SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 54
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้  กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี โดยคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ความหมายและความสำคัญของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การวัด (Measurement) หมายถึง กิจกรรมการกำหนดตัวเลขให้กับวัตถุ สิ่งของ เหตุการณ์ ปรากฏการณ์ หรือพฤติกรรมต่างๆ ของผู้เรียน การจะได้มาซึ่งตัวเลขนั้น อาจจะต้องใช้เครื่องมือวัด เพื่อให้ได้ตัวเลขที่สามารถแทนคุณลักษณะต่างๆ ที่ต้องการวัด เช่น ไม้บรรทัดวัดความยาวของหนังสือ 25 เซนติเมตร ตราชั่งวัดน้ำหนักส้มได้ 1 กิโลกรัม แบบทดสอบวัดความเบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ได้ 20 คะแนน
การประเมินค่า/การตัดสิน (Evaluation) หมายถึง กระบวนการให้ความหมายในเชิงคุณค่าจากข้อมูลที่ได้จากการวัด โดยเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้ ซึ่งอาจเป็นข้อมูลที่ได้ในเชิงปริมาณ เช่น คะแนนจากแบบวัดหรือแบบสอบ  เชิงคุณภาพ เช่น ข้อมูลที่ได้จากการสังเกต การสัมภาษณ์ เป็นต้น ผลจากการประเมินอาจอยู่ในรูปของระดับคะแนน เกรดหรือผลการเรียน ซึ่งสะท้อนหรือให้คุณค่าด้านคุณภาพของผู้เรียน ความหมายและความสำคัญของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การประเมิน (Assessment) เป้าหมายของการประเมินนั้นพื่อการรวบรวมสารสนเทศเพื่อใช้สำหรับการพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง มากกว่าการมุ่งการตัดสินผลการเรียนของนักเรียนหลังจากจบหลักสูตรการศึกษา  มีลักษณะเป็นมิติการประเมินบริบทในชั้นเรียน เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครองและครูได้ทราบข้อมูลความก้าวหน้าในการเรียนรู้ของนักเรียน เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการปรับปรุงผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ โดยใช้หลักฐานการเรียนรู้จากการปฏิบัติของนักเรียน (student’s performance) ขณะที่กำลังเรียนรู้ ความหมายและความสำคัญของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การตัดสินใจเกี่ยวกับการบริหารการศึกษา เช่น การกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ การสร้างและพัฒนาหลักสูตร การจัดรายวิชา การกำหนดผู้สอน การนิเทศ การจัดทรัพยากรบุคคลและงบประมาณ การตัดสินใจเดี่ยวกับการสอน เช่น การวางแผนการสอน การกำหนดขอบเขตเนื้อหา ขนาดของผู้เรียน การเลือกเทคนิคการสอน เพื่อให้เกิดการปรับปรุง แก้ไขและส่งเสริมพัฒนาการการเรียนรู้ของผู้เรียน ความสำคัญของการวัดและประเมินผล
การตัดสินใจเกี่ยวกับการทดสอบและการตัดเกรด เช่น การออกแบบการทดสอบ ประเภท จำนวน การตรวจให้คะแนน การตัดสินใจเกี่ยวกับการแนะแนวและการให้คำปรึกษา เช่น การตรวจสอบความสนใจ ความถนัด การวัดเชาว์ปัญญา เป็นต้น ความสำคัญของการวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผลก่อนการเรียนการสอน   เป็นการประเมินเพื่อจัดวางตำแหน่งของนักเรียน (placement evaluation) โดยพิจารณาว่านักเรียนมีระดับความพร้อม ความสนใจ ความสามารถและทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการเรียนมากน้อยเพียงใด นำไปใช้ในการกำหนดจุดประสงค์การสอนและวางแผนกิจกรรมการเรียนการสอน เครื่องมือที่ใช้ เช่น แบบทดสอบความพร้อม (readiness test) แบบวัดความถนัด (aptitude test) แบบสำรวจรายงานตนเอง (self-report inventories) เทคนิคการสังเกต รูปแบบของการวัดและประเมินผล
