SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 30
Baixar para ler offline
1




 สวัสดีคะ ลูกเสือ – เนตรนารี บทเรียนที่ถออยูนี้
                                           ื
 เปนบทเรียนสําเร็จรูป เรื่อง สถานที่สาคัญในทองถิ่น
                                      ํ
  ของลูกเสือสามัญ ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 นะครับ




      ลูกเสือสามารถใชเรียนไดดวยความสามารถของ
ตนเอง ขอใหลูกเสืออานคําแนะนําและปฏิบัติตามคํา
ชี้แจงแตละขั้นตอน ตั้งแตตนจนจบ ลูกเสือจะมีความ
เขาใจเรื่องราวของสถานที่สําคัญในทองถิ่นไดอยาง
ถูกตอง โดยปฏิบัติตามขั้นตอนดังนี้
2




       ขอ 1. กอนที่ลูกเสือจะศึกษาบทเรียน ลูกเสือ
ควรทราบวาตนเองมีความรูในเรื่องนี้มากนอย
เพียงใด โดยทําแบบประเมินผลตนเองกอนเรียน ที่
เตรียมไวตอนตน และตรวจคําตอบจากเฉลยที่ใหไว



    ขอ 2. ศึกษารายละเอียดเนื้อหาในแตละตอน
    อยางละเอียด อยาขามตอน พรอมทั้งฝกทํา
    กิจกรรมที่กําหนดใหในแตละตอน


      ขอ 3. ถาลูกเสือสามารถตอบคําถามได
      ถูกตอง แสดงวาลูกเสือเขาใจดีแลว ใหอาน
      และตอบคําถามตอไปเรื่อย ๆ จนจบ



              ขอ 4. ทําแบบประเมินตนเองหลังเรียน ถา
              ไดคะแนนประเมินต่ํากวารอยละ 80 ให
              กลับมาทบทวนแลวทําแบบทดสอบใหม



ขอ 5. ลูกเสือตองมีความซื่อสัตยตอ
ตนเองไมดูเฉลยคําถามกอน
3


                              แบบประเมินตนเองกอนเรียน

จุดประสงค 1. บอกชือสถานที่สําคัญในทองถิ่นได
                    ่
           2. บอกความสําคัญของสถานที่ตาง ๆ ในทองถิ่นได
           3. ชี้แนะและนําทางไปยังสถานที่สําคัญในทองถิ่นได
           4. เขียนแผนที่และกําหนดตําแหนงของสถานที่ตาง ๆ ในทองถิ่นได
           5. เขียนรายงานการสํารวจได

คําแนะนํา ใหลูกเสืออานคําถามตอไปนี้ทีละขอ แลวเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียง
          คําตอบ เดียวแลวตอบลงในกระดาษคําตอบ ควรใชเวลาในการทํา
          ไมเกิน 8 นาที

1. เหตุใดเราจึงตองรูจกสถานที่สําคัญตาง ๆ ในทองถิ่น
                       ั
       ก. เพื่อจะไดรูจักอาณาเขตของทองถิ่น         ข. เพื่อแสดงออกถึงความรักทองถิ่น
       ค. เพื่อจะไดใชบริการไดถูกตอง              ง. เพื่อจะไดนําไปตอบขอสอบ
2. ขอใดกลาวไดถูกตองที่สุด
       ก. การไปสํารวจควรรีบไปรีบกลับ                 ข. เราควรไปสํารวจโดยลําพัง
       ค. เราไมควรจดบันทึกหลังการสํารวจ             ง. ตองวางแผนกอนทําการสํารวจ
3. คําถามแรกที่เราตองหาคําตอบในการสํารวจสถานที่ คืออะไร
       ก. จะไปนานเทาไร                              ข. จะไปหาใคร
       ค. จะไปอยางไร                                ง. จะไปที่ไหน
4. ขอใดไมใชสถานที่ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา
       ก. วัด                                        ข. ศูนยศลปาชีพ
                                                               ิ
       ค. โบสถ                                      ง. มัสยิด
5. เราจะไปศึกษาเกี่ยวกับงานอาชีพตาง ๆ ไดที่ใด
       ก. วัดพระพุทธบาท                              ข. ศาลหลวงตนไทร
       ค. ศูนยศลปาชีพบานเนินธัมมัง
                 ิ                                   ง. วัดเขาแกววิเชียร
4


6. สถานที่ใดชวยสงเสริมการทองเที่ยวในทองถิ่นได
         ก. ศาลหลวงตนไทร                          ข. สถานีอนามัย
         ค. ที่ทําการองคการบริหารสวนตําบล        ง. วัดเขาแกววิเชียร
7. ถาถูกโจรจี้ชิงกระเปา ควรไปแจงความที่ใด
         ก. ตลาด                                   ข. สถานีตารวจ
                                                               ํ
         ค. โรงพยาบาล                              ง. ที่ทําการไปรษณีย
8. ศูนยศิลปาชีพบานเนินธัมมัง สงเสริมอาชีพดานใด
         ก. เย็บผา                                ข. ทอผา
         ค. เลี้ยงสัตว                            ง. ปลูกพืช
9. ขอใดเปนวิธีการที่จะทําใหผสอบถามเสนทางไปยังสถานที่ตาง ๆ ไดถูกตอง
                                ู
         ก. ใหอานแบบรายงานการสํารวจ              ข. อธิบายพรอมวาดแผนที่ประกอบ
         ค. พาไปยังสถานีจอดรถประจําทาง             ง. มอบรูปถายสถานที่ที่จะไปให
10. เมื่อกลับจากการสํารวจแลวลูกเสือควรปฏิบัติอยางไร
         ก. เลาประสบการณใหเพื่อนฟง             ข. นํารูปถายมาใหเพื่อนดู
         ค. เขียนรายงานการสํารวจ                   ง. เฉย ๆ ไมตองทําอะไร
         .
5




                          ขอ 6 ก


                                             ขอ 7 ข
           ขอ 5 ค




                                                   ขอ 8 ข
 ขอ 4 ข


                     เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน

ขอ 3 ง                                                ขอ 9 ข




          ขอ 2 ง                               ขอ 10 ค



                          ขอ 1 ค
6




                    สวัสดีครับพี่นองลูกเสือที่รักทุกคน
                    วันนี้เราจะพาทุกคนไปเที่ยวแหลง
                    ทองเที่ยวในทองถิ่นของเรานะครับ



                                   แหลงทองเที่ยวในทองถิ่นที่
                                   ไหนหรือคะ



             ที่ อําเภอเชียรใหญ
             ของเราซิครับ




สถานที่สําคัญในทองถิ่นของเรา ( อําเภอเชียรใหญ )

1.   สถานที่ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา ไดแก วัด ศาลเจา
2.   สถานที่ราชการ ไดแก สถานีอนามัย ที่ทําการองคการบริหารสวนตําบล
3.   ที่พักบุคคลสําคัญ ไดแก บานพักกํานัน
4.   สถานที่สาคัญอื่น ๆ ไดแก วัดพระพุทธบาท รานคาชุมชน ศาลหลวงตนไทร
               ํ
     ศูนยศิลปาชีพบานเนินธัมมัง
7




            เรามารูจักทองถิ่นของเรากัน
                   
      กอนนะครับ
          โรงเรียนของเราตั้งอยูที่ ตําบล
      เขาพระบาท อําเภอเชียรใหญ
      จังหวัดนครศรีธรรมราช ครับ




       อําเภอเชียรใหญ เปนอําเภอหนึ่งใน จังหวัดนครศรีธรรมราช อําเภอเชียรใหญ
มีประวัติความเปนมาสืบทอดมาแตครั้งสมัยสุโขทัยเปนราชธานี แตมีหลักฐาน
แนชัดในสมัยพระพุทธเลิศหลานภาลัย แหงกรุงรัตนโกสินทร ปรากฏในทําเนียบ
ขาราชการเมืองนครศรีธรรมราช จุลศักราช 1173 วาทองที่อําเภอนี้ เปนหัวเมือง
ฝายขวา ขึ้นอยูในเขตปกครองทองที่เมืองนครศรีธรรมราช ชื่อ "เมืองพิเชียร"
ต อ มาในสมั ย พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล า เจ า อยู หั ว ได มี ก ารปฏิ รู ป การ
ปกครองครั้งสําคัญ มีการประกาศใชพระราชบัญญัติลักษณะปกครองทองที่
ร.ศ.116 ในป พ.ศ. 2440 มีการรวมหัวเมืองฝายขวาในลุมน้ําปากพนัง 4 หัว
เมืองเขาดวยกัน คือ เมืองพิเชียร เมืองพนัง เมืองเบี้ยชัด ( ที่ตั้งอําเภอปากพนัง
ในปจจุบัน) และที่ตรงตําบลคลองกระบือ และตําบลหูลอง ตั้งเปนอําเภอ เรียกวา
อําเภอเบี้ยชัด ทําใหเมืองพิเชียร กลายเปนตําบลหนึ่งของอําเภอเบี้ยชัด สําหรับ
ที่ตั้งของเมืองพิเชียรสันนิษฐานวา เดิมตั้งอยูฝงขวาของแมน้ําปากพนัง ที่บาน
หมอมราม หมูที่ 3 ตําบลบานกลางปจจุบัน และเลากันวาที่ตั้งบานพิเชียรมีตน
ตะเคียนใหญอยูตนหนึ่ง จึงเรียกกันวา "บานพิเชียรเคียนใหญ" เรียกสั้น ๆ ภาษา
ป ก ษ ใ ต ว า " บ า นเชี ย รใหญ " ต อ มาเมื่ อ วั น ที่ 1 กุ ม ภาพั น ธ 2480
กระทรวงมหาดไทย ไดประกาศตั้งกิ่งอําเภอเชียรใหญ และยกฐานะเปนอําเภอ
เชียรใหญ เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2490
8




              ประวัติความเปนมา ตําบลเขาพระบาท




    ตําบลเขาพระบาทเปนตําบลเกาแก ซึ่งมีรอยพระพุทธบาทเปนที่
เคารพนับถือของประชาชนทั่วไปในตําบลและใกลเคียง ประชาชน
นับถือศาสนาพุทธ ตั้งอยูในเขตการปกครองของอําเภอเชียรใหญ
ประกอบไปดวย 9 หมูบาน ไดแก บานหนองศรีขวัญ บานทองพูน
บานหนองมนต บานไกรไทย บานตรุด บานปากคลอง บานหนอง
ชีพูน บานดอนโรง และบานสวนเรียน กระทรวงมหาดไทยได
ประกาศยกฐานะจากสภาตําบลเปนองคการบริหารสวนตําบล
เขาพระบาท เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2539 ซึ่งปจจุบันเปน อบต. ชัน5
                                                             ้
9




                     เรามารูจักสถานที่สําคัญ
                     แตละแหงกันดีกวาครับ



         สถานทีแรกที่เราจะเดินทางไปก็คือ
                ่
     ไปนมัสการพระพุทธบาทจําลองที่วัด
     พระพุทธบาทอยูทางทิศเหนือของโรงเรียน
     วัดแดง หางจากโรงเรียนประมาณ 1.5 ก.ม.




