SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 36
องค์กรแห่งการเรียนรู้   (Learning  Organization)
การเรียนรู้  ( Learning) ,[object Object]
ประเภทของการเรียนรู้ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
แนวโน้มและทิศทางใหม่ขององค์กร 9.  คิดระดับโลก  9.  คิดในระดับท้องถิ่น  8.  ผู้เรียน  8.  ผู้รับการฝึกอบรม  7.  แสวงหาแหล่งฝึกอบรมจากภายนอก มากขึ้น  7.  มีแผนกฝึกอบรม  6.  มอบอำนาจให้พนักงานมากขึ้น  6.  บริหารด้วยการควบคุม  5.  แบ่งงานตามกระบวนการ  5.  แบ่งงานตามหน้าที่  4.  เน้นการทำงานเป็นทีม  4.  เน้นผลงานของแต่ละบุคคล  3.  เรียนรู้โดยตรงจากงาน  3 .   ใช้การฝึกอบรมเป็นหลัก 2.  ปฏิรูปกระบวนการทำงาน  2.  ปรับปรุงคุณภาพ 1.  เน้นที่ผลการปฏิบัติงาน  1.  เน้นที่พนักงาน   องค์กรใหม่   องค์กรเก่า
องค์กรแห่งการเรียนรู้คืออะไร ?? ,[object Object]
องค์กรแห่งการเรียนรู้คืออะไร ?? ,[object Object]
องค์กรแห่งการเรียนรู้คืออะไร ?? ,[object Object]
องค์กรแห่งการเรียนรู้คืออะไร   ?? ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ลักษณะขององค์กรแห่งการเรียนรู้      มุมมองในเชิงองค์กร  (Organizational  Perspective) 1.  มีมุมมองที่เป็นระบบโดยภาพรวม  มองเห็นและเข้าใจถึง   กระบวนการและความสัมพันธ์ต่างของระบบต่าง ๆ ทั่วทั้งองค์การ  2.  มีวิสัยทัศน์  เป้าหมายและค่านิยมร่วมกันทั้งองค์การ 3 .   เป็นการมองว่าองค์กรสามารถเรียนรู้และเติบโตได้    มุมมองในเชิงกระบวนการ  (Process  Perspective) 1.  การเล็งเห็นโอกาสในความไม่แน่นอนเพื่อสร้างความเจริญก้าวหน้า   2.  สามารถปรับตัวและสอดรับกับกระแสการเปลี่ยนแปลงได้ดี
   มุมมองในเชิงกระบวนการ  (Process  Perspective) ( ต่อ ) 3.  สร้างวัฒนธรรมของการใช้การเสริมแรงและการเปิดเผยข้อมูลในองค์กร 4.   มีการกระจายอำนาจการตัดสินใจด้วยการเพิ่มอำนาจการปฏิบัติงานแก่  พนักงานในองค์กร 5.   มีการสร้างเครือข่ายทั้งภายในและภายนอกองค์กร  ( คน  งาน  เทคโนโลยี  และชุมชน ) 6.   มีการให้รางวัลสำหรับความคิดริเริ่มสร้างสรรค์  และจัดตั้งโครงงาน  เพื่อรองรับความคิดดังกล่าว 7.  สร้างความไว้เนื้อเชื่อใจให้เกิดทั่วทั้งองค์การ 8.   มุ่งสู่การปรับปรุงแก้ไขอย่างต่อเนื่อง 9.  มีการใช้ระบบการสำรวจและประเมินทักษะสมรรถนะของการเรียนรู้   1 0 .   มีระบบต่าง ๆ เพื่อการเรียนรู้และใช้ประโยชน์ร่วมกันในองค์กร
   มุมมอง มุมมองที่เกี่ยวกับคน  ( Human  Perspective) 1 .  สนับสนุนให้พนักงานในระดับล่างได้มีโอกาสและสามารถอธิบาย ความคืบหน้าและอุปสรรคในการทำงานได้ 2.  สนับสนุนให้ผู้บริหารทำหน้าที่เป็นผู้ชี้แนะ  พี่เลี้ยง  ที่ปรึกษา  และเป็นผู้เกื้อหนุนการเรียนรู้แก่สมาชิกขององค์กร 3.   มีผู้ที่เป็นแม่แบบเกี่ยวกับการกล้าเสี่ยง  กล้าทดลองปฏิบัติในสิ่งที่ คิดดีแล้ว   4.   ให้การสนับสนุนและส่งเสริมการจัดตั้งทีมปฎิบัติงานทุกรูปแบบ 5.  มีการใช้คณะทำงานที่มีผู้ปฏิบัติมาจากหลาย ๆ  ส่วนงาน
ปัจจัยที่จะสนับสนุนการสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้   1.  ความเข้าใจใน สภาพแวดล้อมที่องค์กรได้ทำหน้าที่อยู่   2.  มีความคุ้นเคยในการมองเห็น ความแตกต่างด้านการปฏิบัติงาน   3.  การให้ความสำคัญกับเรื่องการวัดและประเมินผล   4.  การให้มีการริเริ่มและฝึกทดลองอย่างต่อเนื่อง   5.  มี บรรยากาศที่เปิดเผยและโปร่งใส   6.  มี การเรียนรู้อย่างต่อเนื่องในทุกระดับขององค์กร
7.  มีทางเลือกที่ หลากหลายในการปฎิบัติงาน 8.  การมีผู้สนับสนุนการเรียนรู้ในทุกระดับ   9.  ความสามารถในการมองเห็นและเข้าใจในทิศทาง  /  วิสัยทัศน์ของผู้นำองค์กรในทุกระดับ  10.  การพิจารณาสิ่งต่างๆ อย่างเป็นระบบ   ปัจจัยที่จะสนับสนุนการสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้
กลยุทธ์ในการเสริมสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้   1.  การรู้จักวิธีการเรียนรู้  (Learn How to Learn) 2.  สร้างความยึดมั่น  ผูกพัน  และการมองเห็น  ความสำคัญต่อการเรียนรู้ในทุกระดับ   3.  ส่งเสริมการทำงานเป็นทีมและให้สมาชิกคิด  /  ทำ  อย่างเป็นระบบ
เทคนิควิธีการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้   ✰   เทคนิคการเรียนรู้ระดับบุคคล   1.  การศึกษาด้วยตนเอง  (Self - study)   2.  การเรียนรู้ที่จะเรียนรู้  (Learning  to  Learn)   3.   การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก  (Problem  Oriented  Learning) 4.  การใช้วิธีการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ  และมีแบบแผน  หรือเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน  (Methodical)
