุณค่าของทรัพยากรป่าไม้
         ๑๒.๐๐ น. - ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน , พักผ่อนตามอัธยาศัย
         ๑๓.๐๐ น. - ๑๖.๓๐ น. กิจกรรม “โครงการปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ”
         ๑๖.๓๐ น. - ๑๗.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย
         ๑๗.๐๐ น. - ๑๙.๐๐ น. แบ่งกันไปตามบ้านพ่อฮักแม่ฮัก เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิถีชีวิตของชาวบ้าน
         ๑๙.๐๐ น. – ๒๐.๐๐ น. รับประทานอาหารเย็นร่วมกับพ่อฮักแม่ฮัก
         ๒๐.๐๐ น. - ๒๒.๐๐ น. กลับมารวมพล ณ โรงเรียน , ตัวแทนบ้านเล่าประสบการณ์ที่ได้จากพ่อฮักแม่ฮัก
         ๒๒.๐๐ น.             เข้านอน
วันอาทิตย์ ที่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๕๔
         ๐๕.๐๐ น. - ๐๖.๔๐ น. ตื่นนอน ทาธุระส่วนตัว
         ๐๗.๐๐ น. - ๐๘.๐๐ น. ทาบุญตักบาตร , รับประทานอาหารเช้า
         ๐๘.๐๐ น. - ๐๙.๐๐ น. พิธีมอบอาคาร , พิธีบายศรีสู่ขวัญ
         ๐๙.๐๐ น. - ๑๒.๐๐ น. ทาความสะอาดภายในบริเวณโรงเรียน
         ๑๒.๐๐ น. - ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน , พักผ่อนตามอัธยาศัย
         ๑๓.๐๐ น. - ๑๖.๐๐ น. แข่งขันกีฬาเชื่อมความสัมพันธ์ (กีฬาสากลและกีฬาพื้นบ้าน)
๑๖.๐๐ น. - ๑๗.๓๐ น.      พักผ่อนตามอัธยาศัย
       ๑๘.๐๐ น. - ๑๙.๐๐ น.      ทาธุระส่วนตัว
       ๑๙.๐๐ น. - ๒๒.๐๐ น.      รับประทานอาหารเย็น , กิจกรรมงานเลี้ยงแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรม
       ๒๒.๐๐ น.                 เข้านอน
วันจันทร์ ที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๕๔
       ๐๕.๐๐ น. - ๐๖.๐๐ น.      ตื่นนอน ทาธุระส่วนตัว
       ๐๗.๐๐ น. - ๐๘.๐๐ น.      รับประทานอาหารเช้า
       ๐๙.๓๐ น.                 เดินทางกลับ
       ๑๖.๐๐ น.                 ถึง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร


กิจกรรมพิเศษอื่นๆ ** ( จะเป็นหน้าที่ของกลุ่มซักผ้า หรือกลุ่มอื่นๆ เมื่อทางานตามหน้าที่เสร็จแล้ว โดยการทา
กิจกรรมนี้จะขึ้นอยู่กับความเห็นของหัวหน้ากลุ่มและประธานค่าย )
- กิจกรรมช่วยสอนหนังสือน้องนักเรียน ( เป็นหน้าที่ของกลุ่มซักผ้าเท่านั้นเพราะต้องมีตารางสอน ) และจัดทาสื่อ
แการเรียนการสอนเพิ่มเติมให้โรงเรียน
- กิจกรรมถ่ายทอดความรู้ และประสบการณ์ให้น้องนักเรียน ( การทาแปลงเกษตร , เครื่องดนตรีพื้นบ้าน , กก กก
กการละเล่นและของเล่นพื้นบ้าน , วัฒนธรรมและประเพณีของชาวอีสาน เป็นต้น )
- กิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ต่างๆ ( ลงชุมชนทาความสะอาด และปลูกต้นไม้ , ปลูกไม้ผลในบริเวณโรงเรียน )
- กิจกรรมพาน้องนันทนาการ และออกกาลังกาย

การดาเนินกิจกรรมต่างๆ ภายในค่ายจะแบ่งออกเป็น ๓ กลุ่ม หมุนเวียนกันทางาน ( ๓ วันเปลี่ยนงาน )
( สาหรับงานก่อสร้างเมื่อกลุ่มอื่นปฏิบัติหน้าที่เสร็จแล้วสามารถมาช่วยเหลือได้ตามความเห็นของหัวหน้ากลุ่ม )

*หมายเหตุ ปฏิบัติงานตามหน้าที่คือ
- กลุ่มก่อสร้าง ทางานก่อสร้าง
- กลุ่มซักผ้า ทาหน้าที่ซักผ้า , สอนหนังสือน้อง , ลงชุมชน , และทากิจกรรมพิเศษอื่นๆ ตามที่หัวหน้ากลุ่มและ
แประธานค่ายเห็นว่าเหมาะสม
- กลุ่มทากับข้าว ทาหน้าที่ทากับข้าว , บริการน้า
- สาหรับพวกต้องปฏิบัติกิจกรรมอื่นๆ ก็ทางานตามที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้ากลุ่มและประธานค่าย

                    ตารางกิจกรรมอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม
รายละเอียดกิจกรรม
กิจกรรมศึกษาเรียนรู้วิถีชีวิต ศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน และภูมิปัญญาท้องถิ่น

นักศึกษาผู้รับผิดชอบกิจกรรม. นายสุภวุฒิ โสดาภักดิ์

วัตถุประสงค์.           - เพื่อศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิถีชีวิต ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี และภูมิปัญญา
                กก        ท้องถิ่นของภาคอีสาน

วิธีดาเนินงาน.           - ลงพื้นที่เพื่อศึกษาวิถีชีวิต ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน , เชิญปราชญ์
                กก         ชุมชนมาให้ความรู้ , แบ่งนักศึกษาไปตามบ้านพ่อฮักแม่ฮักเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้

สถานที่ดาเนินงาน. - หมู่บ้าน

กลุ่มเป้าหมาย.            - นักศึกษา , ชาวบ้าน

ผลที่คาดว่าจะได้รับ. - นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ ได้ศึกษาและแลกเปลี่ยนและเรียนรู้ศึกษาวัฒนธรรม
                           ขนบธรรมเนียม ประเพณีอันดีงามและภูมิปัญญาท้องถิ่นของภาคอีสาน

                         - นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ ได้สืบทอด อนุรักษ์และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม
                           ขนบธรรมเนียมประเพณี อันดีงามของภาคอีสาน


          กิจกรรมให้ความรู้เรื่องต่างๆ เกี่ยวกับหมู่บ้านหมู่บ้าน และภาคอีสาน แก่เด็กนักเรียนในชุมชน

นักศึกษาผู้รับผิดชอบกิจกรรม. นายธีรพงษ์ พลเตมา

วัตถุประสงค์         - เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมรู้ประวัติศาสตร์ของหมู่บ้าน และภาคอีสาน

                     - เพื่อให้เด็กนักเรียนเห็นความสาคัญของท้องถิ่น

                     - เพื่อให้เด็กนักเรียนเป็นผู้สืบทอดความรู้ที่ได้ให้คงอยู่ และตระหนักถึงการสืบสานสู่รุ่นต่อๆ ไป

วิธีดาเนินงาน. - เชิญผู้เฒ่าผู้แก่ในหมู่บ้านที่มีความรู้เรื่องประวัติหมู่บ้าน ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น ภูมิปัญญากกกก
กก                    ชาวบ้านมาร่วมถ่ายทอดความรู้ให้กับคนรุ่นหลัง

                     -เจัดในรูปแบบการอบรม โดยมีวิทยากร บรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม

                     - มีการแจกหนังสือสรุปความรู้ที่ได้บรรยายไป

                     - อาจมีการให้ความรู้เรื่องภาคอีสานน้องๆ เพื่อเติมในลักษณะการสอนในห้องเรียน
สถานที่ดาเนินงาน. - โรงเรียน

กลุ่มเป้าหมาย.      - เด็กนักเรียน , นักศึกษา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ. - ผู้เข้าร่วมกิจกรรมตระหนักถึงความรักในท้องถิ่นและเกิดความสามัคคี

                    -เผู้เข้าร่วมกิจกรรมเกิดความภูมิใจในท้องถิ่น และภูมิใจในความเป็นคนอีสาน

                    - ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนาความรู้ที่ได้ไปต่อยอดพัฒนาต่อไปได้

                                          กิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์

นักศึกษาผู้รับผิดชอบกิจกรรม. นางสาวปราชลี อินทรกลาง

วัตถุประสงค์.      - เพื่อให้นักศึกษามีจิตสานึกที่จะเข้ามามีส่วนร่วมในการบาเพ็ญประโยชน์ต่อส่วนรวม

                   - เพื่อส่งเสริมวิชาการให้กับนักเรียน

วิธีดาเนินงาน.     - สอนหนังสือน้องๆ

                   - จัดทาสื่อการเรียนการสอนเพิ่มเติมให้โรงเรียน

                   - บริจาคอุปกรณ์การเรียนการสอนและอุปกรณ์การกีฬา

                   - ทาความสะอาดวัด รวมถึงหมู่บ้าน

สถานที่ดาเนินงาน. - หมู่บ้าน , โรงเรียน

กลุ่มเป้าหมาย.      - นักเรียน, ชาวบ้าน

ผลที่คาดว่าจะได้รับ. - ได้เป็นการยกระดับคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของชาวบ้านให้ดีขึ้นอีกทางหนึ่ง

                    - โรงเรียนมีสื่อการเรียนการสอนเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้ประสิทธิภาพในการเรียนรู้ของน้องๆ
                      เพิ่มมากขึ้น
กิจกรรมเชื่อมสัมพันธ์

นักศึกษาผู้รับผิดชอบกิจกรรม. นายเสกสรร สร้อยจรุง

วัตถุประสงค์.        - เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีต่อนักศึกษาทั้งสองสถาบันจากการทางานร่วมกัน

                     - เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีต่อ นักเรียนและชาวบ้านที่เข้าร่วมกิจกรรม
วิธีดาเนินงาน.   เ     - กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์
                      - กิจกรรมแข่งกีฬาทั่วไป / กีฬาพื้นบ้าน
สถานที่ดาเนินงาน. - โรงเรียน

กลุ่มเป้าหมาย.        - นักศึกษา , นักเรียน , ชาวบ้าน

ผลที่คาดว่าจะได้รับ. - นักศึกษาเกิดความรัก สามัคคีกันในหมู่คณะ

                      - เกิดความสัมพันธ์และทัศนคติที่ดีระหว่างโรงเรียน ชุมชน นักศึกษา

                                           กิจกรรมปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ

นักศึกษาผู้รับผิดชอบกิจกรรม. นายณัฐวุฒิ น่านกาศ

วัตถุประสงค์          - เพื่อเพิ่มพื้นที่ป่าชุมชน

                      - เพื่อปลูกจิตสานึกให้คนในชุมชนเห็นคุณค่า และช่วยกันอนุรักษ์ป่า

วิธีดาเนินงาน.       - ขอกล้าไม้จากเกษตรอาเภอ โรงเพราะพันธุ์กล้าไม้ประจาอาเภอ

                      - อบรมให้ความรู้แก่ผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรม

                      - ปลูกป่า และขึ้นป้าย

สถานที่ดาเนินงาน. - หมู่บ้าน

กลุ่มเป้าหมาย.        - ชาวบ้าน , นักศึกษา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ. - คนในชุมชนมีพื้นที่ป่าเพื่อใช้ประโยชน์ร่วมกันมากขึ้น

                      - คนในชุมเห็นความสาคัญของทรัพยากรป่าไม้ และช่วยกันอนุรักษ์
กิจกรรมบริจาคอุปกรณ์การเรียนการสอนและอุปกรณ์การกีฬา

นักศึกษาผู้รับผิดชอบกิจกรรม.       นายวีระยุทธ นาคนุช

วัตถุประสงค์.         - เพื่อให้คณะครูอาจารย์โรงเรียน มีอุปกรณ์การเรียนการสอนและอุปกรณ์การกีฬาในกกกก
                 กก     โรงเรียนให้ดีขึ้น และเพื่อแบ่งเบาภาระของทางโรงเรียน

วิธีดาเนินงาน.         - บริจาคอุปกรณ์การเรียนการสอนและอุปกรณ์การกีฬาให้กับ ตัวแทนคณะครูอาจารย์กกกก
กก                      โรงเรียน

สถานที่ดาเนินงาน. - โรงเรียน, หมู่บ้าน

กลุ่มเป้าหมาย.         - นักศึกษา , นักเรียน , ครูอาจารย์ของโรงเรียน , ชาวบ้าน.

ผลที่คาดว่าจะได้รับ. - นักเรียนครูอาจารย์ โรงเรียน และชาวบ้านได้มีอุปกรณ์การเรียนการสอนและอุปกรณ์การ
                       กกกีฬา

                      - ได้เป็นการยกระดับคุณภาพการเรียนการสอนให้ดีขึ้นอีกทางหนึ่ง
                       - ได้ช่วยส่งเสริมให้มีการเล่นกีฬาให้มากขึ้น


                      กิจกรรมงานเลี้ยงแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมระหว่างชาวบ้านกับนักศึกษา

นักศึกษาผู้รับผิดชอบกิจกรรม.       นายชวาลา บุญโญ

วัตถุประสงค์.          - เพื่อให้นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการได้ร่วมสืบทอด อนุรักษ์และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม
                 กก     ขนบธรรมเนียมและประเพณีอันดีงามของภาคอีสานให้คงอยู่สืบไป

วิธีดาเนินงาน.         - จัดงานเลี้ยงโดยจัดให้มีการแสดงศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน ระหว่างนักศึกษา นักเรียน และ
                 กก      ชาวบ้าน

สถานที่ดาเนินงาน. - โรงเรียน

กลุ่มเป้าหมาย.          - นักศึกษา , นักเรียน , ชาวบ้าน

ผลที่คาดว่าจะได้รับ. - นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ นักเรียน และชาวบ้าน ได้สืบทอด อนุรักษ์และเผยแพร่กกกก
                      กก ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี อันดีงามของภาคอีสาน
คณะกรรมการ
      และ
ผู้เข้าร่วมโครงการ
คณะกรรมการ
                    โครงการ “ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด สร้างสามัคคี สู่น้องพี่ชาวอีสาน”