         ประวัติวัดพระพุทธบาท

    วัดพระพุทธบาท ตั้งอยูบนเขาพระบาททาง
ทิศเหนือ หันหนาวัดไปทางทิศตะวันออก
เปนวัดเกาแกที่มีประวัติความเปนมาที่
ยาวนาน มีความสําคัญทางประวัติศาสตร
     วัดพระพุทธบาทพื้นที่สวนใหญเปนภูเขา
                             
ขอบเขตพุทธาวาสถือเอาอุททสีมาเปนเขต มา
ตั้งแตโบราณ ประมาณ 700 ปเศษ
อาณาเขต
 ทิศเหนือ           จด บอหัวเขา
 ทิศใต             จด เทือกเขาพระบาท
 ทิศตะวันออก จด บอปรัง
 ทิศตะวันตก จด บอหลา
10




                    แหลงเรียนรูวัดพระพุทธบาท
                                




รอยพระพุทธบาทจําลอง                             รองรอยอารยะธรรม




                                        บอหลา บอน้าลึกประมาณ 1 เมตร
                                                    ํ
     พอทานกลิน                                 แตไมเคยแหง
    อดีตเจาอาวาส
11



               นอกจากรองรอยแหงความ
     เจริญรุงเรืองทางพระพุทธศาสนาแลว
     ยังมีอะไรที่นาสนใจอีกหรือเปลา ครับ


                           ยังมีอีกครับ




ทิวทัศนที่สวยงาม
มองลงมาจากวัด

                                             สะตอ
                                     มีทั่วไปในบริเวณวัด
12




เมื่อลูกเสือสํารวจเสร็จแลว ก็
อยาลืมบันทึกดวยนะวาเรา
ไดรับความรูอะไรบาง


                  กลับจากวัดพระพุทธบาทเราก็จะ
                  เดินทางไปยังศาลหลวงตนไทร
                  กันนะครับ




          ศาลหลวงตนไทร
13




      ศาลหลวงตนไทรมีประวัติ
      ความเปนมาอยางไรครับ




   " ศาลหลวงตนไทร " อยูในเขตพื้นที่ปาสงวนแหงชาติ ปาทาชางขาม
ม. 11 ตําบลการะเกด อําเภอเชียรใหญ ไดติดโครงการพระราชดําริ
เมื่อป พ.ศ..2538      จากนั้นกรมชลประทานจึงไดเขามาดําเนินการ
โครงการ และไดนําเครื่องจักรกลเขามาเพื่อทําการขุดในพื้นที่แหงนี้
และเมื่อมีเครื่องจักรกลเขามาในพื้นที่บริเวณที่ตนไทรอยู ก็ไดเกิด
เหตุการณขึ้นหลายอยางกับเครื่องจักรกล และคนขับ สุดความสามารถ
ที่จะดําเนินการได จึงตองทิ้งโครงการไวเปนแรมป เพราะขุดตนไทร
ไมได และเมื่อทราบถึงพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวเมื่อวันที่ 16
พฤศจิกายน 2545 นายจํานูญ พลายดวง ไดกราบทูลใหทรงทราบที่
จังหวัดประจวบคีรีขันธ เมื่อพระองคทรงทราบถึงผลกระทบ ก็ไดมี
ดํารัสใหเวน หามทําลายและใหอนุรักษไว และไดมีตัวแทนจากเลขา
สํานักพระราชวังและองคมนตรี อธิบดีกรมชลประธานมาดูเพื่อยืนยัน
จากกรมชลประธานฝายกอสรางวาดําเนินการไมไดจริง และไดสราง
ศาลขึ้น ชื่อวา " ศาลหลวงตนไทร " โดย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา
สยามบรมราชกุมารี ไดมาวางศิลาฤกษเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ 2547
14




                     ดวยพระบารมี




          ราษฎรปลูกปาเฉลิมพระเกียรติ
                 เฝารับเสด็จ




สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี
เสด็จมาวางศิลาฤกษเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ 2547
15




          การสรางศาลหลวงตนไทรในครั้งนั้นก็ไดงบในการปรับปรุงพัฒนา
มาจากมูลนิธิชัยพัฒนา 11 ลานบาท ซึ่งไดพัฒนาหลายขั้นตอน เพื่อใหเปนที่
สักการบูชา และไดเปดเปนทางการเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2547 นอกจากนี้ ใน
วันที่ 13-14 เมษายน ของทุกปก็จะมีงานประจําปขึ้น โดยไดรับความรวมมือ
ทั้งภาครัฐและเอกชน มีการสมโภชศาลหลวงตนไทร นายสําราญ หนูดํา
ผูดูแลศาลหลวงตนไทรกลาววา เมื่อกรมชลประทานเขามาดําเนินการขุด
คลอง เพื่อทําโครงการก็ไดขุดพบสิ่งของโบราณมากมายในบริเวณรอบๆ
ตนไทร โดยมีทั้งโครงกระดูกมนุษย กระดูกสัตวน้ํา และเครื่องปนดินเผา
แตทุกอยางนั้นไดแปรสภาพกลายเปนหินและฟอสซิลหมดแลว ปจจุบัน
พราหมณ สํานักพระราชวังไดอัญเชิญ ของทั้งหมดหอผาขาวบรรจุไวใตศาล
ที่ในหลวงพระราชทาน นายสําราญ ยังกลาววา ขณะนี้ศาลหลวงตนไทรแหง
นี้ ไดเปนสถานที่สักการบูชาเชิงทองเที่ยว โดยมีนักทองเที่ยวทั้งชาวไทยจาก
หลากหลายจังหวัดและชาวตางชาติ เชน มาเลเซีย สิงคโปร อังกฤษ มาเยี่ยม
ชมและสักการะมากมาย ดวยความเชื่อบวกกับทัศนียภาพโดยรอบบริเวณตน
ไทรที่สวยงาม ไดสรางรายไดใหกับจังหวัดไดพอสมควร สําหรับรายไดจะ
นําไปพัฒนาศาลหลวงตอไป ซึ่งขณะนี้ทางคณะกรรมการศาลหลวงตนไทร
อบต.ในพื้นที่ก็กําลังพัฒนาทัศนียภาพโดยรอบใหสวยงามมากยิ่งขึ้น เพื่อรับ
นักทองเที่ยวในเทศกาลตางๆ อยู
16




แหลงเรียนรูในวันนี้ที่ศาลหลวงตนไทร
            
17




            อําเภอเชียรใหญของเรามีแหลง
            เรียนรูที่นาสนใจมากมายซินะ


                                      ใชแลวคะ เรายังมีศูนยศิลปาชีพ
                                      ที่เนินธัมมังดวยคะ




           บานเนินธัมมังตั้งอยูในเขตพื้นที่ หมูที่ 5 บานเนินธัมมัง ตําบล
แมเจาอยูหัว อําเภอเชียรใหญ จังหวัดนครศรีธรรมราช เปนที่ตั้งของศูนย
ศิ ล ปาชี พ บ า นเนิ น ธั ม มั ง พื้ น ที่ ส ว นใหญ เ ป น ที่ ร าบลุ ม และป า พรุ
เสื่อมสภาพ เดิมอาชีพหลักของประชากรคือการทํานา แตเนื่องจากพื้นที่
เปนปาพรุ ทําใหน้ําเค็มลนเขามาในเขตพื้นที่ อาชีพการทํานาจึงประสบ
ปญหา ประชากรขาดรายได ซึ่งบริเวณหมูที่ 5 บานเนินธัมมัง มีสภาพน้ํา
ขังเกือบตลอดป บางพื้นที่ไมมีไฟฟาใช ชุมชนบานเนินธัมมัง ตําบลแม
เจ า อยู หั ว เป น ชุ ม ชนที่ ไ ด รั บ ความสนใจจากภายนอกมากขึ้ น อั น
เนื่องมาจากเปนพื้นที่ ที่ถูกจัดวายากจนที่สุดของจังหวัดนครศรีธรรมราช
จึงถูกเสนอใหเปนพื้นที่เรงดวนที่ตองพัฒนา ตอมานายอําเภอเชียรใหญ
ตัดสินใจสงชื่อไปยังสํานักพระราชวัง เพื่อพิจารณาเปนพื้นที่เปาหมายใน
การจั ด ตั้ ง ศู น ย ศิ ล ปาชี พ ซึ่ ง เป น โครงการในสมเด็ จ พระนางเจ า
พระบรมราชินีนาถ
18




  สมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินีนาถ
เสด็จบานเนินธัมมังเมื่อ 7 ตุลาคม 2536




