SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 30
Baixar para ler offline
บทที่ ๘ การวัดผลและการประเมินผลการเรียนรู้
ความหมายของการวัดผล การทดสอบ และการประเมินผล การวัดผลการ (Measurement) หมายถึง กระบวนการหาปริมาณ หรือจำนวนของสิ่งต่าง ๆ โดยใช้เครื่องมืออย่างใดอย่างหนึ่ง ผลจากการวัดจะออกมาเป็นตัวเลข หรือสัญลักษณ์ การทดสอบการศึกษา หมายถึง กระบวนการวัดผลอย่างหนึ่งที่กระทำอย่างมีระบบเพื่อใช้ในการเปรียบเทียบความสามารถของบุคคล โดยใช้ข้อสอบหรือคำถามไปกระตุ้นให้สมองแสดงพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งออกมา การประเมินผล (Evaluation) หมายถึง การตัดสิน หรือวินิจฉัยสิ่งต่าง ๆ ที่ได้จากการวัดผล
ความหมายของการวัดผล การทดสอบ และการประเมินผล(ต่อ) บลูม (Bloom) และคณะ ได้แบ่งพฤติกรรมที่จะวัดออกเป็น ๓ลักษณะ      ๑.วัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย ได้แก่ การวัดเกี่ยวกับ ความรู้ ความคิด (วัดด้านสมอง)      ๒.วัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย ได้แก่ การวัดเกี่ยวกับความรู้สึกนึกคิด    (วัดด้านจิตใจ)      ๓.วัดพฤติกรรมด้านทักษะพิสัย ได้แก่ การวัดเกี่ยวกับการใช้กล้ามเนื้อ และประสาทสัมผัสส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย (วัดด้านการปฏิบัติ)
จุดมุ่งหมายของการวัดผลการศึกษา ๑.วัดผลเพื่อและพัฒนาสมรรถภาพของนักเรียน หมายถึง การวัดผลเพื่อดูว่านักเรียนบกพร่องหรือไม่เข้าใจในเรื่องใดอย่างไร แล้วครูพยายามอบรมสั่งสอนให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้และมีความเจริญงอกงามตามศักยภาพของนักเรียน๒.วัดผลเพื่อวินิจฉัย หมายถึง การวัดผลเพื่อค้นหาจุดบกพร่องของนักเรียนที่มีปัญหาว่า ยังไม่เกิดการเรียนรู้ตรงจุดใด เพื่อหาทางช่วยเหลือ๓.วัดผลเพื่อจัดอันดับหรือจัดตำแหน่ง หมายถึง การวัดผลเพื่อจัดอันดับความสามารถของนักเรียนในกลุ่มเดียวกันว่าใครเก่งกว่า ใครควรได้อันที่ ๑   ๒  ๓
จุดมุ่งหมายของการวัดผลการศึกษา(ต่อ) ๔.วัดผลเพื่อเปรียบเทียบหรือเพื่อทราบพัฒนาการของนักเรียน หมายถึง การวัดผลเพื่อเปรียบเทียบความสามารถของนักเรียนเอง เช่น การทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียนแล้วนำผลมาเปรียบเทียบกัน๕.วัดผลเพื่อพยากรณ์ หมายถึง การวัดเพื่อนำผลที่ได้ไปคาดคะเนหรือทำนายเหตุการณ์ในอนาคต๖.วัดผลเพื่อประเมินผล หมายถึง การวัดเพื่อนำผลที่ได้มาตัดสิน หรือสรุปคุณภาพของการจัดการศึกษาว่ามีประสิทธิภาพสูงหรือต่ำ ควรปรับปรุงแก้ไขอย่างไร
หลักการวัดผลการศึกษา ๑.ต้องวัดให้ตรงกับจุดมุ่งหมายของการเรียนการสอน คือ การวัดผลจะเป็นสิ่งตรวจสอบผลจากการสอนของครูว่า นักเรียนเกิดพฤติกรรมตามที่ระบุไว้ในจุดมุ่งหมายการสอนมากน้อยเพียงใด๒.เลือกใช้เครื่องมือวัดที่ดีและเหมาะสม การวัดผลครูต้องพยายามเลือกใช้เครื่องมือวัดที่มีคุณภาพใช้เครื่องมือวัดหลาย ๆ อย่าง เพื่อช่วยให้การวัดถูกต้องสมบูรณ์๓.ระวังความคลาดเคลื่อนหรือความผิดพลาดของการวัด เมื่อจะใช้เครื่องมือชนิดใด ต้องระวังความบกพร่องของเครื่องมือหรือวิธีการวัดของครู๔.ประเมินผลการวัดให้ถูกต้อง เช่น คะแนนที่เกิดจาการสอนครูต้องแปลผลให้ถูกต้องสมเหตุสมผลและมีความยุติธรรม๕.ใช้ผลการวัดให้คุ้มค่า จุดประสงค์สำคัญของการวัดก็คือ เพื่อค้นและพัฒนาสมรรถภาพของนักเรียน ต้องพยายามค้นหาผู้เรียนแต่ละคนว่า เด่น-ด้อยในเรื่องใด และหาแนวทางปรับปรุงแก้ไขแต่ละคนให้ดีขึ้น
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผล  ๑.การสังเกต (Observation)  	การสังเกต คือ การพิจารณาปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น เพื่อค้นหาความจริงบางประการ โดยอาศัยประสาท สัมผัสของผู้สังเกตโดยตรงรูปแบบของการสังเกต๑.การสังเกตโดยผู้สังเกตเข้าไปร่วมในเหตุการณ์หรือกิจกรรม หมายถึง การสังเกตที่ผู้สังเกตเข้าไปมีส่วนร่วม หรือคลุกคลีในหมู่ผู้ถูกสังเกต และอาจร่มทำกิจกรรมด้วยกัน๒.การสังเกตโดยผู้สังเกตไม่ได้เข้าไปร่วมในเหตุการณ์ หมายถึง การสังเกตที่ผู้ถูกสังเกตยู่ภายนอกวงของผู้ถูกสังเกต คือสังเกตในฐานะเป็นบุคคลภายนอก การสังเกตแบบ นี้แบ่งออกเป็น 2 ชนิด๒.๑การสังเกตแบบไม่มีโครงสร้าง หมายถึง การสังเกตที่ผู้สังเกตไม่ได้กำหนดหัวเรื่องเฉพาะเอาไว้๒.๒การสังเกตแบบมีโครงสร้าง หมายถึง การสังเกตที่ผู้สังเกตกำหนดเรื่องที่จะสังเกตเฉพาะเอาไว้
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผล(ต่อ) ๒.การสัมภาษณ์ (Interview)	การสัมภาษณ์ คือ การสนทนาหรือการพูดโต้ตอบกันอย่างมีจุดมุ่งหมาย เพื่อค้นหาความรู้ ความจริง ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ล่วงหน้ารูปแบบของการสัมภาษณ์๑.การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง หมายถึง การสัมภาษณ์ที่ไม่ใช่แบบสัมภาษณ์ คือ ไม่จำเป็นต้องใช้ คำถามที่เหมือนกันหมดกับผู้ถูกสัมภาษณ์ทุกคน๒.การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง หมายถึง การสัมภาษณ์ที่ผู้สัมภาษณ์จะใช้แบบสัมภาษณ์ที่สร้างขึ้นไว้แล้ว
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผล(ต่อ) ๓.แบบสอบถาม(Questionnaire)	แบบสอบถามเป็นเครื่องมือชนิดหนึ่งที่นิยมใช้กันมาก โดยเฉพาะการเก็บข้อมูลทางสังคมศาสตร์ ทั้งนี้เพราะเป็นวิธีการที่สะดวก และสามารถใช้วัดได้อย่างกว้างขวางรูปแบบของแบบสอบถาม๑.แบบสอบถามชนิดปลายเปิด (Open-ended Form)แบบสอบถามชนิดนี้ไม่ได้กำหนดคำตอบไว้ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ตอบเขียนตอบอย่างอิสระด้วยความคิดของตนเอง แบบสอบถามชนิดนี้ตอบยากและเสียเวลาในการตอบมาก เพราะผู้ตอบจะต้องคิดวิเคราะห์อย่างกว้างขวาง