✰   เทคนิคการเรียนรู้ระดับ กลุ่ม   1.  การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม  (Team  Learning)   2.  การเรียนรู้โดยการปฏิบัติ  (Action  Learning)   3.  การเรียนรู้ร่วมกัน  (Collective  Learning)   ✰   เทคนิค การเรียนรู้ระดับองค์กร   1.  การเรียนรู้แบบรวมพลังเสริมอำนาจ  (Empowerment Learning)   2.  การเรียนรู้แบบเครือข่าย  (Network  Learning)
อุปสรรคการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
บรรยากาศที่ดีของการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
องค์กรที่พึงปรารถนา ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ระบบย่อยองค์กรแห่งการเรียนรู้   แบบจำลององค์การแห่งการเรียนรู้ของ  Marquardt  (1996) พลวัตการเรียนรู้ การปรับเปลี่ยน  องค์กร การเพิ่มอำนาจ การใช้ เทคโนโลยี การจัดการ  ความรู้
[object Object]
ระบบย่อยองค์กรแห่งการเรียนรู้   1.  พลวัตการเรียนรู้   (Learning  Dynamics)   -  ระดับการเรียนรู้  -  รูปแบบของการเรียนรู้  -  ทักษะการเรียนรู้ 2.  การปรับเปลี่ยนองค์กร   (Organization  Transformation)  -  วิสัยทัศน์  -  วัฒนธรรมองค์กร  -  กลยุทธ์  3.  การเพิ่มอำนาจบุคคล   (People  Empowerment)   4.  การจัดการความรู้   (Knowledge  Management)   5.  การใช้เทคโนโลยี  (Technology  Application)
  วินัย  5  ประการ  (Fifth  Disciplines) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การใฝ่เรียนใฝ่รู้ของบุคคล   (Personal  Mastery)    เป็นลักษณะของบุคคลที่ เป็นนายของตัวเอง   มีความสามารถในการ  ควบคุมจิตใจและพฤติกรรมของตัวเอง     เป็นคนที่เรียนรู้อยู่ตลอดเวลา ยอมรับความเป็นจริง ไม่ยึดมั่นถือมั่น  เปลี่ยนไปตามโลก มีการเจริญเติบโตทางจิตใจ     มีความปรารถนาที่จะเรียนรู้เพื่อเพิ่มศักยภาพของตนเพื่อมุ่งสู่จุดมุ่งหมายและความสำเร็จที่ได้กำหนดไว้
การพัฒนากรอบแนวคิด   (Mental Models) ลักษณะที่บุคคลสามารถพัฒนารูปแบบความเชื่อให้สอดคล้องกับ  การเปลี่ยนแปลงและสภาพความเป็นจริงโดยไม่ยึดติดอยู่กับความเชื่อ  เก่า ๆ เพื่อทำให้เกิดความรู้และความเข้าใจในการทำงานมากยิ่งขึ้น     ทักษะการตรวจสอบความคิด  (Reflection  Skill)     ทักษะการถาม  (Inquiry  Skill)     ความสมดุลของการยืนยันความคิดของตนกับการถาม  (Balancing  Inquiry  and  Advocacy)     การเปิดกว้าง  (Openness)    ยึดถือเรื่องความดีความชอบ  /  มองผลประโยชน์สูงสุดของ องค์กรเป็นหลัก
การสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน  (Shared  Vision)    เป็นวิธีการทำให้แต่ละคนเกิดวิสัยทัศน์  การคิดไปข้างหน้าและสร้าง สถานการณ์จำลองแบบต่าง ๆ     เป็นการทำความเข้าใจร่วมกันในการตั้งเป้าหมายและมองอนาคตไปในทิศทางเดียวกันโดยให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการสร้างภาพแห่งอนาคตขององค์กร เพื่อให้สมาชิกทุกคนได้ตระหนักและเข้าใจในความเปลี่ยนแปลงอนาคตขององค์กรและยินยอมผูกพันในการดำเนินงานภายใต้จุดมุ่งหมายเดียวกัน     สมาชิกทุกคนจะได้รับการพัฒนาวิสัยทัศน์ของตนให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ขององค์กรโดยการรับฟังและแลกเปลี่ยนวิสัยทัศน์ส่วนบุคคล  การให้เหตุผลโดยคำนึงถึงความเป็นไปได้
การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม  (Team  Learning)    เป็นการเรียนรู้ร่วมกันของสมาชิกโดยอาศัยความรู้และความคิด ของสมาชิกในกลุ่มมาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อพัฒนาความรู้  และความสามารถของทีมให้เกิดขึ้น     จะเกิดขึ้นได้ต่อเมื่อมีการรวมพลังของสมาชิกในทีมให้ได้มีโอกาสเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ  ร่วมกัน  โดยแลกเปลี่ยนข้อมูล  ความคิดเห็นและประสบการณ์ซึ่งกันและกันอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง จนเกิดเป็นความคิดร่วมกันของกลุ่ม
การคิด อย่าง เป็นระบบ  (Systems  Thinking)    เป็นวิธีการคิดที่ครอบคลุมรอบด้าน สามารถเข้าใจปรากฏการณ์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ มองเห็นความสัมพันธ์และและสามารถเชื่อมโยงระบบย่อยต่าง ๆ ในองค์กรได้ รวมทั้งมองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรของตน กับองค์การภายนอกได้
 
โครงสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ที่เหมาะสม   Marquardt  and  Reynolds  (1994) 1.  โครงสร้างที่เหมาะสม  (Appropriate  Structure) 2.  วัฒนธรรมการเรียนรู้  (Corporate  Learning  Culture) 3.  การเพิ่มอำนาจและความรับผิดชอบในงาน  (Empowerment) 4.  การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม  (Environmental  Scanning) 5.  การสร้างและถ่ายโอนความรู้  (Knowledge  Creation  and  Transfer)
6.  เทคโนโลยีการเรียนรู้  (Learning  Technology) 7.  มุ่งเน้นคุณภาพ  (Quality) 8.  กลยุทธ์  (Strategy) 9.  บรรยากาศที่สนับสนุน  (Supportive  Atmosphere) 10.  การทำงานเป็นทีมและมีเครือข่าย  (Teamwork  and  Networking) 11.  วิสัยทัศน์  (Vision)
Learning  Organization  Domains องค์กร แห่งการเรียนรู้ ทรัพยากรมนุษย์ “ วินัย  5  ประการ” ระบบย่อย องค์กรแห่งการเรียนรู้ โครงสร้าง องค์กรที่เหมาะสม การเรียนรู้ ขององค์กร
ทศปฏิบัติสู่ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ปฏิบัติที่  1  สร้างวัฒนธรรมใหม่ ปฏิบัติที่  2  สร้างวิสัยทัศน์ร่วม  ( shared vision) ปฏิบัติที่  3  สร้างและใช้ความรู้ในการทำงาน ปฏิบัติที่  4  เรียนลัด ปฏิบัติที่  5  สร้างการเปลี่ยนแปลงด้วยยุทธศาสตร์เชิงบวก   ปฏิบัติที่  6  จัด  “ พื้นที่ ”  หรือ  “ เวที ” ปฏิบัติที่  7  พัฒนาคน   ปฏิบัติที่  8  พัฒนาระบบให้คุณ ให้รางวัล ปฏิบัติที่  9  หาเพื่อนร่วมทาง   ปฏิบัติที่  10  จัดทำ  “ ขุมทรัพย์ความรู้ ”  (knowledge assets)
ทศวิบัติแห่งความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ วิบัติที่  1  ภาวะผู้นำที่พิการหรือบิดเบี้ยว   วิบัติที่  2  วัฒนธรรมอำนาจ   วิบัติที่  3  ไม่ให้คุณค่าต่อความแตกต่างหลากหลาย วิบัติที่  4   ไม่เปิดโอกาสให้ทดลองวิธีทำงานใหม่ ๆ   วิบัติที่  5  ไม่รับรู้ความเปลี่ยนแปลงภายนอก   วิบัติที่  6  ไม่คิดพึ่งตนเองในด้านความรู้   วิบัติที่  7  ไม่ยอมรับความไม่ชัดเจนในการทำงานบางส่วน   วิบัติที่  8  การดำเนินการจัดการความรู้ไม่ได้แทรกเป็นเนื้อเดียวกับงานประจำ  ทำให้รู้สึกว่าเป็นภาระ หรือเป็นงานที่เพิ่มขึ้น   วิบัติที่  9  การดำเนินการจัดการความรู้ไม่ได้พุ่งเป้าไปที่เป้าหมายหลักขององค์การ วิบัติที่  10  ไม่มีพื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ที่ทุกคนในหน่วยงานสามารถเข้ามา  แลกเปลี่ยน
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
Proud N. Boonrak
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
Parichart Ampon
 