    อาคารศูนยศิลปาชีพบานเนินธัมมัง
19




                            ประวัติความเปนมา

         สมเด็จพระบรมราชินีนาถไดทรงเสด็จพระราชดําเนินเยี่ยมเยียนราษฎร
บานเนินธัมมัง หมูที่ 5 ตําบลแมเจาอยูหัว อําเภอเชียรใหญ จังหวัด
นครศรีธรรมราช เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2536
         พระองคเห็นวา ราษฎรมีฐานะยากจน ประกอบอาชีพหลักคือการทํานา
ผลผลิตที่ไดรับอยูในเกณฑต่ํา ทําใหหัวหนาครอบครัวตองออกไปทํางานตาง
ถิ่น เหลือแตแมบาน เด็กและคนชรา จึงทรงพระราชทานพระราชทรัพยสวน
พระองค เพื่อกอสรางศาลาศิลปาชีพ ( หลังเกา ปจจุบัน เปนโรงเก็บกระจูด )
เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2537 และพระองคทรงเริ่มสงเสริมงานศิลปาชีพให
ราษฎรในพื้นที่และราษฎรในหมูบานใกลเคียงเปนตนมา
         ป 2540 ทรงมีพระราชเสาวณีย ใหกอสรางอาคารศิลปาชีพหลังใหมขึ้น
แทนหลังเกา และเปดทําการอยางเปนทางการเมื่อ 2 ตุลาคม 2542 เปนอาคาร
คอนกรีตเสริมเหล็ก 2 ชั้น กวาง 25 เมตร ยาว 45 เมตร โดยชั้นลางเปนหอง
โถงโลง อนุญาตใหเปนที่ปฏิ บัติงานของกลุ มทอผ าหมู ที่ 5 ต.แมเจาอยูหัว
บานเนินธัมมัง สวนชั้นบน ประกอบดวยหองสวนพระองค ( หองทรงงาน )
หองผูติดตามชาย หองผูติดตามหญิง โดยจัดเจาหนาที่จากกองทัพภาคที่ 4 เพื่อ
ทําหนาที่อํานวยการ ประสานงานกํากับดูแล และติดตามผลงานของสมาชิก
ซึ่งจะตองดําเนินการควบคูไปดวยกันกับโครงการพัฒนาพื้นที่ลุมน้ําปากพนัง
อันเปนผลใหราษฎรมีความเปนดีอยูดีขึ้น ปจจุบันมีสมาชิกทั้งสิ้น 508 คน
20




                 วัตถุประสงคของศูนยศลปาชีพบานเนินธัมมัง
                                      ิ

1.   เพื่อดําเนินงานตามพระราชเสาวนียของสมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินีนาถ
                                       
2.   เพื่อใหราษฎรมีรายไดเสริมในหวงเวลาที่วางเวนจากการประกอบอาชีพแลว
3.   เพื่อใหราษฎรในพื้นที่และหมูบานใกลเคียงมีรายไดเพิ่มขึ้น
4.   เพื่ออนุรกษงานดานศิลปาชีพใหคงอยูสืบไป
               ั




      สมเด็จ ฯ ทรงเสด็จมาทรงงานที่
      เนินธัมมังดวยหรือครับ

                         ใชคะ สมเด็จ ฯ เคยเสด็จมาทรงงาน 4
                         ครั้ง แลว และทรงตรวจงานที่ศูนยดวย
                         พระองคเองทีเดียว
21



      แหลงเรียนรูที่ศูนยศิลปาชีพบานเนินธัมมัง
                  




การปนดายเพื่อทอผา


                                        วิทยากรแนะนําวิธีทอผา




   งานกระจูด




                                          งานปกผาดวยมือ

งานถักโครเชร
22




สถานที่สําคัญในทองถิ่นของเรายังมี
อยูอีกมากมายนะครับ เราตอง
ชวยกันดูแล


                 ใชคะทุกคนตองชวยกันดูแลไมไป
                 ทําลายสภาพแวดลอมและอื่น ๆ
                 นะคะ




         ออ ยังมีสถานที่ที่นาสนใจอีก 2 – 3
         แหงครับ เดี๋ยวจะพาไปรูจักครับ
23



                             วัดเขาแกววิเชียร




         วัดเขาแกววิเชียร ตั้งอยู บนเนินเขาเล็ก ๆ กลางทุงนา ในหมูที่ 9
ตําบลเชียรใหญ อําเภอเชียรใหญ เดิมวัดนี้เรียกวา วัดเขาวิเชียร ตาม
หลักฐานจารึกที่ระฆัง ซึ่งปจจุบันระฆังใบนี้เก็บรักษาไวที่วัดพระมหาธาตุ
อําเภอเมืองนครศรีธรรมราช วัดเขาแกววิเชียรเปนวัดที่เกาแกกอสรางมาไม
นอยกวา 400 ป จากการพิสูจนอิฐฐาน เจดียวัดเขาแกววิเชียร โดยกรม
ศิลปากร นอกจากนี้ที่วัดมีพระปญญาเปนพุทธรูปเกาแก และเจดียเกาแก
ชื่อเจดียพระติลิมุย ชาวบานมักจะไปกราบไหวขอใหบุตรหลานสอบเขา
         
ทํางาน มักจะไดตามที่ขอ มีบอน้ํามากถึง 11 บอ มีชื่อเรียกตาง ๆ กัน และ
เปนสถานที่รมรื่น พักผอนหยอนใจ เปนสถานที่ศึกษาพันธุไมหลายชนิด
นอกจากนี้ที่วัดเขาแกววิเชียร มีลิงประมาณ 200 กวาตัว เปนลิงฝูงใหญซึ่ง
อาศัยรวมกันในชุมชนบานเขาแกววิเชียร
      การเดินทาง สะดวกมากโดยทางรถยนต จากนครศรีธรรมราชใชทาง
หลวง หมายเลข 408 (นครศรีธรรมราช-สงขลา)เลี้ยวซายบริเวณสามแยก
บานสระไคร (ประมาณ กม. ที่ 25 ) ใชถนนราดยางตลอดเสนทางถึงวัดเขา
แกววิเชียร ระยะทาง 8 กิโลเมตร
24




                     เราไปรูจักสถานที่สําคัญของทองถิ่น
                     เรามาแลว เราบันทึกกันมาแลวยังคะ
                     หากยัง รีบบันทึกซิคะ




                                              แบบรายงานการสํารวจ
 ชื่อ................................สกุล.................................หมู......................ชั้น.................
 ชื่อสถานที่.............................. ................ตั้งอยูที่ตรอก/ถนน................................
 ตําบล..............................อําเภอ.................................จังหวัด..................................
 ผูที่รับผิดชอบสถานที่......................................................โทรศัพท........................
 ลักษณะของสถานที่...............................................................................................
...............................................................................................................................
 การเดินทางจากจุดที่กําหนดใหระยะทาง..............กิโลเมตร อยูทางทิศ..................             
 เดินทางโดย....................................ใชเวลาเดินทางประมาณ......................ชั่วโมง
 สถานที่หรือสิ่งที่อยูใกลเคียง กอนถึง................................................................
ความสําคัญของสถานที่ รายละเอียดในการใหบริการทางใดบาง
................................................................................................................................
................................................................................................................................
................................................................................................................................
..
                                               ลงชื่อ ........................................................
                                                        วันที่...........เดือน.................พ.ศ..................
25


                              แบบประเมินตนเองหลังเรียน

จุดประสงค เพื่อประเมินผลความกาวหนาในการเรียนรูของลูกเสือ
              เรื่องสถานที่สําคัญในทองถิ่น
คําแนะนํา ใหลูกเสืออานคําถามตอไปนี้ทีละขอ แลวเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียง
          คําตอบ เดียวแลวตอบลงในกระดาษคําตอบ ควรใชเวลาในการทํา
          ไมเกิน 8 นาที

1. เหตุใดเราจึงตองรูจกสถานที่สําคัญตาง ๆ ในทองถิ่น
                       ั
       ก. เพื่อจะไดรูจักอาณาเขตของทองถิ่น         ข. เพื่อแสดงออกถึงความรักทองถิ่น
       ค. เพื่อจะไดใชบริการไดถูกตอง              ง. เพื่อจะไดนําไปตอบขอสอบ
2. ขอใดกลาวไดถูกตองที่สุด
       ก. การไปสํารวจควรรีบไปรีบกลับ                 ข. เราควรไปสํารวจโดยลําพัง
       ค. เราไมควรจดบันทึกหลังการสํารวจ             ง. ตองวางแผนกอนทําการสํารวจ
3. คําถามแรกที่เราตองหาคําตอบในการสํารวจสถานที่ คืออะไร
       ก. จะไปนานเทาไร                              ข. จะไปหาใคร
       ค. จะไปอยางไร                                ง. จะไปที่ไหน
4. ขอใดไมใชสถานที่ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา
       ก. วัด                                        ข. ศูนยศลปาชีพ
                                                               ิ
       ค. โบสถ                                      ง. มัสยิด
5. เราจะไปศึกษาเกี่ยวกับงานอาชีพตาง ๆ ไดที่ใด
       ก. วัดพระพุทธบาท                              ข. ศาลหลวงตนไทร
       ค. ศูนยศลปาชีพบานเนินธัมมัง
                 ิ                                   ง. วัดเขาแกววิเชียร
6. สถานที่ใดชวยสงเสริมการทองเที่ยวในทองถิ่นได
       ก. ศาลหลวงตนไทร                              ข. สถานีอนามัย
       ค. ที่ทําการองคการบริหารสวนตําบล            ง. วัดเขาแกววิเชียร
26


7. ถาถูกโจรจี้ชิงกระเปา ควรไปแจงความที่ใด
         ก. ตลาด                                   ข. สถานีตํารวจ
         ค. โรงพยาบาล                              ง. ที่ทําการไปรษณีย
8. ศูนยศิลปาชีพบานเนินธัมมัง สงเสริมอาชีพดานใด
         ก. เย็บผา                                ข. ทอผา
         ค. เลี้ยงสัตว                            ง. ปลูกพืช
9. ขอใดเปนวิธีการที่จะทําใหผูสอบถามเสนทางไปยังสถานที่ตาง ๆ ไดถูกตอง
         ก. ใหอานแบบรายงานการสํารวจ              ข. อธิบายพรอมวาดแผนที่ประกอบ
         ค. พาไปยังสถานีจอดรถประจําทาง             ง. มอบรูปถายสถานที่ที่จะไปให
10. เมื่อกลับจากการสํารวจแลวลูกเสือควรปฏิบัติอยางไร
         ก. เลาประสบการณใหเพื่อนฟง             ข. นํารูปถายมาใหเพื่อนดู
         ค. เขียนรายงานการสํารวจ                   ง. เฉย ๆ ไมตองทําอะไร
         .
27