๒.แบบสอบถามปลายปิด (Closed - ended Form)แบบสอบถามชนิดนี้ประกอบ ด้วย ข้อคำถามและตัวเลือก (คำตอบ) ซึ่งตัวเลือกนี้สร้างขึ้นโดยคาดว่าผู้ตอบ สามารถเลือกตอบ ได้ตามความต้องการ แบบสอบถามชนิดปลายปิด แบ่งเป็น ๔แบบ๒.๑แบบตรวจสอบรายการ (Checklist) เป็นการสร้างรายการของข้อคำถามที่เกี่ยวหรือสัมพันธ์กับคุณลักษณะของพฤติกรรม แต่ละรายการจะถูกประเมิน หรือชี้ให้ตอบในแง่ใดแง่หนึ่ง เช่น มี - ไม่มี จริง - ไม่จริง๒.๒มาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) เป็นเครื่องมือที่ใช้ในประเมินการปฏิบัติ กิจกรรม ทักษะต่าง ๆ มีระดับความเข้มให้พิจารณาตั้งแต่ 3 ระดับขึ้นไป เช่น เห็นด้วยอย่างยิ่ง เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง๒.๓แบบจัดอันดับ (Rank Order) มักจะให้ผู้ตอบจัดอันดับความสำคัญหรือคุณภาพ โดยให้ผู้ตอบเรียงลำกับตามความเข้มจากมากไปหาน้อย
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผล(ต่อ) ๔.การจัดอันดับ (Rank Order)เป็นเครื่องมือมือวัดผลให้นักเรียน หรือผู้ได้รับแบบสอบถามเป็นผู้ตอบ โดยการจัดอันดับความสำคัญหรือจัดอันดับคุณภาพ และใช้จัดอันดับของข้อมูลหรือผลงานต่าง ๆ ของนักเรียนแล้วจึงให้คะแนน ภายหลังเพื่อการประเมิน
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผล(ต่อ) ๕.การประเมินผลจากสภาพจริง (Authentic Assessment) 	หมายถึง กระบวนการสังเกต การบันทึก และรวบรวมข้อมูลจากงานและวิธีการที่นักเรียนทำ การประเมินผลจากสภาพจริงจะเน้นให้นักเรียนสามารถแก้ปัญหา เป็นผู้ค้นพบและผู้ผลิตความรู้ นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติจริง รวมทั้งเน้นพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน
ความสำคัญของการประเมินผลจากสภาพจริง๑.การเรียนการสอนและการวัดประเมินผลจากสภาพจริง จะเอื้อให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างเต็มศักยภาพของแต่ละบุคคล๒.เป็นการเอื้อต่อการเรียนการสอนที่เน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลาง๓.เป็นการเน้นให้นักเรียนได้สร้างงาน๔.เป็นการผสมผสานให้กิจกรรมการเรียนรู้และการประเมินผล๕.เป็นการลดภาระงานซ่อมเสริมของครู
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผล(ต่อ) ๖.การวัดผลภาคปฏิบัติ (Performance Assessment)	การวัดผลภาคปฏิบัติ เป็นการวัดผลงานที่ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติ ซึ่งสามารถวัดได้ทั้งกระบวนการและผลงาน ในสถานการณ์จริง หรือในสถานการณ์จำลอง สิ่งที่ควรคำนึงในการสอบวัดภาคปฏิบัติคือ	๑.ขั้นเตรียมงาน	๒.ขั้นปฏิบัติงาน	๓.เวลาที่ใช้ในการทำงาน	๔.ผลงาน
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผล(ต่อ) ๗.การประเมินผลโดยใช้แฟ้มสะสมงาน (Portfolios) 	เป็นแนวทางการประเมินผลโดยการรวมข้อมูลที่ครูและผู้เรียนทำกิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกัน โดยกระทำอย่างต่อเนื่องตลอดภาคเรียน ดังนั้นการวัดผลและประเมินผลโดยใช้แฟ้มสะสมงานส่วนหนึ่ง จะเป็นกิจกรรมที่สอดแทรกอยู่ใสภาพการเรียนประจำวัน โดยกิจกรรมที่สอดแทรกเหล่านี้จะวัด เนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับสภาพชีวิตประจำวัน
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผล(ต่อ) ๘.แบบทดสอบ(Test) แบบทดสอบ หมายถึงชุดคำถามหรือกลุ่มงานใดๆที่สร้างขึ้นเพื่อชักนำให้ผู้ถูกทดสอบ  แสดงพฤติกรรม หรือปฏิกิริยาโต้ตอบอย่างใดอย่างหนึ่งออกมาให้สามารถสังเกตได้
ประเภทของแบบทดสอบ สามารถแบ่งประเภทออกได้หลายลักษณะ ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่จะใช้๘.๑แบ่งตามพฤติกรรมหรือตามสมรรถภาพที่จะวัด แบ่งเป็น ๓                  ประเภท	๑.แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ (Achievement Test) หมายถึง แบบทดสอบที่วัดสมรรถภาพสมองด้านต่าง ๆ ที่นักเรียนได้รับการเรียนรู้ผ่านมาแล้วว่ามีอยู่เท่าใดแบบทดสอบแบ่งออกเป็น ๒ชนิด๑.๑แบบทดสอบที่ครูสร้างขึ้น หมายถึง แบบทดสอบที่มุ่งวัดผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนเฉพาะกลุ่มที่ครูสอน๑.๒แบบทดสอบมาตรฐาน หมายถึง แบบทดสอบที่มุ่งวัดผลสัมฤทธิ์มีจุดมุ่งหมายเพื่อเปรียบเทียบคุณภาพต่าง ๆ ของนักเรียนที่ต่างกลุ่มกัน เช่น แบบทดสอบมาตรฐานระดับชาติ
๒.แบบทดสอบวัดความถนัด (Aptitude Test) หมายถึง แบบทดสอบที่มุ่งวัดสมรรถภาพสมองของ ผู้เรียน	     ๒.๑แบบทดสอบวัดความถนัดทางการเรียน หมายถึง แบบทดสอบที่มุ่งวัดความถนัดทางด้านวิชาการต่าง ๆ เช่น ด้านภาษา๒.๒แบบทดสอบวัดความถนัดเฉพาะ หมายถึง แบบทดสอบที่มุ่งวัดความถนัดเฉพาะที่เกี่ยวกับงานอาชีพต่าง ๆ หรือความสามารถพิเศษ เช่น ความสามารถทางดนตรี	๓.แบบทดสอบวัดบุคลิกภาพทางสังคม หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้วัดบุคลิกภาพและการปรับตัวให้เข้ากับ สังคม ซึ่งเป็นเรื่องที่วัด ได้ยาก ผลที่ได้ไม่คงที่แน่นอน๓.๑แบบทดสอบวัดเจตคติที่มีต่อบุคคล สิ่งของ เรื่องราว๓.๒แบบทดสอบวัดความสนใจที่มีต่ออาชีพ การศึกษา๓.๓แบบทดสอบวัดการปรับตัว เช่น การปรับตัวเข้ากับเพื่อน ๆ
๘.๒แบ่งตามลักษณะการตอบ๑.แบบทดสอบภาคปฏิบัติ หมายถึง แบบทดสอบที่ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติจริง เช่น การปรุงอาหาร๒.แบบทดสอบข้อเขียน หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้การเขียนตอบ๓.แบบทดสอบปากเปล่า หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้การพูดโต้ตอบแทนการเขียน ๘.๓แบ่งตามเวลาที่กำหนดให้ตอบ๑.แบบทดสอบที่จำกัดเวลาในการตอบ หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้เวลาน้อย	๒.แบบทดสอบที่ไม่จำกัดเวลาในการตอบ หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้เวลาตอบมาก
๘.๔แบ่งตามจำนวนผู้เข้าสอบ๑.แบบทดสอบเป็นรายบุคคล หมายถึง การสอบทีละคนมักเป็นการสอบภาคปฏิบัติ๒.แบบทดสอบเป็นชั้นหรือเป็นหมู่ หมายถึง การสอบทีละหลาย ๆ คน ๘.๕แบ่งตามสิ่งเร้าของการถาม5.1แบบทดสอบทางภาษา หมายถึง แบบทดสอบที่ต้องอาศัยภาษาของสังคมนั้น ๆ เป็นหลัก ใช้กับผู้ที่อ่านออกเขียนได้5.2แบบทดสอบที่ไม่ใช้ภาษา หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้รูปภาพ สัญลักษณ์หรือตัวเลข
