SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 33
Baixar para ler offline
37
บทที่ 3
เรื่อง องค์ประกอบที่เป็นพื้นฐานในการสร้างสรรค์งานศิลปะ จุด เส้น รูปร่างรูปทรง
ในการศึกษาศิลปะให้เข้าใจและสามารถนาไปใช้ได้ดีนั้นจาเป็นต้องศึกษาถึงองค์ประกอบที่เป็นพื้นฐาน
ในการสร้างงานศิลปะเสียก่อน จึงจะสามารถแยกประเภทขององค์ประกอบได้อย่างถูกต้อง ความรู้เหล่านี้เป็น
ความรู้พื้นฐานในการศึกษาถึงหลักการจัดองค์ประกอบศิลปะ และการนาไปประยุกต์ในงานขั้นต่อไป
องค์ประกอบที่เป็นพื้นฐานในการสร้างงานศิลปะประกอบด้วย
จุด สี
เส้น น้าหนัก
รูปร่าง รูปทรง มวล แสงเงา
ลักษณะผิว ที่ว่าง
ส่วนสัด
3.1 จุด
จุด (point) เป็นสิ่งที่ปรากฏบนพื้นระนาบที่มีขนาดเล็กที่สุด ไม่มีความกว้าง ความยาว ความสูง
ความหนา หรือความลึก (แต่บางครั้งการจุดด้วยอุปกรณ์ที่มีขนาดของหัวสัมผัสใหญ่ เช่น สีเมจิ พู่กัน ฯลฯ ก็
ทาให้จุดมีขนาดใหญ่ และเกิดความกว้างความยาวขึ้นได้
เราสามารถพบเห็นจุดได้โดยทั่วไปในธรรมชาติ เช่น ดวงดาวบนท้องฟ้า บนส่วนต่างๆของผิวพืช
และสัตว์ บนก้อนหิน พื้นดิน ฯลฯ
จุดจัดเป็นองค์ประกอบที่เป็นพื้นฐานขององค์ประกอบอื่น เช่น จุดทาให้เกิดเส้น รูปร่าง รูปทรง ค่า
ความอ่อนแก่ แสงเงา เป็นต้น
38
รูปที่ 57 เสือดาว
รูปที่ 58 ผี้เสื้อ
 การใช้จุดในงานทัศนศิลป์และงานศิลปะประยุกต์
นอกจากจุดจะเป็นพื้นฐานขององค์ประกอบอื่นๆแล้ว จุดยังเป็นองค์ประกอบที่ช่วยให้งาน
สร้างสรรค์ต่างๆ มีความสมบูรณ์มากขึ้น การนาจุดมาจัดให้เกิดรูปแบบใหม่อาจทาได้หลายลักษณะ
ตัวอย่างเช่น
39
รูปที่ 59 การจัดจุดขนาดเดียวกันให้เรียงซ้้ากัน
รูปที่ 60 การจัดจุดขนาดต่างกันให้เรียงซ้้ากัน
รูปที่ 61 การจัดจุดให้เกิดจังหวะต่อเนื่อง
40
รูปที่ 62 การจัดจุดให้เกิดการสลับ
รูปที่ 63 การจัดจุดให้เกิดลวดลาย
รูปที่ 64 การจัดจุดให้เกิดรูปร่าง
41
ศิลปินจะใช้จุดในการเริ่มต้นสร้างสรรค์งาน หรืออาจใช้จุดอย่างเดียวในการสร้างสรรค์งาน หรือ
อาจใช้ร่วมกับองค์ประกอบอื่นๆในการสร้างสรรค์งานก็ได้ แล้วแต่ความคิดและจินตนาการของศิลปิน
จุดสามารถทาให้เกิดค่าความอ่อนแก่ได้ ถ้าจุดนั้นมีจานวนมากน้อยหรือมีความหนาแน่น
แตกต่างกัน นอกจากนี้ การสร้างจุดให้เกิดค่าน้าหนักน้าหนักที่ไม่เท่ากันยังสามารถทาให้เกิด
ความรู้สึกตื้นลึกหรือมีมิติได้
รูปที่ 65 “dog” point art by Alyssa
รูปที่ 66 “ดอกบัว” วราภรณ์ ภูมลี, สีอะคลิลิค
42
สาหรับงานศิลปะประยุกต์ ในการเริ่มสร้างงาน เช่น การออกแบบเขียนแบบแสดงทัศนียภาพ
ต้องมีการกาหนดจุดลับสายตาก่อนว่าจะใช้จุดลับสายตาแบบ 1 จุด 2 จุด 3จุด เป็นต้น
ในการออกแบบตกแต่งภายนอก นักออกแบบอาจใช้จุดแทนส่วนที่เป็นกรวด หญ้า หรือ
ส่วนประกอบของพุ่มไม้ที่มีใบละเอียด เป็นต้น
3.2 เส้น
เส้น (line) หมายถึงรอยขีดเขียนด้วยวัสดุอุปกรณ์ต่างๆที่สร้างให้ปรากฏบนพื้นระนาบ หรือการนาจุด
มาเรียงต่อกันเป็นจานวนมากโดยมีความยาว และทิศทาง และยังหมายถึงส่วนขอบรอบนอกของวัตถุ ขอบ
รอบนอกของสิ่งของ และเป็นแกนของรูปร่างรูปทรง
เส้นขั้นต้นมี 2แบบคือ เส้นตรง และเส้นโค้ง แต่จะพัฒนาออกไปต่างๆกัน เช่นเส้นฟันปลาเกิดจาก
เส้นตรงมาประกอบกัน หรือเส้นคลื่นเกิดจากเส้นโค้งมาประกอบกัน
ในทางเรขาคณิต เส้นถูกตกลงว่าไม่มีความกว้างแต่มีความยาว เส้นอาจเกิดจาการเชื่อมกันของจุด
สองจุดที่ห่างกันในระยะหนึ่งก็ได้ หรือในงานภาพเคลื่อนไหว เส้นอาจเกิดจากการเคลื่อนไหวของจุดก็ได้
 ความรู้สึกที่มีต่อเส้น
เส้นเป็นองค์ประกอบพื้นฐานที่สาคัญในการสร้างสรรค์ เส้นสามารถแสดงให้เกิดความหมาย
ของภาพและให้ความรู้สึกได้ตามลักษณะของเส้น เส้นที่เป็นพื้นฐาน ได้แก่ เส้นตรง และเส้นโค้ง
จากเส้นตรงและเส้นโค้งสามารถนามาสร้างให้เกิดเป็นเส้นใหม่ที่ให้ความรู้สึกที่แตกต่างกัน
ออกไปได้ดังนี้
เส้นตรงแนวตั้ง
ให้รู้สึก แข็งแรง สูงเด่น สง่างาม น่าเกรงขาม
43
รูปที่ 67 เส้นตรงแนวตั้ง
เส้นตรงแนวนอน
ให้ความรู้สึก สงบ ราบเรียบ กว้างขวาง การพักผ่อน
รูปที่ 68 เส้นตรงแนวนอน
เส้นตรงแนวเฉียง
ให้ความรู้สึก ไม่ปลอดภัย การล้ม ไม่หยุดนิ่ง
รูปที่ 69 เส้นตรงแนวเฉียง
44
เส้นตัดกัน
ให้ความรู้สึก ประสานกัน แข็งแกร่ง
รูปที่ 70 เส้นตัดกัน
เส้นโค้ง
ให้ความรู้สึก อ่อนโยน นุ่มนวล
รูปที่ 71 เส้นโค้ง
เส้นคลื่น
ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหว ไหลเลื่อน ร่าเริง ต่อเนื่อง
45
รูปที่ 72 เส้นคลื่น
เส้นปะ
ให้ความรู้สึก ขาดหาย ลึกลับ ไม่สมบูรณ์ แสดงส่วนที่มองไม่เห็น
รูปที่ 73 เส้นปะ
เส้นโค้งกระจายออกจากศูนย์กลาง
ให้ความรู้สึกถึงการเจริญงอกงาม
รูปที่ 74 เส้นโค้งกระจายออกศูนย์กลาง
เส้นโค้งเป็นจังหวะซ้อนสลับกัน
ให้ความรู้สึกเพิ่มพูน ทับถม อุดมสมบูรณ์
46
รูปที่ 75 เส้นโค้งกระจายออกศูนย์กลาง
เส้นขด
ให้ความรู้สึก หมุนเวียน มึนงง
รูปที่ 76 เส้นขด
เส้นโค้งทางเดียวกันหลายเส้น
ให้ความรู้สึก พลิ้วไหว อ่อนลู่ไปตามทิศทาง
รูปที่ 77 เส้นโค้งทางเดียวกันหลายเส้น
47
เส้นตรงหรือเส้นโค้งหลายทิศทาง
ให้ความรู้สึก สับสน ยุ่งเหยิง ไร้จุดหมาย
รูปที่ 78 เส้นตรงหรือเส้นโค้งหลายทิศทาง
เส้นหยัก
ให้ความรู้สึก ขัดแย้ง น่ากลัว ตื่นเต้น แปลกตา
รูปที่ 79 เส้นหยัก
ศิลปินสร้างสรรค์ผลงานด้วยการใช้เส้นแบบต่างๆตัดกันไปมาอย่างลงตัว มีความสวยงามตาม
ความคิด และจินตนาการของตนเองซึ่งการจะให้ภาพมีความขัดแย้งกัน หรือกลมกลืนกันนั้นขึ้นอยู่กับการ
เลือกใช้เส้นแบบต่างๆ
48
รูปที่ 80 “ดินแดนแห่งความหวัง” สมเกียรติ สุริยะวงศ์,สีน้้ามัน
รูปที่ 81 “ไม่มีชื่อ” ปฐวี มณีวงศ์ ,วาดเส้นผสม
49
รูปที่ 82 งานกราฟิกของนางสาวสุธาสินี ไชยโชติวัฒน์
 รูปแบบของเส้น
หากพิจารณารูปแบบของเส้นที่ปรากฏอยู่ในสิ่งต่างๆรอบตัวหรือผลงานสร้างสรรค์ต่างๆ เส้น
สามารถแบ่งได้เป็น 4 แบบคือ
1. เส้นที่เกิดขึ้นจริง (actual line) คือเส้นที่ถูกสร้างขึ้นด้วยการขีดเขียนบนพื้นระนาบ
50
รูปที่ 83 “ฉันสวยหมายเลข1” สุจิน เพียรกิจ, เทคนิคผสม
รูปที่ 84 “ไม่มีชื่อ” อิสรากร ตันตระกูล, เทคนิคผสม