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
ma020406
 
9 steps to HPO - 9 วิธีปฏิบัติสู่ HPO
9 steps to HPO - 9 วิธีปฏิบัติสู่ HPO 9 steps to HPO - 9 วิธีปฏิบัติสู่ HPO
9 steps to HPO - 9 วิธีปฏิบัติสู่ HPO
maruay songtanin
 

Mais procurados (20)

Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
 
ทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบ
 
รายงาน กลุม 1
รายงาน กลุม 1รายงาน กลุม 1
รายงาน กลุม 1
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
 
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
 
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
 
การพัฒนาองค์การ (Organization Development:OD)
การพัฒนาองค์การ (Organization Development:OD)การพัฒนาองค์การ (Organization Development:OD)
การพัฒนาองค์การ (Organization Development:OD)
 
การแนะแนว
การแนะแนวการแนะแนว
การแนะแนว
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
 
การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing  การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing
 
System management
System managementSystem management
System management
 
Tqa
TqaTqa
Tqa
 
หลักการจัดการ.
หลักการจัดการ.หลักการจัดการ.
หลักการจัดการ.
 
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษาจิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
 
นวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษานวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษา
 
ทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหารทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหาร
 
ทฤษฎีองค์การ
 ทฤษฎีองค์การ  ทฤษฎีองค์การ
ทฤษฎีองค์การ
 
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
 
9 steps to HPO - 9 วิธีปฏิบัติสู่ HPO
9 steps to HPO - 9 วิธีปฏิบัติสู่ HPO 9 steps to HPO - 9 วิธีปฏิบัติสู่ HPO
9 steps to HPO - 9 วิธีปฏิบัติสู่ HPO
 

Destaque

รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
นิพ พิทา
 
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กรงานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
sukanya56106930005
 
Group Project Lldg Edd 8510 Ppt[1]
Group Project Lldg Edd 8510 Ppt[1]Group Project Lldg Edd 8510 Ppt[1]
Group Project Lldg Edd 8510 Ppt[1]
learningorg
 
Computer กับกระบวนการทางธุรกิจ
Computer กับกระบวนการทางธุรกิจComputer กับกระบวนการทางธุรกิจ
Computer กับกระบวนการทางธุรกิจ
thanapat yeekhaday
 
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณวิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
directorcherdsak
 
วัฒนธรรมองค์กร
วัฒนธรรมองค์กรวัฒนธรรมองค์กร
วัฒนธรรมองค์กร
seteru
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้
Rainbow Tiwa
 

Destaque (20)

รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
 
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
 
Learning Organization
Learning OrganizationLearning Organization
Learning Organization
 