๘.๖แบ่งตามลักษณะของการใช้ประโยชน์ ๑.แบบทดสอบย่อย หมายถึง แบบทดสอบประจำบท หรือหน่วยการเรียน๒.แบบทดสอบรวม หมายถึง แบบทดสอบสรุปรวมเนื้อหาที่เรียนผ่านมาตลอดภาคเรียน ๘.๗แบ่งตามเนื้อหาของข้อสอบในฉบับ๑.แบบทดสอบอัตนัย หมายถึง แบบทดสอบที่มีเฉพาะคำถามนักเรียนต้องคิดหาคำตอบเอง	๒.แบบทดสอบปรนัย หมายถึง แบบทดสอบที่มีทั้งคำถามและคำตอบเฉพาะคงที่แน่นอน
การวิเคราะห์ข้อมูล 	การวิเคราะห์ข้อมูล  เป็นกระบวนการนำข้อมูลซึ่งเก็บรวบรวมข้อมูลได้ มาจัดระเบียบ แยกประเภท หรือใช้วิธีการทางสถิติ เพื่อตอบคำถามตามจุดมุ่งหมายของการประเมิน 	ลักษณะของข้อมูล ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือข่าวสาร เกี่ยวกับเรื่องต่างๆที่สนใจจะศึกษา ข้อมูลอาจแบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ ๑.ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ ข้อมูลที่อยู่ในรูปของจำนวน ปริมาณ หรือ ตัวเลข ๒.ข้อมูลเชิงคุณภาพ ได้แก่ ข้อมูลที่ไม่อยู่ในรูปของจำนวนและตัวเลข 	ประเภทของการวิเคราะห์ข้อมูล   แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ  ๑.การวิเคราะห์โดยไม่ใช้วิธีการทางสถิติ ๒.การวิเคราะห์โดยใช้วิธีการทางสถิติ
การประเมินผลทางการศึกษา การประเมินผลทางการศึกษา ( Educational Evaluation ) หมายถึง กระบวนการในการตัดสินใจลงสรุปคุณลักษณะหรือพฤติกรรมของนักเรียนว่ามีคุณภาพดีระดับใดโดยอาศัยเกณฑ์อย่างใดอย่างหนึ่งในการเปรียบเทียบ  มีองค์ประกอบ ๓ ประการคือ ๑.ผลการวัด( Measurement) ทำให้ทราบสภาพความจริงของสิ่งที่จะประเมินว่ามีปริมาณเท่าไร มีคุณสมบัติอย่างไร เพื่อนำข้อมูลไปพิจารณา๒.เกณฑ์การพิจารณา ( criteria) ในการที่จะตัดสินใจหรือลงสรุปสิ่งใดจะต้องมีมาตรฐานสำหรับสิ่งที่จะเปรียบเทียบกับสิ่งที่ได้จากการวัด๓.การตัดสินใจ ( Decision ) เป็นการชี้ขาดหรือสรุปผลการเปรียบเทียบระหว่างผลการวัดกับเกณฑ์ที่กำหนดว่าสอดคล้องกันหรือไม่ การตัดสินใจที่ดีต้องอาศัยการพิจารณาอย่างถี่ถ้วน กระทำอย่างยุติธรรม
ขอบข่ายของการประเมินผลทางการศึกษา การประเมินทางการศึกษาจะขอบข่ายกว้าง - แคบเพียงใดและครอบคลุมสิ่งใดบ้างนั้นขึ้นอยู่กับความเข้าใจและการมองภาพของคำว่า การศึกษา ว่าประกอบด้วยสิ่งใดบ้าง กล่าวคือ ถ้ามองภาพการศึกษาว่าเป็นการเรียนการสอนในห้องเรียนเพียงประการเดียว การประเมินการศึกษาก็จะประเมินเฉพาะในห้องเรียนเท่านั้น แต่ถ้ามองภาพการศึกษากว้างไกลออกไปถึงองค์ประกอบอื่นๆ เช่น ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมของนักเรียน การประเมินทางการศึกษาก็จะต้องคลอบคลุมไปถึงองค์ประกอบดังกล่าวด้วย	Input ได้แก่ ตัวนักเรียนทั้งในแง่ของระดับสติปัญญา ความสนใจสภาพแวดล้อมฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม	Process ได้แก่ การวางแผนการดำเนินการ การบริหาร ซึ่งก่อให้เกิดพฤติกรรมการเรียนการสอน	Product หรือ Output ได้แก่ ผลที่ได้จากผลรวมของ input และ Process เช่นความรู้ความสามารถ สติปัญญา เจตคติ คุณธรรม ทักษะในด้านต่างๆ เป็นต้น
ความมุ่งหมายของการประเมินทางการศึกษา การประเมินทางการศึกษามีความหมายทางการประเมินทางการประเมินพอสรุปได้ ๓ ประการ๑.การประเมินเพื่อวินิจฉัย เป็นการประเมินเพื่อตรวจสอบหาข้อบกพร่อง ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน๒.การประเมินเพื่อปรับปรุง เป็นการปรับปรุงระหว่างการดำเนินงานโดยพิจารณาว่าจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้ตรงกับความต้องการ และเป็นที่ยอมรับหรือไม่๓.การประเมินเพื่อตัดสินเพื่อลงสรุป เป็นประเมินการดำเนินงานว่าการดำเนินงานนั้นมีประสิทธิภาพหรือไม่
ความสำคัญของการประเมินทางการศึกษา ๑. ช่วยชี้ให้เห็นว่าการดำเนินงานเหมาะสมเพียงใด๒. ทำให้ทราบว่าการดำเนินงานบรรลุตามจุดประสงค์หรือไม่๓. ช่วยกระตุ้นให้มีการเร่งรัด ปรับปรุง และการดำเนินงาน๔. ช่วยเห็นข้อบกพร่องในการดำเนินงานในแต่ละขั้นตอนเป็นหลักในการปรับปรุงในการดำเนินงาน๕. ช่วยควบคุมการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพ๖. เป็นแนวทางในการกำหนดวิธีการในการดำเนินงานครั้งต่อไป
หลักการของการประเมินผลทางการศึกษา ๑.กำหนดสิ่งที่จะประเมินให้ชัดเจนและวัดได้ เป็นการกำหนดว่าจะตัดสินใจให้คุณค่า   ในเรื่องอะไร๒. วางแผนการประเมินให้รัดกุม ผู้ประเมินมีการวางแผนเก็บข้อมูล ที่เที่ยงตรงและเชื่อมั่นได้๓.เกณฑ์ที่ใช้ในการประเมินต้องสัมพันธ์กับสิ่งที่ต้องการวัดและจุดมุ่งหมายของการประเมิน๔.เลือกใช้เครื่องมือในการประเมินที่มีคุณภาพให้เหมาะสมกับสิ่งที่จะประเมิน๕.ปราศจากความลำเอียง	สรุปการประเมินจะต้องใช้ดุลยพินิจด้วยความรอบคอบก่อนตัดสินใจ จะต้องประเมินด้วยความเที่ยงธรรมและมีคุณธรรมอย่างสูง
การกำหนดสิ่งที่จะประเมินเกี่ยวกับการเรียนการสอน ๑.การประเมินก่อนการมีการเรียนการสอน 	๒.การประเมินขณะทำการเรียนการสอน 	๓.การประเมินผลเมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอน
การประเมินผลแบบอิงเกณฑ์ เป็นการวัดที่ต้องการทราบว่าบุคคลนั้นมีความสามารถถึงเกณฑ์ที่กำหนดไว้หรือไม่  การประเมินผลต้องนำคะแนนที่ได้จากผลงานไปเทียบกับเกณฑ์ที่กำหนดไว้  การวัดผลใช้ในการวัดสมรรถภาพเป็นรายบุคคล  ถ้านักเรียนทำข้อสอบได้ถูกต้องถึงเกณฑ์ที่กำหนดไว้ถือว่าได้เรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายแล้ว ข้อควรคำนึงการประเมินแบบอิงเกณฑ์ 	๑.วัตถุประสงค์การสอนต้องชัดเจน 	๒.ข้อสอบมีความเที่ยงตรงสูงและครอบคลุมวัตถุประสงค์การสอน 	๓.เกณฑ์ที่วัดต้องชัดเจน  มีหลักเกณฑ์ที่อ้างอย่างยุติธรรม
การประเมินผลแบบอิงกลุ่ม เป็นการวัดเพื่อเปรียบเทียบคะแนนของบุคคลใดบุคคลหนึ่งกับบุคคลอื่น  คือจำแนกคะแนนสูงสุดจนต่ำสุดแล้วจึงนำคะแนนเหล่านั้นมาเปรียบเทียบเพื่อประเมินต่อไป  ข้อควรคำนึงการประเมินแบบอิงกลุ่ม 		๑.ข้อสอบต้องมีคุณภาพสูง  มีความเชื่อมั่นและเที่ยงตรง 		๒.ข้อสอบที่ใช้ต้องครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมด	 	การประเมินจะต้องมีความยุติธรรม  ตามสภาพความเป็นจริงของผลการเรียน