2. เส้นเชิงนัย (implied line) คือเส้นที่เกิดจากการลากเส้นโยงในความคิด ความรู้สึก
และจินตนาการ
51
รูปที่ 85 “ภาพสะท้อน7” อ้าพร จิตนาริน, ภาพพิมพ์ตะแกรงไหม
รูปที่ 86 “ท่วงท้านอง จังหวะและอารมณ์” อัศวิน ด่านพินิจ, แม่พิมพ์ชิ้นเดียว แม่พิมพ์วัสดุ
52
รูปที่ 87 “ราตรีประดับดาว” ฟินเซนต์ ฟานก็อก, สีน้้ามัน
ภาพ ราตรีประดับดาว ศิลปินใช้เส้นแสดงการหมุนของกลุ่มดาวในท้องฟ้า เส้นลาย
ของผลงานแสดงถึงความเด็ดขาดของรอยพู่กันและความสามารถของศิลปิน สาหรับในงานภาพพิมพ์
3. เส้นที่เกิดจากขอบ (line formed by edges) คือเส้นที่เป็นส่วนขอบรอบนอกของ
วัตถุหรือที่ว่าง
53
รูปที่ 88 “ศรัทธาหมายเลข8 และหมายเลข9” วินิต อรุณสกุลชัย, เทคนิคผสม
รูปที่ 89 “แฮปปี้แลนด์3 ” ปิยฉัตร อุดมศรี, ขี้เลื่อย เชือกปอ
รูปที่ 90 “สนุกสนาน9 ” ปิยฉัตร อุดมศรี, ขี้เลื่อยคลุกสี
54
ในทุกรูปทรงรอบตัวเรารวมทั้งผลงานศิลปะ ไม่ว่าจะเป็นผลงานที่มีลักษณะ 3 มิติ เช่น
ประติมากรรม สถาปัตยกรรม สื่อผสม หรือ งานที่มีลักษณะ 2มิติ เช่น จิตรกรรม ภาพพิมพ์ หรือ
ผลงานการออกแบบต่างๆนั้น ย่อมมีเส้นแสดงขอบเขตของรูปทรงและที่ว่างเสมอ
4. เส้นสมมติ (psychic line) คือเส้นที่เกิดจากความรู้สึกหรือจินตนาการเมื่อได้เห็น
ภาพแล้วเกิดความคิดเชื่อมโยงเป็นเส้นสมมติแต่ความจริงไม่มีเส้น
รูปที่ 91 “แม่พระ(Madonna with the Long Neck) ” อิล ปาร์มีจานีโม, สีน้้ามัน
 ประโยชน์ของเส้น
1. กาหนดส่วนขอบรอบนอกของรูปร่างทาให้เกิดพื้นที่
2. กาหนดส่วนขอบของรูปทรงทาให้เกิดปริมาตร
3. ทาให้เกิดขอบเขตของที่ว่าง
4. ทาให้เกิดอารมณ์และความรู้สึก
5. แบ่งที่ว่างของภาพออกเป็นส่วนๆ
6. เส้นประแสดงส่วนที่มองไม่เห็นให้ปรากฏ
7. ทาให้เกิดจุดลับสายตา หรือทัศนียภาพ
 เส้นกับงานทัศนศิลป์
55
ศิลปินนาเส้นมาใช้ในการสร้างงานทัศนศิลป์ประเภทต่างๆ ดังนี้
 เส้นกับงานจิตรกรรมและงานภาพพิมพ์
1. การเน้นเส้น มนุษย์ได้มีการเขียนภาพโดยการเน้นเส้นมาตั้งแต่สมัยก่อน
ประวัติศาสตร์แล้ว ดังปรากฏให้เห็นตามก้อนหินหรือผนังถ้าหลายแห่ง
เส้นเป็นสิ่งกาหนดรูปร่างของสิ่งต่างๆในภาพ เมื่อเด็กหัดเขียนภาพก็ต้อง
เริ่มต้นจากการลากเส้น ศิลปินส่วนใหญ่เมื่อเริ่มจะเขียนภาพก็ต้องร่างภาพให้เกิดรูปร่าง
ภายนอก (outline) เสียก่อน การใช้เส้นลักษณะนี้เป็นพื้นฐานเบื้องต้นในการใช้เส้น โดยผู้
วาดจะถ่ายทอดธรรมชาติหรือ ความคิดออกมาเป็นรูปร่างรูปทรงลักษณะ 2มิติ 3มิติ (มิติ
ตามความรู้สึก) ลงไปบนพื้นระนาบ ด้วยการผสมผสานองค์ประกอบอื่นๆ เข้าไปในผลงาน
อย่างเหมาะสมกลมกลืน การเขียนแบบเน้นเส้นจะทาให้เห็นขอบเขตรูปร่างของภาพอย่าง
ชัดเจน
รูปที่ 92 “หมู่บ้านสีเขียว ” เด็กหญิงชนกวนันท์ เทียงดาห์, สีน้้า
56
รูปที่ 93 “ฉันรักป่า ” เด็กหญิงกรกนก บุญวิรัตน์, สีโปสเตอร์
รูปที่ 94 “ผู้ให้ชีวิต ” สุรศักดิ์ สอนเสนา, แม่พิมพ์ไม้
สาหรับจิตรกรรมไทย ศิลปินจะใช้เส้นโค้งในการสร้างสรรค์ให้เกิดความงาม
ตามอุดมคติอันเป็นเอกลักษณ์ที่สาคัญอย่างหนึ่ง จิตรกรไทยจะใช้เส้นอย่างชานาญ มีการ
ใช้เส้นหนาบางสลับกันทาให้เกิดอารมณ์ความรู้สึกต่างๆ ความพลิ้วไหวของต้นไม้ ใบไม้
หรือเครื่องนุ่งห่มของมนุษย์ และเทวดาในงานจิตรกรรมไทยเมื่อดูแล้วเกิดความงดงาม
ประทับใจ
2. การไม่เน้นเส้น ศิลปินบางคนไม่ได้แสดงออกทางรูปร่าง รูปทรงอย่าง
เด่นชัดโดยการใช้เส้นแบบตั้งใจ แต่ได้ใช้ค่าความอ่อนแก่ของน้าหนักสี ดินสอ หรือแสง
เงา แสดงให้เห็นถึงขอบของรูปร่างรูปทรงได้อย่างชัดเจน บางครั้งอาจทาให้น้าหนักของ
รูปทรงกลมกลืนไปกับพื้นหลัง โดยให้ผู้ชมคาดเดารูปทรงนั้นเอง
ศิลปินอาจใช้ความแตกต่างของน้าหนัก ความเข้มของสีหรือวัสดุเขียนภาพอื่นๆ
เช่น ดินสอ หมึก ผงถ่าน ฯลฯ ทาให้เกิดเส้นและสัดส่วนต่างๆ ของรูปทรงในภาพโดยไม่
เน้นเส้นชัดเจน แต่จะเน้นเส้นเฉพาะบางส่วนเท่าที่จาเป็นเท่านั้น
57
รูปที่ 95 “ก้าเนิดวีนัส(The Birth of Venus) ” ซันโดร บอตตีเชลลี, สีฝุ่น
รูปที่ 96 “โรคคนอ้วน ” พัลลภา พันธุ์เพชร, สีอะคลิลิค
3. เส้นสร้างแสงเงา การให้น้าหนักแสงเงาอาจทาได้หลายวิธี เช่น การใช้เส้น
ขัดซ้อนทับ การฝนเกลี่ยน้าหนัก การระบายสี หรือหลายวิธีร่วมกัน
สาหรับการไล่น้าหนักอ่อนแก่ด้วยเส้นนั้น อาจใช้ได้ทั้งเส้นตรงและเส้นโค้ง ขึ้นอยู่
กับลักษณะของรูปทรง เช่น รูปทรงเหลี่ยมเป็นสันอาจใช้ได้ทั้งเส้นตรง และเส้นโค้ง ถ้า
รูปทรงโค้ง กลมหรือนูนไม่มีเหลี่ยม ควรใช้เส้นโค้งเพราะจะทาให้เกิดความกลมกลืน
การใช้เส้นสร้างแสงเงานั้นยังสามารถทาได้ในประเภทภาพพิมพ์ โดยศิลปินจะ
สร้างสรรค์แม่พิมพ์โดยคานึงถึงน้าหนักแสงเงาไว้ก่อนแล้ว เมื่อนาไปพิมพ์ผลงานภาพพิมพ์
58
จึงมีลักษณะของแสงเงาที่เกิดจากค่าความอ่อนแก่และการตัดกันของเส้นคล้ายกับงานวาด
ภาพลายเส้น
รูปที่ 97 “The End ” ปฏิทิน ญาณอัมพร, แม่พิมพ์ล่องลึก
รูปที่ 98 “สภาวะจิตใต้ส้านึกของข้าพเจ้า7 ” มานัส แก้วโยธา, เทคนิคผสม
 เส้นกับงานประติมากรรม
1. การเน้นเส้น งานออกแบบทัศนศิลป์เป็นงานที่ต้องแสดงออกให้ผู้ชมได้เกิดความ
เข้าใจในรูปร่าง รูปทรง ตลอดจนเนื้อหาและเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม ตามความมุ่งหมาย
ของศิลปินหรือจินตนาการของนักออกแบบสร้างสรรค์
59
ศิลปินบางคนสร้างงานประติมากรรมด้วยเส้นโลหะเชื่อมต่อกันเป็นรูปทรง บางคน
ใช้เส้นลวดผูกมัดเชื่อมต่อแล้วชุบปูนปลาสเตอร์ ฯลฯ เพื่อให้เกิดเป็นรูปทรงตามที่ต้องการ
รูปที่ 99 “ภายใต้ห้วงเวลาของความรู้สึกที่เคลื่อนไหว ” ณัฐพล ม่วงเกลี้ยง, เชื่อมโลหะ
รูปที่ 100 “Instinct ” อรรถพล เศรษฐ์กุลบุตร, หล่อส้าริด
2. การไม่เน้นเส้น ศิลปินบางคนมิได้นาการใช้เส้นมาใช้ให้ปรากฏโดยตรง แต่นา
คุณสมบัติด้านน้าหนักอ่อนแก่ แสงเงา ลักษณะผิว หรืออื่นๆมาสร้างให้ปรากฏเด่นกว่าการ
60
นาเสนอโดยใช้เส้น แต่ถึงอย่างไรเส้นที่เกิดจากขอบก็ยังคงเป็นตัวกาหนดรูปทรง และ
เรื่องราวของประติมากรรมให้เกิดการรับรู้และเข้าใจได้ตามความปรารถนาของศิลปิน
รูปที่ 101 “โลกแห่งความสุข” อิสราพร อนุพันธ์, ไฟเบอร์กลาส เชื่อมโลหะ ติดกระดุมสี