Oganization Culture
Oganization CultureOganization Culture
Oganization Culture
 
เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้....รู้ได้อย่างไร
เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้....รู้ได้อย่างไรเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้....รู้ได้อย่างไร
เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้....รู้ได้อย่างไร
 
องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กรงานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
 
วัฒนธรรมองค์กร
วัฒนธรรมองค์กรวัฒนธรรมองค์กร
วัฒนธรรมองค์กร
 
Group Project Lldg Edd 8510 Ppt[1]
Group Project Lldg Edd 8510 Ppt[1]Group Project Lldg Edd 8510 Ppt[1]
Group Project Lldg Edd 8510 Ppt[1]
 
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
 
Computer กับกระบวนการทางธุรกิจ
Computer กับกระบวนการทางธุรกิจComputer กับกระบวนการทางธุรกิจ
Computer กับกระบวนการทางธุรกิจ
 
Introduction to Knowledge Management
Introduction to Knowledge ManagementIntroduction to Knowledge Management
Introduction to Knowledge Management
 
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
 
การเรียนการสอนที่ผูกพันกับสังคม 590726 n
การเรียนการสอนที่ผูกพันกับสังคม 590726 nการเรียนการสอนที่ผูกพันกับสังคม 590726 n
การเรียนการสอนที่ผูกพันกับสังคม 590726 n
 
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณวิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
 
วัฒนธรรมองค์กร
วัฒนธรรมองค์กรวัฒนธรรมองค์กร
วัฒนธรรมองค์กร
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้
 
Km(Pongsak)1
Km(Pongsak)1Km(Pongsak)1
Km(Pongsak)1
 
หลักการเขียนวิสัยทัศน์ที่ดี
หลักการเขียนวิสัยทัศน์ที่ดีหลักการเขียนวิสัยทัศน์ที่ดี
หลักการเขียนวิสัยทัศน์ที่ดี
 
งานนำเสนอ สามบทครูเดียว การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา
งานนำเสนอ สามบทครูเดียว การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษางานนำเสนอ สามบทครูเดียว การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา
งานนำเสนอ สามบทครูเดียว การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา
 

Semelhante a องค์กรแห่งการเรียนรู้

องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..
Areerat Robkob
 
Word qd
Word qdWord qd
Word qd
MUQD
 
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
Walaiporn Mahamai
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
Vachii Ra
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
Noppasorn Boonsena
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
Chaya Kunnock
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
noiiso_M2
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
Kiw E D
 

Semelhante a องค์กรแห่งการเรียนรู้ (20)

องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..
 
Word qd
Word qdWord qd
Word qd
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 
การนำเสนอในการฝึกอบรม
การนำเสนอในการฝึกอบรมการนำเสนอในการฝึกอบรม
การนำเสนอในการฝึกอบรม
 
การพัฒนาทีมงาน
การพัฒนาทีมงานการพัฒนาทีมงาน
การพัฒนาทีมงาน
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ภารกิจในระดับครูมือใหม่
ภารกิจในระดับครูมือใหม่ภารกิจในระดับครูมือใหม่
ภารกิจในระดับครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
กลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยมกลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยม
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ภารกิจในระดับครูมือใหม่1
ภารกิจในระดับครูมือใหม่1ภารกิจในระดับครูมือใหม่1
ภารกิจในระดับครูมือใหม่1
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
นำเสนอ
นำเสนอนำเสนอ
นำเสนอ
 