                          ขอ 6 ก


                                             ขอ 7 ข
           ขอ 5 ค




                                                   ขอ 8 ข
 ขอ 4 ข


                     เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน

ขอ 3 ง                                                ขอ 9 ข




          ขอ 2 ง                               ขอ 10 ค



                          ขอ 1 ค
28


                แบบบันทึกคะแนนสอบกอนเรียน และหลังเรียน

                         เรื่อง สถานที่สําคัญในทองถิ่น


  กอนเรียน            หลังเรียน                         ความตาง                หมายเหตุ

เต็ม 10 คะแนน      เต็ม 10 คะแนน




                 ลงชื่อ ...............................................ผูกากับ
                                                                         ํ
                              ( นางวรรดี พูลสวัสดิ์ )
29


                                     บรรณานุกรม

กรมพลศึกษา,กองการลูกเสือ.กระทรวงศึกษาธิการ.ความรูเกี่ยวกับการลูกเสือ.กรุงเทพฯ:โรง
        พิมพคุรุสภาลาดพราว,2542
เขมชาติ อมาตยกุล . กิจกรรมลูกเสือ – เนตรนารี สามัญ ( ลูกเสือตรี - โท – เอก ) . กรุงเทพฯ
        : สํานักพิมพแอมพันธ ,2548
คณะกรรมการบริหารลูกเสือแหงชาติ,สํานักงาน.กิจกรรมลูกเสือ - เนตรนารี ชั้นประถมศึกษา
        ปที่5.กรุงเทพฯ:โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว,2540
____________. ขอบังคับคณะลูกเสือแหงชาติวาดวยการปกครอง หลักสูตรและวิชาพิเศษ
         พ.ศ. 2509.กรุงเทพฯ:โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, 2530
____________. ขอบังคับคณะลูกเสือแหงชาติวาดวยการปกครอง หลักสูตร และวิชาพิเศษ
        ลูกเสือสามัญ(ฉบับที่ 13) พ.ศ. 2525. กรุงเทพฯ:โรงพิมพคุรุสภา,2529
คณะลูกเสือแหงชาติ, มูลนิธิ. กิจกรรมลูกเสือ - เนตรนารี ชั้นประถมศึกษาปที่ 1 – 6.
        กรุงเทพฯ:สํานักพิมพอักษรเจริญทัศน, มปป..
ยงยุทธ ลิจวน และ วรรดี พูลสวัสดิ.์ ศูนยศิลปาชีพบานเนินธัมมัง, นครศรีธรรมราช :โรง
        พิมพไทยอักษร. 2547.
วาสนา คงกิ่ง . ศาลหลวงตนไทร, นครศรีธรรมราช: โรงพิมพไทยอักษร. 2547.
ดาลัต แกววิเชียร. หนังสือประกอบกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ชุดวิชา ชาวคาย ตามหลักสูตร
        การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ:โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว,2546
เตชินี ชวลิต.กฎลูกเสือ - เนตรนารี และ กฎจราจร.รานสุรยา,มปป..
                                                       ิ
ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ,สํานักงาน.การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาบุคลากรลูกเสือ ยุว
        กาชาดและกิจการนักเรียน. กรุงเทพฯ:มปท.,2547
พลศึกษา, กรม, กระทรวงศึกษาธิการ. คูมือการจัดกิจกรรมลูกเสือชั้นประถมศึกษาปที่ 5 – 6.
        กรุงเทพฯ: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, 2536
___________. คูมือผูบังคับบัญชาลูกเสือ ระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ:โรงพิมพคุรสภา ุ
        ลาดพราว,2537
30


วิชาการ, กรม,กระทรวงศึกษาธิการ. คูมือการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ
        องคการรับสงสินคาและพัสดุภัณฑ,2545
___________. คูมือการจัดกิจกรรมลูกเสือ - เนตรนารี ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 – 6 (ลูกเสือ
        สามัญ).กรุงเทพฯ:โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว,2533
___________. แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
        พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ:โรงพิมพคุรสภาลาดพราว,2546
                                                   ุ
___________. เอกสารประกอบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ:
        โรงพิมพองคการรับสงสินคาและพัสดุภัณฑ,2545
อภัย จันทวิมล.การลูกเสือสําหรับเด็กชาย.กรุงเทพฯ:โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว,2545
อํานาจ ชางเรียน.ลูกเสือ - เนตรนารี ชวงชั้นที่ 2 ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 สมบูรณแบบ.
        กรุงเทพฯ:สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด,2544

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
พัน พัน
 
เรขาคณิตด้วยก้านไม้
เรขาคณิตด้วยก้านไม้เรขาคณิตด้วยก้านไม้
เรขาคณิตด้วยก้านไม้
Jiraprapa Suwannajak
 
โครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
โครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติโครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
โครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
siriyakorn saratho
 
ตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
ตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัดตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
ตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
ทับทิม เจริญตา
 
เฉลยแบบทดสอบหนังสือเลขเรียกหนังสือ
เฉลยแบบทดสอบหนังสือเลขเรียกหนังสือเฉลยแบบทดสอบหนังสือเลขเรียกหนังสือ
เฉลยแบบทดสอบหนังสือเลขเรียกหนังสือ
Supaporn Khiewwan
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
krupornpana55
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
Inmylove Nupad
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลายโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
Inmylove Nupad
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
Inmylove Nupad
 

Mais procurados (20)

แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
ปกโครงงาน
ปกโครงงานปกโครงงาน
ปกโครงงาน
 
เรขาคณิตด้วยก้านไม้
เรขาคณิตด้วยก้านไม้เรขาคณิตด้วยก้านไม้
เรขาคณิตด้วยก้านไม้
 
แนวข้อสอบเอกประถมศึกษา ชุดที่ 2
แนวข้อสอบเอกประถมศึกษา ชุดที่ 2แนวข้อสอบเอกประถมศึกษา ชุดที่ 2
แนวข้อสอบเอกประถมศึกษา ชุดที่ 2
 
โครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
โครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติโครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
โครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
ตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
ตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัดตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
ตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
 
โครงการใช้เงินรายได้สถานศึกษา ต่อจากกลยุทธ์ ที่ 5น 306
โครงการใช้เงินรายได้สถานศึกษา ต่อจากกลยุทธ์ ที่ 5น 306โครงการใช้เงินรายได้สถานศึกษา ต่อจากกลยุทธ์ ที่ 5น 306
โครงการใช้เงินรายได้สถานศึกษา ต่อจากกลยุทธ์ ที่ 5น 306
 
เฉลยแบบทดสอบหนังสือเลขเรียกหนังสือ
เฉลยแบบทดสอบหนังสือเลขเรียกหนังสือเฉลยแบบทดสอบหนังสือเลขเรียกหนังสือ
เฉลยแบบทดสอบหนังสือเลขเรียกหนังสือ
 
3หลักสูตรคณิตเพิ่มเติมม.ต้น
3หลักสูตรคณิตเพิ่มเติมม.ต้น3หลักสูตรคณิตเพิ่มเติมม.ต้น
3หลักสูตรคณิตเพิ่มเติมม.ต้น
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
บทที่ 3 บทที่ 4 และบทที่ 5
บทที่ 3 บทที่ 4 และบทที่ 5บทที่ 3 บทที่ 4 และบทที่ 5
บทที่ 3 บทที่ 4 และบทที่ 5
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯการอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลายโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 

Semelhante a บทเรียนสำเร็จรูป สถานที่สำคัญในท้องถิ่น

บทเรียนสำเร็จรูป การกางเต็นท์
บทเรียนสำเร็จรูป การกางเต็นท์บทเรียนสำเร็จรูป การกางเต็นท์
บทเรียนสำเร็จรูป การกางเต็นท์
watdang
 
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง
tie_weeraphon
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญาสุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
Tongsamut vorasan
 
โครงการสุสานเชิงพาณิชย์ ลักษณะที่เก็บอัฐิ
โครงการสุสานเชิงพาณิชย์ ลักษณะที่เก็บอัฐิโครงการสุสานเชิงพาณิชย์ ลักษณะที่เก็บอัฐิ
โครงการสุสานเชิงพาณิชย์ ลักษณะที่เก็บอัฐิ
Kanyapat Wiruchsilpa
 
The buddhist s_discipline
The buddhist s_disciplineThe buddhist s_discipline
The buddhist s_discipline
Chawalit Jit
 

Semelhante a บทเรียนสำเร็จรูป สถานที่สำคัญในท้องถิ่น (20)

1
11
1
 
วัดป่าดงใหญ่
วัดป่าดงใหญ่วัดป่าดงใหญ่
วัดป่าดงใหญ่
 
4
44
4
 
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
 
บทเรียนสำเร็จรูป การกางเต็นท์
บทเรียนสำเร็จรูป การกางเต็นท์บทเรียนสำเร็จรูป การกางเต็นท์
บทเรียนสำเร็จรูป การกางเต็นท์
 
ฮารีรายอ
ฮารีรายอฮารีรายอ
ฮารีรายอ
 
หนังสือธรรมะใกล้ตัว
หนังสือธรรมะใกล้ตัวหนังสือธรรมะใกล้ตัว
หนังสือธรรมะใกล้ตัว
 
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญาสุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
 
Lion
LionLion
Lion
 
ส 43101 ม.6
ส 43101 ม.6ส 43101 ม.6
ส 43101 ม.6
 
โครงการสุสานเชิงพาณิชย์ ลักษณะที่เก็บอัฐิ
โครงการสุสานเชิงพาณิชย์ ลักษณะที่เก็บอัฐิโครงการสุสานเชิงพาณิชย์ ลักษณะที่เก็บอัฐิ
โครงการสุสานเชิงพาณิชย์ ลักษณะที่เก็บอัฐิ
 