รูปที่ 102 “The Shepherd of Clouds ” ฮันส์ อาร์ป, ปูนปลาสเตอร์
61
 เส้นกับงานศิลปะประยุกต์
นักออกแบบนาเส้นมาใช้ในการออกแบบตกแต่งดังนี้
 การออกแบบตกแต่งภายใน
เส้นเป็นองค์ประกอบพื้นฐานที่สาคัญในการออกแบบ เส้นสามารถนาไปใช้
ประโยชน์เกี่ยวกับงานออกแบบเขียนแบบได้มาก เช่น
1. เส้นทาให้เกิดรูปร่างรูปทรงของเครื่องเรือนและส่วนประกอบอื่นๆ
2. เส้นทาหน้าที่แบ่งขอบเขตของที่ว่าง
3. เส้นประแสดงส่วนที่มองไม่เห็นให้ปรากฏ
4. เส้นช่วยให้เกิดทัศนียภาพ
5. เส้นช่วยในการเขียนและการอ่านแบบแปลน
6. เส้นทาหน้าที่บอกขนาด ส่วนสัดของรูปทรงเครื่องเรือนและที่ว่างในการเขียน
แบบ
 การออกแบบตกแต่งภายนอก
เส้นมีความสาคัญต่องานออกแบบตกแต่งภายนอกอย่างมาก เนื่องจากผู้ออกแบบ
ต้องใช้เส้นในการกาหนดรูปร่างลักษณะโดยรวมของงานเพื่อให้เกิดลักษณะเด่นเป็น
เอกลักษณ์ของอาคารสถานที่ ซึ่งเป็นสิ่งที่นักออกแบบทุกคนต้องการ นอกจากนี้ ยังต้องใช้
เส้นในการกาหนดรายละเอียดต่างๆขององค์ประกอบในงาน เช่น รูปร่าง ส่วนสัด ขนาด
ฯลฯ เพื่อให้การตกแต่งสามารถทาได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว จนเกิดความสวยงามและความ
พึงพอใจแก่ผู้พบเห็นอีกด้วย
การใช้ประโยชน์ของเส้นในการออกแบบตกแต่งภายนอกอาศัยอิทธิพลจากลักษณะ
ของเส้นที่ทาให้เกิดความรู้สึกต่างๆ ดังตัวอย่างเช่น
1. เส้นตรงแนวนอน ทาให้เกิดความรู้สึกกว้างขวาง มั่นคง สงบ ราบเรียบ
2. เส้นตรงแนวตั้ง ทาให้เกิดความรู้สึกแข็งแรง สูงเด่น สง่างาม
3. เส้นโค้ง ทาให้เกิดความรู้สึกเคลื่อนไหว อ่อนโยน นุ่มนวล
3.3 รูปร่าง รูปทรง มวล
รูปร่าง(shape) หมายถึง
62
1. การนาเส้นมาประกอบกันให้เกิดความกว้างและความยาว ไม่มีความหนาหรือความลึก มีลักษณะ
2มิติ
2. รูปแบบที่เป็น 2 มิติ แสดงพื้นที่ผิวเป็นระนาบแบนไม่แสดงความเป็นปริมาตร
รูปที่ 103 shape
รูปทรง (form) หมายถึง
1. การนาเส้นมาประกอบกันให้เกิดความกว้าง ความยาว และความหนาหรือความลึก มีลักษณะ
3มิติ
2. สิ่งที่มีลักษณะแน่นทึบแบบ 3มิติ เช่น งานประติมากรรม สถาปัตยกรรม หรือลักษณะที่
มองเห็นเป็น 3 มิติ ในงานจิตรกรรม
63
รูปที่ 104 form
มวล (mass) หมายถึง
1. การรวมกลุ่มของรูปร่าง รูปทรงที่มีความกลมกลืน
2. วัตถุที่มีความหนา มีน้าหนัก
รูปที่ 105 “รูปทรงจากโคลนตม” พิสิษฐ์ หัตถกรวิจิตร, เชื่อมโลหะ
64
รูปที่ 106 งานออกแบบกราฟิกของนางสาวสุธาสินี ไชยโชติวัฒน์
 ประเภทของรูปทรง
รูปทรงแบ่งออกเป็น 3ประเภท ดังนี้
1. รูปทรงเรขาคณิต
รูปที่ 107 รูปทรงเรขาคณิต
รูปทรงเรขาคณิต (geometric form) หมายถึงรูปทรงที่เกิดจากการประกอบกันของรูป
เรขาคณิต ซึ่งได้แก่ วงกลม วงรี สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม ห้าเหลี่ยม ฯลฯ ทาให้เกิดความหนาเป็น
รูปทรงลักษณะต่างๆ เช่น
รูปทรงปริซึม เกิดจาการซ้อนทับกันของรูปสามเหลี่ยมขนาดเท่ากัน
65
รูปทรงพีระมิด เกิดจากการซ้อนทับกันของรูปสามเหลี่ยม หรือรูปสี่เหลี่ยมที่มีขนาดเล็กลง
เรื่อยๆจนเป็นศูนย์ที่ยอดพีระมิด
รูปทรงลูกบาศก์ เกิดจากการซ้อนทับกันของรูปสี่เหลี่ยม จัตุรัสจนมีความหนาเท่ากับความ
ยาวของรูปสี่เหลี่ยมนั้น
รูปทรงกระบอก เกิดจากการซ้อนทับกันของรูปวงกลมที่มีขนาดเท่ากัน
รูปทรงกรวย เกิดจากการซ้อนทับกันของรูปวงกลมที่มีขนาดพื้นที่เล็กลงเรื่อยๆ จนเป็นศูนย์
ที่ยอดกรวย
รูปที่ 108 “มนุษย์ที่เรียกว่าสิ่งมีชีวิต” พจชรัตน์ อุตถะมัง, เทคนิคผสม
รูปที่ 109 “สุนทรีย์…สี่เหลี่ยม” เอกชัย นิลพัฒน์, ไม้ประกอบ
66
รูปทรงเรขาคณิตเป็นรูปทรงที่ศิลปินหรือนักออกแบบนิยมใช้มากกว่ารูปทรงประเภทอื่น
เนื่องจากเป็นรูปทรงที่มีความสวยงาม มีขอบเขตชัดเจน สามารถคานวณหาพื้นที่ผิว ปริมาตร และ
น้าหนักได้ง่าย อีกทั้งยังสามารถเขียนแบบ ย่อแบบ ขยายแบบ ดัดแปลง หรือทาซ้าได้ง่ายอีกด้วย
ทาให้สะดวกต่อการนาแบบมาใช้สร้างสรรค์งาน
2. รูปทรงอินทรียรูป
รูปที่ 110 รูปทรงอินทรีย์รูป
รูปทรงอินทรียรูป (organic form) หมายถึงรูปทรงของสิ่งมีชีวิตที่มีอยู่ในธรรมชาติ จาก
ผลงานศิลปะในอดีตของโลกจะเห็นว่าศิลปินได้เกิดความประทับใจในรูปทรงอินทรียรูป และได้นา
ความประทับใจนั้นมาสร้างสรรค์ผลงานทุกประเภท ทั้งกราฟิก จิตรกรรม ประติมากรรม และงาน
ออกแบบสร้างสรรค์ต่างๆ ด้วยเหตุผลตามความคิดของศิลปินที่ว่า ธรรมชาติคือครูที่ดีที่สุดของนัก
ออกแบบสร้างสรรค์
รูปที่ 111 “สามชีวิต” ภุชงค์ บุญเอก,เชื่อมโลหะ
67
รูปที่ 112 “ลางสังหรณ์” ชัชวาล อ่้าสมคิด ,หล่อเรซิ่นใส-ไฟฟ้า
3. รูปทรงอิสระ
รูปที่ 113 รูปทรงอิสระ
นอกจากรูปเรขาคณิตและรูปทรงอินทรีย์รูปแล้ว ศิลปินบางกลุ่มยังมีความประทับใจใน
รูปทรงอิสระ (free form) จนเกิดแรงดลใจให้สร้างงานทัศนศิลป์ประเภทต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นกราฟิก
จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ สื่อผสม หรือแม้แต่งานสถาปัตยกรรมซึ่งเป็นงานทัศนศิลป์ที่มี
ขนาดใหญ่ที่สุดอีกด้วย
68
รูปที่ 114 “ภาพสะท้อนจากมลภาวะในจินตนาการ หมายเลข2” สันติสุข แหล่งสนาม ,โลหะ
รูปที่ 115 “เสี่ยง” บุญเกิด ศรีสุขา ,ประกอบเหล็ก
 ความรู้สึกที่มีต่อรูปร่าง และรูปทรง
ศิลปินและนักออกแบบใช้ความรู้สึกที่มีต่อรูปร่าง และรูปทรงมาออกแบบสร้างสรรค์งาน
ทัศนศิลป์ทุกประเภทเพื่อให้ได้ผลงานตามความมุ่งหมาย โดยใช้ประโยชน์ได้มากหรือน้อยแล้วแต่
69
ลักษณะของงานแต่ผลงานทุกชิ้นย่อมทาให้ผู้พบเห็นเกิดอารมณ์และความรู้สึกได้หลากหลายแตกต่าง
กันไป เช่น
รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าแนวนอน ให้ความรู้สึกกว้างขวาง
รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าแนวตั้ง ให้ความรู้สึกสูงเด่น สง่างาม
รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ให้ความรู้สึกสมดุล แข็งแรง ไม่เอนเอียง
รูปสี่เหลี่ยมคางหมู ให้ความรู้สึกหนักแน่น มั่นคง ปลอดภัย
รูปสามเหลี่ยม ให้ความรู้สึกสูงเด่น สง่างาม รุนแรง
รูปทรงกลม ให้ความรู้สึกกลมกลืน ไม่มั่นคง
รูปทรงอิสระ ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหว ไม่แน่นอน