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้onnichabee
 
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผลบทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผลมะม่วงกระล่อน จริงๆ
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษาNU
 
งานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะงานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะnwichunee
 
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้Chainarong Maharak
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษาaumkpru45
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้poms0077
 
การวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลการวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลAnny Hotelier
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้สุเทพ สอนนิล
 
งานบทที่ 8
งานบทที่ 8งานบทที่ 8
งานบทที่ 8hadesza
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้vizaza
 
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้Bert Nangngam
 
สรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผลสรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผลTupPee Zhouyongfang
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้Sujitra ComEdu
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลmaymymay
 

Mais procurados (18)

บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
 
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผลบทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
 
งานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะงานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะ
 
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
การวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลการวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผล
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
งานบทที่ 8
งานบทที่ 8งานบทที่ 8
งานบทที่ 8
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
สรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผลสรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผล
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 

Destaque

บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7Phuntita
 
บทที่7ใหม่2
บทที่7ใหม่2บทที่7ใหม่2
บทที่7ใหม่2Phuntita
 
สรุป บทที่7
สรุป บทที่7สรุป บทที่7
สรุป บทที่7Phuntita
 

Destaque (14)

บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
บทที่7ใหม่2
บทที่7ใหม่2บทที่7ใหม่2
บทที่7ใหม่2
 
บทที่ ๗ สื่อและแหล่งการเรียนรู้
บทที่ ๗ สื่อและแหล่งการเรียนรู้บทที่ ๗ สื่อและแหล่งการเรียนรู้
บทที่ ๗ สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
บทที่ ๗ สื่อและแหล่งการเรียนรู้
บทที่ ๗ สื่อและแหล่งการเรียนรู้บทที่ ๗ สื่อและแหล่งการเรียนรู้
บทที่ ๗ สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
อังรพิมพ์
อังรพิมพ์อังรพิมพ์
อังรพิมพ์
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
อังรพิมพ์
อังรพิมพ์อังรพิมพ์
อังรพิมพ์
 