ข้อสอบThai+math
ข้อสอบThai+mathข้อสอบThai+math
ข้อสอบThai+math
 
ข้อสอบThai+math
ข้อสอบThai+mathข้อสอบThai+math
ข้อสอบThai+math
 
The buddhist s_discipline
The buddhist s_disciplineThe buddhist s_discipline
The buddhist s_discipline
 
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
 
คุณค่าของภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f15-4page
คุณค่าของภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f15-4pageคุณค่าของภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f15-4page
คุณค่าของภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f15-4page
 
คุณค่าของภูมิปัญญาสมัยสุโขทัย+569+dltv5+55t2his p04 f15-1page
คุณค่าของภูมิปัญญาสมัยสุโขทัย+569+dltv5+55t2his p04 f15-1pageคุณค่าของภูมิปัญญาสมัยสุโขทัย+569+dltv5+55t2his p04 f15-1page
คุณค่าของภูมิปัญญาสมัยสุโขทัย+569+dltv5+55t2his p04 f15-1page
 
คุณค่าของภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f15-1page
คุณค่าของภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f15-1pageคุณค่าของภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f15-1page
คุณค่าของภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f15-1page
 
124+hisp4+dltv54+550208+a+สไลด์ คุณค่าของภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย (1 หน้า)
124+hisp4+dltv54+550208+a+สไลด์ คุณค่าของภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย (1 หน้า)124+hisp4+dltv54+550208+a+สไลด์ คุณค่าของภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย (1 หน้า)
124+hisp4+dltv54+550208+a+สไลด์ คุณค่าของภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย (1 หน้า)
 

Mais de watdang

แบบทดสอบวิชาลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบทดสอบวิชาลูกเสือ   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
watdang
 
ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ
ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ
ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ
watdang
 
009.book scout encyclopedia1
009.book scout encyclopedia1009.book scout encyclopedia1
009.book scout encyclopedia1
watdang
 
010.book scout encyclopedia_2
010.book scout encyclopedia_2010.book scout encyclopedia_2
010.book scout encyclopedia_2
watdang
 
ประชุมกอง สามัญ
ประชุมกอง สามัญประชุมกอง สามัญ
ประชุมกอง สามัญ
watdang
 
การทำแกรนด์ฮาวล์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำแกรนด์ฮาวล์ [โหมดความเข้ากันได้]การทำแกรนด์ฮาวล์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำแกรนด์ฮาวล์ [โหมดความเข้ากันได้]
watdang
 
บทเรียนสำเร็จรูป การปรุงอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูป  การปรุงอาหารบทเรียนสำเร็จรูป  การปรุงอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูป การปรุงอาหาร
watdang
 
หลักสูตรลูกเสือสามัญ
หลักสูตรลูกเสือสามัญหลักสูตรลูกเสือสามัญ
หลักสูตรลูกเสือสามัญ
watdang
 
หลักสูตรลูกเสื อสำรอง
หลักสูตรลูกเสื อสำรองหลักสูตรลูกเสื อสำรอง
หลักสูตรลูกเสื อสำรอง
watdang
 
Microsoft word 301005 494
Microsoft word   301005 494Microsoft word   301005 494
Microsoft word 301005 494
watdang
 
การให้อภัย
การให้อภัยการให้อภัย
การให้อภัย
watdang
 
การดำเนินงาน ลส.3 d ในสถานศึกษา
การดำเนินงาน ลส.3 d ในสถานศึกษาการดำเนินงาน ลส.3 d ในสถานศึกษา
การดำเนินงาน ลส.3 d ในสถานศึกษา
watdang
 
พรบ.ลูกเสือ
พรบ.ลูกเสือพรบ.ลูกเสือ
พรบ.ลูกเสือ
watdang
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
watdang
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
watdang
 
โครงสร้างหลักสูตรลูกเสือประชาธิปไตย
โครงสร้างหลักสูตรลูกเสือประชาธิปไตยโครงสร้างหลักสูตรลูกเสือประชาธิปไตย
โครงสร้างหลักสูตรลูกเสือประชาธิปไตย
watdang
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
watdang
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
watdang
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
watdang
 
แผนปฐมนิเทศ 1
แผนปฐมนิเทศ  1แผนปฐมนิเทศ  1
แผนปฐมนิเทศ 1
watdang
 

Mais de watdang (20)

แบบทดสอบวิชาลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบทดสอบวิชาลูกเสือ   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
 
ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ
ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ
ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ
 
009.book scout encyclopedia1
009.book scout encyclopedia1009.book scout encyclopedia1
009.book scout encyclopedia1
 
010.book scout encyclopedia_2
010.book scout encyclopedia_2010.book scout encyclopedia_2
010.book scout encyclopedia_2
 
ประชุมกอง สามัญ
ประชุมกอง สามัญประชุมกอง สามัญ
ประชุมกอง สามัญ
 
การทำแกรนด์ฮาวล์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำแกรนด์ฮาวล์ [โหมดความเข้ากันได้]การทำแกรนด์ฮาวล์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำแกรนด์ฮาวล์ [โหมดความเข้ากันได้]
 
บทเรียนสำเร็จรูป การปรุงอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูป  การปรุงอาหารบทเรียนสำเร็จรูป  การปรุงอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูป การปรุงอาหาร
 
หลักสูตรลูกเสือสามัญ
หลักสูตรลูกเสือสามัญหลักสูตรลูกเสือสามัญ
หลักสูตรลูกเสือสามัญ
 
หลักสูตรลูกเสื อสำรอง
หลักสูตรลูกเสื อสำรองหลักสูตรลูกเสื อสำรอง
หลักสูตรลูกเสื อสำรอง
 
Microsoft word 301005 494
Microsoft word   301005 494Microsoft word   301005 494
Microsoft word 301005 494
 
การให้อภัย
การให้อภัยการให้อภัย
การให้อภัย
 
การดำเนินงาน ลส.3 d ในสถานศึกษา
การดำเนินงาน ลส.3 d ในสถานศึกษาการดำเนินงาน ลส.3 d ในสถานศึกษา
การดำเนินงาน ลส.3 d ในสถานศึกษา
 
พรบ.ลูกเสือ
พรบ.ลูกเสือพรบ.ลูกเสือ
พรบ.ลูกเสือ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
 
โครงสร้างหลักสูตรลูกเสือประชาธิปไตย
โครงสร้างหลักสูตรลูกเสือประชาธิปไตยโครงสร้างหลักสูตรลูกเสือประชาธิปไตย
โครงสร้างหลักสูตรลูกเสือประชาธิปไตย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
 