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นAkkradet Keawyoo
 
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้มmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4peter dontoom
 
ภาพพิมพ์ Printmaking
ภาพพิมพ์ Printmakingภาพพิมพ์ Printmaking
ภาพพิมพ์ Printmakingpeter dontoom
 
ความรู้ทั่วไปในงานออกแบบ
ความรู้ทั่วไปในงานออกแบบความรู้ทั่วไปในงานออกแบบ
ความรู้ทั่วไปในงานออกแบบKeerati Santisak
 
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็วโครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็วAdithun Sukprasert
 
ใบงานที่ 2.2 เรื่อง การคัดเลือกหัวข้อโครงงาน
ใบงานที่ 2.2 เรื่อง การคัดเลือกหัวข้อโครงงานใบงานที่ 2.2 เรื่อง การคัดเลือกหัวข้อโครงงาน
ใบงานที่ 2.2 เรื่อง การคัดเลือกหัวข้อโครงงานThanawut Rattanadon
 
แบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรส
แบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรสแบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรส
แบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรสสำเร็จ นางสีคุณ
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้น
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้นบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้น
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้นLtid_2017
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
วิธีสร้างแผนที่ใน Google Map
วิธีสร้างแผนที่ใน Google Mapวิธีสร้างแผนที่ใน Google Map
วิธีสร้างแผนที่ใน Google MapSakarin Habusaya
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดPear Pimnipa
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีKawinTheSinestron
 
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์พัน พัน
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6Thanawut Rattanadon
 

Mais procurados (20)

โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
 
ภาพพิมพ์ Printmaking
ภาพพิมพ์ Printmakingภาพพิมพ์ Printmaking
ภาพพิมพ์ Printmaking
 
ความรู้ทั่วไปในงานออกแบบ
ความรู้ทั่วไปในงานออกแบบความรู้ทั่วไปในงานออกแบบ
ความรู้ทั่วไปในงานออกแบบ
 
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็วโครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
ใบงานที่ 2.2 เรื่อง การคัดเลือกหัวข้อโครงงาน
ใบงานที่ 2.2 เรื่อง การคัดเลือกหัวข้อโครงงานใบงานที่ 2.2 เรื่อง การคัดเลือกหัวข้อโครงงาน
ใบงานที่ 2.2 เรื่อง การคัดเลือกหัวข้อโครงงาน
 
แบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรส
แบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรสแบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรส
แบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรส
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้น
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้นบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้น
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้น
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบสอบถาม
แบบสอบถาม
 
วิธีสร้างแผนที่ใน Google Map
วิธีสร้างแผนที่ใน Google Mapวิธีสร้างแผนที่ใน Google Map
วิธีสร้างแผนที่ใน Google Map
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
 
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
 

Semelhante a เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_3

ศิลปการวาดเส้น
ศิลปการวาดเส้นศิลปการวาดเส้น
ศิลปการวาดเส้นchanaparo
 
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบpptความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบpptPreeda Chanlutin
 