องค์กรแห่งการเรียนรู้

  • 2.
  • 3.
  • 4.
  • 5. แนวโน้มและทิศทางใหม่ขององค์กร 9. คิดระดับโลก 9. คิดในระดับท้องถิ่น 8. ผู้เรียน 8. ผู้รับการฝึกอบรม 7. แสวงหาแหล่งฝึกอบรมจากภายนอก มากขึ้น 7. มีแผนกฝึกอบรม 6. มอบอำนาจให้พนักงานมากขึ้น 6. บริหารด้วยการควบคุม 5. แบ่งงานตามกระบวนการ 5. แบ่งงานตามหน้าที่ 4. เน้นการทำงานเป็นทีม 4. เน้นผลงานของแต่ละบุคคล 3. เรียนรู้โดยตรงจากงาน 3 . ใช้การฝึกอบรมเป็นหลัก 2. ปฏิรูปกระบวนการทำงาน 2. ปรับปรุงคุณภาพ 1. เน้นที่ผลการปฏิบัติงาน 1. เน้นที่พนักงาน องค์กรใหม่ องค์กรเก่า
  • 6.
  • 7.
  • 8.
  • 9.
  • 10. ลักษณะขององค์กรแห่งการเรียนรู้  มุมมองในเชิงองค์กร (Organizational Perspective) 1. มีมุมมองที่เป็นระบบโดยภาพรวม มองเห็นและเข้าใจถึง กระบวนการและความสัมพันธ์ต่างของระบบต่าง ๆ ทั่วทั้งองค์การ 2. มีวิสัยทัศน์ เป้าหมายและค่านิยมร่วมกันทั้งองค์การ 3 . เป็นการมองว่าองค์กรสามารถเรียนรู้และเติบโตได้  มุมมองในเชิงกระบวนการ (Process Perspective) 1. การเล็งเห็นโอกาสในความไม่แน่นอนเพื่อสร้างความเจริญก้าวหน้า 2. สามารถปรับตัวและสอดรับกับกระแสการเปลี่ยนแปลงได้ดี
  • 11. มุมมองในเชิงกระบวนการ (Process Perspective) ( ต่อ ) 3. สร้างวัฒนธรรมของการใช้การเสริมแรงและการเปิดเผยข้อมูลในองค์กร 4. มีการกระจายอำนาจการตัดสินใจด้วยการเพิ่มอำนาจการปฏิบัติงานแก่ พนักงานในองค์กร 5. มีการสร้างเครือข่ายทั้งภายในและภายนอกองค์กร ( คน งาน เทคโนโลยี และชุมชน ) 6. มีการให้รางวัลสำหรับความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และจัดตั้งโครงงาน เพื่อรองรับความคิดดังกล่าว 7. สร้างความไว้เนื้อเชื่อใจให้เกิดทั่วทั้งองค์การ 8. มุ่งสู่การปรับปรุงแก้ไขอย่างต่อเนื่อง 9. มีการใช้ระบบการสำรวจและประเมินทักษะสมรรถนะของการเรียนรู้ 1 0 . มีระบบต่าง ๆ เพื่อการเรียนรู้และใช้ประโยชน์ร่วมกันในองค์กร
  • 12. มุมมอง มุมมองที่เกี่ยวกับคน ( Human Perspective) 1 . สนับสนุนให้พนักงานในระดับล่างได้มีโอกาสและสามารถอธิบาย ความคืบหน้าและอุปสรรคในการทำงานได้ 2. สนับสนุนให้ผู้บริหารทำหน้าที่เป็นผู้ชี้แนะ พี่เลี้ยง ที่ปรึกษา และเป็นผู้เกื้อหนุนการเรียนรู้แก่สมาชิกขององค์กร 3. มีผู้ที่เป็นแม่แบบเกี่ยวกับการกล้าเสี่ยง กล้าทดลองปฏิบัติในสิ่งที่ คิดดีแล้ว 4. ให้การสนับสนุนและส่งเสริมการจัดตั้งทีมปฎิบัติงานทุกรูปแบบ 5. มีการใช้คณะทำงานที่มีผู้ปฏิบัติมาจากหลาย ๆ ส่วนงาน
  • 13. ปัจจัยที่จะสนับสนุนการสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ 1. ความเข้าใจใน สภาพแวดล้อมที่องค์กรได้ทำหน้าที่อยู่ 2. มีความคุ้นเคยในการมองเห็น ความแตกต่างด้านการปฏิบัติงาน 3. การให้ความสำคัญกับเรื่องการวัดและประเมินผล 4. การให้มีการริเริ่มและฝึกทดลองอย่างต่อเนื่อง 5. มี บรรยากาศที่เปิดเผยและโปร่งใส 6. มี การเรียนรู้อย่างต่อเนื่องในทุกระดับขององค์กร
  • 14. 7. มีทางเลือกที่ หลากหลายในการปฎิบัติงาน 8. การมีผู้สนับสนุนการเรียนรู้ในทุกระดับ 9. ความสามารถในการมองเห็นและเข้าใจในทิศทาง / วิสัยทัศน์ของผู้นำองค์กรในทุกระดับ 10. การพิจารณาสิ่งต่างๆ อย่างเป็นระบบ ปัจจัยที่จะสนับสนุนการสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้
  • 15. กลยุทธ์ในการเสริมสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ 1. การรู้จักวิธีการเรียนรู้ (Learn How to Learn) 2. สร้างความยึดมั่น ผูกพัน และการมองเห็น ความสำคัญต่อการเรียนรู้ในทุกระดับ 3. ส่งเสริมการทำงานเป็นทีมและให้สมาชิกคิด / ทำ อย่างเป็นระบบ