       ลาดับ                    ชื่อ-สกุล                                    ตาแหน่ง
         ๑.    นายวีระยุทธ นาคนุช                             ประธานชมรมศิลปวัฒนธรรมอีสาน
        ๒.     นายชวาลา บุญโญ                                 ประธานค่าย
         ๓.    นายเสกสรร สร้อยจรุง                            ผู้รับผิดชอบโครงการ
         ๔.    นายธีรพงษ์ พลเตมา                              ผู้รับผิดชอบโครงการ
        ๕.     นายสุภวุฒิ โสดาภักดิ์                          เลขานุการ
         ๖.    นายสมเจต มณีรัตน์                              เลขานุการ
        ๗.     นายปรีดี ไกลภพ                                 เหรัญญิก
         ๘.    นางสาวอรอุษา ธนาคาร                            เหรัญญิก
         ๙.    นางสาวรอยพิมพ์ มะพงษ์เพ็ง                      หัวหน้าฝ่ายโครงงาน
        ๑๐.    นางสาวปราชลี อินทรกลาง                         หัวหน้าฝ่ายโครงงาน
        ๑๑.    นายพันธวรรธน์ จาโรทก                           หัวหน้าฝ่ายโภชนาการ
       ๑๒.     นายณัฐวุฒิ น่านกาศ                             หัวหน้าฝ่ายโภชนาการ
        ๑๓.    นางสาวสุกัญญา เบ้าทองหล่อ                      หัวหน้าฝ่ายโครงการสัมพันธ์
        ๑๔.    นายพรทวี งามหนัก                               หัวหน้าฝ่ายโครงการสัมพันธ์
        ๑๕.    นางสาวเบญญา เบญจศรีรักษ์                       หัวหน้าฝ่ายวิชาการ
        ๑๖.    นายภุมเมศ ชุ่มชาติ                             หัวหน้าฝ่ายวิชาการ
        ๑๗.    นายสิทธิศักดิ์ ตวงวิไล                         หัวหน้าฝ่ายสวัสดิการ
        ๑๘.    นายวิทยา บัวงาม                                หัวหน้าฝ่ายสวัสดิการ
        ๑๙.    นายณัฐพล จงตั้งกลาง                            หัวหน้าฝ่ายสันทนาการ
        ๒๐.    นายพงศ์เทพ เลี้ยงบุญเลิศชัย                    หัวหน้าฝ่ายสันทนาการ
หมายเหตุ

      ประธานค่าย
            นายชวาลา บุญโญ                หมายเลขโทรศัพท์        ๐๘๙-๗๖๙๙๘๔๖
                                                Email - misang2010@hotmail.com
      อาจารย์ที่ปรึกษาชมรมศิลปวัฒนธรรมอีสาน
             อาจารย์สรัญญา รุจิเรขเรืองรอง หมายเลขโทรศัพท์            ๐๘๑-๒๐๖๖๕๐๙
                                                Email - saranya@mut.ac.th
      ผู้ควบคุมการก่อสร้าง
               นายกิตติศักดิ์ หัวขุนทด          หมายเลขโทรศัพท์        ๐๘๗-๘๖๗๔๕๗๕
รายชื่อนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ“ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด สร้างสามัคคี สู่น้องพี่ชาวอีสาน”

ลาดับ                    ชื่อ –สกุล                                     มหาวิทยาลัย
  ๑.    นายมณีนุช นิลกรณ์                                           เทคโนโลยีมหานคร
  ๒.    นายอิสรนันท์ โคระนา                                          เทคโนโลยีมหานคร
  ๓.    นางสาวสุดารัตน์ สมิงมิตร                                    เทคโนโลยีมหานคร
  ๔.    นายณัฐวุฒิ สัตยพานิชกุล                                      เทคโนโลยีมหานคร
  ๕.    นางสาวสุวรรณรัตน์ ศรีรอด                                    เทคโนโลยีมหานคร
  ๖.    นายปรัชญ์ งามโรจน์                                           เทคโนโลยีมหานคร
  ๗.    นายอติราช พุดสีเสน                                          เทคโนโลยีมหานคร
  ๘.    นายนเรนทร์ สอนวงษ์                                           เทคโนโลยีมหานคร
  ๙.    นายบรรจบ สุวรรณะ                                            เทคโนโลยีมหานคร
 ๑๐.    นายยุทธนา มางาม                                              เทคโนโลยีมหานคร
 ๑๑.    นางสาวสุวิมล ดงปงกา                                         เทคโนโลยีมหานคร
 ๑๒.    นางสาวอัฐริญา อินสุวรรณ์                                     เทคโนโลยีมหานคร
 ๑๓.    นางสาวรสสุคนธ์ ดวงสว่าง                                     เทคโนโลยีมหานคร
 ๑๔.    นายธวัชชัย จันทร์เดช                                         เทคโนโลยีมหานคร
 ๑๕.    นายณัฐพงศ์ มีมาก                                            เทคโนโลยีมหานคร
 ๑๖.    นายณัฐพงศ์ กระจ่าง                                           เทคโนโลยีมหานคร
 ๑๗.    นายวันชัย อุโคตร                                            เทคโนโลยีมหานคร
 ๑๘.    นายสัญพิสิฐ ทองมาก                                           เทคโนโลยีมหานคร
 ๑๙.    นางสาวทัศนีย์ สงนุ้ย                                        เทคโนโลยีมหานคร
 ๒๐.    นายอนุสรณ์ ภูคันทา                                           เทคโนโลยีมหานคร
 ๒๑.    นายพรหมวรรณ ปุ๊แง                                           เทคโนโลยีมหานคร
 ๒๒.    นายมัสกร บวรสุคนธชาติ                                        เทคโนโลยีมหานคร
 ๒๓.    นายชินวัฒน์ เนาวรัตน์                                       เทคโนโลยีมหานคร
 ๒๔.    นางสาวนิชธาวัลย์ กาวี                                        เทคโนโลยีมหานคร
 ๒๕.    นายนันทวุฒิ ป้องคา                                          เทคโนโลยีมหานคร
 ๒๖.    นายทรงกรด ศิริวัน                                            เทคโนโลยีมหานคร
 ๒๗.    นายรัตน์วภ ตุ้มขันธ์                                        เทคโนโลยีมหานคร
 ๒๘.    นางสาวพีรณัฐ ปัญญาสาร                                        เทคโนโลยีมหานคร
 ๒๙.    นายธันวา อุ่นใจ                                             เทคโนโลยีมหานคร
 ๓๐.    นายกีรติ ฏิระวณิชสกุล                                        เทคโนโลยีมหานคร
ลาดับ                     ชื่อ –สกุล       มหาวิทยาลัย
 ๓๑.    นายวรุฒ กลิ่นรัตน์             เทคโนโลยีมหานคร
 ๓๒.    นายธนวิทย์ มะลิซ้อน            เทคโนโลยีมหานคร
 ๓๓.    นายจักรกริช จันทร์หงษา          เทคโนโลยีมหานคร
 ๓๔.    นางสาวกนกวรรณ เทพสุวรรณ        เทคโนโลยีมหานคร
 ๓๕.    นายพงศธร หงษ์พรหม               เทคโนโลยีมหานคร
 ๓๖.    นายธรรมกุล ธรรมเนียม           เทคโนโลยีมหานคร
 ๓๗.    นายธีระวัฒน์ คาขันตี            เทคโนโลยีมหานคร
 ๓๘.    นายวีระยุทธ นาคนุช             เทคโนโลยีมหานคร
 ๓๙.    นายชวาลา บุญโญ                  เทคโนโลยีมหานคร
 ๔๐.    นายเสกสรร สร้อยจรุง            เทคโนโลยีมหานคร
 ๔๑.    นายธีรพงษ์ พลเตมา               เทคโนโลยีมหานคร
 ๔๒.    นายสุภวุฒิ โสดาภักดิ์          เทคโนโลยีมหานคร
 ๔๓.    นายสมเจต มณีรัตน์               เทคโนโลยีมหานคร
 ๔๔.    นายปรีดี ไกลภพ                 เทคโนโลยีมหานคร
 ๔๕.    นางสาวอรอุษา ธนาคาร             เทคโนโลยีมหานคร
 ๔๖.    นางสาวรอยพิมพ์ มะพงษ์เพ็ง      เทคโนโลยีมหานคร
 ๔๗.    นางสาวปราชลี อินทรกลาง          เทคโนโลยีมหานคร
 ๔๘.    นายพันธวรรธน์ จาโรทก           เทคโนโลยีมหานคร
 ๔๙.    นายณัฐวุฒิ น่านกาศ              เทคโนโลยีมหานคร
 ๕๐.    นางสาวสุกัญญา เบ้าทองหล่อ      เทคโนโลยีมหานคร
 ๕๑.    นายพรทวี งามหนัก                เทคโนโลยีมหานคร
 ๕๒.     นางสาวเบญญา เบญจศรีรักษ์      เทคโนโลยีมหานคร
 ๕๓.    นายภุมเมศ ชุ่มชาติ              เทคโนโลยีมหานคร
 ๕๔.    นายสิทธิศักดิ์ ตวงวิไล         เทคโนโลยีมหานคร
 ๕๕.    นายวิทยา บัวงาม                 เทคโนโลยีมหานคร
 ๕๖.    นายณัฐพล จงตั้งกลาง            เทคโนโลยีมหานคร
 ๕๗.    นายพงศ์เทพ เลี้ยงบุญเลิศชัย     เทคโนโลยีมหานคร
ตัวอย่างแบบประเมินผล
แบบประเมิน
             โครงการ “ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด สร้างสามัคคี สู่น้องพี่ชาวอีสาน”
                          ระหว่าง ๖ – ๒๑ มีนาคม ๒๕๕๔
                ชมรมศิลปวัฒนธรรมอีสานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร



ส่วนที่ ๑. ข้อมูลทั่วไป

คาชี้แจง .  ในช่อง  ที่ท่านคิดว่าถูกต้องที่สุด

เพศ .

          ชาย                                   หญิง

อายุ .

          ๑๐-๑๔ ปี                      ๑๕-๑๙ ปี

          ๒๐-๒๔ ปี                      ๒๕-๒๙ ปี

          ๓๐ ปีขึ้นไป

สถานภาพ

          นักเรียน                      ครู-อาจารย์

          นักศึกษา                      ชาวบ้าน

ส่วนที่ ๒ . การประเมินความพึงพอใจกิจกรรม

คาชี้แจง . ให้ผู้ประเมินพิจารณาประเด็นที่กาหนด แล้วทาเครื่องหมาย  ลงในช่องที่ตรงกับความเห็น
มากที่สุด

๕ = ดีมาก       ๔ = ดี          ๓ = ปานกลาง             ๒ = น้อย                  ๑ = น้อยมาก
ระดับคะแนน
                            ประเด็นการประเมิน
                                                                        ๕ ๔ ๓ ๒ ๑

การบรรลุวัตถุประสงค์โครงการ

   ๑.ท่านคิดว่าโครงการนี้มีประโยชน์หรือไม่

   ๒.ท่านคิดว่าได้รับประโยชน์จากโครงการนี้เต็มที่หรือไม่

   ๓.ท่านคิดว่าโครงการนี้ควรมีต่อไปเรื่อยๆ หรือไม่

   ๔.ท่านคิดว่าโครงการนี้เป็นการบาเพ็ญประโยชน์หรือไม่

การดาเนินการโครงการและความเหมาะสม

   ๑.ช่วงระยะเวลาในการจัดโครงการเหมาะสมหรือไม่

   ๒.ระยะเวลาจัดโครงการเหมาะสมหรือไม่

   ๓.การจัดทาโครงการเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายหรือไม่

   ๔.กิจกรรมที่จัดขึ้นในระหว่างจัดโครงการเหมาะสมหรือไม่

   ๕.ความเหมาะสมของสถานที่ใช้ในการดาเนินการโครงการเหมาะสมหรือไม่

   ๖.การบาเพ็ญประโยชน์ของนักศึกษา ทีชุมชนได้รับประโยชน์มากน้อยเพียงใด
                                    ่

   ๗.ความสัมพันธ์ที่ดีของนักศึกษากับชุมชนมีความเหมาะสมหรือไม่

   ๘.ความสัมพันธ์ที่ดีของนักศึกษาด้วยกันเองมีความเหมาะสมหรือไม่

   ๙.นักศึกษาได้ประโยชน์จากโครงการมีมากน้อยเพียงใด

ความเหมาะสมของรูปแบบกิจกรรม

   ๑.รูปแบบของกิจกรรมเหมาะสมหรือไม่

   ๒.สื่อทีใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสมหรือไม่
           ่

   ๓.เนื้อหากิจกรรมตรงกับความต้องการของชุมชน/นักเรียนหรือไม่

   ๔.ความสัมพันธ์ที่ดีของนักศึกษากับนักเรียนมีมากน้อยเพียงใด
ระดับคะแนน

                           ประเด็นการประเมิน                         ๕ ๔ ๓ ๒ ๑

 ๕.นักเรียนให้ความสนใจและความร่วมมือในการจัดกิจกรรมต่างๆ ดีหรือไม่

 ๖.กระบวนการทางานร่วมกันของนักศึกษาเหมาะสมหรือไม่

 ๗.อาคารอเนกประสงค์พร้อมห้องพยาบาลมีความเหมาะสมต่อการนาไปใช้ กก
 กกประโยชน์มากน้อยเพียงใด

 ๘.กิจกรรมปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติมีประโยชน์ต่อชุมชนหรือไม่

 ๙.กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมมีประโยชน์ต่อชุมชนหรือไม่



คาแนะนาเพิ่มเติม

………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………
รายละเอียดงบประมาณ
   และการใช้วัสดุ
รายละเอียดงบประมาณในการดาเนินโครงการ
                                                       ปริมาณ               ราคารวม
ลาดับ                  รายการ
                                              จานวน   หน่วย      ราคา        (บาท)

 ๑      ค่ารถไปกลับ กรุงเทพ – เกษตรสมบูรณ์      ๑      คัน      ๓๔,๐๐๐      ๓๔,๐๐๐

 ๒        ค่าอาหารและน้าดื่ม (๕๗คน, ๑๖วัน)     ๑๖      วัน        ๘๐        ๗๒,๙๖๐

 ๓          กิจกรรมปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ       -       -        ๓,๐๐๐       ๓,๐๐๐

 ๔                ค่าเตรียมโครงการ              -       -        ๕,๐๐๐       ๕๐๐๐

 ๕      ค่าประชาสัมพันธ์ และติดต่อประสานงาน     -       -        ๑,๐๐๐       ๑,๐๐๐

 ๖                 ค่าสรุปโครงการ               -       -        ๑,๐๐๐       ๑,๐๐๐

 ๗      อาคารอเนกประสงค์พร้อมห้องพยาบาล         -       -       ๑๙๖,๕๑๕    ๑๙๖,๕๑๕

                                              อื่นๆ

 ๘                 ค่าทาป้ายอาคาร               ๑      ๑         ๒,๐๐๐       ๒,๐๐๐

 ๙         อุปกรณ์กีฬาและอุปกรณ์การศึกษา        -       -        ๒,๐๐๐       ๒,๐๐๐