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
สื่อที่ใช้  ชุดการสอนสื่อที่ใช้  ชุดการสอน
สื่อที่ใช้ ชุดการสอนLampang Rajabhat University
 
หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์
หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์
หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์Preeda Chanlutin
 
ข้อสอบ O-net - ศิลปะ
ข้อสอบ O-net - ศิลปะข้อสอบ O-net - ศิลปะ
ข้อสอบ O-net - ศิลปะbowing3925
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะSuriyawaranya Asatthasonthi
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 05. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0Nattarika Wonkumdang
 

Semelhante a เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_3 (7)

ศิลปการวาดเส้น
ศิลปการวาดเส้นศิลปการวาดเส้น
ศิลปการวาดเส้น
 
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบpptความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
 
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
สื่อที่ใช้  ชุดการสอนสื่อที่ใช้  ชุดการสอน
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
 
หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์
หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์
หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์
 
ข้อสอบ O-net - ศิลปะ
ข้อสอบ O-net - ศิลปะข้อสอบ O-net - ศิลปะ
ข้อสอบ O-net - ศิลปะ
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 05. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
 

Mais de mathawee wattana

คู่มือครู(กิจกรรม) การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1-3
คู่มือครู(กิจกรรม) การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1-3คู่มือครู(กิจกรรม) การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1-3
คู่มือครู(กิจกรรม) การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1-3mathawee wattana
 
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_2
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_2เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_2
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_2mathawee wattana
 
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1mathawee wattana
 
สื่ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์
สื่ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์สื่ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์
สื่ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์mathawee wattana
 
สรุปบทที่ 3 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
สรุปบทที่ 3 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์สรุปบทที่ 3 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
สรุปบทที่ 3 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์mathawee wattana
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  ๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่  ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓mathawee wattana
 
การสร้างบทเรียน Cai ด้วย Flash
การสร้างบทเรียน Cai ด้วย Flashการสร้างบทเรียน Cai ด้วย Flash
การสร้างบทเรียน Cai ด้วย Flashmathawee wattana
 

Mais de mathawee wattana (12)

1002557
10025571002557
1002557
 
2557
25572557
2557
 
คู่มือครู(กิจกรรม) การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1-3
คู่มือครู(กิจกรรม) การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1-3คู่มือครู(กิจกรรม) การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1-3
คู่มือครู(กิจกรรม) การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1-3
 
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_2
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_2เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_2
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_2
 
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1
 
สื่ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์
สื่ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์สื่ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์
สื่ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
สรุปบทที่ 3 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
สรุปบทที่ 3 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์สรุปบทที่ 3 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
สรุปบทที่ 3 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  ๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่  ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
 
Bioosm
BioosmBioosm
Bioosm
 
3
33
3
 
การสร้างบทเรียน Cai ด้วย Flash
การสร้างบทเรียน Cai ด้วย Flashการสร้างบทเรียน Cai ด้วย Flash
การสร้างบทเรียน Cai ด้วย Flash
 