2.  การวัดและประเมินระหว่างการเรียนการสอน 1)  การวัดและประเมินความก้าวหน้าในการเรียนรู้ (formative evaluation) วัดหลังจากจบแต่ละหน่วยการสอน เพื่อตรวจสอบว่านักเรียนมีความรู้ความสามารถใหรือทักษะตามจุดประสงค์หรือไม่ ดูพัฒนาการผู้เรียน รวมทั้งประสิทธิภาพการสอนของครูด้วย เครื่องมือที่ใช้ เช่น แบบทดสอบที่ครูสร้างขึ้น (teacher-made test) การสังเกต เป็นต้น รูปแบบของการวัดและประเมินผล
2.  การวัดและประเมินระหว่างการเรียนการสอน 2)  การวัดและประเมินเพื่อวินิจฉัย (diagnostic evaluation) เป็นการประเมินผลเพื่อวินิจฉัยสาเหตุปัญหาการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นระหว่างการเรียนการสอน เช่น ปัญหาเกี่ยวกับนักเรียน สิ่งแวดล้อม เนื้อหาวิชาและผู้สอน จากนั้นจึงหาแนวทางปรับปรุงและแก้ไขปัญหาต่อไปน เครื่องมือที่ใช้ เช่น แบบสอบวินิจฉัย (published diagnostic tests)  แบบสอบที่ครูสร้างขึ้น (teacher-made test) การสังเกต เป็นต้น รูปแบบของการวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินหลังสิ้นสุดการเรียนการสอน หรือการวัดและประเมินผลสรุป (summative evaluation) เป็นการวัดประเมินเพื่อตัดสินคุณค่าการเรียนรู้หลังจากเสร็จสิ้นการเรียนการสอนเพื่อตัดสินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังจากเสร็จสิ้นการสอน เครื่องมือที่ใช้ เช่น แบบทดสอบที่ครูสร้างขึ้น (teacher-made test) มาตรประมาณค่า (rating scales)  การสัมภาษณ์ปากเปล่า  เป็นต้น รูปแบบของการวัดและประเมินผล
หลักการดำเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช๒๕๕๑ สถานศึกษาเป็นผู้รับผิดชอบการวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยเปิดโอกาสให้ผู้ที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาผู้เรียนและตัดสินผลการเรียน ต้องสอดคล้องและครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่กำหนดในหลักสูตรสถานศึกษา และจัดให้มีการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตลอดจนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
4.  เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดการเรียนการสอน ต้องดำเนินการด้วยเทคนิควิธีที่หลากหลาย เพื่อให้สามารถวัดและประเมินผล วัดและประเมินผลการเรียนรู้ได้รอบด้านทั้ง ความรู้ ความคิด กระบวนการ พฤติกรรม และเจตคติ แหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัด ธรรมชาติวิชา และระดับของผู้เรียน ตั้งอยู่บนพื้นฐานความเที่ยงตรง ยุติธรรม และเชื่อถือได้ หลักการดำเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช๒๕๕๑
การประเมินผู้เรียนพิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียน ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ การร่วมกิจกรรม และการทดสอบ ควบคู่ไปในกระบวนการเรียนการสอนตามความเหมาะสมของแต่ละระดับและรูปแบบการศึกษา เปิดโอกาสให้ผู้เรียนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องตรวจสอบผลการประเมินผลการเรียนรู้ ให้มีการเทียบโอนผลการเรียนระหว่างสถานศึกษาและระหว่างรูปแบบการศึกษาต่างๆ ให้สถานศึกษาจัดทำและออกเอกสารหลักฐานการศึกษา เพื่อเป็นหลักญานการประเมินผลการเรียนรู้ รายงานผลการเรียน แสดงวุฒิการศึกษาและรับรองผลการเรียนของผู้เรียน หลักการดำเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช๒๕๕๑