แผนปฐมนิเทศ 1
แผนปฐมนิเทศ  1แผนปฐมนิเทศ  1
แผนปฐมนิเทศ 1
 

บทเรียนสำเร็จรูป สถานที่สำคัญในท้องถิ่น

  • 1. 1 สวัสดีคะ ลูกเสือ – เนตรนารี บทเรียนที่ถออยูนี้ ื เปนบทเรียนสําเร็จรูป เรื่อง สถานที่สาคัญในทองถิ่น ํ ของลูกเสือสามัญ ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 นะครับ ลูกเสือสามารถใชเรียนไดดวยความสามารถของ ตนเอง ขอใหลูกเสืออานคําแนะนําและปฏิบัติตามคํา ชี้แจงแตละขั้นตอน ตั้งแตตนจนจบ ลูกเสือจะมีความ เขาใจเรื่องราวของสถานที่สําคัญในทองถิ่นไดอยาง ถูกตอง โดยปฏิบัติตามขั้นตอนดังนี้
  • 2. 2 ขอ 1. กอนที่ลูกเสือจะศึกษาบทเรียน ลูกเสือ ควรทราบวาตนเองมีความรูในเรื่องนี้มากนอย เพียงใด โดยทําแบบประเมินผลตนเองกอนเรียน ที่ เตรียมไวตอนตน และตรวจคําตอบจากเฉลยที่ใหไว ขอ 2. ศึกษารายละเอียดเนื้อหาในแตละตอน อยางละเอียด อยาขามตอน พรอมทั้งฝกทํา กิจกรรมที่กําหนดใหในแตละตอน ขอ 3. ถาลูกเสือสามารถตอบคําถามได ถูกตอง แสดงวาลูกเสือเขาใจดีแลว ใหอาน และตอบคําถามตอไปเรื่อย ๆ จนจบ ขอ 4. ทําแบบประเมินตนเองหลังเรียน ถา ไดคะแนนประเมินต่ํากวารอยละ 80 ให กลับมาทบทวนแลวทําแบบทดสอบใหม ขอ 5. ลูกเสือตองมีความซื่อสัตยตอ ตนเองไมดูเฉลยคําถามกอน
  • 3. 3 แบบประเมินตนเองกอนเรียน จุดประสงค 1. บอกชือสถานที่สําคัญในทองถิ่นได ่ 2. บอกความสําคัญของสถานที่ตาง ๆ ในทองถิ่นได 3. ชี้แนะและนําทางไปยังสถานที่สําคัญในทองถิ่นได 4. เขียนแผนที่และกําหนดตําแหนงของสถานที่ตาง ๆ ในทองถิ่นได 5. เขียนรายงานการสํารวจได คําแนะนํา ใหลูกเสืออานคําถามตอไปนี้ทีละขอ แลวเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียง คําตอบ เดียวแลวตอบลงในกระดาษคําตอบ ควรใชเวลาในการทํา ไมเกิน 8 นาที 1. เหตุใดเราจึงตองรูจกสถานที่สําคัญตาง ๆ ในทองถิ่น ั ก. เพื่อจะไดรูจักอาณาเขตของทองถิ่น ข. เพื่อแสดงออกถึงความรักทองถิ่น ค. เพื่อจะไดใชบริการไดถูกตอง ง. เพื่อจะไดนําไปตอบขอสอบ 2. ขอใดกลาวไดถูกตองที่สุด ก. การไปสํารวจควรรีบไปรีบกลับ ข. เราควรไปสํารวจโดยลําพัง ค. เราไมควรจดบันทึกหลังการสํารวจ ง. ตองวางแผนกอนทําการสํารวจ 3. คําถามแรกที่เราตองหาคําตอบในการสํารวจสถานที่ คืออะไร ก. จะไปนานเทาไร ข. จะไปหาใคร ค. จะไปอยางไร ง. จะไปที่ไหน 4. ขอใดไมใชสถานที่ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา ก. วัด ข. ศูนยศลปาชีพ ิ ค. โบสถ ง. มัสยิด 5. เราจะไปศึกษาเกี่ยวกับงานอาชีพตาง ๆ ไดที่ใด ก. วัดพระพุทธบาท ข. ศาลหลวงตนไทร ค. ศูนยศลปาชีพบานเนินธัมมัง ิ ง. วัดเขาแกววิเชียร
  • 4. 4 6. สถานที่ใดชวยสงเสริมการทองเที่ยวในทองถิ่นได ก. ศาลหลวงตนไทร ข. สถานีอนามัย ค. ที่ทําการองคการบริหารสวนตําบล ง. วัดเขาแกววิเชียร 7. ถาถูกโจรจี้ชิงกระเปา ควรไปแจงความที่ใด ก. ตลาด ข. สถานีตารวจ ํ ค. โรงพยาบาล ง. ที่ทําการไปรษณีย 8. ศูนยศิลปาชีพบานเนินธัมมัง สงเสริมอาชีพดานใด ก. เย็บผา ข. ทอผา ค. เลี้ยงสัตว ง. ปลูกพืช 9. ขอใดเปนวิธีการที่จะทําใหผสอบถามเสนทางไปยังสถานที่ตาง ๆ ไดถูกตอง ู ก. ใหอานแบบรายงานการสํารวจ ข. อธิบายพรอมวาดแผนที่ประกอบ ค. พาไปยังสถานีจอดรถประจําทาง ง. มอบรูปถายสถานที่ที่จะไปให 10. เมื่อกลับจากการสํารวจแลวลูกเสือควรปฏิบัติอยางไร ก. เลาประสบการณใหเพื่อนฟง ข. นํารูปถายมาใหเพื่อนดู ค. เขียนรายงานการสํารวจ ง. เฉย ๆ ไมตองทําอะไร .
  • 5. 5 ขอ 6 ก ขอ 7 ข ขอ 5 ค ขอ 8 ข ขอ 4 ข เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน ขอ 3 ง ขอ 9 ข ขอ 2 ง ขอ 10 ค ขอ 1 ค
  • 6. 6 สวัสดีครับพี่นองลูกเสือที่รักทุกคน วันนี้เราจะพาทุกคนไปเที่ยวแหลง ทองเที่ยวในทองถิ่นของเรานะครับ แหลงทองเที่ยวในทองถิ่นที่ ไหนหรือคะ ที่ อําเภอเชียรใหญ ของเราซิครับ สถานที่สําคัญในทองถิ่นของเรา ( อําเภอเชียรใหญ ) 1. สถานที่ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา ไดแก วัด ศาลเจา 2. สถานที่ราชการ ไดแก สถานีอนามัย ที่ทําการองคการบริหารสวนตําบล 3. ที่พักบุคคลสําคัญ ไดแก บานพักกํานัน 4. สถานที่สาคัญอื่น ๆ ไดแก วัดพระพุทธบาท รานคาชุมชน ศาลหลวงตนไทร ํ ศูนยศิลปาชีพบานเนินธัมมัง
  • 7. 7 เรามารูจักทองถิ่นของเรากัน  กอนนะครับ โรงเรียนของเราตั้งอยูที่ ตําบล เขาพระบาท อําเภอเชียรใหญ จังหวัดนครศรีธรรมราช ครับ อําเภอเชียรใหญ เปนอําเภอหนึ่งใน จังหวัดนครศรีธรรมราช อําเภอเชียรใหญ มีประวัติความเปนมาสืบทอดมาแตครั้งสมัยสุโขทัยเปนราชธานี แตมีหลักฐาน แนชัดในสมัยพระพุทธเลิศหลานภาลัย แหงกรุงรัตนโกสินทร ปรากฏในทําเนียบ ขาราชการเมืองนครศรีธรรมราช จุลศักราช 1173 วาทองที่อําเภอนี้ เปนหัวเมือง ฝายขวา ขึ้นอยูในเขตปกครองทองที่เมืองนครศรีธรรมราช ชื่อ "เมืองพิเชียร" ต อ มาในสมั ย พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล า เจ า อยู หั ว ได มี ก ารปฏิ รู ป การ ปกครองครั้งสําคัญ มีการประกาศใชพระราชบัญญัติลักษณะปกครองทองที่ ร.ศ.116 ในป พ.ศ. 2440 มีการรวมหัวเมืองฝายขวาในลุมน้ําปากพนัง 4 หัว เมืองเขาดวยกัน คือ เมืองพิเชียร เมืองพนัง เมืองเบี้ยชัด ( ที่ตั้งอําเภอปากพนัง ในปจจุบัน) และที่ตรงตําบลคลองกระบือ และตําบลหูลอง ตั้งเปนอําเภอ เรียกวา อําเภอเบี้ยชัด ทําใหเมืองพิเชียร กลายเปนตําบลหนึ่งของอําเภอเบี้ยชัด สําหรับ ที่ตั้งของเมืองพิเชียรสันนิษฐานวา เดิมตั้งอยูฝงขวาของแมน้ําปากพนัง ที่บาน หมอมราม หมูที่ 3 ตําบลบานกลางปจจุบัน และเลากันวาที่ตั้งบานพิเชียรมีตน ตะเคียนใหญอยูตนหนึ่ง จึงเรียกกันวา "บานพิเชียรเคียนใหญ" เรียกสั้น ๆ ภาษา ป ก ษ ใ ต ว า " บ า นเชี ย รใหญ " ต อ มาเมื่ อ วั น ที่ 1 กุ ม ภาพั น ธ 2480 กระทรวงมหาดไทย ไดประกาศตั้งกิ่งอําเภอเชียรใหญ และยกฐานะเปนอําเภอ เชียรใหญ เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2490
  • 8. 8 ประวัติความเปนมา ตําบลเขาพระบาท ตําบลเขาพระบาทเปนตําบลเกาแก ซึ่งมีรอยพระพุทธบาทเปนที่ เคารพนับถือของประชาชนทั่วไปในตําบลและใกลเคียง ประชาชน นับถือศาสนาพุทธ ตั้งอยูในเขตการปกครองของอําเภอเชียรใหญ ประกอบไปดวย 9 หมูบาน ไดแก บานหนองศรีขวัญ บานทองพูน บานหนองมนต บานไกรไทย บานตรุด บานปากคลอง บานหนอง ชีพูน บานดอนโรง และบานสวนเรียน กระทรวงมหาดไทยได ประกาศยกฐานะจากสภาตําบลเปนองคการบริหารสวนตําบล เขาพระบาท เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2539 ซึ่งปจจุบันเปน อบต. ชัน5 ้
  • 9. 9 เรามารูจักสถานที่สําคัญ แตละแหงกันดีกวาครับ สถานทีแรกที่เราจะเดินทางไปก็คือ ่ ไปนมัสการพระพุทธบาทจําลองที่วัด พระพุทธบาทอยูทางทิศเหนือของโรงเรียน วัดแดง หางจากโรงเรียนประมาณ 1.5 ก.ม. ประวัติวัดพระพุทธบาท วัดพระพุทธบาท ตั้งอยูบนเขาพระบาททาง ทิศเหนือ หันหนาวัดไปทางทิศตะวันออก เปนวัดเกาแกที่มีประวัติความเปนมาที่ ยาวนาน มีความสําคัญทางประวัติศาสตร วัดพระพุทธบาทพื้นที่สวนใหญเปนภูเขา  ขอบเขตพุทธาวาสถือเอาอุททสีมาเปนเขต มา ตั้งแตโบราณ ประมาณ 700 ปเศษ อาณาเขต ทิศเหนือ จด บอหัวเขา ทิศใต จด เทือกเขาพระบาท ทิศตะวันออก จด บอปรัง ทิศตะวันตก จด บอหลา
  • 10. 10 แหลงเรียนรูวัดพระพุทธบาท  รอยพระพุทธบาทจําลอง รองรอยอารยะธรรม บอหลา บอน้าลึกประมาณ 1 เมตร ํ พอทานกลิน แตไมเคยแหง อดีตเจาอาวาส
  • 11. 11 นอกจากรองรอยแหงความ เจริญรุงเรืองทางพระพุทธศาสนาแลว ยังมีอะไรที่นาสนใจอีกหรือเปลา ครับ ยังมีอีกครับ ทิวทัศนที่สวยงาม มองลงมาจากวัด สะตอ มีทั่วไปในบริเวณวัด
  • 12. 12 เมื่อลูกเสือสํารวจเสร็จแลว ก็ อยาลืมบันทึกดวยนะวาเรา ไดรับความรูอะไรบาง กลับจากวัดพระพุทธบาทเราก็จะ เดินทางไปยังศาลหลวงตนไทร กันนะครับ ศาลหลวงตนไทร