  • 16. เทคนิควิธีการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ ✰ เทคนิคการเรียนรู้ระดับบุคคล 1. การศึกษาด้วยตนเอง (Self - study) 2. การเรียนรู้ที่จะเรียนรู้ (Learning to Learn) 3. การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก (Problem Oriented Learning) 4. การใช้วิธีการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ และมีแบบแผน หรือเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน (Methodical)
  • 17. เทคนิคการเรียนรู้ระดับ กลุ่ม 1. การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม (Team Learning) 2. การเรียนรู้โดยการปฏิบัติ (Action Learning) 3. การเรียนรู้ร่วมกัน (Collective Learning) ✰ เทคนิค การเรียนรู้ระดับองค์กร 1. การเรียนรู้แบบรวมพลังเสริมอำนาจ (Empowerment Learning) 2. การเรียนรู้แบบเครือข่าย (Network Learning)
  • 18.
  • 19.
  • 20.
  • 21. ระบบย่อยองค์กรแห่งการเรียนรู้ แบบจำลององค์การแห่งการเรียนรู้ของ Marquardt (1996) พลวัตการเรียนรู้ การปรับเปลี่ยน องค์กร การเพิ่มอำนาจ การใช้ เทคโนโลยี การจัดการ ความรู้
  • 22.
  • 23. ระบบย่อยองค์กรแห่งการเรียนรู้ 1. พลวัตการเรียนรู้ (Learning Dynamics) - ระดับการเรียนรู้ - รูปแบบของการเรียนรู้ - ทักษะการเรียนรู้ 2. การปรับเปลี่ยนองค์กร (Organization Transformation) - วิสัยทัศน์ - วัฒนธรรมองค์กร - กลยุทธ์ 3. การเพิ่มอำนาจบุคคล (People Empowerment) 4. การจัดการความรู้ (Knowledge Management) 5. การใช้เทคโนโลยี (Technology Application)
  • 24.
  • 25. การใฝ่เรียนใฝ่รู้ของบุคคล (Personal Mastery)  เป็นลักษณะของบุคคลที่ เป็นนายของตัวเอง มีความสามารถในการ ควบคุมจิตใจและพฤติกรรมของตัวเอง  เป็นคนที่เรียนรู้อยู่ตลอดเวลา ยอมรับความเป็นจริง ไม่ยึดมั่นถือมั่น เปลี่ยนไปตามโลก มีการเจริญเติบโตทางจิตใจ  มีความปรารถนาที่จะเรียนรู้เพื่อเพิ่มศักยภาพของตนเพื่อมุ่งสู่จุดมุ่งหมายและความสำเร็จที่ได้กำหนดไว้
  • 26. การพัฒนากรอบแนวคิด (Mental Models) ลักษณะที่บุคคลสามารถพัฒนารูปแบบความเชื่อให้สอดคล้องกับ การเปลี่ยนแปลงและสภาพความเป็นจริงโดยไม่ยึดติดอยู่กับความเชื่อ เก่า ๆ เพื่อทำให้เกิดความรู้และความเข้าใจในการทำงานมากยิ่งขึ้น  ทักษะการตรวจสอบความคิด (Reflection Skill)  ทักษะการถาม (Inquiry Skill)  ความสมดุลของการยืนยันความคิดของตนกับการถาม (Balancing Inquiry and Advocacy)  การเปิดกว้าง (Openness)  ยึดถือเรื่องความดีความชอบ / มองผลประโยชน์สูงสุดของ องค์กรเป็นหลัก
  • 27. การสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน (Shared Vision)  เป็นวิธีการทำให้แต่ละคนเกิดวิสัยทัศน์ การคิดไปข้างหน้าและสร้าง สถานการณ์จำลองแบบต่าง ๆ  เป็นการทำความเข้าใจร่วมกันในการตั้งเป้าหมายและมองอนาคตไปในทิศทางเดียวกันโดยให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการสร้างภาพแห่งอนาคตขององค์กร เพื่อให้สมาชิกทุกคนได้ตระหนักและเข้าใจในความเปลี่ยนแปลงอนาคตขององค์กรและยินยอมผูกพันในการดำเนินงานภายใต้จุดมุ่งหมายเดียวกัน  สมาชิกทุกคนจะได้รับการพัฒนาวิสัยทัศน์ของตนให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ขององค์กรโดยการรับฟังและแลกเปลี่ยนวิสัยทัศน์ส่วนบุคคล การให้เหตุผลโดยคำนึงถึงความเป็นไปได้