mac
macmac
mac
 

เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_3

  • 1. 37 บทที่ 3 เรื่อง องค์ประกอบที่เป็นพื้นฐานในการสร้างสรรค์งานศิลปะ จุด เส้น รูปร่างรูปทรง ในการศึกษาศิลปะให้เข้าใจและสามารถนาไปใช้ได้ดีนั้นจาเป็นต้องศึกษาถึงองค์ประกอบที่เป็นพื้นฐาน ในการสร้างงานศิลปะเสียก่อน จึงจะสามารถแยกประเภทขององค์ประกอบได้อย่างถูกต้อง ความรู้เหล่านี้เป็น ความรู้พื้นฐานในการศึกษาถึงหลักการจัดองค์ประกอบศิลปะ และการนาไปประยุกต์ในงานขั้นต่อไป องค์ประกอบที่เป็นพื้นฐานในการสร้างงานศิลปะประกอบด้วย จุด สี เส้น น้าหนัก รูปร่าง รูปทรง มวล แสงเงา ลักษณะผิว ที่ว่าง ส่วนสัด 3.1 จุด จุด (point) เป็นสิ่งที่ปรากฏบนพื้นระนาบที่มีขนาดเล็กที่สุด ไม่มีความกว้าง ความยาว ความสูง ความหนา หรือความลึก (แต่บางครั้งการจุดด้วยอุปกรณ์ที่มีขนาดของหัวสัมผัสใหญ่ เช่น สีเมจิ พู่กัน ฯลฯ ก็ ทาให้จุดมีขนาดใหญ่ และเกิดความกว้างความยาวขึ้นได้ เราสามารถพบเห็นจุดได้โดยทั่วไปในธรรมชาติ เช่น ดวงดาวบนท้องฟ้า บนส่วนต่างๆของผิวพืช และสัตว์ บนก้อนหิน พื้นดิน ฯลฯ จุดจัดเป็นองค์ประกอบที่เป็นพื้นฐานขององค์ประกอบอื่น เช่น จุดทาให้เกิดเส้น รูปร่าง รูปทรง ค่า ความอ่อนแก่ แสงเงา เป็นต้น
  • 2. 38 รูปที่ 57 เสือดาว รูปที่ 58 ผี้เสื้อ  การใช้จุดในงานทัศนศิลป์และงานศิลปะประยุกต์ นอกจากจุดจะเป็นพื้นฐานขององค์ประกอบอื่นๆแล้ว จุดยังเป็นองค์ประกอบที่ช่วยให้งาน สร้างสรรค์ต่างๆ มีความสมบูรณ์มากขึ้น การนาจุดมาจัดให้เกิดรูปแบบใหม่อาจทาได้หลายลักษณะ ตัวอย่างเช่น
  • 3. 39 รูปที่ 59 การจัดจุดขนาดเดียวกันให้เรียงซ้้ากัน รูปที่ 60 การจัดจุดขนาดต่างกันให้เรียงซ้้ากัน รูปที่ 61 การจัดจุดให้เกิดจังหวะต่อเนื่อง
  • 4. 40 รูปที่ 62 การจัดจุดให้เกิดการสลับ รูปที่ 63 การจัดจุดให้เกิดลวดลาย รูปที่ 64 การจัดจุดให้เกิดรูปร่าง
  • 5. 41 ศิลปินจะใช้จุดในการเริ่มต้นสร้างสรรค์งาน หรืออาจใช้จุดอย่างเดียวในการสร้างสรรค์งาน หรือ อาจใช้ร่วมกับองค์ประกอบอื่นๆในการสร้างสรรค์งานก็ได้ แล้วแต่ความคิดและจินตนาการของศิลปิน จุดสามารถทาให้เกิดค่าความอ่อนแก่ได้ ถ้าจุดนั้นมีจานวนมากน้อยหรือมีความหนาแน่น แตกต่างกัน นอกจากนี้ การสร้างจุดให้เกิดค่าน้าหนักน้าหนักที่ไม่เท่ากันยังสามารถทาให้เกิด ความรู้สึกตื้นลึกหรือมีมิติได้ รูปที่ 65 “dog” point art by Alyssa รูปที่ 66 “ดอกบัว” วราภรณ์ ภูมลี, สีอะคลิลิค
  • 6. 42 สาหรับงานศิลปะประยุกต์ ในการเริ่มสร้างงาน เช่น การออกแบบเขียนแบบแสดงทัศนียภาพ ต้องมีการกาหนดจุดลับสายตาก่อนว่าจะใช้จุดลับสายตาแบบ 1 จุด 2 จุด 3จุด เป็นต้น ในการออกแบบตกแต่งภายนอก นักออกแบบอาจใช้จุดแทนส่วนที่เป็นกรวด หญ้า หรือ ส่วนประกอบของพุ่มไม้ที่มีใบละเอียด เป็นต้น 3.2 เส้น เส้น (line) หมายถึงรอยขีดเขียนด้วยวัสดุอุปกรณ์ต่างๆที่สร้างให้ปรากฏบนพื้นระนาบ หรือการนาจุด มาเรียงต่อกันเป็นจานวนมากโดยมีความยาว และทิศทาง และยังหมายถึงส่วนขอบรอบนอกของวัตถุ ขอบ รอบนอกของสิ่งของ และเป็นแกนของรูปร่างรูปทรง เส้นขั้นต้นมี 2แบบคือ เส้นตรง และเส้นโค้ง แต่จะพัฒนาออกไปต่างๆกัน เช่นเส้นฟันปลาเกิดจาก เส้นตรงมาประกอบกัน หรือเส้นคลื่นเกิดจากเส้นโค้งมาประกอบกัน ในทางเรขาคณิต เส้นถูกตกลงว่าไม่มีความกว้างแต่มีความยาว เส้นอาจเกิดจาการเชื่อมกันของจุด สองจุดที่ห่างกันในระยะหนึ่งก็ได้ หรือในงานภาพเคลื่อนไหว เส้นอาจเกิดจากการเคลื่อนไหวของจุดก็ได้  ความรู้สึกที่มีต่อเส้น เส้นเป็นองค์ประกอบพื้นฐานที่สาคัญในการสร้างสรรค์ เส้นสามารถแสดงให้เกิดความหมาย ของภาพและให้ความรู้สึกได้ตามลักษณะของเส้น เส้นที่เป็นพื้นฐาน ได้แก่ เส้นตรง และเส้นโค้ง จากเส้นตรงและเส้นโค้งสามารถนามาสร้างให้เกิดเป็นเส้นใหม่ที่ให้ความรู้สึกที่แตกต่างกัน ออกไปได้ดังนี้ เส้นตรงแนวตั้ง ให้รู้สึก แข็งแรง สูงเด่น สง่างาม น่าเกรงขาม
  • 7. 43 รูปที่ 67 เส้นตรงแนวตั้ง เส้นตรงแนวนอน ให้ความรู้สึก สงบ ราบเรียบ กว้างขวาง การพักผ่อน รูปที่ 68 เส้นตรงแนวนอน เส้นตรงแนวเฉียง ให้ความรู้สึก ไม่ปลอดภัย การล้ม ไม่หยุดนิ่ง รูปที่ 69 เส้นตรงแนวเฉียง
  • 8. 44 เส้นตัดกัน ให้ความรู้สึก ประสานกัน แข็งแกร่ง รูปที่ 70 เส้นตัดกัน เส้นโค้ง ให้ความรู้สึก อ่อนโยน นุ่มนวล รูปที่ 71 เส้นโค้ง เส้นคลื่น ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหว ไหลเลื่อน ร่าเริง ต่อเนื่อง
  • 9. 45 รูปที่ 72 เส้นคลื่น เส้นปะ ให้ความรู้สึก ขาดหาย ลึกลับ ไม่สมบูรณ์ แสดงส่วนที่มองไม่เห็น รูปที่ 73 เส้นปะ เส้นโค้งกระจายออกจากศูนย์กลาง ให้ความรู้สึกถึงการเจริญงอกงาม รูปที่ 74 เส้นโค้งกระจายออกศูนย์กลาง เส้นโค้งเป็นจังหวะซ้อนสลับกัน ให้ความรู้สึกเพิ่มพูน ทับถม อุดมสมบูรณ์
  • 10. 46 รูปที่ 75 เส้นโค้งกระจายออกศูนย์กลาง เส้นขด ให้ความรู้สึก หมุนเวียน มึนงง รูปที่ 76 เส้นขด เส้นโค้งทางเดียวกันหลายเส้น ให้ความรู้สึก พลิ้วไหว อ่อนลู่ไปตามทิศทาง รูปที่ 77 เส้นโค้งทางเดียวกันหลายเส้น
  • 11. 47 เส้นตรงหรือเส้นโค้งหลายทิศทาง ให้ความรู้สึก สับสน ยุ่งเหยิง ไร้จุดหมาย รูปที่ 78 เส้นตรงหรือเส้นโค้งหลายทิศทาง เส้นหยัก ให้ความรู้สึก ขัดแย้ง น่ากลัว ตื่นเต้น แปลกตา รูปที่ 79 เส้นหยัก ศิลปินสร้างสรรค์ผลงานด้วยการใช้เส้นแบบต่างๆตัดกันไปมาอย่างลงตัว มีความสวยงามตาม ความคิด และจินตนาการของตนเองซึ่งการจะให้ภาพมีความขัดแย้งกัน หรือกลมกลืนกันนั้นขึ้นอยู่กับการ เลือกใช้เส้นแบบต่างๆ
  • 12. 48 รูปที่ 80 “ดินแดนแห่งความหวัง” สมเกียรติ สุริยะวงศ์,สีน้้ามัน รูปที่ 81 “ไม่มีชื่อ” ปฐวี มณีวงศ์ ,วาดเส้นผสม
  • 13. 49 รูปที่ 82 งานกราฟิกของนางสาวสุธาสินี ไชยโชติวัฒน์  รูปแบบของเส้น หากพิจารณารูปแบบของเส้นที่ปรากฏอยู่ในสิ่งต่างๆรอบตัวหรือผลงานสร้างสรรค์ต่างๆ เส้น สามารถแบ่งได้เป็น 4 แบบคือ 1. เส้นที่เกิดขึ้นจริง (actual line) คือเส้นที่ถูกสร้างขึ้นด้วยการขีดเขียนบนพื้นระนาบ
  • 14. 50 รูปที่ 83 “ฉันสวยหมายเลข1” สุจิน เพียรกิจ, เทคนิคผสม รูปที่ 84 “ไม่มีชื่อ” อิสรากร ตันตระกูล, เทคนิคผสม 2. เส้นเชิงนัย (implied line) คือเส้นที่เกิดจากการลากเส้นโยงในความคิด ความรู้สึก และจินตนาการ