                                                                    รวม   ๓๑๗,๔๗๕ บาท
รายละเอียดการใช้วัสดุ

                                          ปริมาณวัสดุก่อสร้าง
ลาดับ     รายการอุปกรณ์การก่อสร้าง                                   ราคารวม (บาท)
                                     จานวน     หน่วย          ราคา
 ๑. เสาคอนกรีต ๐.๑๕×๐.๑๕×๔ ม.          ๑๑       ต้น           ๖๐๐     ๖,๖๐๐.๐๐
 ๒. ปูนซีเมนต์                        ๒๕๐        ถุง          ๑๔๐    ๓๐,๕๐๐๐.๐๐
 ๓. หิน                               ๒๐         ม3          ๔๗๑      ๙,๔๒๐.๐๐
 ๔. ทรายหยาบ                           ๑๓        ม3           ๓๖๖     ๔,๗๕๘.๐๐
 ๕. ทรายละเอียด                        ๗         ม3          ๓๗๗      ๒,๖๓๙.๐๐
 ๖.  ดินถมที่                          ๓๐      ลบ.ม.          ๑๙๗     ๕,๙๐๐.๐๐
 ๗. อิฐมอญ ขนาด ๗ x ๑๖ x ๓.๕          ๓๐๐       ก้อน         ๐.๗๕
                                                                       ๒๒๕.๐๐
    ซม.
 ๘. อิฐบล็อก                         ๑,๑๐๐       ก้อน       ๕.๕       ๖,๐๕๐.๐๐
 ๙. เหล็กข้ออ้อย DB10                 ๓๐         เส้น       ๑๓๕       ๔,๐๕๐.๐๐
๑๐. เหล็กเส้นกลม RB 6                 ๕๓         เส้น        ๕๔      ๒,๘๖๒.๐๐
๑๑. ลวดผูกเหล็ก                       ๑๘         กก.         ๓๕        ๖๓๐.๐๐
๑๒. เหล็กตัวซี๗๕×๕๐×๒๐×๓.๒            ๓๗         เส้น       ๖๔๖      ๒๓,๙๐๒.๐๐
    มม.
๑๓. เหล็กตัวซี ๑๒๕×๕๐×๒๐×๓.๒          ๔๕         เส้น       ๘๕๗      ๓๘,๕๖๕.๐๐
    มม.
๑๔. ลวดเชื่อม                         ๕         กล่อง        ๓๐๐       ๑,๕๐๐.๐๐
๑๕. กระเบื้องลอนคู่                  ๕๓๐        แผ่น         ๕๕       ๒๙,๑๕๐.๐๐
๑๖. ครอบมุม                          ๔๘         แผ่น         ๓๕        ๑,๖๘๐.๐๐
๑๗. ตะขอยึดกระเบื้อง                 ๖๒๐         ตัว          ๔       ๒,๔๘๐.๐๐
    กระเบื้องแผ่นเรียบ ขนาด
๑๘.                                   ๑๖         แผ่น        ๕๓        ๘๔๘.๐๐
    ๖๐ x ๒๔๐ x ๐.๔๐ ซม. ตราช้าง
๑๙. สีกันสนิม                         ๒        กระป๋อง      ๕๐๐       ๑,๐๐๐.๐๐
๒๐. สีรองพื้นปูน                      ๑          ถัง        ๙๕๕        ๙๕๕.๐๐
๒๑. สีน้าพลาสติก ทาภายนอก             ๒          ถัง       ๒,๔๖๔      ๔,๙๒๘.๐๐
๒๒. สายไฟฟ้า VAF สายแบนแกนคู่         ๑         ม้วน       ๑,๒๔๐      ๑,๒๔๐.๐๐
๒๓. ตะปู ๓ นิ้ว                       ๒          ลัง        ๔๕๐        ๙๐๐.๐๐
๒๔. ตะปูคอนกรีต                       ๑๐         กก.         ๖๐        ๖๐๐.๐๐
ปริมาณวัสดุก่อสร้าง
ลาดับ   รายการอุปกรณ์การก่อสร้าง                                       ราคารวม (บาท)
                                      จานวน     หน่วย          ราคา
    วงกบหน้าต่างไม้แดง แบบไม่มี
๒๕. ช่องแสงบานคู่ ขนาด ๖๐ x ๑๑๐         ๓          ชุด        ๙๔๐        ๒,๘๒๐.๐๐
    ซม. ขนาดไม้วงกบ๒ x๔ นิ้ว
    บานหน้าต่าง แบบไม่มีช่องแสง
๒๖. บานคู่ ขนาด ๖๐ x ๑๑๐ ซม.            ๓         บาน        ๑,๓๐๐       ๓,๙๐๐.๐๐
    ขนาดไม้วงกบ ๒ x๔ นิ้ว
    วงกบประตูไม้เนื้อแข็ง แบบไม่
๒๗. มีช่องแสง ขนาด๙๐ x ๒๐๐ ซม.          ๒          ชุด        ๖๕๐        ๑,๓๐๐.๐๐
    ขนาดไม้วงกบ ๒ x๔ นิ้ว
    บานประตูไม้เนื้อแข็ง บานทึบ
    ขนาด ๙๐ x ๒๐๐ซม. กรอบ
๒๘.                                     ๒         บาน        ๑,๓๐๐       ๒,๖๐๐.๐๐
    บานขนาด ๑ ๑/๔ นิ้ว x ๔ นิ้ว
    ลูกฟักหนา ๑/๙๐ x ๒๐๐ นิ้ว
                                รวม                                   ๑๙๖,๕๑๕.๐๐ บาท
ข้อมูลโรงเรียนและชุมชน
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนบ้านหนองคูวิทยาคม
๑. ข้อมูลทั่วไป
         ๑.๑ ชื่อสถานศึกษา โรงเรียนบ้านหนองคูวิทยาคม หมู่ที่ ๗ บ้านหนองคู ตาบลสระโพนทอง อาเภอ
เกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ รหัสไปรษณีย์ ๓๖๑๒๐ โทรศัพท์ ๐๔๔๘๗๐๕๑๔ (ห่างจากอาเภอ ๕ กม.)
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาชัยภูมิ เขต ๒
         ๑.๒ เปิดสอนตั้งแต่ระดับอนุบาล ๑ ถึงระดับ ช่วงชั้นที่ ๒ (ป.๖)
         ๑.๓ มีเขตพื้นที่บริการ ๑ หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านหนองคู มีประชากร ๔๗๐ คน ๑๐๖ ครัวเรือน
๒. ข้อมูลด้านการบริหาร
         ๒.๑ ชื่อ – สกุลผู้บริหาร นายฉลาด อาจสนาม
               วุฒิการศึกษาการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) การบริหารการศึกษา
               ดารงตาแหน่งที่โรงเรียนนี้ตั้งแต่ วันที่ ๒๖ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๓ เป็นเวลา ๔ เดือน
ประวัติโดยย่อ
         โรงเรียนบ้านหนองคูวิทยาคม ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ ๑ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๒๐ โดยการนาของนายจันทร์ ขวัญสู่
ผู้ใหญ่บ้านและชาวบ้านหนองคู ได้ซื้อที่ดิน นส.๓ ก มีพื้นที่ ๓๐๐ ตารางวา เป็นที่ตั้งโรงเรียนใช้ชื่อว่า “โรงเรียน
บ้านหนองคูวิทยาคม” เปิดทาการสอน ชั้น ป.๑ - ชั้น ป.๔ ซึ่งมี นายสุทธา เวชยานันท์ เป็นครูใหญ่คนแรก ปี
๒๕๒๒ ได้ซื้อที่ดินที่อยู่ติดกันเพิ่มอีก ๔ ไร่ ๒ งาน ๘๕ ตารางวา และองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิได้จัดสรร
งบประมาณ ๑๙๖,๐๐๐ บาท เพื่อสร้างอาคารเรียนแบบ ป.๑ ฉ ใต้ถุนสูง ๑ หลัง ๒ ห้องเรียน ปัจจุบันเปิดทาการ
สอนตั้งแต่ชั้นอนุบาล ๑ ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
วัตถุประสงค์เฉพาะของโรงเรียน
     ๑. เพื่อจัดการศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา (ช่วงชั้นที่ ๑ และ ๒) ให้มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับของสังคม
     ๒. เพื่อรายงานสภาพ และผลการดาเนินงานต่อหน่วยงานและผู้เกี่ยวข้องกับโรงเรียน
     ๓. เพื่อประสานความร่วมมือระหว่างโรงเรียนกับหน่วยงาน และผู้เกี่ยวข้องในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
     ๔. เพื่อสารวจความมั่นใจ ความพึงพอใจในคุณภาพการปฏิบัติงาน และผลการดาเนินงานของโรงเรียนทุก
         ขั้นตอนของหน่วยงานและผู้เกี่ยวข้องกับโรงเรียน
๓. ข้อมูลนักเรียน
         ปัจจุบันโรงเรียนมีข้อมูลเกี่ยวกับจานวนนักเรียน (ข้อมูล ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๕๓)
         ๑) จานวนนักเรียนในเขตพื้นที่บริการทั้งหมด ๓๔ คน
         ๒) จานวนนักเรียนแยกตามชั้นที่เปิดสอน
                   ระดับชั้น                              เพศ                           รวม
                                               ชาย                 หญิง
                  อนุบาล ๑                      -                    -                   ๐
                  อนุบาล ๒                      ๑                   ๔                    ๕
                     รวม                        ๑                   ๔                    ๕
ป.๑                   ๓                 ๒                 ๕
                ป.๒                   ๑                  ๐                 ๑
                ป.๓                   ๘                 ๒                 ๑๐
                ป.๔                  ๒                   ๓                ๕
                ป๕                    ๑                  ๑                ๒
                ป.๖                  ๒                   ๔                 ๖
                รวม                  ๑๗                 ๑๒                ๒๙
             รวมทั้งหมด              ๑๘                 ๑๖                ๓๔

      ๓) มีนักเรียนที่มีความบกพร่องเรียนร่วม       -    คน
      ๔) นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ             ๑๐ คน
      ๕) มีนักเรียนปัญญาเลิศ                       -    คน
      ๖) มีนักเรียนต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ ๕      คน
      ๗) จานวนนักเรียนต่อห้อง (เฉลี่ย)            ๕     คน
      ๘) สัดส่วนครู : นักเรียน                    ๑ : ๗ คน
      ๙) จานวนนักเรียนที่ลาออกกลางคัน(ปีปัจจุบัน) -     คน
      ๑๐) สถิติการขาดเรียน / เดือน                 ๑    วัน
๔. ข้อมูลบุคลากร
        รายชื่อคณะครู / กรรมการสถานศึกษา
ครูและบุคลากร
ที่         ชื่อ - สกุล            ตาแหน่ง   อันดับ     ตาแหน่ง    วุฒิ            วิชาเอก
                                  วิทยฐานะ               เลขที่
๑ นายฉลาด อาจสนาม ผู้อานวยการ(ชานาญ คศ.๓               ๕๑๓๒     กศ.ม.          การบริหาร
                             การพิเศษ)                                         การศึกษา
๒ นางภาวิณี สาระคา           ครู (ชานาญการ) คศ.๒       ๕๑๓๓      ค.บ.          ประถมศึกษา

๓ นางสาวอัจฉรา มาซา       ครู                คศ.๑      ๕๑๓๕      ค.บ.          ประถมศึกษา

๔ นายนาวิน เขียนภูเขียว นักการภารโรง         -         -         ม.๖           -
กรรมการสถานศึกษา

ที่   ชื่อ - สกุล                        ผู้ทรงคุณวุฒิ / ผู้แทน                      หมายเหตุ
๑     ด.ต.บุญธรรม         ทัศวงษ์        ผู้ทรงคุณวุฒิ                               ประธานฯ
๒     นางประโยน           ฦาชา           ผู้ทรงคุณวุฒิ                               กรรมการ
๓     นางประครอง           ศรีชัย        ผู้แทนผู้ปกครอง                             กรรมการ
๔     นางภาวิณี           สาระคา         ผู้แทนครู                                   กรรมการ
๕     นางหนูลอง           แสงกุดเลาะ     ผู้แทนองค์กรชุมชน                           กรรมการ
๖     นางอัญมณี           บุราณ          ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น              กรรมการ
๗     นางละอองดาว         คชลัย          ผู้แทนศิษย์เก่า                             กรรมการ
๘     พระเฉลา             มหานะโม        ผู้แทนพระภิกษุสงฆ์หรือผู้แทนองค์กรศาสนา     กรรมการ
๙     นายฉลาด             อาจสนาม        ผู้บริหารโรงเรียน                           เลขานุการ

๕. ข้อมูลด้านอาคารเรียน
        ๕.๑ อาคารเรียนและอาคารประกอบ
         ที่                      รายการ                              จานวน (หลัง)
              อาคารเรียน/อาคารประกอบ
         ๑. ป.๑ ฉ . ใต้ถุนสูง                                              ๑
         ๒. อาคารอเนกประสงค์ (สร้างเอง)                                    ๑
         ๓. ส้วม สปช. ๖๐๑/๒๖ จานวน ๒ ที่                                   ๑
         ๔. ถังน้าฝน ฝ.๓๓ (๓ ถัง)                                          ๑

        ๕.๒ จานวนห้องทั้งหมด ๖ ห้อง แบ่งเป็น
              อนุบาล ๑ – ๒ =       ไม่มีห้องเรียน
              ป.๑ - ป.๖     =      ๑:๑:๑:๑
              ห้องพักครู    =      ๑
              ห้องเก็บของ =        ๑
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ

More Related Content

What's hot

2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
พอร์ตฟิวส์Portfolio2
พอร์ตฟิวส์Portfolio2พอร์ตฟิวส์Portfolio2
พอร์ตฟิวส์Portfolio2Thanawat Krajaejun
 
Project paper
Project paperProject paper
Project paperriikiki96
 
Traveling In KhonKaen
Traveling In KhonKaenTraveling In KhonKaen
Traveling In KhonKaenriikiki96
 
การอนุรักษ์เรือนพื้นถิ่น (ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจ...
การอนุรักษ์เรือนพื้นถิ่น (ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจ...การอนุรักษ์เรือนพื้นถิ่น (ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจ...
การอนุรักษ์เรือนพื้นถิ่น (ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจ...chatkul chuensuwankul
 
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557oraneehussem
 
หนองลาดควาย๕๓
หนองลาดควาย๕๓หนองลาดควาย๕๓
หนองลาดควาย๕๓weskaew yodmongkol
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11Aobinta In
 
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี Mana Suksa
 
แผ่นพับแนะนำห้องสมุดภาษาไทย
แผ่นพับแนะนำห้องสมุดภาษาไทยแผ่นพับแนะนำห้องสมุดภาษาไทย
แผ่นพับแนะนำห้องสมุดภาษาไทยMaximo Gift
 

What's hot (20)

2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
 
พอร์ตฟิวส์Portfolio2
พอร์ตฟิวส์Portfolio2พอร์ตฟิวส์Portfolio2
พอร์ตฟิวส์Portfolio2
 
Project paper
Project paperProject paper
Project paper
 
Traveling In KhonKaen
Traveling In KhonKaenTraveling In KhonKaen
Traveling In KhonKaen
 
การอนุรักษ์เรือนพื้นถิ่น (ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจ...
การอนุรักษ์เรือนพื้นถิ่น (ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจ...การอนุรักษ์เรือนพื้นถิ่น (ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจ...
การอนุรักษ์เรือนพื้นถิ่น (ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจ...
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
 
หนองลาดควาย๕๓
หนองลาดควาย๕๓หนองลาดควาย๕๓
หนองลาดควาย๕๓
 
Rt2554
Rt2554Rt2554
Rt2554
 
โครงงานกลุ่มที่ 7.doc
โครงงานกลุ่มที่ 7.docโครงงานกลุ่มที่ 7.doc
โครงงานกลุ่มที่ 7.doc
 