องค์ประกอบของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ การเรียนรู้  ๘ กลุ่มสาระ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณภาพผู้เรียน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ กิจกรรม พัฒนาผู้เรียน
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระ
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ
การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กระบวนทัศน์ใหม่ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
กระบวนทัศน์ใหม่ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ความสัมพันธ์ระหว่างการกำหนดความมุ่งหมายของการเรียนการสอน การจัดประสบการณ์เรียนรู้ และการวัดและการประเมินผล วัตถุประสงค์ของการเรียนการสอน การจัดประสบการณ์เรียนรู้ การวัดและประเมินผล
มุ่งพัฒนาความเจริญงอกงามของผู้เรียนใน 3 ด้าน วัตถุประสงค์ของการจัดการเรียนการสอน พุทธิพิสัย  เน้นการพัฒนาทางด้านความรู้ ความเข้าใจ ความคิด และสติปัญญา จิตพิสัย  เน้นการพัฒนาทางด้านความรู้สึกทางจิตใจที่แสดงออกทางอารมณ์ คุณลักษณะและบุคลิกภาพ ทักษะพิสัย  เน้นการพัฒนาทางด้านร่างกายเพื่อใช้ในการปฏิบัติงาน ได้อย่างคล่องแคล่ว
การประเมินการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เป็นการประเมินตามสภาพจริงที่ มุ่งรวบรวมสารสนเทศของพัฒนาการและการเรียน มุ่งเน้นพัฒนาการที่เกิดขึ้นอย่างเด่นชัด ให้ความสำคัญกับจุดเด่นของผู้เรียน เป็นผลมาจากการจัดการหลักสูตรการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สอดคล้องกับชีวิตจริง การประเมินการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
อาศัยการปฏิบัติ สอดคล้องกลมกลืนกับการเรียนการสอน เน้นการเรียนรู้อย่างมีจุดมุ่งหมาย ต้องดำเนินการควบคู่ไปกับทุกสภาพแวดล้อม สามารถให้เรื่องราวการเรียนรู้และความสามารถของผู้เรียนทั่วๆ ไปและกว้างขวาง ต้องอาศัยความร่วมมือกันระหว่างผู้ปกครอง ผู้สอน และผู้เรียน รวมทั้งบุคคลในวิชาชีพอื่นๆ ตามความจำเป็น การประเมินการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การประเมินตามสภาพจริง คือ กิจกรรมต่างๆ เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้แสดงออกซึ่งการประยุกต์ใช้ความรู้หรือทักษะต่างๆ ขณะที่กำลังเรียนรู้ ในการจัดกระทำกับปัญหาหรือภาระงานที่อยู่ในบริบทสถานการณ์จริง หรือที่มีสภาพใกล้เคียงกับความเป็นจริงมากที่สุด ผู้สอนและผู้เรียนสามารถสังเกตและประเมินผลการปฏิบัตินั้น แล้วนำผลมาปรับปรุงหรือพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองได้ ความหมายการประเมินตามสภาพจริง
เป็นการประเมินที่เน้นตอบสนองเพื่อสร้างสรรค์ ผู้เรียนจะสร้างสรรค์ผลงานหรือชิ้นงาน เป็นการประเมินที่เน้นการให้ผู้เรียนแสดงความสามารถในการติดระดับสูงในการแก้ไขหรือตอบปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นระหว่างการปฏิบัติงานหรือผลิตชิ้นงาน เป็นการประเมินที่เน้นสภาพความเป็นจริง เนื่องจากภาระงานที่ให้นักเรียนปฏิบัติจะเป็นงานที่สอดคล้องกับสภาพการณ์จริงในชีวิตประจำวัน ซึ่งจะต้องเกิดจากการจัดการเรียนรู้ที่ท้าทายและสอดคล้องกับบริบทจริง ลักษณะของการประเมินตามสภาพจริง