บทที่ ๗ สื่อและแหล่งการเรียนรู้
บทที่ ๗ สื่อและแหล่งการเรียนรู้บทที่ ๗ สื่อและแหล่งการเรียนรู้
บทที่ ๗ สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
บทที่ ๗ สื่อและแหล่งการเรียนรู้
บทที่ ๗ สื่อและแหล่งการเรียนรู้บทที่ ๗ สื่อและแหล่งการเรียนรู้
บทที่ ๗ สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
บทที่ ๗ สื่อและแหล่งการเรียนรู้
บทที่ ๗ สื่อและแหล่งการเรียนรู้บทที่ ๗ สื่อและแหล่งการเรียนรู้
บทที่ ๗ สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
บทที่ ๗ สื่อและแหล่งการเรียนรู้
บทที่ ๗ สื่อและแหล่งการเรียนรู้บทที่ ๗ สื่อและแหล่งการเรียนรู้
บทที่ ๗ สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สรุป บทที่7
สรุป บทที่7สรุป บทที่7
สรุป บทที่7
 
บทที่ ๗ สื่อและแหล่งการเรียนรู้
บทที่ ๗ สื่อและแหล่งการเรียนรู้บทที่ ๗ สื่อและแหล่งการเรียนรู้
บทที่ ๗ สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
บทที่ ๗ สื่อและแหล่งการเรียนรู้
บทที่ ๗ สื่อและแหล่งการเรียนรู้บทที่ ๗ สื่อและแหล่งการเรียนรู้
บทที่ ๗ สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 

Semelhante a งานนำเสนอ8

บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้yuapawan
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้yuapawan
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1yuapawan
 
งานบทที่8
งานบทที่8งานบทที่8
งานบทที่8tum521120935
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลmaymymay
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลmaymymay
 
เบญ2
เบญ2เบญ2
เบญ2ben_za
 
อาม1
อาม1อาม1
อาม1arm_2010
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8team00428
 
บทที่+8
บทที่+8บทที่+8
บทที่+8paynarumon
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8puyss
 
บทที่81
บทที่81บทที่81
บทที่81puyss
 
บทที่82
บทที่82บทที่82
บทที่82puyss
 

Semelhante a งานนำเสนอ8 (20)

บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
 
งานบทที่8
งานบทที่8งานบทที่8
งานบทที่8
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
เบญ2
เบญ2เบญ2
เบญ2
 
อาม1
อาม1อาม1
อาม1
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่+8
บทที่+8บทที่+8
บทที่+8
 
นาว1
นาว1นาว1
นาว1
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่81
บทที่81บทที่81
บทที่81
 
บทที่82
บทที่82บทที่82
บทที่82
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 