  • 28. การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม (Team Learning)  เป็นการเรียนรู้ร่วมกันของสมาชิกโดยอาศัยความรู้และความคิด ของสมาชิกในกลุ่มมาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อพัฒนาความรู้ และความสามารถของทีมให้เกิดขึ้น  จะเกิดขึ้นได้ต่อเมื่อมีการรวมพลังของสมาชิกในทีมให้ได้มีโอกาสเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ ร่วมกัน โดยแลกเปลี่ยนข้อมูล ความคิดเห็นและประสบการณ์ซึ่งกันและกันอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง จนเกิดเป็นความคิดร่วมกันของกลุ่ม
  • 29. การคิด อย่าง เป็นระบบ (Systems Thinking)  เป็นวิธีการคิดที่ครอบคลุมรอบด้าน สามารถเข้าใจปรากฏการณ์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ มองเห็นความสัมพันธ์และและสามารถเชื่อมโยงระบบย่อยต่าง ๆ ในองค์กรได้ รวมทั้งมองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรของตน กับองค์การภายนอกได้
  • 30.  
  • 31. โครงสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ที่เหมาะสม Marquardt and Reynolds (1994) 1. โครงสร้างที่เหมาะสม (Appropriate Structure) 2. วัฒนธรรมการเรียนรู้ (Corporate Learning Culture) 3. การเพิ่มอำนาจและความรับผิดชอบในงาน (Empowerment) 4. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (Environmental Scanning) 5. การสร้างและถ่ายโอนความรู้ (Knowledge Creation and Transfer)
  • 32. 6. เทคโนโลยีการเรียนรู้ (Learning Technology) 7. มุ่งเน้นคุณภาพ (Quality) 8. กลยุทธ์ (Strategy) 9. บรรยากาศที่สนับสนุน (Supportive Atmosphere) 10. การทำงานเป็นทีมและมีเครือข่าย (Teamwork and Networking) 11. วิสัยทัศน์ (Vision)
  • 33. Learning Organization Domains องค์กร แห่งการเรียนรู้ ทรัพยากรมนุษย์ “ วินัย 5 ประการ” ระบบย่อย องค์กรแห่งการเรียนรู้ โครงสร้าง องค์กรที่เหมาะสม การเรียนรู้ ขององค์กร
  • 34. ทศปฏิบัติสู่ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ปฏิบัติที่ 1 สร้างวัฒนธรรมใหม่ ปฏิบัติที่ 2 สร้างวิสัยทัศน์ร่วม ( shared vision) ปฏิบัติที่ 3 สร้างและใช้ความรู้ในการทำงาน ปฏิบัติที่ 4 เรียนลัด ปฏิบัติที่ 5 สร้างการเปลี่ยนแปลงด้วยยุทธศาสตร์เชิงบวก ปฏิบัติที่ 6 จัด “ พื้นที่ ” หรือ “ เวที ” ปฏิบัติที่ 7 พัฒนาคน ปฏิบัติที่ 8 พัฒนาระบบให้คุณ ให้รางวัล ปฏิบัติที่ 9 หาเพื่อนร่วมทาง ปฏิบัติที่ 10 จัดทำ “ ขุมทรัพย์ความรู้ ” (knowledge assets)
  • 35. ทศวิบัติแห่งความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ วิบัติที่ 1 ภาวะผู้นำที่พิการหรือบิดเบี้ยว วิบัติที่ 2 วัฒนธรรมอำนาจ วิบัติที่ 3 ไม่ให้คุณค่าต่อความแตกต่างหลากหลาย วิบัติที่ 4 ไม่เปิดโอกาสให้ทดลองวิธีทำงานใหม่ ๆ วิบัติที่ 5 ไม่รับรู้ความเปลี่ยนแปลงภายนอก วิบัติที่ 6 ไม่คิดพึ่งตนเองในด้านความรู้ วิบัติที่ 7 ไม่ยอมรับความไม่ชัดเจนในการทำงานบางส่วน วิบัติที่ 8 การดำเนินการจัดการความรู้ไม่ได้แทรกเป็นเนื้อเดียวกับงานประจำ ทำให้รู้สึกว่าเป็นภาระ หรือเป็นงานที่เพิ่มขึ้น วิบัติที่ 9 การดำเนินการจัดการความรู้ไม่ได้พุ่งเป้าไปที่เป้าหมายหลักขององค์การ วิบัติที่ 10 ไม่มีพื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ที่ทุกคนในหน่วยงานสามารถเข้ามา แลกเปลี่ยน
  • 36.