  • 15. 51 รูปที่ 85 “ภาพสะท้อน7” อ้าพร จิตนาริน, ภาพพิมพ์ตะแกรงไหม รูปที่ 86 “ท่วงท้านอง จังหวะและอารมณ์” อัศวิน ด่านพินิจ, แม่พิมพ์ชิ้นเดียว แม่พิมพ์วัสดุ
  • 16. 52 รูปที่ 87 “ราตรีประดับดาว” ฟินเซนต์ ฟานก็อก, สีน้้ามัน ภาพ ราตรีประดับดาว ศิลปินใช้เส้นแสดงการหมุนของกลุ่มดาวในท้องฟ้า เส้นลาย ของผลงานแสดงถึงความเด็ดขาดของรอยพู่กันและความสามารถของศิลปิน สาหรับในงานภาพพิมพ์ 3. เส้นที่เกิดจากขอบ (line formed by edges) คือเส้นที่เป็นส่วนขอบรอบนอกของ วัตถุหรือที่ว่าง
  • 17. 53 รูปที่ 88 “ศรัทธาหมายเลข8 และหมายเลข9” วินิต อรุณสกุลชัย, เทคนิคผสม รูปที่ 89 “แฮปปี้แลนด์3 ” ปิยฉัตร อุดมศรี, ขี้เลื่อย เชือกปอ รูปที่ 90 “สนุกสนาน9 ” ปิยฉัตร อุดมศรี, ขี้เลื่อยคลุกสี
  • 18. 54 ในทุกรูปทรงรอบตัวเรารวมทั้งผลงานศิลปะ ไม่ว่าจะเป็นผลงานที่มีลักษณะ 3 มิติ เช่น ประติมากรรม สถาปัตยกรรม สื่อผสม หรือ งานที่มีลักษณะ 2มิติ เช่น จิตรกรรม ภาพพิมพ์ หรือ ผลงานการออกแบบต่างๆนั้น ย่อมมีเส้นแสดงขอบเขตของรูปทรงและที่ว่างเสมอ 4. เส้นสมมติ (psychic line) คือเส้นที่เกิดจากความรู้สึกหรือจินตนาการเมื่อได้เห็น ภาพแล้วเกิดความคิดเชื่อมโยงเป็นเส้นสมมติแต่ความจริงไม่มีเส้น รูปที่ 91 “แม่พระ(Madonna with the Long Neck) ” อิล ปาร์มีจานีโม, สีน้้ามัน  ประโยชน์ของเส้น 1. กาหนดส่วนขอบรอบนอกของรูปร่างทาให้เกิดพื้นที่ 2. กาหนดส่วนขอบของรูปทรงทาให้เกิดปริมาตร 3. ทาให้เกิดขอบเขตของที่ว่าง 4. ทาให้เกิดอารมณ์และความรู้สึก 5. แบ่งที่ว่างของภาพออกเป็นส่วนๆ 6. เส้นประแสดงส่วนที่มองไม่เห็นให้ปรากฏ 7. ทาให้เกิดจุดลับสายตา หรือทัศนียภาพ  เส้นกับงานทัศนศิลป์
  • 19. 55 ศิลปินนาเส้นมาใช้ในการสร้างงานทัศนศิลป์ประเภทต่างๆ ดังนี้  เส้นกับงานจิตรกรรมและงานภาพพิมพ์ 1. การเน้นเส้น มนุษย์ได้มีการเขียนภาพโดยการเน้นเส้นมาตั้งแต่สมัยก่อน ประวัติศาสตร์แล้ว ดังปรากฏให้เห็นตามก้อนหินหรือผนังถ้าหลายแห่ง เส้นเป็นสิ่งกาหนดรูปร่างของสิ่งต่างๆในภาพ เมื่อเด็กหัดเขียนภาพก็ต้อง เริ่มต้นจากการลากเส้น ศิลปินส่วนใหญ่เมื่อเริ่มจะเขียนภาพก็ต้องร่างภาพให้เกิดรูปร่าง ภายนอก (outline) เสียก่อน การใช้เส้นลักษณะนี้เป็นพื้นฐานเบื้องต้นในการใช้เส้น โดยผู้ วาดจะถ่ายทอดธรรมชาติหรือ ความคิดออกมาเป็นรูปร่างรูปทรงลักษณะ 2มิติ 3มิติ (มิติ ตามความรู้สึก) ลงไปบนพื้นระนาบ ด้วยการผสมผสานองค์ประกอบอื่นๆ เข้าไปในผลงาน อย่างเหมาะสมกลมกลืน การเขียนแบบเน้นเส้นจะทาให้เห็นขอบเขตรูปร่างของภาพอย่าง ชัดเจน รูปที่ 92 “หมู่บ้านสีเขียว ” เด็กหญิงชนกวนันท์ เทียงดาห์, สีน้้า
  • 20. 56 รูปที่ 93 “ฉันรักป่า ” เด็กหญิงกรกนก บุญวิรัตน์, สีโปสเตอร์ รูปที่ 94 “ผู้ให้ชีวิต ” สุรศักดิ์ สอนเสนา, แม่พิมพ์ไม้ สาหรับจิตรกรรมไทย ศิลปินจะใช้เส้นโค้งในการสร้างสรรค์ให้เกิดความงาม ตามอุดมคติอันเป็นเอกลักษณ์ที่สาคัญอย่างหนึ่ง จิตรกรไทยจะใช้เส้นอย่างชานาญ มีการ ใช้เส้นหนาบางสลับกันทาให้เกิดอารมณ์ความรู้สึกต่างๆ ความพลิ้วไหวของต้นไม้ ใบไม้ หรือเครื่องนุ่งห่มของมนุษย์ และเทวดาในงานจิตรกรรมไทยเมื่อดูแล้วเกิดความงดงาม ประทับใจ 2. การไม่เน้นเส้น ศิลปินบางคนไม่ได้แสดงออกทางรูปร่าง รูปทรงอย่าง เด่นชัดโดยการใช้เส้นแบบตั้งใจ แต่ได้ใช้ค่าความอ่อนแก่ของน้าหนักสี ดินสอ หรือแสง เงา แสดงให้เห็นถึงขอบของรูปร่างรูปทรงได้อย่างชัดเจน บางครั้งอาจทาให้น้าหนักของ รูปทรงกลมกลืนไปกับพื้นหลัง โดยให้ผู้ชมคาดเดารูปทรงนั้นเอง ศิลปินอาจใช้ความแตกต่างของน้าหนัก ความเข้มของสีหรือวัสดุเขียนภาพอื่นๆ เช่น ดินสอ หมึก ผงถ่าน ฯลฯ ทาให้เกิดเส้นและสัดส่วนต่างๆ ของรูปทรงในภาพโดยไม่ เน้นเส้นชัดเจน แต่จะเน้นเส้นเฉพาะบางส่วนเท่าที่จาเป็นเท่านั้น
  • 21. 57 รูปที่ 95 “ก้าเนิดวีนัส(The Birth of Venus) ” ซันโดร บอตตีเชลลี, สีฝุ่น รูปที่ 96 “โรคคนอ้วน ” พัลลภา พันธุ์เพชร, สีอะคลิลิค 3. เส้นสร้างแสงเงา การให้น้าหนักแสงเงาอาจทาได้หลายวิธี เช่น การใช้เส้น ขัดซ้อนทับ การฝนเกลี่ยน้าหนัก การระบายสี หรือหลายวิธีร่วมกัน สาหรับการไล่น้าหนักอ่อนแก่ด้วยเส้นนั้น อาจใช้ได้ทั้งเส้นตรงและเส้นโค้ง ขึ้นอยู่ กับลักษณะของรูปทรง เช่น รูปทรงเหลี่ยมเป็นสันอาจใช้ได้ทั้งเส้นตรง และเส้นโค้ง ถ้า รูปทรงโค้ง กลมหรือนูนไม่มีเหลี่ยม ควรใช้เส้นโค้งเพราะจะทาให้เกิดความกลมกลืน การใช้เส้นสร้างแสงเงานั้นยังสามารถทาได้ในประเภทภาพพิมพ์ โดยศิลปินจะ สร้างสรรค์แม่พิมพ์โดยคานึงถึงน้าหนักแสงเงาไว้ก่อนแล้ว เมื่อนาไปพิมพ์ผลงานภาพพิมพ์
  • 22. 58 จึงมีลักษณะของแสงเงาที่เกิดจากค่าความอ่อนแก่และการตัดกันของเส้นคล้ายกับงานวาด ภาพลายเส้น รูปที่ 97 “The End ” ปฏิทิน ญาณอัมพร, แม่พิมพ์ล่องลึก รูปที่ 98 “สภาวะจิตใต้ส้านึกของข้าพเจ้า7 ” มานัส แก้วโยธา, เทคนิคผสม  เส้นกับงานประติมากรรม 1. การเน้นเส้น งานออกแบบทัศนศิลป์เป็นงานที่ต้องแสดงออกให้ผู้ชมได้เกิดความ เข้าใจในรูปร่าง รูปทรง ตลอดจนเนื้อหาและเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม ตามความมุ่งหมาย ของศิลปินหรือจินตนาการของนักออกแบบสร้างสรรค์
  • 23. 59 ศิลปินบางคนสร้างงานประติมากรรมด้วยเส้นโลหะเชื่อมต่อกันเป็นรูปทรง บางคน ใช้เส้นลวดผูกมัดเชื่อมต่อแล้วชุบปูนปลาสเตอร์ ฯลฯ เพื่อให้เกิดเป็นรูปทรงตามที่ต้องการ รูปที่ 99 “ภายใต้ห้วงเวลาของความรู้สึกที่เคลื่อนไหว ” ณัฐพล ม่วงเกลี้ยง, เชื่อมโลหะ รูปที่ 100 “Instinct ” อรรถพล เศรษฐ์กุลบุตร, หล่อส้าริด 2. การไม่เน้นเส้น ศิลปินบางคนมิได้นาการใช้เส้นมาใช้ให้ปรากฏโดยตรง แต่นา คุณสมบัติด้านน้าหนักอ่อนแก่ แสงเงา ลักษณะผิว หรืออื่นๆมาสร้างให้ปรากฏเด่นกว่าการ
  • 24. 60 นาเสนอโดยใช้เส้น แต่ถึงอย่างไรเส้นที่เกิดจากขอบก็ยังคงเป็นตัวกาหนดรูปทรง และ เรื่องราวของประติมากรรมให้เกิดการรับรู้และเข้าใจได้ตามความปรารถนาของศิลปิน รูปที่ 101 “โลกแห่งความสุข” อิสราพร อนุพันธ์, ไฟเบอร์กลาส เชื่อมโลหะ ติดกระดุมสี รูปที่ 102 “The Shepherd of Clouds ” ฮันส์ อาร์ป, ปูนปลาสเตอร์