เป็นการประเมินที่เน้นการบรูณาการภาระงานหรือชิ้นงานที่นักเรียนจะต้องทำ/ปฏิบัติ ผสมผสานความรู้และทักษะต่างๆ ในกลุ่มวิชาเดียวกันหรือข้ามกลุ่มวิชา เป็นการประเมินที่เน้นกระบวนการ คือมุ่งพิจารณากระบวนการหรือกลวิธีต่างๆ ซึ่งบางงานอาจต้องใช้ในการปฏิบัติงานเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างการปฏิบัติงาน ซึ่งอาจมีความยากและซับซ้อน เป็นการประเมินเชิงลึก เนื่องจากประเมินการปฏิบัตินั้นจะให้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับความรู้และทักษะที่แท้จริงของผู้เรียนเกี่ยวกับงานนั้นๆ ซึ่งแสดงออกมาจากการปฏิบัติในสถานการณ์จริง ลักษณะของการประเมินตามสภาพจริง
เป็นกิจกรรมการประเมินที่สามารถวัดประเมินได้ตรงกับสภาพความเป็นจริงที่สุด ช่วยพัฒนาการเรียนรู้ด้วยการส่งเสริมให้ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเอง เปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดงออกซึ่งการเรียนรู้ได้หลากหลายทาง ความสำคัญของการประเมินตามสภาพจริง
การสนทนาสัมภาษณ์ (oral interview)
การเล่าทบทวนซ้ำ (story or text retelling)
การนำเสนอการพูด (oral presentation)
การเขียนตัวอย่าง (writing samples)
การจัดโครงงานหรือนิทรรศการ (project exhibitions) รายบุคคล /รายกลุ่ม
การทดลองและการสาธิต (experiment/demonstrations)
การตอบสนองต่อข้อคำถามด้วยการสร้างการตอบคำถามปลายเปิด (constructed-response item)
การสังเกตจากครู (observations)
การจัดทำแฟ้มสะสมงาน (portfolios)
การประเมินตามสภาพจริงต้องแปลความหมายจากพฤติกรรมซึ่งเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพให้เป็นข้อมูลเชิงปริมาณและจะต้องใช้  “เกณฑ์การให้คะแนนการประเมินตามสภาพจริง” หรือ rubric  ซึ่งมีลักษณะเป็นตารางการให้คะแนนที่แจกแจงระดับการปฏิบัติของผู้เรียนอย่างชัดเจน เกณฑ์การให้คะแนนตามสภาพจริง
เกณฑ์การประเมิน (Rubric) คือแนวการให้คะแนนเพื่อประเมินงานของนักเรียน เกณฑ์การประเมินจะตอบคำถามเหล่านี้คือ ใช้เกณฑ์ (criteria) ใดในการตัดสินผลงานหรือการปฏิบัตินั้น ผู้ประเมินจะพิจารณาผลสำเร็จของการปฏิบัตินั้นตรงไหนและอย่างไร คุณภาพของงานมีระดับความแตกต่างกันเพียงใด ในการกำหนดระดับคะแนนให้กับงานนั้นๆ ผู้ประเมินรับรองความสมเหตุสมผล ความมั่นใจและความยุติธรรมในการประเมินได้เพียงใด และระดับคะแนนนั้นหมายความว่าอย่างไร การได้ระดับคะแนนที่แตกต่างกันนั้นสามารถอธิบายและแยกแยะความแตกต่างระหว่างงานนั้นได้อย่างไร การสร้างเกณฑ์การประเมิน
เกณฑ์การประเมินต้องสอดคล้องกับจุดประสงค์ทั่วไปของการประเมิน ต้องสามารถใช้พิจารณาการปฏิบัติที่เหมาะสมและสมจริง เกณฑ์การประเมินแต่ละเกณฑ์ต้องมีมิติเดียวไม่รวมมิติที่แตกต่างกันและไม่เกี่ยวข้องกันไว้ในเกณฑ์เดียวกัน เขียนอธิบายคุณภาพของงานโดยใช้ถ้อยคำที่บอกถึงคุณภาพที่สูงกว่า  หรือสิ่งที่หายไปจากงานนั้นเพื่อให้สามารถแยกแยะความเหมือนหรือความแตกต่างของแต่ละระดับคุณภาพ โดยหลีกเลี่ยงคำขยายเชิงเปรียบเทียบที่เป็นนามธรรม เกณฑ์การประเมินที่ดี