  • 13. 13 ศาลหลวงตนไทรมีประวัติ ความเปนมาอยางไรครับ " ศาลหลวงตนไทร " อยูในเขตพื้นที่ปาสงวนแหงชาติ ปาทาชางขาม ม. 11 ตําบลการะเกด อําเภอเชียรใหญ ไดติดโครงการพระราชดําริ เมื่อป พ.ศ..2538 จากนั้นกรมชลประทานจึงไดเขามาดําเนินการ โครงการ และไดนําเครื่องจักรกลเขามาเพื่อทําการขุดในพื้นที่แหงนี้ และเมื่อมีเครื่องจักรกลเขามาในพื้นที่บริเวณที่ตนไทรอยู ก็ไดเกิด เหตุการณขึ้นหลายอยางกับเครื่องจักรกล และคนขับ สุดความสามารถ ที่จะดําเนินการได จึงตองทิ้งโครงการไวเปนแรมป เพราะขุดตนไทร ไมได และเมื่อทราบถึงพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2545 นายจํานูญ พลายดวง ไดกราบทูลใหทรงทราบที่ จังหวัดประจวบคีรีขันธ เมื่อพระองคทรงทราบถึงผลกระทบ ก็ไดมี ดํารัสใหเวน หามทําลายและใหอนุรักษไว และไดมีตัวแทนจากเลขา สํานักพระราชวังและองคมนตรี อธิบดีกรมชลประธานมาดูเพื่อยืนยัน จากกรมชลประธานฝายกอสรางวาดําเนินการไมไดจริง และไดสราง ศาลขึ้น ชื่อวา " ศาลหลวงตนไทร " โดย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ไดมาวางศิลาฤกษเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ 2547
  • 14. 14 ดวยพระบารมี ราษฎรปลูกปาเฉลิมพระเกียรติ เฝารับเสด็จ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เสด็จมาวางศิลาฤกษเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ 2547
  • 15. 15 การสรางศาลหลวงตนไทรในครั้งนั้นก็ไดงบในการปรับปรุงพัฒนา มาจากมูลนิธิชัยพัฒนา 11 ลานบาท ซึ่งไดพัฒนาหลายขั้นตอน เพื่อใหเปนที่ สักการบูชา และไดเปดเปนทางการเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2547 นอกจากนี้ ใน วันที่ 13-14 เมษายน ของทุกปก็จะมีงานประจําปขึ้น โดยไดรับความรวมมือ ทั้งภาครัฐและเอกชน มีการสมโภชศาลหลวงตนไทร นายสําราญ หนูดํา ผูดูแลศาลหลวงตนไทรกลาววา เมื่อกรมชลประทานเขามาดําเนินการขุด คลอง เพื่อทําโครงการก็ไดขุดพบสิ่งของโบราณมากมายในบริเวณรอบๆ ตนไทร โดยมีทั้งโครงกระดูกมนุษย กระดูกสัตวน้ํา และเครื่องปนดินเผา แตทุกอยางนั้นไดแปรสภาพกลายเปนหินและฟอสซิลหมดแลว ปจจุบัน พราหมณ สํานักพระราชวังไดอัญเชิญ ของทั้งหมดหอผาขาวบรรจุไวใตศาล ที่ในหลวงพระราชทาน นายสําราญ ยังกลาววา ขณะนี้ศาลหลวงตนไทรแหง นี้ ไดเปนสถานที่สักการบูชาเชิงทองเที่ยว โดยมีนักทองเที่ยวทั้งชาวไทยจาก หลากหลายจังหวัดและชาวตางชาติ เชน มาเลเซีย สิงคโปร อังกฤษ มาเยี่ยม ชมและสักการะมากมาย ดวยความเชื่อบวกกับทัศนียภาพโดยรอบบริเวณตน ไทรที่สวยงาม ไดสรางรายไดใหกับจังหวัดไดพอสมควร สําหรับรายไดจะ นําไปพัฒนาศาลหลวงตอไป ซึ่งขณะนี้ทางคณะกรรมการศาลหลวงตนไทร อบต.ในพื้นที่ก็กําลังพัฒนาทัศนียภาพโดยรอบใหสวยงามมากยิ่งขึ้น เพื่อรับ นักทองเที่ยวในเทศกาลตางๆ อยู
  • 17. 17 อําเภอเชียรใหญของเรามีแหลง เรียนรูที่นาสนใจมากมายซินะ ใชแลวคะ เรายังมีศูนยศิลปาชีพ ที่เนินธัมมังดวยคะ บานเนินธัมมังตั้งอยูในเขตพื้นที่ หมูที่ 5 บานเนินธัมมัง ตําบล แมเจาอยูหัว อําเภอเชียรใหญ จังหวัดนครศรีธรรมราช เปนที่ตั้งของศูนย ศิ ล ปาชี พ บ า นเนิ น ธั ม มั ง พื้ น ที่ ส ว นใหญ เ ป น ที่ ร าบลุ ม และป า พรุ เสื่อมสภาพ เดิมอาชีพหลักของประชากรคือการทํานา แตเนื่องจากพื้นที่ เปนปาพรุ ทําใหน้ําเค็มลนเขามาในเขตพื้นที่ อาชีพการทํานาจึงประสบ ปญหา ประชากรขาดรายได ซึ่งบริเวณหมูที่ 5 บานเนินธัมมัง มีสภาพน้ํา ขังเกือบตลอดป บางพื้นที่ไมมีไฟฟาใช ชุมชนบานเนินธัมมัง ตําบลแม เจ า อยู หั ว เป น ชุ ม ชนที่ ไ ด รั บ ความสนใจจากภายนอกมากขึ้ น อั น เนื่องมาจากเปนพื้นที่ ที่ถูกจัดวายากจนที่สุดของจังหวัดนครศรีธรรมราช จึงถูกเสนอใหเปนพื้นที่เรงดวนที่ตองพัฒนา ตอมานายอําเภอเชียรใหญ ตัดสินใจสงชื่อไปยังสํานักพระราชวัง เพื่อพิจารณาเปนพื้นที่เปาหมายใน การจั ด ตั้ ง ศู น ย ศิ ล ปาชี พ ซึ่ ง เป น โครงการในสมเด็ จ พระนางเจ า พระบรมราชินีนาถ
  • 18. 18 สมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินีนาถ เสด็จบานเนินธัมมังเมื่อ 7 ตุลาคม 2536 อาคารศูนยศิลปาชีพบานเนินธัมมัง
  • 19. 19 ประวัติความเปนมา สมเด็จพระบรมราชินีนาถไดทรงเสด็จพระราชดําเนินเยี่ยมเยียนราษฎร บานเนินธัมมัง หมูที่ 5 ตําบลแมเจาอยูหัว อําเภอเชียรใหญ จังหวัด นครศรีธรรมราช เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2536 พระองคเห็นวา ราษฎรมีฐานะยากจน ประกอบอาชีพหลักคือการทํานา ผลผลิตที่ไดรับอยูในเกณฑต่ํา ทําใหหัวหนาครอบครัวตองออกไปทํางานตาง ถิ่น เหลือแตแมบาน เด็กและคนชรา จึงทรงพระราชทานพระราชทรัพยสวน พระองค เพื่อกอสรางศาลาศิลปาชีพ ( หลังเกา ปจจุบัน เปนโรงเก็บกระจูด ) เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2537 และพระองคทรงเริ่มสงเสริมงานศิลปาชีพให ราษฎรในพื้นที่และราษฎรในหมูบานใกลเคียงเปนตนมา ป 2540 ทรงมีพระราชเสาวณีย ใหกอสรางอาคารศิลปาชีพหลังใหมขึ้น แทนหลังเกา และเปดทําการอยางเปนทางการเมื่อ 2 ตุลาคม 2542 เปนอาคาร คอนกรีตเสริมเหล็ก 2 ชั้น กวาง 25 เมตร ยาว 45 เมตร โดยชั้นลางเปนหอง โถงโลง อนุญาตใหเปนที่ปฏิ บัติงานของกลุ มทอผ าหมู ที่ 5 ต.แมเจาอยูหัว บานเนินธัมมัง สวนชั้นบน ประกอบดวยหองสวนพระองค ( หองทรงงาน ) หองผูติดตามชาย หองผูติดตามหญิง โดยจัดเจาหนาที่จากกองทัพภาคที่ 4 เพื่อ ทําหนาที่อํานวยการ ประสานงานกํากับดูแล และติดตามผลงานของสมาชิก ซึ่งจะตองดําเนินการควบคูไปดวยกันกับโครงการพัฒนาพื้นที่ลุมน้ําปากพนัง อันเปนผลใหราษฎรมีความเปนดีอยูดีขึ้น ปจจุบันมีสมาชิกทั้งสิ้น 508 คน
  • 20. 20 วัตถุประสงคของศูนยศลปาชีพบานเนินธัมมัง ิ 1. เพื่อดําเนินงานตามพระราชเสาวนียของสมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินีนาถ  2. เพื่อใหราษฎรมีรายไดเสริมในหวงเวลาที่วางเวนจากการประกอบอาชีพแลว 3. เพื่อใหราษฎรในพื้นที่และหมูบานใกลเคียงมีรายไดเพิ่มขึ้น 4. เพื่ออนุรกษงานดานศิลปาชีพใหคงอยูสืบไป ั สมเด็จ ฯ ทรงเสด็จมาทรงงานที่ เนินธัมมังดวยหรือครับ ใชคะ สมเด็จ ฯ เคยเสด็จมาทรงงาน 4 ครั้ง แลว และทรงตรวจงานที่ศูนยดวย พระองคเองทีเดียว
  • 21. 21 แหลงเรียนรูที่ศูนยศิลปาชีพบานเนินธัมมัง  การปนดายเพื่อทอผา วิทยากรแนะนําวิธีทอผา งานกระจูด งานปกผาดวยมือ งานถักโครเชร
  • 22. 22 สถานที่สําคัญในทองถิ่นของเรายังมี อยูอีกมากมายนะครับ เราตอง ชวยกันดูแล ใชคะทุกคนตองชวยกันดูแลไมไป ทําลายสภาพแวดลอมและอื่น ๆ นะคะ ออ ยังมีสถานที่ที่นาสนใจอีก 2 – 3 แหงครับ เดี๋ยวจะพาไปรูจักครับ
  • 23. 23 วัดเขาแกววิเชียร วัดเขาแกววิเชียร ตั้งอยู บนเนินเขาเล็ก ๆ กลางทุงนา ในหมูที่ 9 ตําบลเชียรใหญ อําเภอเชียรใหญ เดิมวัดนี้เรียกวา วัดเขาวิเชียร ตาม หลักฐานจารึกที่ระฆัง ซึ่งปจจุบันระฆังใบนี้เก็บรักษาไวที่วัดพระมหาธาตุ อําเภอเมืองนครศรีธรรมราช วัดเขาแกววิเชียรเปนวัดที่เกาแกกอสรางมาไม นอยกวา 400 ป จากการพิสูจนอิฐฐาน เจดียวัดเขาแกววิเชียร โดยกรม ศิลปากร นอกจากนี้ที่วัดมีพระปญญาเปนพุทธรูปเกาแก และเจดียเกาแก ชื่อเจดียพระติลิมุย ชาวบานมักจะไปกราบไหวขอใหบุตรหลานสอบเขา  ทํางาน มักจะไดตามที่ขอ มีบอน้ํามากถึง 11 บอ มีชื่อเรียกตาง ๆ กัน และ เปนสถานที่รมรื่น พักผอนหยอนใจ เปนสถานที่ศึกษาพันธุไมหลายชนิด นอกจากนี้ที่วัดเขาแกววิเชียร มีลิงประมาณ 200 กวาตัว เปนลิงฝูงใหญซึ่ง อาศัยรวมกันในชุมชนบานเขาแกววิเชียร การเดินทาง สะดวกมากโดยทางรถยนต จากนครศรีธรรมราชใชทาง หลวง หมายเลข 408 (นครศรีธรรมราช-สงขลา)เลี้ยวซายบริเวณสามแยก บานสระไคร (ประมาณ กม. ที่ 25 ) ใชถนนราดยางตลอดเสนทางถึงวัดเขา แกววิเชียร ระยะทาง 8 กิโลเมตร