  • 25. 61  เส้นกับงานศิลปะประยุกต์ นักออกแบบนาเส้นมาใช้ในการออกแบบตกแต่งดังนี้  การออกแบบตกแต่งภายใน เส้นเป็นองค์ประกอบพื้นฐานที่สาคัญในการออกแบบ เส้นสามารถนาไปใช้ ประโยชน์เกี่ยวกับงานออกแบบเขียนแบบได้มาก เช่น 1. เส้นทาให้เกิดรูปร่างรูปทรงของเครื่องเรือนและส่วนประกอบอื่นๆ 2. เส้นทาหน้าที่แบ่งขอบเขตของที่ว่าง 3. เส้นประแสดงส่วนที่มองไม่เห็นให้ปรากฏ 4. เส้นช่วยให้เกิดทัศนียภาพ 5. เส้นช่วยในการเขียนและการอ่านแบบแปลน 6. เส้นทาหน้าที่บอกขนาด ส่วนสัดของรูปทรงเครื่องเรือนและที่ว่างในการเขียน แบบ  การออกแบบตกแต่งภายนอก เส้นมีความสาคัญต่องานออกแบบตกแต่งภายนอกอย่างมาก เนื่องจากผู้ออกแบบ ต้องใช้เส้นในการกาหนดรูปร่างลักษณะโดยรวมของงานเพื่อให้เกิดลักษณะเด่นเป็น เอกลักษณ์ของอาคารสถานที่ ซึ่งเป็นสิ่งที่นักออกแบบทุกคนต้องการ นอกจากนี้ ยังต้องใช้ เส้นในการกาหนดรายละเอียดต่างๆขององค์ประกอบในงาน เช่น รูปร่าง ส่วนสัด ขนาด ฯลฯ เพื่อให้การตกแต่งสามารถทาได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว จนเกิดความสวยงามและความ พึงพอใจแก่ผู้พบเห็นอีกด้วย การใช้ประโยชน์ของเส้นในการออกแบบตกแต่งภายนอกอาศัยอิทธิพลจากลักษณะ ของเส้นที่ทาให้เกิดความรู้สึกต่างๆ ดังตัวอย่างเช่น 1. เส้นตรงแนวนอน ทาให้เกิดความรู้สึกกว้างขวาง มั่นคง สงบ ราบเรียบ 2. เส้นตรงแนวตั้ง ทาให้เกิดความรู้สึกแข็งแรง สูงเด่น สง่างาม 3. เส้นโค้ง ทาให้เกิดความรู้สึกเคลื่อนไหว อ่อนโยน นุ่มนวล 3.3 รูปร่าง รูปทรง มวล รูปร่าง(shape) หมายถึง
  • 26. 62 1. การนาเส้นมาประกอบกันให้เกิดความกว้างและความยาว ไม่มีความหนาหรือความลึก มีลักษณะ 2มิติ 2. รูปแบบที่เป็น 2 มิติ แสดงพื้นที่ผิวเป็นระนาบแบนไม่แสดงความเป็นปริมาตร รูปที่ 103 shape รูปทรง (form) หมายถึง 1. การนาเส้นมาประกอบกันให้เกิดความกว้าง ความยาว และความหนาหรือความลึก มีลักษณะ 3มิติ 2. สิ่งที่มีลักษณะแน่นทึบแบบ 3มิติ เช่น งานประติมากรรม สถาปัตยกรรม หรือลักษณะที่ มองเห็นเป็น 3 มิติ ในงานจิตรกรรม
  • 27. 63 รูปที่ 104 form มวล (mass) หมายถึง 1. การรวมกลุ่มของรูปร่าง รูปทรงที่มีความกลมกลืน 2. วัตถุที่มีความหนา มีน้าหนัก รูปที่ 105 “รูปทรงจากโคลนตม” พิสิษฐ์ หัตถกรวิจิตร, เชื่อมโลหะ
  • 28. 64 รูปที่ 106 งานออกแบบกราฟิกของนางสาวสุธาสินี ไชยโชติวัฒน์  ประเภทของรูปทรง รูปทรงแบ่งออกเป็น 3ประเภท ดังนี้ 1. รูปทรงเรขาคณิต รูปที่ 107 รูปทรงเรขาคณิต รูปทรงเรขาคณิต (geometric form) หมายถึงรูปทรงที่เกิดจากการประกอบกันของรูป เรขาคณิต ซึ่งได้แก่ วงกลม วงรี สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม ห้าเหลี่ยม ฯลฯ ทาให้เกิดความหนาเป็น รูปทรงลักษณะต่างๆ เช่น รูปทรงปริซึม เกิดจาการซ้อนทับกันของรูปสามเหลี่ยมขนาดเท่ากัน
  • 29. 65 รูปทรงพีระมิด เกิดจากการซ้อนทับกันของรูปสามเหลี่ยม หรือรูปสี่เหลี่ยมที่มีขนาดเล็กลง เรื่อยๆจนเป็นศูนย์ที่ยอดพีระมิด รูปทรงลูกบาศก์ เกิดจากการซ้อนทับกันของรูปสี่เหลี่ยม จัตุรัสจนมีความหนาเท่ากับความ ยาวของรูปสี่เหลี่ยมนั้น รูปทรงกระบอก เกิดจากการซ้อนทับกันของรูปวงกลมที่มีขนาดเท่ากัน รูปทรงกรวย เกิดจากการซ้อนทับกันของรูปวงกลมที่มีขนาดพื้นที่เล็กลงเรื่อยๆ จนเป็นศูนย์ ที่ยอดกรวย รูปที่ 108 “มนุษย์ที่เรียกว่าสิ่งมีชีวิต” พจชรัตน์ อุตถะมัง, เทคนิคผสม รูปที่ 109 “สุนทรีย์…สี่เหลี่ยม” เอกชัย นิลพัฒน์, ไม้ประกอบ
  • 30. 66 รูปทรงเรขาคณิตเป็นรูปทรงที่ศิลปินหรือนักออกแบบนิยมใช้มากกว่ารูปทรงประเภทอื่น เนื่องจากเป็นรูปทรงที่มีความสวยงาม มีขอบเขตชัดเจน สามารถคานวณหาพื้นที่ผิว ปริมาตร และ น้าหนักได้ง่าย อีกทั้งยังสามารถเขียนแบบ ย่อแบบ ขยายแบบ ดัดแปลง หรือทาซ้าได้ง่ายอีกด้วย ทาให้สะดวกต่อการนาแบบมาใช้สร้างสรรค์งาน 2. รูปทรงอินทรียรูป รูปที่ 110 รูปทรงอินทรีย์รูป รูปทรงอินทรียรูป (organic form) หมายถึงรูปทรงของสิ่งมีชีวิตที่มีอยู่ในธรรมชาติ จาก ผลงานศิลปะในอดีตของโลกจะเห็นว่าศิลปินได้เกิดความประทับใจในรูปทรงอินทรียรูป และได้นา ความประทับใจนั้นมาสร้างสรรค์ผลงานทุกประเภท ทั้งกราฟิก จิตรกรรม ประติมากรรม และงาน ออกแบบสร้างสรรค์ต่างๆ ด้วยเหตุผลตามความคิดของศิลปินที่ว่า ธรรมชาติคือครูที่ดีที่สุดของนัก ออกแบบสร้างสรรค์ รูปที่ 111 “สามชีวิต” ภุชงค์ บุญเอก,เชื่อมโลหะ
  • 31. 67 รูปที่ 112 “ลางสังหรณ์” ชัชวาล อ่้าสมคิด ,หล่อเรซิ่นใส-ไฟฟ้า 3. รูปทรงอิสระ รูปที่ 113 รูปทรงอิสระ นอกจากรูปเรขาคณิตและรูปทรงอินทรีย์รูปแล้ว ศิลปินบางกลุ่มยังมีความประทับใจใน รูปทรงอิสระ (free form) จนเกิดแรงดลใจให้สร้างงานทัศนศิลป์ประเภทต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นกราฟิก จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ สื่อผสม หรือแม้แต่งานสถาปัตยกรรมซึ่งเป็นงานทัศนศิลป์ที่มี ขนาดใหญ่ที่สุดอีกด้วย
  • 32. 68 รูปที่ 114 “ภาพสะท้อนจากมลภาวะในจินตนาการ หมายเลข2” สันติสุข แหล่งสนาม ,โลหะ รูปที่ 115 “เสี่ยง” บุญเกิด ศรีสุขา ,ประกอบเหล็ก  ความรู้สึกที่มีต่อรูปร่าง และรูปทรง ศิลปินและนักออกแบบใช้ความรู้สึกที่มีต่อรูปร่าง และรูปทรงมาออกแบบสร้างสรรค์งาน ทัศนศิลป์ทุกประเภทเพื่อให้ได้ผลงานตามความมุ่งหมาย โดยใช้ประโยชน์ได้มากหรือน้อยแล้วแต่
  • 33. 69 ลักษณะของงานแต่ผลงานทุกชิ้นย่อมทาให้ผู้พบเห็นเกิดอารมณ์และความรู้สึกได้หลากหลายแตกต่าง กันไป เช่น รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าแนวนอน ให้ความรู้สึกกว้างขวาง รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าแนวตั้ง ให้ความรู้สึกสูงเด่น สง่างาม รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ให้ความรู้สึกสมดุล แข็งแรง ไม่เอนเอียง รูปสี่เหลี่ยมคางหมู ให้ความรู้สึกหนักแน่น มั่นคง ปลอดภัย รูปสามเหลี่ยม ให้ความรู้สึกสูงเด่น สง่างาม รุนแรง รูปทรงกลม ให้ความรู้สึกกลมกลืน ไม่มั่นคง รูปทรงอิสระ ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหว ไม่แน่นอน