โครงงานกลุ่มที่ 1.doc
โครงงานกลุ่มที่ 1.docโครงงานกลุ่มที่ 1.doc
โครงงานกลุ่มที่ 1.doc
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
 
คุรุสดุดี
คุรุสดุดี คุรุสดุดี
คุรุสดุดี
 
R2554
R2554R2554
R2554
 
โครงงานกลุ่มที่ 5.doc
โครงงานกลุ่มที่ 5.docโครงงานกลุ่มที่ 5.doc
โครงงานกลุ่มที่ 5.doc
 
แผ่นพับแนะนำห้องสมุดภาษาไทย
แผ่นพับแนะนำห้องสมุดภาษาไทยแผ่นพับแนะนำห้องสมุดภาษาไทย
แผ่นพับแนะนำห้องสมุดภาษาไทย
 
โครงงานกลุ่มที่ 3.doc
โครงงานกลุ่มที่ 3.docโครงงานกลุ่มที่ 3.doc
โครงงานกลุ่มที่ 3.doc
 
โครงงานกลุ่มที่ 8.doc
โครงงานกลุ่มที่ 8.docโครงงานกลุ่มที่ 8.doc
โครงงานกลุ่มที่ 8.doc
 
โครงงานกลุ่มที่ 2.doc
โครงงานกลุ่มที่ 2.docโครงงานกลุ่มที่ 2.doc
โครงงานกลุ่มที่ 2.doc
 

Similar to 2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ

2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานครmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
โครงงานกลุ่มที่ 1
โครงงานกลุ่มที่ 1โครงงานกลุ่มที่ 1
โครงงานกลุ่มที่ 10892827602
 
สารสนเทศ 53
สารสนเทศ  53สารสนเทศ  53
สารสนเทศ 53saenphinit
 
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57คมสัน คงเอี่ยม
 
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้Suhaiming Lotanyong
 
รายงานประจำปี2554(เนื้อหา)ใหม่ล่าสุด
รายงานประจำปี2554(เนื้อหา)ใหม่ล่าสุดรายงานประจำปี2554(เนื้อหา)ใหม่ล่าสุด
รายงานประจำปี2554(เนื้อหา)ใหม่ล่าสุดphattanakron
 
สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556oraneehussem
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานteacherhistory
 
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้pooh_monkichi
 
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55Montree Jareeyanuwat
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓krusuparat01
 
โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54Lao-puphan Pipatsak
 
โครงการเติมรักสานฝันสู่บ้านอิต่อง1
โครงการเติมรักสานฝันสู่บ้านอิต่อง1โครงการเติมรักสานฝันสู่บ้านอิต่อง1
โครงการเติมรักสานฝันสู่บ้านอิต่อง1guestfddbf2
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
สารสนเทศโรงเรียนบ้านแบง
สารสนเทศโรงเรียนบ้านแบงสารสนเทศโรงเรียนบ้านแบง
สารสนเทศโรงเรียนบ้านแบงSIRIMAUAN
 

Similar to 2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ (20)

2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
 
โครงงานกลุ่มที่ 1
โครงงานกลุ่มที่ 1โครงงานกลุ่มที่ 1
โครงงานกลุ่มที่ 1
 
สารสนเทศ 53
สารสนเทศ  53สารสนเทศ  53
สารสนเทศ 53
 
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
 
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
 
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้
 
รายงานประจำปี2554(เนื้อหา)ใหม่ล่าสุด
รายงานประจำปี2554(เนื้อหา)ใหม่ล่าสุดรายงานประจำปี2554(เนื้อหา)ใหม่ล่าสุด
รายงานประจำปี2554(เนื้อหา)ใหม่ล่าสุด
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
 
แบบสัมภาษณ์
แบบสัมภาษณ์แบบสัมภาษณ์
แบบสัมภาษณ์
 
มาตรฐาน
มาตรฐานมาตรฐาน
มาตรฐาน
 
สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
 
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
 
20653 v 244
20653 v 24420653 v 244
20653 v 244
 
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
 
โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54
 
โครงการเติมรักสานฝันสู่บ้านอิต่อง1
โครงการเติมรักสานฝันสู่บ้านอิต่อง1โครงการเติมรักสานฝันสู่บ้านอิต่อง1
โครงการเติมรักสานฝันสู่บ้านอิต่อง1
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
สารสนเทศโรงเรียนบ้านแบง
สารสนเทศโรงเรียนบ้านแบงสารสนเทศโรงเรียนบ้านแบง
สารสนเทศโรงเรียนบ้านแบง
 

More from mahaoath พระมหาโอ๊ท

หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
ผลงานชาวค่าย "มร.ปั้นฝัน ปันน้ำใจเพื่อน้อง ครั้งที่ ๑"
ผลงานชาวค่าย "มร.ปั้นฝัน ปันน้ำใจเพื่อน้อง ครั้งที่ ๑"ผลงานชาวค่าย "มร.ปั้นฝัน ปันน้ำใจเพื่อน้อง ครั้งที่ ๑"
ผลงานชาวค่าย "มร.ปั้นฝัน ปันน้ำใจเพื่อน้อง ครั้งที่ ๑"mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
พระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดียพระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดียmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทอง
2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทอง2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทอง
2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทองmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
มติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล
มติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโลมติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล
มติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโลmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียง
14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียง14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียง
14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียงmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบัง
13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบัง13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบัง
13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบังmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้มmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗
11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗
11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้อง
10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้อง10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้อง
10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้องmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 255609 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้อง
08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้อง08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้อง
08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้องmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op kumahaoath พระมหาโอ๊ท
 
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
04 ค่ายสัตวแพทย์ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
04 ค่ายสัตวแพทย์ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖04 ค่ายสัตวแพทย์ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
04 ค่ายสัตวแพทย์ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖
02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖
02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖mahaoath พระมหาโอ๊ท
 

More from mahaoath พระมหาโอ๊ท (20)

หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
 
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
 
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
 
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
 
ผลงานชาวค่าย "มร.ปั้นฝัน ปันน้ำใจเพื่อน้อง ครั้งที่ ๑"
ผลงานชาวค่าย "มร.ปั้นฝัน ปันน้ำใจเพื่อน้อง ครั้งที่ ๑"ผลงานชาวค่าย "มร.ปั้นฝัน ปันน้ำใจเพื่อน้อง ครั้งที่ ๑"
ผลงานชาวค่าย "มร.ปั้นฝัน ปันน้ำใจเพื่อน้อง ครั้งที่ ๑"
 
พระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดียพระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดีย
 
ประวัติบุคคลต้นแบบ (Idol)
ประวัติบุคคลต้นแบบ (Idol)ประวัติบุคคลต้นแบบ (Idol)
ประวัติบุคคลต้นแบบ (Idol)
 
2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทอง
2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทอง2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทอง
2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทอง
 
มติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล
มติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโลมติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล
มติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล
 
14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียง
14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียง14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียง
14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียง
 
13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบัง
13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบัง13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบัง
13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบัง
 
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
 
11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗
11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗
11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗
 
10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้อง
10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้อง10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้อง
10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้อง
 
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 255609 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
 
08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้อง
08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้อง08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้อง
08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้อง
 
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku
 
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
 
04 ค่ายสัตวแพทย์ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
04 ค่ายสัตวแพทย์ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖04 ค่ายสัตวแพทย์ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
04 ค่ายสัตวแพทย์ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
 
02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖
02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖
02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖
 