งานนำเสนอ8

  • 2. ความหมายของการวัดผล การทดสอบ และการประเมินผล การวัดผลการ (Measurement) หมายถึง กระบวนการหาปริมาณ หรือจำนวนของสิ่งต่าง ๆ โดยใช้เครื่องมืออย่างใดอย่างหนึ่ง ผลจากการวัดจะออกมาเป็นตัวเลข หรือสัญลักษณ์ การทดสอบการศึกษา หมายถึง กระบวนการวัดผลอย่างหนึ่งที่กระทำอย่างมีระบบเพื่อใช้ในการเปรียบเทียบความสามารถของบุคคล โดยใช้ข้อสอบหรือคำถามไปกระตุ้นให้สมองแสดงพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งออกมา การประเมินผล (Evaluation) หมายถึง การตัดสิน หรือวินิจฉัยสิ่งต่าง ๆ ที่ได้จากการวัดผล
  • 3. ความหมายของการวัดผล การทดสอบ และการประเมินผล(ต่อ) บลูม (Bloom) และคณะ ได้แบ่งพฤติกรรมที่จะวัดออกเป็น ๓ลักษณะ ๑.วัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย ได้แก่ การวัดเกี่ยวกับ ความรู้ ความคิด (วัดด้านสมอง) ๒.วัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย ได้แก่ การวัดเกี่ยวกับความรู้สึกนึกคิด (วัดด้านจิตใจ) ๓.วัดพฤติกรรมด้านทักษะพิสัย ได้แก่ การวัดเกี่ยวกับการใช้กล้ามเนื้อ และประสาทสัมผัสส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย (วัดด้านการปฏิบัติ)
  • 4. จุดมุ่งหมายของการวัดผลการศึกษา ๑.วัดผลเพื่อและพัฒนาสมรรถภาพของนักเรียน หมายถึง การวัดผลเพื่อดูว่านักเรียนบกพร่องหรือไม่เข้าใจในเรื่องใดอย่างไร แล้วครูพยายามอบรมสั่งสอนให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้และมีความเจริญงอกงามตามศักยภาพของนักเรียน๒.วัดผลเพื่อวินิจฉัย หมายถึง การวัดผลเพื่อค้นหาจุดบกพร่องของนักเรียนที่มีปัญหาว่า ยังไม่เกิดการเรียนรู้ตรงจุดใด เพื่อหาทางช่วยเหลือ๓.วัดผลเพื่อจัดอันดับหรือจัดตำแหน่ง หมายถึง การวัดผลเพื่อจัดอันดับความสามารถของนักเรียนในกลุ่มเดียวกันว่าใครเก่งกว่า ใครควรได้อันที่ ๑ ๒ ๓
  • 5. จุดมุ่งหมายของการวัดผลการศึกษา(ต่อ) ๔.วัดผลเพื่อเปรียบเทียบหรือเพื่อทราบพัฒนาการของนักเรียน หมายถึง การวัดผลเพื่อเปรียบเทียบความสามารถของนักเรียนเอง เช่น การทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียนแล้วนำผลมาเปรียบเทียบกัน๕.วัดผลเพื่อพยากรณ์ หมายถึง การวัดเพื่อนำผลที่ได้ไปคาดคะเนหรือทำนายเหตุการณ์ในอนาคต๖.วัดผลเพื่อประเมินผล หมายถึง การวัดเพื่อนำผลที่ได้มาตัดสิน หรือสรุปคุณภาพของการจัดการศึกษาว่ามีประสิทธิภาพสูงหรือต่ำ ควรปรับปรุงแก้ไขอย่างไร
  • 6. หลักการวัดผลการศึกษา ๑.ต้องวัดให้ตรงกับจุดมุ่งหมายของการเรียนการสอน คือ การวัดผลจะเป็นสิ่งตรวจสอบผลจากการสอนของครูว่า นักเรียนเกิดพฤติกรรมตามที่ระบุไว้ในจุดมุ่งหมายการสอนมากน้อยเพียงใด๒.เลือกใช้เครื่องมือวัดที่ดีและเหมาะสม การวัดผลครูต้องพยายามเลือกใช้เครื่องมือวัดที่มีคุณภาพใช้เครื่องมือวัดหลาย ๆ อย่าง เพื่อช่วยให้การวัดถูกต้องสมบูรณ์๓.ระวังความคลาดเคลื่อนหรือความผิดพลาดของการวัด เมื่อจะใช้เครื่องมือชนิดใด ต้องระวังความบกพร่องของเครื่องมือหรือวิธีการวัดของครู๔.ประเมินผลการวัดให้ถูกต้อง เช่น คะแนนที่เกิดจาการสอนครูต้องแปลผลให้ถูกต้องสมเหตุสมผลและมีความยุติธรรม๕.ใช้ผลการวัดให้คุ้มค่า จุดประสงค์สำคัญของการวัดก็คือ เพื่อค้นและพัฒนาสมรรถภาพของนักเรียน ต้องพยายามค้นหาผู้เรียนแต่ละคนว่า เด่น-ด้อยในเรื่องใด และหาแนวทางปรับปรุงแก้ไขแต่ละคนให้ดีขึ้น
  • 7. เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผล ๑.การสังเกต (Observation) การสังเกต คือ การพิจารณาปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น เพื่อค้นหาความจริงบางประการ โดยอาศัยประสาท สัมผัสของผู้สังเกตโดยตรงรูปแบบของการสังเกต๑.การสังเกตโดยผู้สังเกตเข้าไปร่วมในเหตุการณ์หรือกิจกรรม หมายถึง การสังเกตที่ผู้สังเกตเข้าไปมีส่วนร่วม หรือคลุกคลีในหมู่ผู้ถูกสังเกต และอาจร่มทำกิจกรรมด้วยกัน๒.การสังเกตโดยผู้สังเกตไม่ได้เข้าไปร่วมในเหตุการณ์ หมายถึง การสังเกตที่ผู้ถูกสังเกตยู่ภายนอกวงของผู้ถูกสังเกต คือสังเกตในฐานะเป็นบุคคลภายนอก การสังเกตแบบ นี้แบ่งออกเป็น 2 ชนิด๒.๑การสังเกตแบบไม่มีโครงสร้าง หมายถึง การสังเกตที่ผู้สังเกตไม่ได้กำหนดหัวเรื่องเฉพาะเอาไว้๒.๒การสังเกตแบบมีโครงสร้าง หมายถึง การสังเกตที่ผู้สังเกตกำหนดเรื่องที่จะสังเกตเฉพาะเอาไว้
  • 8. เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผล(ต่อ) ๒.การสัมภาษณ์ (Interview) การสัมภาษณ์ คือ การสนทนาหรือการพูดโต้ตอบกันอย่างมีจุดมุ่งหมาย เพื่อค้นหาความรู้ ความจริง ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ล่วงหน้ารูปแบบของการสัมภาษณ์๑.การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง หมายถึง การสัมภาษณ์ที่ไม่ใช่แบบสัมภาษณ์ คือ ไม่จำเป็นต้องใช้ คำถามที่เหมือนกันหมดกับผู้ถูกสัมภาษณ์ทุกคน๒.การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง หมายถึง การสัมภาษณ์ที่ผู้สัมภาษณ์จะใช้แบบสัมภาษณ์ที่สร้างขึ้นไว้แล้ว
  • 9. เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผล(ต่อ) ๓.แบบสอบถาม(Questionnaire) แบบสอบถามเป็นเครื่องมือชนิดหนึ่งที่นิยมใช้กันมาก โดยเฉพาะการเก็บข้อมูลทางสังคมศาสตร์ ทั้งนี้เพราะเป็นวิธีการที่สะดวก และสามารถใช้วัดได้อย่างกว้างขวางรูปแบบของแบบสอบถาม๑.แบบสอบถามชนิดปลายเปิด (Open-ended Form)แบบสอบถามชนิดนี้ไม่ได้กำหนดคำตอบไว้ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ตอบเขียนตอบอย่างอิสระด้วยความคิดของตนเอง แบบสอบถามชนิดนี้ตอบยากและเสียเวลาในการตอบมาก เพราะผู้ตอบจะต้องคิดวิเคราะห์อย่างกว้างขวาง