  • 24. 24 เราไปรูจักสถานที่สําคัญของทองถิ่น เรามาแลว เราบันทึกกันมาแลวยังคะ หากยัง รีบบันทึกซิคะ แบบรายงานการสํารวจ ชื่อ................................สกุล.................................หมู......................ชั้น................. ชื่อสถานที่.............................. ................ตั้งอยูที่ตรอก/ถนน................................ ตําบล..............................อําเภอ.................................จังหวัด.................................. ผูที่รับผิดชอบสถานที่......................................................โทรศัพท........................ ลักษณะของสถานที่............................................................................................... ............................................................................................................................... การเดินทางจากจุดที่กําหนดใหระยะทาง..............กิโลเมตร อยูทางทิศ..................  เดินทางโดย....................................ใชเวลาเดินทางประมาณ......................ชั่วโมง สถานที่หรือสิ่งที่อยูใกลเคียง กอนถึง................................................................ ความสําคัญของสถานที่ รายละเอียดในการใหบริการทางใดบาง ................................................................................................................................ ................................................................................................................................ ................................................................................................................................ .. ลงชื่อ ........................................................ วันที่...........เดือน.................พ.ศ..................
  • 25. 25 แบบประเมินตนเองหลังเรียน จุดประสงค เพื่อประเมินผลความกาวหนาในการเรียนรูของลูกเสือ เรื่องสถานที่สําคัญในทองถิ่น คําแนะนํา ใหลูกเสืออานคําถามตอไปนี้ทีละขอ แลวเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียง คําตอบ เดียวแลวตอบลงในกระดาษคําตอบ ควรใชเวลาในการทํา ไมเกิน 8 นาที 1. เหตุใดเราจึงตองรูจกสถานที่สําคัญตาง ๆ ในทองถิ่น ั ก. เพื่อจะไดรูจักอาณาเขตของทองถิ่น ข. เพื่อแสดงออกถึงความรักทองถิ่น ค. เพื่อจะไดใชบริการไดถูกตอง ง. เพื่อจะไดนําไปตอบขอสอบ 2. ขอใดกลาวไดถูกตองที่สุด ก. การไปสํารวจควรรีบไปรีบกลับ ข. เราควรไปสํารวจโดยลําพัง ค. เราไมควรจดบันทึกหลังการสํารวจ ง. ตองวางแผนกอนทําการสํารวจ 3. คําถามแรกที่เราตองหาคําตอบในการสํารวจสถานที่ คืออะไร ก. จะไปนานเทาไร ข. จะไปหาใคร ค. จะไปอยางไร ง. จะไปที่ไหน 4. ขอใดไมใชสถานที่ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา ก. วัด ข. ศูนยศลปาชีพ ิ ค. โบสถ ง. มัสยิด 5. เราจะไปศึกษาเกี่ยวกับงานอาชีพตาง ๆ ไดที่ใด ก. วัดพระพุทธบาท ข. ศาลหลวงตนไทร ค. ศูนยศลปาชีพบานเนินธัมมัง ิ ง. วัดเขาแกววิเชียร 6. สถานที่ใดชวยสงเสริมการทองเที่ยวในทองถิ่นได ก. ศาลหลวงตนไทร ข. สถานีอนามัย ค. ที่ทําการองคการบริหารสวนตําบล ง. วัดเขาแกววิเชียร
  • 26. 26 7. ถาถูกโจรจี้ชิงกระเปา ควรไปแจงความที่ใด ก. ตลาด ข. สถานีตํารวจ ค. โรงพยาบาล ง. ที่ทําการไปรษณีย 8. ศูนยศิลปาชีพบานเนินธัมมัง สงเสริมอาชีพดานใด ก. เย็บผา ข. ทอผา ค. เลี้ยงสัตว ง. ปลูกพืช 9. ขอใดเปนวิธีการที่จะทําใหผูสอบถามเสนทางไปยังสถานที่ตาง ๆ ไดถูกตอง ก. ใหอานแบบรายงานการสํารวจ ข. อธิบายพรอมวาดแผนที่ประกอบ ค. พาไปยังสถานีจอดรถประจําทาง ง. มอบรูปถายสถานที่ที่จะไปให 10. เมื่อกลับจากการสํารวจแลวลูกเสือควรปฏิบัติอยางไร ก. เลาประสบการณใหเพื่อนฟง ข. นํารูปถายมาใหเพื่อนดู ค. เขียนรายงานการสํารวจ ง. เฉย ๆ ไมตองทําอะไร .
  • 27. 27 ขอ 6 ก ขอ 7 ข ขอ 5 ค ขอ 8 ข ขอ 4 ข เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน ขอ 3 ง ขอ 9 ข ขอ 2 ง ขอ 10 ค ขอ 1 ค
  • 28. 28 แบบบันทึกคะแนนสอบกอนเรียน และหลังเรียน เรื่อง สถานที่สําคัญในทองถิ่น กอนเรียน หลังเรียน ความตาง หมายเหตุ เต็ม 10 คะแนน เต็ม 10 คะแนน ลงชื่อ ...............................................ผูกากับ ํ ( นางวรรดี พูลสวัสดิ์ )
  • 29. 29 บรรณานุกรม กรมพลศึกษา,กองการลูกเสือ.กระทรวงศึกษาธิการ.ความรูเกี่ยวกับการลูกเสือ.กรุงเทพฯ:โรง พิมพคุรุสภาลาดพราว,2542 เขมชาติ อมาตยกุล . กิจกรรมลูกเสือ – เนตรนารี สามัญ ( ลูกเสือตรี - โท – เอก ) . กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแอมพันธ ,2548 คณะกรรมการบริหารลูกเสือแหงชาติ,สํานักงาน.กิจกรรมลูกเสือ - เนตรนารี ชั้นประถมศึกษา ปที่5.กรุงเทพฯ:โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว,2540 ____________. ขอบังคับคณะลูกเสือแหงชาติวาดวยการปกครอง หลักสูตรและวิชาพิเศษ พ.ศ. 2509.กรุงเทพฯ:โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, 2530 ____________. ขอบังคับคณะลูกเสือแหงชาติวาดวยการปกครอง หลักสูตร และวิชาพิเศษ ลูกเสือสามัญ(ฉบับที่ 13) พ.ศ. 2525. กรุงเทพฯ:โรงพิมพคุรุสภา,2529 คณะลูกเสือแหงชาติ, มูลนิธิ. กิจกรรมลูกเสือ - เนตรนารี ชั้นประถมศึกษาปที่ 1 – 6. กรุงเทพฯ:สํานักพิมพอักษรเจริญทัศน, มปป.. ยงยุทธ ลิจวน และ วรรดี พูลสวัสดิ.์ ศูนยศิลปาชีพบานเนินธัมมัง, นครศรีธรรมราช :โรง พิมพไทยอักษร. 2547. วาสนา คงกิ่ง . ศาลหลวงตนไทร, นครศรีธรรมราช: โรงพิมพไทยอักษร. 2547. ดาลัต แกววิเชียร. หนังสือประกอบกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ชุดวิชา ชาวคาย ตามหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ:โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว,2546 เตชินี ชวลิต.กฎลูกเสือ - เนตรนารี และ กฎจราจร.รานสุรยา,มปป.. ิ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ,สํานักงาน.การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาบุคลากรลูกเสือ ยุว กาชาดและกิจการนักเรียน. กรุงเทพฯ:มปท.,2547 พลศึกษา, กรม, กระทรวงศึกษาธิการ. คูมือการจัดกิจกรรมลูกเสือชั้นประถมศึกษาปที่ 5 – 6. กรุงเทพฯ: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, 2536 ___________. คูมือผูบังคับบัญชาลูกเสือ ระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ:โรงพิมพคุรสภา ุ ลาดพราว,2537
  • 30. 30 วิชาการ, กรม,กระทรวงศึกษาธิการ. คูมือการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ องคการรับสงสินคาและพัสดุภัณฑ,2545 ___________. คูมือการจัดกิจกรรมลูกเสือ - เนตรนารี ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 – 6 (ลูกเสือ สามัญ).กรุงเทพฯ:โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว,2533 ___________. แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ:โรงพิมพคุรสภาลาดพราว,2546 ุ ___________. เอกสารประกอบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ: โรงพิมพองคการรับสงสินคาและพัสดุภัณฑ,2545 อภัย จันทวิมล.การลูกเสือสําหรับเด็กชาย.กรุงเทพฯ:โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว,2545 อํานาจ ชางเรียน.ลูกเสือ - เนตรนารี ชวงชั้นที่ 2 ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 สมบูรณแบบ. กรุงเทพฯ:สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด,2544