2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ

  • 1.
  • 2.
  • 3.
  • 4.
  • 5.
  • 6.
  • 7.
  • 8.
  • 9. โครงการ “ ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด สร้างสามัคคี สู่น้องพี่ชาวอีสาน ” ณ โรงเรียนบ้านหนองคูวิทยาคม ม. ๗ ต.สระโพนทอง อ.เกษตรสมบูรณ์ จ.ชัยภูมิ ระหว่างวันที่ ๖-๒๑ มีนาคม ๒๕๕๔ ชมรมศิลปวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร ผู้ประสานโครงการ  นายวีระยุทธ นาคนุช เบอร์ติดต่อ ๐๘-๕๐๙๕๔๔๘๕  นายชวาลา บุญโญ เบอร์ติดต่อ ๐๘-๙๗๖๙๙๘๔๖
  • 11. โครงการ “ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด สร้างสามัคคี สูน้องพีชาวอีสาน ” ่ ่ ชื่อโครงการ ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด สร้างสามัคคี สู่น้องพี่ชาวอีสาน ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่องจัดทุกปี เจ้าของโครงการ ชมรมศิลปวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ อาจารย์สรัญญา รุจเิ รขเรืองรอง ผู้รับผิดชอบโครงการ นายวีระยุทธ นาคนุช นายชวาลา บุญโญ นายเสกสรร สร้อยจรุง วัตถุประสงค์โครงการ ๑. สร้างอาคารอเนกประสงค์พร้อมห้องพยาบาล ๒.โครงการปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ ๓. โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น ระยะเวลาปฏิบัติงาน ๑.ขั้นตอนการเตรียมงาน ๑๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ – ๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ๒.ระยะเวลาในการดาเนินงาน ๖ – ๒๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ๓.ประเมินผล ๒๒ มีนาคม – ๓๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ สถานที่ปฏิบัติงาน โรงเรียนบ้านหนองคูวิทยาคม หมู่ ๗ ตาบลสระโพนทอง อาเภอเกษตรสมบูรณ์ กก จังหวัดชัยภูมิ ๓๖๑๒๐ จานวนผู้เข้าร่วมโครงการ ๑. อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ ๑ คน ๒. นักศึกษาเข้าร่วมโครงการ ๕๗ คน ๓. ชาวชุมชนรอบโรงเรียน ก และนักเรียน ๕๐๐ คน ก รวม ๕๕๘ คน
  • 12. หลักการและเหตุผล ปัจจุบันสังคมไทยกาลังเผชิ ญปัญหานานัปการไม่ว่าจะเป็นปัญหาการเมือง ปัญหาเศรษฐกิจตกต่า ปัญหา สังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คือปัญหา การแตกแยกทางความคิดอย่างรุนแรงของคนในชาติ เป็นเหตุให้เกิดความไม่ สงบขึ้ นในสังคมตามที่ ป รากฏในสื่ อมวลชนต่างๆ ซึ่งเชื่อว่าสาเหตุประการหนึ่งมาจากประเทศพั ฒนาสู่ความ ทันสมัยโดยรับวิทยาการสมัยใหม่เข้ามา พร้อมกับรับวัฒนธรรมตะวันตกเข้ามามากเสียจนกลืนกินความเป็นไทย ทาให้น่าหวั่นเกรงว่าคนไทยจะลืมรากเหง้าของวีถีไทย ลืมวัฒนธรรมของบรรพบุรุษ และอีกประการคือท้องถิ่น ชนบทส่วนใหญ่ประสบกับปัญหาความยากจน ด้อยโอกาสทางการศึกษา จากปัญหาต่างๆ ทาให้สภาพแวดล้อมใน ชนบทไม่เอื้อต่อการเรียนรู้ เด็ก และเยาวชนในชนบทยังมิได้รับโอกาสทางการศึกษาเท่าที่ควร นักศึกษาชมรม ศิลปวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร จึงรวมกลุ่มผู้มีจิตอาสา มาทางานกันภายใต้ความมีระเบียบ วินัย เสียสละ และความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน โดยดาเนินโครงการ “ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด สร้างสามัคคี สู่น้อง พี่ชาวอีสาน” ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์หลักในการพัฒนาโรงเรียนบ้านหนองคูวิทยาคม ตาบลสระโพนทอง อาเภอ เกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ ซึ่งมีนักเรียน ๓๔ คน ตั้งแต่ชั้นอนุบาล ๑ – ประถมศึกษาปีที่ ๖ มีครูอาจารย์และ เจ้าหน้าที่ รวม ๖ คน โดยโรงเรียนนี้ขาดแคลนงบประมาณ พัฒนาอาคารเรียนและห้องพยาบาล นอกจากนี้ชมรม ศิลปวัฒนธรรมอีสานได้เล็งเห็น โอกาสของการปลูกฝังคุณค่าของป่าไม้ ให้แก่ชาวชุมชนรอบๆโรงเรียน และการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ระหว่างนักศึกษาของมหาวิทยาลัยกับนักเรียนตลอดจนชาว ชุมชนดังกล่าวด้วย วัตถุประสงค์โครงการ ๑. เพื่อก่อสร้างอาคารอเนกประสงค์ขนาด ๖ x ๑๒ เมตร พร้อมห้องพยาบาลภายใน ๒. เพื่อจัดกิจกรรมให้ความรู้เรื่องป่าไม้ และคุณค่าของการปลูกป่า ภายใต้โครงการ “ปลูกป่าเฉลิมพระ เกียรติ” ๓. เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิถีชีวิต ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่นของ ภาคอีสาน ระหว่างนักศึกษากับนักเรียนและชาวชุมชนรอบโรงเรียน ขอบเขตการดาเนินงาน ๑. สร้างอาคารอเนกประสงค์พร้อมห้องพยาบาล ขนาดพื้นที่ ๗๒ ตารางเมตร (๖ × ๑๒ เมตร) - งานปรับพื้นที่ - งานโครงสร้างอาคาร - งานมุงหลังคากระเบื้อง - งานเทพื้นคอนกรีต ๒. กิจกรรมปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ - ในความรู้ชาวบ้านเรื่องประโยชน์ของป่า - ปลุกจิตสานึกให้ชาวบ้านตระหนักถึงปัญหาทรัพยากรป่าไม้ - ปลุกจิตสานึกให้ชาวบ้านช่วยกันอนุรักษ์ผืนป่าและทรัพยากรธรรมชาติ - ขยายพื้นที่ป่าชุมชนให้ชาวบ้านได้ใช้ประโยชน์ร่วมกัน
  • 13. ๓. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น - จัดวิทยากรให้ความรู้ เกี่ยวกับ ประวัติชุมชน ศิลปวัฒนธรรมของชาวอีสาน และภูมิปัญญา กก ก ท้องถิ่น แก่นักเรียนและชาวชุมชน - เรียนรู้ศิลปะพื้นบ้านและประเพณีต่างๆ เช่น การเซิ้งบั้งไฟ , ผญา/สอย , เป่าแคน , ดีดพิณ , กก กก หมอลา , พิธีบายศรีสู่ขวัญ , ฮีตสิบสอง ครองสิบสี่ - เรียนรู้วีถีชีวิตของคนในชุมชน , เรียนรู้ภาษาท้องถิ่น , กิจกรรมพ่อฮักแม่ฮัก - จัดแข่งขันกีฬาพื้นบ้านระหว่าง นักศึกษา นักเรียน และชาวชุมชน ๔. กิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ - ช่วยสอนหนังสือน้องๆ - จัดทาสื่อการเรียนการสอนเพิ่มเติมให้โรงเรียน - ทาความสะอาดบริเวณวัดและหมู่บ้าน ๕. บริจาคอุปกรณ์การเรียนการสอนและอุปกรณ์การกีฬา ชี้แจงวิธีการดาเนินงาน ขั้นตอนการดาเนินงานเพื่อเตรียมออกค่าย ๑. ประชุมสมาชิกชมรมเพื่อกาหนดจุดประสงค์และเป้าหมายของการออกค่าย ๒. ประชุมสมาชิกชมรมเพื่อวางแนวทางในการจัดกิจกรรมต่างๆ ภายในค่ายพร้อมทั้งเลือกโรงเรียนที่ เหมาะสม ซึ่งนามาพิจารณาในที่ประชุมทั้งสิ้น ๔ โรงเรียน เพื่อกาหนดโรงเรียนที่จะไปสารวจเพื่อ พิจารณาออกค่ายต่อไป ๓. แจ้งให้ทางโรงเรียนที่จะไปออกสารวจทราบ ๔. ออกพื้นที่สารวจโรงเรียนตามที่ได้เลือกไว้ว่าตรงตามจุดประสงค์หรือไม่ และประชุมวางแผนในการ จัดกิจกรรมต่างๆร่วมกับทางโรงเรียนและชุมชน ขั้นตอนการดาเนินโครงการ ๑. ประชุมเพื่อกาหนดรูปแบบค่าย ระยะเวลาดาเนินงาน กิจกรรมภายในค่าย และแนวทางในการหา ทุนออกค่าย (กาหนดยอดที่ต้องการ ค่าอาหาร ค่าอาคาร ค่ากิจกรรมอื่นๆ) ๒. ขั้นตอนเตรียมค่าย (เตรียมสถานที่โครงการ ,วัสดุอุปกรณ์ และประสานงานกับคนในพื้นที่) ๓. ขั้นตอนการดาเนินโครงการ (รายละเอียดอยู่ในหัวข้อกาหนดการปฏิบัติงาน)
  • 14. ปฏิทินดาเนินการโครงการ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ลาดับ กิจกรรม ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. ๑. ประชุมเพื่อหาแนวทาง รูปแบบค่าย ๒. ออกสารวจภาคสนาม ๓. ประชุมเพื่อวางแผน โครงการ ๔. ประชาสัมพันธ์โครงการ ๕. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ ๖. เตรียมสถานที่ทาโครงการ ๗. ดาเนินการโครงการฯ ๘. สรุปและประเมินผลงาน งบประมาณในการดาเนินโครงการ ๑. อาคารอเนกประสงค์พร้อมห้องพยาบาล (รายละเอียดยู่ในส่วนต่อไป) ๑๙๖,๕๑๕ บาท ๒. ค่ากิจกรรมโครงการปลูกป่าเฉลิมประเกียรติ ๓,๐๐๐ บาท ๓. ค่าอาหารและสวัสดิการต่างๆ ๕๗ คน/๘๐บาท/วัน (๑๖วัน) ๗๒,๙๖๐ บาท ๔. ค่ารถโดยสารไป-กลับ กรุงเทพฯ – อ.เกษตรสมบูรณ์ ๓๔,๐๐๐ บาท ๕. ค่าเตรียมโครงการ ๕,๐๐๐ บาท ๖. ค่าประชาสัมพันธ์ และติดต่อประสานงาน ๑,๐๐๐ บาท ๗. ค่าสรุปโครงการ ๑,๐๐๐ บาท ๘.อื่นๆ (ค่าทาป้ายอาคาร, อุปกรณ์กีฬาและอุปกรณ์การศึกษา) ๔,๐๐๐ บาท รวมงบประมาณทั้งสิ้น ๓๑๗,๔๗๕ บาท ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑. โรงเรียนบ้านหนองคูวิทยาคม นักเรียน และชุมชน - โรงเรียนได้อาคารอเนกประสงค์พร้อมห้องพยาบาลหลังใหม่ - ชาวชุมชนและนักเรียนมีจิตสานึกในด้านความสามัคคี และชุมชนมีความแข็งแกร่งสามารถพึ่งตนเองได้ - ได้เป็นการยกระดับคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของนักเรียนและชุมชนให้ดีขึ้นอีกทางหนึ่ง - เกิดความสัมพันธ์และทัศนคติที่ดีระหว่างโรงเรียน ชุมชน นักเรียน และนักศึกษา - นักเรียนและชุมชนรู้คุณค่าของทรัพยากรป่าไม้ - นักเรียนและชุมชนตระหนักถึงคุณค่าของศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น
  • 15. ๒. นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ - นักศึกษาเกิดความรัก สามัคคีกันในหมู่คณะ - นักศึกษาได้นาความรู้ความสามารถไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนาในถิ่นทุรกันดาร - นักศึกษาได้ศึกษาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ศึกษาวัฒนธรรมขนบธรรมเนียม ประเพณีอันดีงามและ ภูมิปัญญาท้องถิ่นของภาคอีสาน - นักศึกษาได้สืบทอด อนุรักษ์และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี อันดีงามของ ภาคอีสาน - นักศึกษาได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและมีจิตสานึกความรับผิดชอบต่อสังคมและ ส่วนรวม - นักศึกษามีจิตสานึกรักบ้านเกิด และได้กลับไปพัฒนาบ้านเกิด - นักศึกษาได้ประสบการณ์ และรู้จักการทางานเป็นหมู่คณะ
  • 17. กาหนดการปฏิบัติงาน โครงการ “ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด สร้างสามัคคี สู่น้องพี่ชาวอีสาน” ณ โรงเรียนบ้านหนองคูวิทยาคม หมู่ ๗ ตาบลสระโพนทอง อาเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ ระหว่างวันที่ ๖ - ๒๑ มีนาคม ๒๕๕๔ ชมรมศิลปวัฒนธรรมอีสานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร วันเสาร์ ที่ ๕ มีนาคม ๒๕๕๔ ๒๐.๐๐ น. รวมกันที่ห้องชมรม ๒๑.๓๐ น. รถเคลื่อนออกจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร วันอาทิตย์ ที่ ๖ มีนาคม ๒๕๕๔ ๐๖.๓๐ น. ถึงโรงเรียนบ้านหนองคูวิทยา อาเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ ๐๙.๐๐ น. - ๑๒.๐๐ น. ประธานกล่าวเปิดงาน , นักศึกษาจับฉลากแบ่งกลุ่มแยกไปอยู่กับพ่อฮัก-แม่ฮัก ๑๒.๐๐ น. - ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารพร้อมพ่อฮัก-แม่ฮัก และชาวบ้าน ๑๓.๐๐ น. - ๑๔.๐๐ น. แต่งตั้งหัวหน้ากลุ่ม และจับฉลากแบ่งกลุ่มทากิจกรรม ( มี ๓ กลุ่ม ) ๑๔.๐๐ น. - ๑๕.๓๐ น. ทากิจกรรมแรกพบ ๑๕.๓๐ น. - ๑๙.๐๐ น. ลงชุมชนทากิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ ( ทาความสะอาดหมู่บ้านและวัด ) ๑๙.๓๐ น. - ๒๑.๔๐ น. รวมพล ณ โรงเรียน , กิจกรรมละลายพฤติกรรม ๒๒.๐๐ น. เข้านอน วันจันทร์ ที่ ๗ มีนาคม ๒๕๕๔ ๐๕.๐๐ น. - ๐๖.๐๐ น. ตื่นนอน ทาธุระส่วนตัว ๐๖.๐๐ น. - ๐๘.๔๐ น. ทาบุญตักบาตรพร้อมทั้งรับประทานอาหารเช้าที่วัด ๐๘.๐๐ น. - ๑๑.๔๐ น. ออกสารวจหมู่บ้านเพื่อศึกษาวิถีชีวิต ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น ๑๒.๐๐ น. - ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน , พักผ่อนตามอัธยาศัย ๑๓.๐๐ น. - ๑๖.๓๐ น. อมรมให้ความรู้แก่ นักศึกษา นักเรียน และชาวบ้าน เกี่ยวกับชุมชนและภาคอีสาน ๑๖.๓๐ น. - ๑๗.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย ๑๗.๐๐ น. - ๑๗.๓๐ น. กิจกรรมแอโรบิค ๑๘.๐๐ น. - ๑๙.๐๐ น. ทาธุระส่วนตัว ๑๙.๐๐ น.- ๒๒.๐๐ น. รับประทานอาหารเย็น , สรุปงาน , นันทนาการ ๒๒.๐๐ น. เข้านอน วันอังคาร ที่ ๘ มีนาคม ๒๕๕๔ ๐๕.๐๐ น. - ๐๖.๔๐ น. ตื่นนอน ทาธุระส่วนตัว ๐๗.๐๐ น. - ๐๗.๔๐ น. รับประทานอาหารเช้า ๐๘.๐๐ น. - ๑๑.๔๐ น. ปฏิบัติงานตามหน้าที่*