  • 10. ๒.แบบสอบถามปลายปิด (Closed - ended Form)แบบสอบถามชนิดนี้ประกอบ ด้วย ข้อคำถามและตัวเลือก (คำตอบ) ซึ่งตัวเลือกนี้สร้างขึ้นโดยคาดว่าผู้ตอบ สามารถเลือกตอบ ได้ตามความต้องการ แบบสอบถามชนิดปลายปิด แบ่งเป็น ๔แบบ๒.๑แบบตรวจสอบรายการ (Checklist) เป็นการสร้างรายการของข้อคำถามที่เกี่ยวหรือสัมพันธ์กับคุณลักษณะของพฤติกรรม แต่ละรายการจะถูกประเมิน หรือชี้ให้ตอบในแง่ใดแง่หนึ่ง เช่น มี - ไม่มี จริง - ไม่จริง๒.๒มาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) เป็นเครื่องมือที่ใช้ในประเมินการปฏิบัติ กิจกรรม ทักษะต่าง ๆ มีระดับความเข้มให้พิจารณาตั้งแต่ 3 ระดับขึ้นไป เช่น เห็นด้วยอย่างยิ่ง เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง๒.๓แบบจัดอันดับ (Rank Order) มักจะให้ผู้ตอบจัดอันดับความสำคัญหรือคุณภาพ โดยให้ผู้ตอบเรียงลำกับตามความเข้มจากมากไปหาน้อย
  • 11. เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผล(ต่อ) ๔.การจัดอันดับ (Rank Order)เป็นเครื่องมือมือวัดผลให้นักเรียน หรือผู้ได้รับแบบสอบถามเป็นผู้ตอบ โดยการจัดอันดับความสำคัญหรือจัดอันดับคุณภาพ และใช้จัดอันดับของข้อมูลหรือผลงานต่าง ๆ ของนักเรียนแล้วจึงให้คะแนน ภายหลังเพื่อการประเมิน
  • 12. เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผล(ต่อ) ๕.การประเมินผลจากสภาพจริง (Authentic Assessment) หมายถึง กระบวนการสังเกต การบันทึก และรวบรวมข้อมูลจากงานและวิธีการที่นักเรียนทำ การประเมินผลจากสภาพจริงจะเน้นให้นักเรียนสามารถแก้ปัญหา เป็นผู้ค้นพบและผู้ผลิตความรู้ นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติจริง รวมทั้งเน้นพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน
  • 13. ความสำคัญของการประเมินผลจากสภาพจริง๑.การเรียนการสอนและการวัดประเมินผลจากสภาพจริง จะเอื้อให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างเต็มศักยภาพของแต่ละบุคคล๒.เป็นการเอื้อต่อการเรียนการสอนที่เน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลาง๓.เป็นการเน้นให้นักเรียนได้สร้างงาน๔.เป็นการผสมผสานให้กิจกรรมการเรียนรู้และการประเมินผล๕.เป็นการลดภาระงานซ่อมเสริมของครู
  • 14. เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผล(ต่อ) ๖.การวัดผลภาคปฏิบัติ (Performance Assessment) การวัดผลภาคปฏิบัติ เป็นการวัดผลงานที่ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติ ซึ่งสามารถวัดได้ทั้งกระบวนการและผลงาน ในสถานการณ์จริง หรือในสถานการณ์จำลอง สิ่งที่ควรคำนึงในการสอบวัดภาคปฏิบัติคือ ๑.ขั้นเตรียมงาน ๒.ขั้นปฏิบัติงาน ๓.เวลาที่ใช้ในการทำงาน ๔.ผลงาน
  • 15. เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผล(ต่อ) ๗.การประเมินผลโดยใช้แฟ้มสะสมงาน (Portfolios) เป็นแนวทางการประเมินผลโดยการรวมข้อมูลที่ครูและผู้เรียนทำกิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกัน โดยกระทำอย่างต่อเนื่องตลอดภาคเรียน ดังนั้นการวัดผลและประเมินผลโดยใช้แฟ้มสะสมงานส่วนหนึ่ง จะเป็นกิจกรรมที่สอดแทรกอยู่ใสภาพการเรียนประจำวัน โดยกิจกรรมที่สอดแทรกเหล่านี้จะวัด เนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับสภาพชีวิตประจำวัน
  • 16. เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผล(ต่อ) ๘.แบบทดสอบ(Test) แบบทดสอบ หมายถึงชุดคำถามหรือกลุ่มงานใดๆที่สร้างขึ้นเพื่อชักนำให้ผู้ถูกทดสอบ แสดงพฤติกรรม หรือปฏิกิริยาโต้ตอบอย่างใดอย่างหนึ่งออกมาให้สามารถสังเกตได้
  • 17. ประเภทของแบบทดสอบ สามารถแบ่งประเภทออกได้หลายลักษณะ ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่จะใช้๘.๑แบ่งตามพฤติกรรมหรือตามสมรรถภาพที่จะวัด แบ่งเป็น ๓ ประเภท ๑.แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ (Achievement Test) หมายถึง แบบทดสอบที่วัดสมรรถภาพสมองด้านต่าง ๆ ที่นักเรียนได้รับการเรียนรู้ผ่านมาแล้วว่ามีอยู่เท่าใดแบบทดสอบแบ่งออกเป็น ๒ชนิด๑.๑แบบทดสอบที่ครูสร้างขึ้น หมายถึง แบบทดสอบที่มุ่งวัดผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนเฉพาะกลุ่มที่ครูสอน๑.๒แบบทดสอบมาตรฐาน หมายถึง แบบทดสอบที่มุ่งวัดผลสัมฤทธิ์มีจุดมุ่งหมายเพื่อเปรียบเทียบคุณภาพต่าง ๆ ของนักเรียนที่ต่างกลุ่มกัน เช่น แบบทดสอบมาตรฐานระดับชาติ
  • 18. ๒.แบบทดสอบวัดความถนัด (Aptitude Test) หมายถึง แบบทดสอบที่มุ่งวัดสมรรถภาพสมองของ ผู้เรียน ๒.๑แบบทดสอบวัดความถนัดทางการเรียน หมายถึง แบบทดสอบที่มุ่งวัดความถนัดทางด้านวิชาการต่าง ๆ เช่น ด้านภาษา๒.๒แบบทดสอบวัดความถนัดเฉพาะ หมายถึง แบบทดสอบที่มุ่งวัดความถนัดเฉพาะที่เกี่ยวกับงานอาชีพต่าง ๆ หรือความสามารถพิเศษ เช่น ความสามารถทางดนตรี ๓.แบบทดสอบวัดบุคลิกภาพทางสังคม หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้วัดบุคลิกภาพและการปรับตัวให้เข้ากับ สังคม ซึ่งเป็นเรื่องที่วัด ได้ยาก ผลที่ได้ไม่คงที่แน่นอน๓.๑แบบทดสอบวัดเจตคติที่มีต่อบุคคล สิ่งของ เรื่องราว๓.๒แบบทดสอบวัดความสนใจที่มีต่ออาชีพ การศึกษา๓.๓แบบทดสอบวัดการปรับตัว เช่น การปรับตัวเข้ากับเพื่อน ๆ
  • 19. ๘.๒แบ่งตามลักษณะการตอบ๑.แบบทดสอบภาคปฏิบัติ หมายถึง แบบทดสอบที่ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติจริง เช่น การปรุงอาหาร๒.แบบทดสอบข้อเขียน หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้การเขียนตอบ๓.แบบทดสอบปากเปล่า หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้การพูดโต้ตอบแทนการเขียน ๘.๓แบ่งตามเวลาที่กำหนดให้ตอบ๑.แบบทดสอบที่จำกัดเวลาในการตอบ หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้เวลาน้อย ๒.แบบทดสอบที่ไม่จำกัดเวลาในการตอบ หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้เวลาตอบมาก
  • 20. ๘.๔แบ่งตามจำนวนผู้เข้าสอบ๑.แบบทดสอบเป็นรายบุคคล หมายถึง การสอบทีละคนมักเป็นการสอบภาคปฏิบัติ๒.แบบทดสอบเป็นชั้นหรือเป็นหมู่ หมายถึง การสอบทีละหลาย ๆ คน ๘.๕แบ่งตามสิ่งเร้าของการถาม5.1แบบทดสอบทางภาษา หมายถึง แบบทดสอบที่ต้องอาศัยภาษาของสังคมนั้น ๆ เป็นหลัก ใช้กับผู้ที่อ่านออกเขียนได้5.2แบบทดสอบที่ไม่ใช้ภาษา หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้รูปภาพ สัญลักษณ์หรือตัวเลข