  • 18. ๑๒.๐๐ น. - ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน , พักผ่อนตามอัธยาศัย ๑๓.๐๐ น. - ๑๖.๓๐ น. ปฏิบัติงานตามหน้าที่* (ต่อ) ๑๖.๓๐ น. - ๑๗.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย ๑๗.๐๐ น. - ๑๗.๓๐ น. กิจกรรมแอโรบิค ๑๘.๐๐ น. - ๑๙.๐๐ น. ทาธุระส่วนตัว ๑๙.๐๐ น. - ๒๒.๐๐ น. รับประทานอาหารเย็น , สรุปงาน , นันทนาการ ๒๒.๐๐ น. เข้านอน วันพุธ ที่ ๙ มีนาคม ๒๕๕๔ ๐๕.๐๐ น. - ๐๖.๔๐ น. ตื่นนอน ทาธุระส่วนตัว ๐๗.๐๐ น. - ๐๗.๔๐ น. รับประทานอาหารเช้า ๐๘.๐๐ น. - ๑๑.๔๐ น. ปฏิบัติงานตามหน้าที่* ๑๒.๐๐ น. - ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน , พักผ่อนตามอัธยาศัย ๑๓.๐๐ น. - ๑๖.๓๐ น. ปฏิบัติงานตามหน้าที่* (ต่อ) ๑๖.๓๐ น. - ๑๗.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย ๑๗.๐๐ น. - ๑๗.๓๐ น. กิจกรรมแอโรบิค ๑๘.๐๐ น. - ๑๙.๐๐ น. ทาธุระส่วนตัว ๑๙.๐๐ น. - ๒๒.๐๐ น. รับประทานอาหารเย็น , สรุปงาน , นันทนาการ ๒๒.๐๐ น. เข้านอน วันพฤหัสบดี ที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๕๔ ๐๕.๐๐ น. - ๐๖.๔๐ น. ตื่นนอน ทาธุระส่วนตัว ๐๗.๐๐ น. - ๐๗.๔๐ น. รับประทานอาหารเช้า ๐๘.๐๐ น. - ๑๑.๔๐ น. ปฏิบัติงานตามหน้าที่* ๑๒.๐๐ น. - ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน , พักผ่อนตามอัธยาศัย ๑๓.๐๐ น. - ๑๖.๓๐ น. ปฏิบัติงานตามหน้าที่* (ต่อ) ๑๖.๓๐ น. - ๑๗.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย ๑๗.๐๐ น. - ๑๗.๓๐ น. กิจกรรมแอโรบิค ๑๘.๐๐ น. - ๑๙.๐๐ น. ทาธุระส่วนตัว ๑๙.๐๐ น. - ๒๒.๐๐ น. รับประทานอาหารเย็น , สรุปงาน , นันทนาการ ๒๒.๐๐ น. เข้านอน วันศุกร์ ที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๕๔ ๐๕.๐๐ น. - ๐๖.๔๐ น. ตื่นนอน ทาธุระส่วนตัว ๐๗.๐๐ น. - ๐๗.๔๐ น. รับประทานอาหารเช้า ๐๘.๐๐ น. - ๑๑.๔๐ น. ปฏิบัติงานตามหน้าที่* ๑๒.๐๐ น. - ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน , พักผ่อนตามอัธยาศัย
  • 19. ๑๓.๐๐ น. - ๑๖.๓๐ น. ปฏิบัติงานตามหน้าที่* (ต่อ) ๑๖.๓๐ น. - ๑๗.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย ๑๗.๐๐ น. - ๑๙.๐๐ น. แบ่งกันไปตามบ้านพ่อฮักแม่ฮัก เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิถีชีวิตของชาวบ้าน ๑๙.๐๐ น. – ๒๐.๐๐ น. รับประทานอาหารเย็นร่วมกับพ่อฮักแม่ฮัก ๒๐.๐๐ น. - ๒๒.๐๐ น. กลับมารวมพล ณ โรงเรียน , ตัวแทนบ้านเล่าประสบการณ์ที่ได้จากพ่อฮักแม่ฮัก ๒๒.๐๐ น. เข้านอน วันเสาร์ ที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๕๔ ๐๕.๐๐ น. - ๐๖.๔๐ น. ตื่นนอน ทาธุระส่วนตัว ๐๗.๐๐ น. - ๐๗.๔๐ น. รับประทานอาหารเช้า ๐๘.๐๐ น. - ๑๑.๔๐ น. ปฏิบัติงานตามหน้าที่* ๑๒.๐๐ น. - ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน , พักผ่อนตามอัธยาศัย ๑๓.๐๐ น. - ๑๖.๐๐ น. ปฏิบัติงานตามหน้าที่* (ต่อ) ๑๖.๐๐ น. - ๑๗.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย ๑๗.๐๐ น. - ๑๗.๓๐ น. กิจกรรมแอโรบิค ๑๘.๐๐ น. - ๑๙.๐๐ น. ทาธุระส่วนตัว ๑๙.๐๐ น. - ๒๒.๐๐ น. รับประทานอาหารเย็น , สรุปงาน , นันทนาการ ๒๒.๐๐ น. เข้านอน วันอาทิตย์ ที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๔ ๐๕.๐๐ น. - ๐๖.๔๐ น. ตื่นนอน ทาธุระส่วนตัว ๐๗.๐๐ น. - ๐๗.๔๐ น. รับประทานอาหารเช้า ๐๘.๐๐ น. - ๑๑.๔๐ น. ปฏิบัติงานตามหน้าที่* ๑๒.๐๐ น. - ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน , พักผ่อนตามอัธยาศัย ๑๓.๐๐ น. - ๑๖.๓๐ น. ปฏิบัติงานตามหน้าที่* (ต่อ) ๑๖.๓๐ น. - ๑๗.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย ๑๗.๐๐ น. - ๑๗.๓๐ น. กิจกรรมแอโรบิค ๑๘.๐๐ น. - ๑๙.๐๐ น. ทาธุระส่วนตัว ๑๙.๐๐ น. - ๒๒.๐๐ น. รับประทานอาหารเย็น , สรุปงาน , นันทนาการ ๒๒.๐๐ น. เข้านอน วันจันทร์ ที่ ๑๔ มีนาคม ๒๕๕๔ ๐๕.๐๐ น. - ๐๖.๔๐ น. ตื่นนอน ทาธุระส่วนตัว ๐๗.๐๐ น. - ๐๗.๔๐ น. รับประทานอาหารเช้า ๐๘.๐๐ น. - ๑๑.๔๐ น. ปฏิบัติงานตามหน้าที่* ๑๒.๐๐ น. - ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน , พักผ่อนตามอัธยาศัย ๑๓.๐๐ น. - ๑๖.๓๐ น. ปฏิบัติงานตามหน้าที่* (ต่อ)
  • 20. ๑๖.๓๐ น. - ๑๗.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย ๑๗.๐๐ น. - ๑๗.๓๐ น. กิจกรรมแอโรบิค ๑๘.๐๐ น. - ๑๙.๐๐ น. ทาธุระส่วนตัว ๑๙.๐๐ น. - ๒๒.๐๐ น. รับประทานอาหารเย็น , สรุปงาน , นันทนาการ ๒๒.๐๐ น. เข้านอน วันอังคาร ที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๔ ๐๕.๐๐ น. - ๐๖.๔๐ น. ตื่นนอน ทาธุระส่วนตัว ๐๗.๐๐ น. - ๐๗.๔๐ น. รับประทานอาหารเช้า ๐๘.๐๐ น. - ๑๑.๔๐ น. ปฏิบัติงานตามหน้าที่* ๑๒.๐๐ น. - ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน , พักผ่อนตามอัธยาศัย ๑๓.๐๐ น. - ๑๖.๐๐ น. ปฏิบัติงานตามหน้าที่* (ต่อ) ๑๖.๐๐ น. - ๑๗.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย ๑๗.๐๐ น. - ๑๙.๐๐ น. แบ่งกันไปตามบ้านพ่อฮักแม่ฮัก เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิถีชีวิตของชาวบ้าน ๑๙.๐๐ น. – ๒๐.๐๐ น. รับประทานอาหารเย็นร่วมกับพ่อฮักแม่ฮัก ๒๐.๐๐ น. - ๒๒.๐๐ น. กลับมารวมพล ณ โรงเรียน , ตัวแทนบ้านเล่าประสบการณ์ที่ได้จากพ่อฮักแม่ฮัก ๒๒.๐๐ น. เข้านอน วันพุธ ที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๕๔ ๐๕.๐๐ น. - ๐๖.๔๐ น. ตื่นนอน ทาธุระส่วนตัว ๐๗.๐๐ น. - ๐๗.๔๐ น. รับประทานอาหารเช้า ๐๘.๐๐ น. - ๑๑.๔๐ น. ปฏิบัติงานตามหน้าที่* ๑๒.๐๐ น. - ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน , พักผ่อนตามอัธยาศัย ๑๓.๐๐ น. - ๑๖.๓๐ น. ปฏิบัติงานตามหน้าที่* (ต่อ) ๑๖.๓๐ น. - ๑๗.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย ๑๗.๐๐ น. - ๑๗.๓๐ น. กิจกรรมแอโรบิค ๑๘.๐๐ น. - ๑๙.๐๐ น. ทาธุระส่วนตัว ๑๙.๐๐ น. - ๒๒.๐๐ น. รับประทานอาหารเย็น , สรุปงาน , นันทนาการ ๒๒.๐๐ น. เข้านอน วันพฤหัสบดี ที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๕๔ ๐๕.๐๐ น. - ๐๖.๔๐ น. ตื่นนอน ทาธุระส่วนตัว ๐๗.๐๐ น. - ๐๗.๔๐ น. รับประทานอาหารเช้า ๐๘.๐๐ น. - ๑๑.๔๐ น. ปฏิบัติงานตามหน้าที่* ๑๒.๐๐ น. - ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน , พักผ่อนตามอัธยาศัย ๑๓.๐๐ น. - ๑๖.๓๐ น. ปฏิบัติงานตามหน้าที่* (ต่อ)
  • 21. ๑๖.๓๐ น. - ๑๗.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย ๑๗.๐๐ น. - ๑๗.๓๐ น. กิจกรรมแอโรบิค ๑๘.๐๐ น. - ๑๙.๐๐ น. ทาธุระส่วนตัว ๑๙.๐๐ น. - ๒๒.๐๐ น. รับประทานอาหารเย็น , สรุปงาน , นันทนาการ ๒๒.๐๐ น. เข้านอน วันศุกร์ ที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๕๔ ๐๕.๐๐ น. - ๐๖.๔๐ น. ตื่นนอน ทาธุระส่วนตัว ๐๗.๐๐ น. - ๐๗.๔๐ น. รับประทานอาหารเช้า ๐๘.๐๐ น. - ๑๑.๔๐ น. ปฏิบัตงานตามหน้าที่* ิ ๑๒.๐๐ น. - ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน , พักผ่อนตามอัธยาศัย ๑๓.๐๐ น. - ๑๖.๓๐ น. ปฏิบัติงานตามหน้าที่* (ต่อ) ๑๖.๓๐ น. - ๑๗.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย ๑๗.๐๐ น. - ๑๗.๓๐ น. กิจกรรมแอโรบิค ๑๘.๐๐ น. - ๑๙.๐๐ น. ทาธุระส่วนตัว ๑๙.๐๐ น. - ๒๒.๐๐ น. รับประทานอาหารเย็น , สรุปงาน , นันทนาการ ๒๒.๐๐ น. เข้านอน วันเสาร์ ที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๔ ๐๕.๐๐ น. - ๐๖.๔๐ น. ตื่นนอน ทาธุระส่วนตัว ๐๗.๐๐ น. - ๐๗.๔๐ น. รับประทานอาหารเช้า ๐๘.๐๐ น. - ๑๑.๔๐ น. กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับคุณค่าของทรัพยากรป่าไม้ ๑๒.๐๐ น. - ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน , พักผ่อนตามอัธยาศัย ๑๓.๐๐ น. - ๑๖.๓๐ น. กิจกรรม “โครงการปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ” ๑๖.๓๐ น. - ๑๗.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย ๑๗.๐๐ น. - ๑๙.๐๐ น. แบ่งกันไปตามบ้านพ่อฮักแม่ฮัก เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิถีชีวิตของชาวบ้าน ๑๙.๐๐ น. – ๒๐.๐๐ น. รับประทานอาหารเย็นร่วมกับพ่อฮักแม่ฮัก ๒๐.๐๐ น. - ๒๒.๐๐ น. กลับมารวมพล ณ โรงเรียน , ตัวแทนบ้านเล่าประสบการณ์ที่ได้จากพ่อฮักแม่ฮัก ๒๒.๐๐ น. เข้านอน วันอาทิตย์ ที่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๕๔ ๐๕.๐๐ น. - ๐๖.๔๐ น. ตื่นนอน ทาธุระส่วนตัว ๐๗.๐๐ น. - ๐๘.๐๐ น. ทาบุญตักบาตร , รับประทานอาหารเช้า ๐๘.๐๐ น. - ๐๙.๐๐ น. พิธีมอบอาคาร , พิธีบายศรีสู่ขวัญ ๐๙.๐๐ น. - ๑๒.๐๐ น. ทาความสะอาดภายในบริเวณโรงเรียน ๑๒.๐๐ น. - ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน , พักผ่อนตามอัธยาศัย ๑๓.๐๐ น. - ๑๖.๐๐ น. แข่งขันกีฬาเชื่อมความสัมพันธ์ (กีฬาสากลและกีฬาพื้นบ้าน)
  • 22. ๑๖.๐๐ น. - ๑๗.๓๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย ๑๘.๐๐ น. - ๑๙.๐๐ น. ทาธุระส่วนตัว ๑๙.๐๐ น. - ๒๒.๐๐ น. รับประทานอาหารเย็น , กิจกรรมงานเลี้ยงแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรม ๒๒.๐๐ น. เข้านอน วันจันทร์ ที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๕๔ ๐๕.๐๐ น. - ๐๖.๐๐ น. ตื่นนอน ทาธุระส่วนตัว ๐๗.๐๐ น. - ๐๘.๐๐ น. รับประทานอาหารเช้า ๐๙.๓๐ น. เดินทางกลับ ๑๖.๐๐ น. ถึง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร กิจกรรมพิเศษอื่นๆ ** ( จะเป็นหน้าที่ของกลุ่มซักผ้า หรือกลุ่มอื่นๆ เมื่อทางานตามหน้าที่เสร็จแล้ว โดยการทา กิจกรรมนี้จะขึ้นอยู่กับความเห็นของหัวหน้ากลุ่มและประธานค่าย ) - กิจกรรมช่วยสอนหนังสือน้องนักเรียน ( เป็นหน้าที่ของกลุ่มซักผ้าเท่านั้นเพราะต้องมีตารางสอน ) และจัดทาสื่อ แการเรียนการสอนเพิ่มเติมให้โรงเรียน - กิจกรรมถ่ายทอดความรู้ และประสบการณ์ให้น้องนักเรียน ( การทาแปลงเกษตร , เครื่องดนตรีพื้นบ้าน , กก กก กการละเล่นและของเล่นพื้นบ้าน , วัฒนธรรมและประเพณีของชาวอีสาน เป็นต้น ) - กิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ต่างๆ ( ลงชุมชนทาความสะอาด และปลูกต้นไม้ , ปลูกไม้ผลในบริเวณโรงเรียน ) - กิจกรรมพาน้องนันทนาการ และออกกาลังกาย การดาเนินกิจกรรมต่างๆ ภายในค่ายจะแบ่งออกเป็น ๓ กลุ่ม หมุนเวียนกันทางาน ( ๓ วันเปลี่ยนงาน ) ( สาหรับงานก่อสร้างเมื่อกลุ่มอื่นปฏิบัติหน้าที่เสร็จแล้วสามารถมาช่วยเหลือได้ตามความเห็นของหัวหน้ากลุ่ม ) *หมายเหตุ ปฏิบัติงานตามหน้าที่คือ - กลุ่มก่อสร้าง ทางานก่อสร้าง - กลุ่มซักผ้า ทาหน้าที่ซักผ้า , สอนหนังสือน้อง , ลงชุมชน , และทากิจกรรมพิเศษอื่นๆ ตามที่หัวหน้ากลุ่มและ แประธานค่ายเห็นว่าเหมาะสม - กลุ่มทากับข้าว ทาหน้าที่ทากับข้าว , บริการน้า - สาหรับพวกต้องปฏิบัติกิจกรรมอื่นๆ ก็ทางานตามที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้ากลุ่มและประธานค่าย ตารางกิจกรรมอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม
  • 24. กิจกรรมศึกษาเรียนรู้วิถีชีวิต ศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน และภูมิปัญญาท้องถิ่น นักศึกษาผู้รับผิดชอบกิจกรรม. นายสุภวุฒิ โสดาภักดิ์ วัตถุประสงค์. - เพื่อศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิถีชีวิต ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี และภูมิปัญญา กก ท้องถิ่นของภาคอีสาน วิธีดาเนินงาน. - ลงพื้นที่เพื่อศึกษาวิถีชีวิต ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน , เชิญปราชญ์ กก ชุมชนมาให้ความรู้ , แบ่งนักศึกษาไปตามบ้านพ่อฮักแม่ฮักเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สถานที่ดาเนินงาน. - หมู่บ้าน กลุ่มเป้าหมาย. - นักศึกษา , ชาวบ้าน ผลที่คาดว่าจะได้รับ. - นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ ได้ศึกษาและแลกเปลี่ยนและเรียนรู้ศึกษาวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณีอันดีงามและภูมิปัญญาท้องถิ่นของภาคอีสาน - นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ ได้สืบทอด อนุรักษ์และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี อันดีงามของภาคอีสาน กิจกรรมให้ความรู้เรื่องต่างๆ เกี่ยวกับหมู่บ้านหมู่บ้าน และภาคอีสาน แก่เด็กนักเรียนในชุมชน นักศึกษาผู้รับผิดชอบกิจกรรม. นายธีรพงษ์ พลเตมา วัตถุประสงค์ - เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมรู้ประวัติศาสตร์ของหมู่บ้าน และภาคอีสาน - เพื่อให้เด็กนักเรียนเห็นความสาคัญของท้องถิ่น - เพื่อให้เด็กนักเรียนเป็นผู้สืบทอดความรู้ที่ได้ให้คงอยู่ และตระหนักถึงการสืบสานสู่รุ่นต่อๆ ไป วิธีดาเนินงาน. - เชิญผู้เฒ่าผู้แก่ในหมู่บ้านที่มีความรู้เรื่องประวัติหมู่บ้าน ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น ภูมิปัญญากกกก กก ชาวบ้านมาร่วมถ่ายทอดความรู้ให้กับคนรุ่นหลัง -เจัดในรูปแบบการอบรม โดยมีวิทยากร บรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม - มีการแจกหนังสือสรุปความรู้ที่ได้บรรยายไป - อาจมีการให้ความรู้เรื่องภาคอีสานน้องๆ เพื่อเติมในลักษณะการสอนในห้องเรียน
  • 25. สถานที่ดาเนินงาน. - โรงเรียน กลุ่มเป้าหมาย. - เด็กนักเรียน , นักศึกษา ผลที่คาดว่าจะได้รับ. - ผู้เข้าร่วมกิจกรรมตระหนักถึงความรักในท้องถิ่นและเกิดความสามัคคี -เผู้เข้าร่วมกิจกรรมเกิดความภูมิใจในท้องถิ่น และภูมิใจในความเป็นคนอีสาน - ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนาความรู้ที่ได้ไปต่อยอดพัฒนาต่อไปได้ กิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ นักศึกษาผู้รับผิดชอบกิจกรรม. นางสาวปราชลี อินทรกลาง วัตถุประสงค์. - เพื่อให้นักศึกษามีจิตสานึกที่จะเข้ามามีส่วนร่วมในการบาเพ็ญประโยชน์ต่อส่วนรวม - เพื่อส่งเสริมวิชาการให้กับนักเรียน วิธีดาเนินงาน. - สอนหนังสือน้องๆ - จัดทาสื่อการเรียนการสอนเพิ่มเติมให้โรงเรียน - บริจาคอุปกรณ์การเรียนการสอนและอุปกรณ์การกีฬา - ทาความสะอาดวัด รวมถึงหมู่บ้าน สถานที่ดาเนินงาน. - หมู่บ้าน , โรงเรียน กลุ่มเป้าหมาย. - นักเรียน, ชาวบ้าน ผลที่คาดว่าจะได้รับ. - ได้เป็นการยกระดับคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของชาวบ้านให้ดีขึ้นอีกทางหนึ่ง - โรงเรียนมีสื่อการเรียนการสอนเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้ประสิทธิภาพในการเรียนรู้ของน้องๆ เพิ่มมากขึ้น
  • 26. กิจกรรมเชื่อมสัมพันธ์ นักศึกษาผู้รับผิดชอบกิจกรรม. นายเสกสรร สร้อยจรุง วัตถุประสงค์. - เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีต่อนักศึกษาทั้งสองสถาบันจากการทางานร่วมกัน - เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีต่อ นักเรียนและชาวบ้านที่เข้าร่วมกิจกรรม วิธีดาเนินงาน. เ - กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ - กิจกรรมแข่งกีฬาทั่วไป / กีฬาพื้นบ้าน สถานที่ดาเนินงาน. - โรงเรียน กลุ่มเป้าหมาย. - นักศึกษา , นักเรียน , ชาวบ้าน ผลที่คาดว่าจะได้รับ. - นักศึกษาเกิดความรัก สามัคคีกันในหมู่คณะ - เกิดความสัมพันธ์และทัศนคติที่ดีระหว่างโรงเรียน ชุมชน นักศึกษา กิจกรรมปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ นักศึกษาผู้รับผิดชอบกิจกรรม. นายณัฐวุฒิ น่านกาศ วัตถุประสงค์ - เพื่อเพิ่มพื้นที่ป่าชุมชน - เพื่อปลูกจิตสานึกให้คนในชุมชนเห็นคุณค่า และช่วยกันอนุรักษ์ป่า วิธีดาเนินงาน. - ขอกล้าไม้จากเกษตรอาเภอ โรงเพราะพันธุ์กล้าไม้ประจาอาเภอ - อบรมให้ความรู้แก่ผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรม - ปลูกป่า และขึ้นป้าย สถานที่ดาเนินงาน. - หมู่บ้าน กลุ่มเป้าหมาย. - ชาวบ้าน , นักศึกษา ผลที่คาดว่าจะได้รับ. - คนในชุมชนมีพื้นที่ป่าเพื่อใช้ประโยชน์ร่วมกันมากขึ้น - คนในชุมเห็นความสาคัญของทรัพยากรป่าไม้ และช่วยกันอนุรักษ์
  • 27. กิจกรรมบริจาคอุปกรณ์การเรียนการสอนและอุปกรณ์การกีฬา นักศึกษาผู้รับผิดชอบกิจกรรม. นายวีระยุทธ นาคนุช วัตถุประสงค์. - เพื่อให้คณะครูอาจารย์โรงเรียน มีอุปกรณ์การเรียนการสอนและอุปกรณ์การกีฬาในกกกก กก โรงเรียนให้ดีขึ้น และเพื่อแบ่งเบาภาระของทางโรงเรียน วิธีดาเนินงาน. - บริจาคอุปกรณ์การเรียนการสอนและอุปกรณ์การกีฬาให้กับ ตัวแทนคณะครูอาจารย์กกกก กก โรงเรียน สถานที่ดาเนินงาน. - โรงเรียน, หมู่บ้าน กลุ่มเป้าหมาย. - นักศึกษา , นักเรียน , ครูอาจารย์ของโรงเรียน , ชาวบ้าน. ผลที่คาดว่าจะได้รับ. - นักเรียนครูอาจารย์ โรงเรียน และชาวบ้านได้มีอุปกรณ์การเรียนการสอนและอุปกรณ์การ กกกีฬา - ได้เป็นการยกระดับคุณภาพการเรียนการสอนให้ดีขึ้นอีกทางหนึ่ง - ได้ช่วยส่งเสริมให้มีการเล่นกีฬาให้มากขึ้น กิจกรรมงานเลี้ยงแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมระหว่างชาวบ้านกับนักศึกษา นักศึกษาผู้รับผิดชอบกิจกรรม. นายชวาลา บุญโญ วัตถุประสงค์. - เพื่อให้นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการได้ร่วมสืบทอด อนุรักษ์และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม กก ขนบธรรมเนียมและประเพณีอันดีงามของภาคอีสานให้คงอยู่สืบไป วิธีดาเนินงาน. - จัดงานเลี้ยงโดยจัดให้มีการแสดงศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน ระหว่างนักศึกษา นักเรียน และ กก ชาวบ้าน สถานที่ดาเนินงาน. - โรงเรียน กลุ่มเป้าหมาย. - นักศึกษา , นักเรียน , ชาวบ้าน ผลที่คาดว่าจะได้รับ. - นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ นักเรียน และชาวบ้าน ได้สืบทอด อนุรักษ์และเผยแพร่กกกก กก ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี อันดีงามของภาคอีสาน
  • 28. คณะกรรมการ และ ผู้เข้าร่วมโครงการ
  • 29. คณะกรรมการ โครงการ “ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด สร้างสามัคคี สู่น้องพี่ชาวอีสาน” ลาดับ ชื่อ-สกุล ตาแหน่ง ๑. นายวีระยุทธ นาคนุช ประธานชมรมศิลปวัฒนธรรมอีสาน ๒. นายชวาลา บุญโญ ประธานค่าย ๓. นายเสกสรร สร้อยจรุง ผู้รับผิดชอบโครงการ ๔. นายธีรพงษ์ พลเตมา ผู้รับผิดชอบโครงการ ๕. นายสุภวุฒิ โสดาภักดิ์ เลขานุการ ๖. นายสมเจต มณีรัตน์ เลขานุการ ๗. นายปรีดี ไกลภพ เหรัญญิก ๘. นางสาวอรอุษา ธนาคาร เหรัญญิก ๙. นางสาวรอยพิมพ์ มะพงษ์เพ็ง หัวหน้าฝ่ายโครงงาน ๑๐. นางสาวปราชลี อินทรกลาง หัวหน้าฝ่ายโครงงาน ๑๑. นายพันธวรรธน์ จาโรทก หัวหน้าฝ่ายโภชนาการ ๑๒. นายณัฐวุฒิ น่านกาศ หัวหน้าฝ่ายโภชนาการ ๑๓. นางสาวสุกัญญา เบ้าทองหล่อ หัวหน้าฝ่ายโครงการสัมพันธ์ ๑๔. นายพรทวี งามหนัก หัวหน้าฝ่ายโครงการสัมพันธ์ ๑๕. นางสาวเบญญา เบญจศรีรักษ์ หัวหน้าฝ่ายวิชาการ ๑๖. นายภุมเมศ ชุ่มชาติ หัวหน้าฝ่ายวิชาการ ๑๗. นายสิทธิศักดิ์ ตวงวิไล หัวหน้าฝ่ายสวัสดิการ ๑๘. นายวิทยา บัวงาม หัวหน้าฝ่ายสวัสดิการ ๑๙. นายณัฐพล จงตั้งกลาง หัวหน้าฝ่ายสันทนาการ ๒๐. นายพงศ์เทพ เลี้ยงบุญเลิศชัย หัวหน้าฝ่ายสันทนาการ หมายเหตุ ประธานค่าย นายชวาลา บุญโญ หมายเลขโทรศัพท์ ๐๘๙-๗๖๙๙๘๔๖ Email - misang2010@hotmail.com อาจารย์ที่ปรึกษาชมรมศิลปวัฒนธรรมอีสาน อาจารย์สรัญญา รุจิเรขเรืองรอง หมายเลขโทรศัพท์ ๐๘๑-๒๐๖๖๕๐๙ Email - saranya@mut.ac.th ผู้ควบคุมการก่อสร้าง นายกิตติศักดิ์ หัวขุนทด หมายเลขโทรศัพท์ ๐๘๗-๘๖๗๔๕๗๕
  • 30. รายชื่อนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ“ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด สร้างสามัคคี สู่น้องพี่ชาวอีสาน” ลาดับ ชื่อ –สกุล มหาวิทยาลัย ๑. นายมณีนุช นิลกรณ์ เทคโนโลยีมหานคร ๒. นายอิสรนันท์ โคระนา เทคโนโลยีมหานคร ๓. นางสาวสุดารัตน์ สมิงมิตร เทคโนโลยีมหานคร ๔. นายณัฐวุฒิ สัตยพานิชกุล เทคโนโลยีมหานคร ๕. นางสาวสุวรรณรัตน์ ศรีรอด เทคโนโลยีมหานคร ๖. นายปรัชญ์ งามโรจน์ เทคโนโลยีมหานคร ๗. นายอติราช พุดสีเสน เทคโนโลยีมหานคร ๘. นายนเรนทร์ สอนวงษ์ เทคโนโลยีมหานคร ๙. นายบรรจบ สุวรรณะ เทคโนโลยีมหานคร ๑๐. นายยุทธนา มางาม เทคโนโลยีมหานคร ๑๑. นางสาวสุวิมล ดงปงกา เทคโนโลยีมหานคร ๑๒. นางสาวอัฐริญา อินสุวรรณ์ เทคโนโลยีมหานคร ๑๓. นางสาวรสสุคนธ์ ดวงสว่าง เทคโนโลยีมหานคร ๑๔. นายธวัชชัย จันทร์เดช เทคโนโลยีมหานคร ๑๕. นายณัฐพงศ์ มีมาก เทคโนโลยีมหานคร ๑๖. นายณัฐพงศ์ กระจ่าง เทคโนโลยีมหานคร ๑๗. นายวันชัย อุโคตร เทคโนโลยีมหานคร ๑๘. นายสัญพิสิฐ ทองมาก เทคโนโลยีมหานคร ๑๙. นางสาวทัศนีย์ สงนุ้ย เทคโนโลยีมหานคร ๒๐. นายอนุสรณ์ ภูคันทา เทคโนโลยีมหานคร ๒๑. นายพรหมวรรณ ปุ๊แง เทคโนโลยีมหานคร ๒๒. นายมัสกร บวรสุคนธชาติ เทคโนโลยีมหานคร ๒๓. นายชินวัฒน์ เนาวรัตน์ เทคโนโลยีมหานคร ๒๔. นางสาวนิชธาวัลย์ กาวี เทคโนโลยีมหานคร ๒๕. นายนันทวุฒิ ป้องคา เทคโนโลยีมหานคร ๒๖. นายทรงกรด ศิริวัน เทคโนโลยีมหานคร ๒๗. นายรัตน์วภ ตุ้มขันธ์ เทคโนโลยีมหานคร ๒๘. นางสาวพีรณัฐ ปัญญาสาร เทคโนโลยีมหานคร ๒๙. นายธันวา อุ่นใจ เทคโนโลยีมหานคร ๓๐. นายกีรติ ฏิระวณิชสกุล เทคโนโลยีมหานคร
  • 31. ลาดับ ชื่อ –สกุล มหาวิทยาลัย ๓๑. นายวรุฒ กลิ่นรัตน์ เทคโนโลยีมหานคร ๓๒. นายธนวิทย์ มะลิซ้อน เทคโนโลยีมหานคร ๓๓. นายจักรกริช จันทร์หงษา เทคโนโลยีมหานคร ๓๔. นางสาวกนกวรรณ เทพสุวรรณ เทคโนโลยีมหานคร ๓๕. นายพงศธร หงษ์พรหม เทคโนโลยีมหานคร ๓๖. นายธรรมกุล ธรรมเนียม เทคโนโลยีมหานคร ๓๗. นายธีระวัฒน์ คาขันตี เทคโนโลยีมหานคร ๓๘. นายวีระยุทธ นาคนุช เทคโนโลยีมหานคร ๓๙. นายชวาลา บุญโญ เทคโนโลยีมหานคร ๔๐. นายเสกสรร สร้อยจรุง เทคโนโลยีมหานคร ๔๑. นายธีรพงษ์ พลเตมา เทคโนโลยีมหานคร ๔๒. นายสุภวุฒิ โสดาภักดิ์ เทคโนโลยีมหานคร ๔๓. นายสมเจต มณีรัตน์ เทคโนโลยีมหานคร ๔๔. นายปรีดี ไกลภพ เทคโนโลยีมหานคร ๔๕. นางสาวอรอุษา ธนาคาร เทคโนโลยีมหานคร ๔๖. นางสาวรอยพิมพ์ มะพงษ์เพ็ง เทคโนโลยีมหานคร ๔๗. นางสาวปราชลี อินทรกลาง เทคโนโลยีมหานคร ๔๘. นายพันธวรรธน์ จาโรทก เทคโนโลยีมหานคร ๔๙. นายณัฐวุฒิ น่านกาศ เทคโนโลยีมหานคร ๕๐. นางสาวสุกัญญา เบ้าทองหล่อ เทคโนโลยีมหานคร ๕๑. นายพรทวี งามหนัก เทคโนโลยีมหานคร ๕๒. นางสาวเบญญา เบญจศรีรักษ์ เทคโนโลยีมหานคร ๕๓. นายภุมเมศ ชุ่มชาติ เทคโนโลยีมหานคร ๕๔. นายสิทธิศักดิ์ ตวงวิไล เทคโนโลยีมหานคร ๕๕. นายวิทยา บัวงาม เทคโนโลยีมหานคร ๕๖. นายณัฐพล จงตั้งกลาง เทคโนโลยีมหานคร ๕๗. นายพงศ์เทพ เลี้ยงบุญเลิศชัย เทคโนโลยีมหานคร