  • 21. ๘.๖แบ่งตามลักษณะของการใช้ประโยชน์ ๑.แบบทดสอบย่อย หมายถึง แบบทดสอบประจำบท หรือหน่วยการเรียน๒.แบบทดสอบรวม หมายถึง แบบทดสอบสรุปรวมเนื้อหาที่เรียนผ่านมาตลอดภาคเรียน ๘.๗แบ่งตามเนื้อหาของข้อสอบในฉบับ๑.แบบทดสอบอัตนัย หมายถึง แบบทดสอบที่มีเฉพาะคำถามนักเรียนต้องคิดหาคำตอบเอง ๒.แบบทดสอบปรนัย หมายถึง แบบทดสอบที่มีทั้งคำถามและคำตอบเฉพาะคงที่แน่นอน
  • 22. การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล เป็นกระบวนการนำข้อมูลซึ่งเก็บรวบรวมข้อมูลได้ มาจัดระเบียบ แยกประเภท หรือใช้วิธีการทางสถิติ เพื่อตอบคำถามตามจุดมุ่งหมายของการประเมิน ลักษณะของข้อมูล ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือข่าวสาร เกี่ยวกับเรื่องต่างๆที่สนใจจะศึกษา ข้อมูลอาจแบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ ๑.ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ ข้อมูลที่อยู่ในรูปของจำนวน ปริมาณ หรือ ตัวเลข ๒.ข้อมูลเชิงคุณภาพ ได้แก่ ข้อมูลที่ไม่อยู่ในรูปของจำนวนและตัวเลข ประเภทของการวิเคราะห์ข้อมูล แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ ๑.การวิเคราะห์โดยไม่ใช้วิธีการทางสถิติ ๒.การวิเคราะห์โดยใช้วิธีการทางสถิติ
  • 23. การประเมินผลทางการศึกษา การประเมินผลทางการศึกษา ( Educational Evaluation ) หมายถึง กระบวนการในการตัดสินใจลงสรุปคุณลักษณะหรือพฤติกรรมของนักเรียนว่ามีคุณภาพดีระดับใดโดยอาศัยเกณฑ์อย่างใดอย่างหนึ่งในการเปรียบเทียบ มีองค์ประกอบ ๓ ประการคือ ๑.ผลการวัด( Measurement) ทำให้ทราบสภาพความจริงของสิ่งที่จะประเมินว่ามีปริมาณเท่าไร มีคุณสมบัติอย่างไร เพื่อนำข้อมูลไปพิจารณา๒.เกณฑ์การพิจารณา ( criteria) ในการที่จะตัดสินใจหรือลงสรุปสิ่งใดจะต้องมีมาตรฐานสำหรับสิ่งที่จะเปรียบเทียบกับสิ่งที่ได้จากการวัด๓.การตัดสินใจ ( Decision ) เป็นการชี้ขาดหรือสรุปผลการเปรียบเทียบระหว่างผลการวัดกับเกณฑ์ที่กำหนดว่าสอดคล้องกันหรือไม่ การตัดสินใจที่ดีต้องอาศัยการพิจารณาอย่างถี่ถ้วน กระทำอย่างยุติธรรม
  • 24. ขอบข่ายของการประเมินผลทางการศึกษา การประเมินทางการศึกษาจะขอบข่ายกว้าง - แคบเพียงใดและครอบคลุมสิ่งใดบ้างนั้นขึ้นอยู่กับความเข้าใจและการมองภาพของคำว่า การศึกษา ว่าประกอบด้วยสิ่งใดบ้าง กล่าวคือ ถ้ามองภาพการศึกษาว่าเป็นการเรียนการสอนในห้องเรียนเพียงประการเดียว การประเมินการศึกษาก็จะประเมินเฉพาะในห้องเรียนเท่านั้น แต่ถ้ามองภาพการศึกษากว้างไกลออกไปถึงองค์ประกอบอื่นๆ เช่น ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมของนักเรียน การประเมินทางการศึกษาก็จะต้องคลอบคลุมไปถึงองค์ประกอบดังกล่าวด้วย Input ได้แก่ ตัวนักเรียนทั้งในแง่ของระดับสติปัญญา ความสนใจสภาพแวดล้อมฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม Process ได้แก่ การวางแผนการดำเนินการ การบริหาร ซึ่งก่อให้เกิดพฤติกรรมการเรียนการสอน Product หรือ Output ได้แก่ ผลที่ได้จากผลรวมของ input และ Process เช่นความรู้ความสามารถ สติปัญญา เจตคติ คุณธรรม ทักษะในด้านต่างๆ เป็นต้น
  • 25. ความมุ่งหมายของการประเมินทางการศึกษา การประเมินทางการศึกษามีความหมายทางการประเมินทางการประเมินพอสรุปได้ ๓ ประการ๑.การประเมินเพื่อวินิจฉัย เป็นการประเมินเพื่อตรวจสอบหาข้อบกพร่อง ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน๒.การประเมินเพื่อปรับปรุง เป็นการปรับปรุงระหว่างการดำเนินงานโดยพิจารณาว่าจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้ตรงกับความต้องการ และเป็นที่ยอมรับหรือไม่๓.การประเมินเพื่อตัดสินเพื่อลงสรุป เป็นประเมินการดำเนินงานว่าการดำเนินงานนั้นมีประสิทธิภาพหรือไม่
  • 26. ความสำคัญของการประเมินทางการศึกษา ๑. ช่วยชี้ให้เห็นว่าการดำเนินงานเหมาะสมเพียงใด๒. ทำให้ทราบว่าการดำเนินงานบรรลุตามจุดประสงค์หรือไม่๓. ช่วยกระตุ้นให้มีการเร่งรัด ปรับปรุง และการดำเนินงาน๔. ช่วยเห็นข้อบกพร่องในการดำเนินงานในแต่ละขั้นตอนเป็นหลักในการปรับปรุงในการดำเนินงาน๕. ช่วยควบคุมการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพ๖. เป็นแนวทางในการกำหนดวิธีการในการดำเนินงานครั้งต่อไป
  • 27. หลักการของการประเมินผลทางการศึกษา ๑.กำหนดสิ่งที่จะประเมินให้ชัดเจนและวัดได้ เป็นการกำหนดว่าจะตัดสินใจให้คุณค่า ในเรื่องอะไร๒. วางแผนการประเมินให้รัดกุม ผู้ประเมินมีการวางแผนเก็บข้อมูล ที่เที่ยงตรงและเชื่อมั่นได้๓.เกณฑ์ที่ใช้ในการประเมินต้องสัมพันธ์กับสิ่งที่ต้องการวัดและจุดมุ่งหมายของการประเมิน๔.เลือกใช้เครื่องมือในการประเมินที่มีคุณภาพให้เหมาะสมกับสิ่งที่จะประเมิน๕.ปราศจากความลำเอียง สรุปการประเมินจะต้องใช้ดุลยพินิจด้วยความรอบคอบก่อนตัดสินใจ จะต้องประเมินด้วยความเที่ยงธรรมและมีคุณธรรมอย่างสูง
  • 29. การประเมินผลแบบอิงเกณฑ์ เป็นการวัดที่ต้องการทราบว่าบุคคลนั้นมีความสามารถถึงเกณฑ์ที่กำหนดไว้หรือไม่ การประเมินผลต้องนำคะแนนที่ได้จากผลงานไปเทียบกับเกณฑ์ที่กำหนดไว้ การวัดผลใช้ในการวัดสมรรถภาพเป็นรายบุคคล ถ้านักเรียนทำข้อสอบได้ถูกต้องถึงเกณฑ์ที่กำหนดไว้ถือว่าได้เรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายแล้ว ข้อควรคำนึงการประเมินแบบอิงเกณฑ์ ๑.วัตถุประสงค์การสอนต้องชัดเจน ๒.ข้อสอบมีความเที่ยงตรงสูงและครอบคลุมวัตถุประสงค์การสอน ๓.เกณฑ์ที่วัดต้องชัดเจน มีหลักเกณฑ์ที่อ้างอย่างยุติธรรม
  • 30. การประเมินผลแบบอิงกลุ่ม เป็นการวัดเพื่อเปรียบเทียบคะแนนของบุคคลใดบุคคลหนึ่งกับบุคคลอื่น คือจำแนกคะแนนสูงสุดจนต่ำสุดแล้วจึงนำคะแนนเหล่านั้นมาเปรียบเทียบเพื่อประเมินต่อไป ข้อควรคำนึงการประเมินแบบอิงกลุ่ม ๑.ข้อสอบต้องมีคุณภาพสูง มีความเชื่อมั่นและเที่ยงตรง ๒.ข้อสอบที่ใช้ต้องครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมด การประเมินจะต้องมีความยุติธรรม ตามสภาพความเป็นจริงของผลการเรียน