  • 33. แบบประเมิน โครงการ “ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด สร้างสามัคคี สู่น้องพี่ชาวอีสาน” ระหว่าง ๖ – ๒๑ มีนาคม ๒๕๕๔ ชมรมศิลปวัฒนธรรมอีสานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร ส่วนที่ ๑. ข้อมูลทั่วไป คาชี้แจง .  ในช่อง  ที่ท่านคิดว่าถูกต้องที่สุด เพศ .  ชาย  หญิง อายุ .  ๑๐-๑๔ ปี  ๑๕-๑๙ ปี  ๒๐-๒๔ ปี  ๒๕-๒๙ ปี  ๓๐ ปีขึ้นไป สถานภาพ  นักเรียน  ครู-อาจารย์  นักศึกษา  ชาวบ้าน ส่วนที่ ๒ . การประเมินความพึงพอใจกิจกรรม คาชี้แจง . ให้ผู้ประเมินพิจารณาประเด็นที่กาหนด แล้วทาเครื่องหมาย  ลงในช่องที่ตรงกับความเห็น มากที่สุด ๕ = ดีมาก ๔ = ดี ๓ = ปานกลาง ๒ = น้อย ๑ = น้อยมาก
  • 34. ระดับคะแนน ประเด็นการประเมิน ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ การบรรลุวัตถุประสงค์โครงการ ๑.ท่านคิดว่าโครงการนี้มีประโยชน์หรือไม่ ๒.ท่านคิดว่าได้รับประโยชน์จากโครงการนี้เต็มที่หรือไม่ ๓.ท่านคิดว่าโครงการนี้ควรมีต่อไปเรื่อยๆ หรือไม่ ๔.ท่านคิดว่าโครงการนี้เป็นการบาเพ็ญประโยชน์หรือไม่ การดาเนินการโครงการและความเหมาะสม ๑.ช่วงระยะเวลาในการจัดโครงการเหมาะสมหรือไม่ ๒.ระยะเวลาจัดโครงการเหมาะสมหรือไม่ ๓.การจัดทาโครงการเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายหรือไม่ ๔.กิจกรรมที่จัดขึ้นในระหว่างจัดโครงการเหมาะสมหรือไม่ ๕.ความเหมาะสมของสถานที่ใช้ในการดาเนินการโครงการเหมาะสมหรือไม่ ๖.การบาเพ็ญประโยชน์ของนักศึกษา ทีชุมชนได้รับประโยชน์มากน้อยเพียงใด ่ ๗.ความสัมพันธ์ที่ดีของนักศึกษากับชุมชนมีความเหมาะสมหรือไม่ ๘.ความสัมพันธ์ที่ดีของนักศึกษาด้วยกันเองมีความเหมาะสมหรือไม่ ๙.นักศึกษาได้ประโยชน์จากโครงการมีมากน้อยเพียงใด ความเหมาะสมของรูปแบบกิจกรรม ๑.รูปแบบของกิจกรรมเหมาะสมหรือไม่ ๒.สื่อทีใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสมหรือไม่ ่ ๓.เนื้อหากิจกรรมตรงกับความต้องการของชุมชน/นักเรียนหรือไม่ ๔.ความสัมพันธ์ที่ดีของนักศึกษากับนักเรียนมีมากน้อยเพียงใด
  • 35. ระดับคะแนน ประเด็นการประเมิน ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๕.นักเรียนให้ความสนใจและความร่วมมือในการจัดกิจกรรมต่างๆ ดีหรือไม่ ๖.กระบวนการทางานร่วมกันของนักศึกษาเหมาะสมหรือไม่ ๗.อาคารอเนกประสงค์พร้อมห้องพยาบาลมีความเหมาะสมต่อการนาไปใช้ กก กกประโยชน์มากน้อยเพียงใด ๘.กิจกรรมปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติมีประโยชน์ต่อชุมชนหรือไม่ ๙.กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมมีประโยชน์ต่อชุมชนหรือไม่ คาแนะนาเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………
  • 36. รายละเอียดงบประมาณ และการใช้วัสดุ
  • 37. รายละเอียดงบประมาณในการดาเนินโครงการ ปริมาณ ราคารวม ลาดับ รายการ จานวน หน่วย ราคา (บาท) ๑ ค่ารถไปกลับ กรุงเทพ – เกษตรสมบูรณ์ ๑ คัน ๓๔,๐๐๐ ๓๔,๐๐๐ ๒ ค่าอาหารและน้าดื่ม (๕๗คน, ๑๖วัน) ๑๖ วัน ๘๐ ๗๒,๙๖๐ ๓ กิจกรรมปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ - - ๓,๐๐๐ ๓,๐๐๐ ๔ ค่าเตรียมโครงการ - - ๕,๐๐๐ ๕๐๐๐ ๕ ค่าประชาสัมพันธ์ และติดต่อประสานงาน - - ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐ ๖ ค่าสรุปโครงการ - - ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐ ๗ อาคารอเนกประสงค์พร้อมห้องพยาบาล - - ๑๙๖,๕๑๕ ๑๙๖,๕๑๕ อื่นๆ ๘ ค่าทาป้ายอาคาร ๑ ๑ ๒,๐๐๐ ๒,๐๐๐ ๙ อุปกรณ์กีฬาและอุปกรณ์การศึกษา - - ๒,๐๐๐ ๒,๐๐๐ รวม ๓๑๗,๔๗๕ บาท
  • 38. รายละเอียดการใช้วัสดุ ปริมาณวัสดุก่อสร้าง ลาดับ รายการอุปกรณ์การก่อสร้าง ราคารวม (บาท) จานวน หน่วย ราคา ๑. เสาคอนกรีต ๐.๑๕×๐.๑๕×๔ ม. ๑๑ ต้น ๖๐๐ ๖,๖๐๐.๐๐ ๒. ปูนซีเมนต์ ๒๕๐ ถุง ๑๔๐ ๓๐,๕๐๐๐.๐๐ ๓. หิน ๒๐ ม3 ๔๗๑ ๙,๔๒๐.๐๐ ๔. ทรายหยาบ ๑๓ ม3 ๓๖๖ ๔,๗๕๘.๐๐ ๕. ทรายละเอียด ๗ ม3 ๓๗๗ ๒,๖๓๙.๐๐ ๖. ดินถมที่ ๓๐ ลบ.ม. ๑๙๗ ๕,๙๐๐.๐๐ ๗. อิฐมอญ ขนาด ๗ x ๑๖ x ๓.๕ ๓๐๐ ก้อน ๐.๗๕ ๒๒๕.๐๐ ซม. ๘. อิฐบล็อก ๑,๑๐๐ ก้อน ๕.๕ ๖,๐๕๐.๐๐ ๙. เหล็กข้ออ้อย DB10 ๓๐ เส้น ๑๓๕ ๔,๐๕๐.๐๐ ๑๐. เหล็กเส้นกลม RB 6 ๕๓ เส้น ๕๔ ๒,๘๖๒.๐๐ ๑๑. ลวดผูกเหล็ก ๑๘ กก. ๓๕ ๖๓๐.๐๐ ๑๒. เหล็กตัวซี๗๕×๕๐×๒๐×๓.๒ ๓๗ เส้น ๖๔๖ ๒๓,๙๐๒.๐๐ มม. ๑๓. เหล็กตัวซี ๑๒๕×๕๐×๒๐×๓.๒ ๔๕ เส้น ๘๕๗ ๓๘,๕๖๕.๐๐ มม. ๑๔. ลวดเชื่อม ๕ กล่อง ๓๐๐ ๑,๕๐๐.๐๐ ๑๕. กระเบื้องลอนคู่ ๕๓๐ แผ่น ๕๕ ๒๙,๑๕๐.๐๐ ๑๖. ครอบมุม ๔๘ แผ่น ๓๕ ๑,๖๘๐.๐๐ ๑๗. ตะขอยึดกระเบื้อง ๖๒๐ ตัว ๔ ๒,๔๘๐.๐๐ กระเบื้องแผ่นเรียบ ขนาด ๑๘. ๑๖ แผ่น ๕๓ ๘๔๘.๐๐ ๖๐ x ๒๔๐ x ๐.๔๐ ซม. ตราช้าง ๑๙. สีกันสนิม ๒ กระป๋อง ๕๐๐ ๑,๐๐๐.๐๐ ๒๐. สีรองพื้นปูน ๑ ถัง ๙๕๕ ๙๕๕.๐๐ ๒๑. สีน้าพลาสติก ทาภายนอก ๒ ถัง ๒,๔๖๔ ๔,๙๒๘.๐๐ ๒๒. สายไฟฟ้า VAF สายแบนแกนคู่ ๑ ม้วน ๑,๒๔๐ ๑,๒๔๐.๐๐ ๒๓. ตะปู ๓ นิ้ว ๒ ลัง ๔๕๐ ๙๐๐.๐๐ ๒๔. ตะปูคอนกรีต ๑๐ กก. ๖๐ ๖๐๐.๐๐
  • 39. ปริมาณวัสดุก่อสร้าง ลาดับ รายการอุปกรณ์การก่อสร้าง ราคารวม (บาท) จานวน หน่วย ราคา วงกบหน้าต่างไม้แดง แบบไม่มี ๒๕. ช่องแสงบานคู่ ขนาด ๖๐ x ๑๑๐ ๓ ชุด ๙๔๐ ๒,๘๒๐.๐๐ ซม. ขนาดไม้วงกบ๒ x๔ นิ้ว บานหน้าต่าง แบบไม่มีช่องแสง ๒๖. บานคู่ ขนาด ๖๐ x ๑๑๐ ซม. ๓ บาน ๑,๓๐๐ ๓,๙๐๐.๐๐ ขนาดไม้วงกบ ๒ x๔ นิ้ว วงกบประตูไม้เนื้อแข็ง แบบไม่ ๒๗. มีช่องแสง ขนาด๙๐ x ๒๐๐ ซม. ๒ ชุด ๖๕๐ ๑,๓๐๐.๐๐ ขนาดไม้วงกบ ๒ x๔ นิ้ว บานประตูไม้เนื้อแข็ง บานทึบ ขนาด ๙๐ x ๒๐๐ซม. กรอบ ๒๘. ๒ บาน ๑,๓๐๐ ๒,๖๐๐.๐๐ บานขนาด ๑ ๑/๔ นิ้ว x ๔ นิ้ว ลูกฟักหนา ๑/๙๐ x ๒๐๐ นิ้ว รวม ๑๙๖,๕๑๕.๐๐ บาท
  • 41. ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนบ้านหนองคูวิทยาคม ๑. ข้อมูลทั่วไป ๑.๑ ชื่อสถานศึกษา โรงเรียนบ้านหนองคูวิทยาคม หมู่ที่ ๗ บ้านหนองคู ตาบลสระโพนทอง อาเภอ เกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ รหัสไปรษณีย์ ๓๖๑๒๐ โทรศัพท์ ๐๔๔๘๗๐๕๑๔ (ห่างจากอาเภอ ๕ กม.) สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาชัยภูมิ เขต ๒ ๑.๒ เปิดสอนตั้งแต่ระดับอนุบาล ๑ ถึงระดับ ช่วงชั้นที่ ๒ (ป.๖) ๑.๓ มีเขตพื้นที่บริการ ๑ หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านหนองคู มีประชากร ๔๗๐ คน ๑๐๖ ครัวเรือน ๒. ข้อมูลด้านการบริหาร ๒.๑ ชื่อ – สกุลผู้บริหาร นายฉลาด อาจสนาม วุฒิการศึกษาการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) การบริหารการศึกษา ดารงตาแหน่งที่โรงเรียนนี้ตั้งแต่ วันที่ ๒๖ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๓ เป็นเวลา ๔ เดือน ประวัติโดยย่อ โรงเรียนบ้านหนองคูวิทยาคม ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ ๑ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๒๐ โดยการนาของนายจันทร์ ขวัญสู่ ผู้ใหญ่บ้านและชาวบ้านหนองคู ได้ซื้อที่ดิน นส.๓ ก มีพื้นที่ ๓๐๐ ตารางวา เป็นที่ตั้งโรงเรียนใช้ชื่อว่า “โรงเรียน บ้านหนองคูวิทยาคม” เปิดทาการสอน ชั้น ป.๑ - ชั้น ป.๔ ซึ่งมี นายสุทธา เวชยานันท์ เป็นครูใหญ่คนแรก ปี ๒๕๒๒ ได้ซื้อที่ดินที่อยู่ติดกันเพิ่มอีก ๔ ไร่ ๒ งาน ๘๕ ตารางวา และองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิได้จัดสรร งบประมาณ ๑๙๖,๐๐๐ บาท เพื่อสร้างอาคารเรียนแบบ ป.๑ ฉ ใต้ถุนสูง ๑ หลัง ๒ ห้องเรียน ปัจจุบันเปิดทาการ สอนตั้งแต่ชั้นอนุบาล ๑ ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ วัตถุประสงค์เฉพาะของโรงเรียน ๑. เพื่อจัดการศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา (ช่วงชั้นที่ ๑ และ ๒) ให้มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับของสังคม ๒. เพื่อรายงานสภาพ และผลการดาเนินงานต่อหน่วยงานและผู้เกี่ยวข้องกับโรงเรียน ๓. เพื่อประสานความร่วมมือระหว่างโรงเรียนกับหน่วยงาน และผู้เกี่ยวข้องในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ๔. เพื่อสารวจความมั่นใจ ความพึงพอใจในคุณภาพการปฏิบัติงาน และผลการดาเนินงานของโรงเรียนทุก ขั้นตอนของหน่วยงานและผู้เกี่ยวข้องกับโรงเรียน ๓. ข้อมูลนักเรียน ปัจจุบันโรงเรียนมีข้อมูลเกี่ยวกับจานวนนักเรียน (ข้อมูล ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๕๓) ๑) จานวนนักเรียนในเขตพื้นที่บริการทั้งหมด ๓๔ คน ๒) จานวนนักเรียนแยกตามชั้นที่เปิดสอน ระดับชั้น เพศ รวม ชาย หญิง อนุบาล ๑ - - ๐ อนุบาล ๒ ๑ ๔ ๕ รวม ๑ ๔ ๕
  • 42. ป.๑ ๓ ๒ ๕ ป.๒ ๑ ๐ ๑ ป.๓ ๘ ๒ ๑๐ ป.๔ ๒ ๓ ๕ ป๕ ๑ ๑ ๒ ป.๖ ๒ ๔ ๖ รวม ๑๗ ๑๒ ๒๙ รวมทั้งหมด ๑๘ ๑๖ ๓๔ ๓) มีนักเรียนที่มีความบกพร่องเรียนร่วม - คน ๔) นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ ๑๐ คน ๕) มีนักเรียนปัญญาเลิศ - คน ๖) มีนักเรียนต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ ๕ คน ๗) จานวนนักเรียนต่อห้อง (เฉลี่ย) ๕ คน ๘) สัดส่วนครู : นักเรียน ๑ : ๗ คน ๙) จานวนนักเรียนที่ลาออกกลางคัน(ปีปัจจุบัน) - คน ๑๐) สถิติการขาดเรียน / เดือน ๑ วัน ๔. ข้อมูลบุคลากร รายชื่อคณะครู / กรรมการสถานศึกษา ครูและบุคลากร ที่ ชื่อ - สกุล ตาแหน่ง อันดับ ตาแหน่ง วุฒิ วิชาเอก วิทยฐานะ เลขที่ ๑ นายฉลาด อาจสนาม ผู้อานวยการ(ชานาญ คศ.๓ ๕๑๓๒ กศ.ม. การบริหาร การพิเศษ) การศึกษา ๒ นางภาวิณี สาระคา ครู (ชานาญการ) คศ.๒ ๕๑๓๓ ค.บ. ประถมศึกษา ๓ นางสาวอัจฉรา มาซา ครู คศ.๑ ๕๑๓๕ ค.บ. ประถมศึกษา ๔ นายนาวิน เขียนภูเขียว นักการภารโรง - - ม.๖ -
  • 43. กรรมการสถานศึกษา ที่ ชื่อ - สกุล ผู้ทรงคุณวุฒิ / ผู้แทน หมายเหตุ ๑ ด.ต.บุญธรรม ทัศวงษ์ ผู้ทรงคุณวุฒิ ประธานฯ ๒ นางประโยน ฦาชา ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ ๓ นางประครอง ศรีชัย ผู้แทนผู้ปกครอง กรรมการ ๔ นางภาวิณี สาระคา ผู้แทนครู กรรมการ ๕ นางหนูลอง แสงกุดเลาะ ผู้แทนองค์กรชุมชน กรรมการ ๖ นางอัญมณี บุราณ ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรรมการ ๗ นางละอองดาว คชลัย ผู้แทนศิษย์เก่า กรรมการ ๘ พระเฉลา มหานะโม ผู้แทนพระภิกษุสงฆ์หรือผู้แทนองค์กรศาสนา กรรมการ ๙ นายฉลาด อาจสนาม ผู้บริหารโรงเรียน เลขานุการ ๕. ข้อมูลด้านอาคารเรียน ๕.๑ อาคารเรียนและอาคารประกอบ ที่ รายการ จานวน (หลัง) อาคารเรียน/อาคารประกอบ ๑. ป.๑ ฉ . ใต้ถุนสูง ๑ ๒. อาคารอเนกประสงค์ (สร้างเอง) ๑ ๓. ส้วม สปช. ๖๐๑/๒๖ จานวน ๒ ที่ ๑ ๔. ถังน้าฝน ฝ.๓๓ (๓ ถัง) ๑ ๕.๒ จานวนห้องทั้งหมด ๖ ห้อง แบ่งเป็น อนุบาล ๑ – ๒ = ไม่มีห้องเรียน ป.๑ - ป.๖ = ๑:๑:๑:๑ ห้องพักครู = ๑ ห้องเก็บของ = ๑