กำหนดระดับของการะประเมินให้พอเหมาะกับความสามารถที่จะกำหนดความแตกต่างตามระดับคุณภาพได้อย่างพอเพียง ไม่มากเกินไป คำอธิบายระดับคุณภาพ กำหนดให้เหมาะสมกับวัยของผู้เรียนเพื่อที่เขาจะสามารถประเมินตนเองได้ และปรับปรุงตัวเองได้ตามระดับคุณภาพนั้นๆ  เกณฑ์การประเมินต้องเน้นให้เห็นถึงผลกระทบอันเนื่องจากการปฏิบัติงานนั้นผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากการที่ผู้เรียนได้สร้างผลงานนั้นโดยเน้นกระบวนการและความพยายามในการปฏิบัติงานนั้น เกณฑ์การประเมินที่ดี
ความต่อเนื่อง ความแตกต่างระหว่างระดับคุณภาพในมาตรวัดจะต้องต่อเนื่อง และมีขนาดเท่ากัน ความคู่ขนาน คำอธิบายในแต่ละระดับคุณภาพจะต้องใช้คำหรือภาษาที่คู่ขนานกันตลอดทุกช่วงของมาตรวัด เทคนิควิธีการกำหนดเกณฑ์การประเมิน
ยึดสมรรถภาพที่ต้องการประเมิน เกณฑ์การประเมินจะต้องเน้นที่ตัวสมรรถภาพที่ต้องการประเมินสมรรถภาพเดียวกัน คำอธิบายในแต่ละระดับจะแตกต่างกันเฉพาะในคุณภาพของงานหรือการปฏิบัตินั้น ของสมรรถภาพที่ใช้เป็นหลักเฉพาะในเกณฑ์การประเมินที่พิจารณานั้น กำหนดน้ำหนักของเกณฑ์ เมื่อมีกลายเกณฑ์การประเมิน การกำหนดน้ำหนักความสำคัญของเกณฑ์จึงมีความจำเป็นตามจุดเน้น หนักเบาของผลงาน หรือสมรรถภาพที่ได้รับของการประเมินนั้น เทคนิควิธีการกำหนดเกณฑ์การประเมิน
ความเที่ยงตรง เกณฑ์การประเมินต้องมีหลักฐานแสดงให้เห็นถึงความเที่ยงตรงของการพิจารณาผลงานออกมาในรูปของระดับคะแนนที่เป็นตัวแทนของพฤติกรรมให้เป็นรูปธรรมที่ปกติไม่สามารถมองเห็นได้ง่าย ดังนั้นการให้ระดับคุณภาพที่ต่างกันจะต้อง สะท้อนให้เห็นถึงการวิเคราะห์ผลงานตามตัวอย่างในระดับความสามารถต่างๆ กัน อธิบายคุณภาพของการปฏิบัติงานไม่ใช่ปริมาณงาน เกณฑ์การประเมินจะต้องไม่พิจารณาเกี่ยวข้องอื่นๆ แต่จะเน้นเกณฑ์การแสดงออกตามสภาพจริง  ความเชื่อมั่น เกณฑ์การประเมินจะต้องคงเส้นคงวาในการตัดสินใจให้ระดับคุณภาพ ไม่ว่าใครจะเป็นผู้ประเมินหรือไม่ว่าจะประเมินเวลาใด เทคนิควิธีการกำหนดเกณฑ์การประเมิน
กำหนดองค์ประกอบของเกณฑ์แบบรูบริค นิยามปฏิบัติการของเกณฑ์ที่สอดคล้องกับการปฏิบัติงานนั้น กำหนดจำนวนระดับของเกณฑ์ที่ใช้พิจารณา พิจารณาเกณฑ์ผ่าน และไม่ผ่านพร้อมคำอธิบายรายละเอียดและ/หรือตัวอย่างงาน เขียนคำอธิบายระดับที่สูงกว่าเกณฑ์หรือต่ำกว่าเกณฑ์ตามลำดับ ตรวจสอบโดยคณะผู้มีส่วนร่วมหรือผู้เชี่ยวชาญทางการวัดผล ทดลองใช้เกณฑ์ในการตรวจผลงานที่มีมาตรฐาน/คุณลักษณะตามเกณฑ์ที่กำหนด หาคุณภาพของเกณฑ์ ปรับปรุงเกณฑ์ที่ไม่ได้มาตรฐาน ขั้นตอนในการสร้างเกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค
การให้คะแนนแบบภาพรวม (Holistic Scoring) เป็นการให้คะแนนโดยพิจารณาจากภาพรวมของสิ่งที่ต้องการประเมินว่ามีลักษณะอย่างไร โดยแต่ละระดับคะแนนจะบรรยายภาพรวมของสิ่งที่ประเมินทั้งหมดโดยมีคุณภาพลดหลั่นตามระดับคะแนน ซึ่งส่วนใหญ่แล้วนิยมเพียง 3 ระดับ รูปแบบมาตรประเมินค่าของการให้คะแนนแบบรูบริค
ตัวอย่าง  การเตรียมดิน
การให้คะแนนแบบแยกส่วน (Analytic Scoring) เป็นเกณฑ์การให้คะแนนโดยพิจารณาสิ่งที่ประเมินในลักษณะที่แยกเป็นองค์ประกอบรายด้าน หรือจำแนกเป็นมิติคุณภาพต่างๆ เกณฑ์นี้ค่อนข้างมีความละเอียดกว่าเกณฑ์ประเภทแรก เพราะแต่ละมิติคุณภาพสามารถแบ่งได้ออกเป็นหลายระดับคะแนน มักนำไปใช้ในการประเมินผลย่อย (Formative) รูปแบบมาตรประเมินค่าของการให้คะแนนแบบรูบริค
ตัวอย่าง การเตรียมดิน (ขั้นเตรียม)
การศึกษาสภาพประเด็นปัญหาในการวิจัย การกำหนดแนวทางในการแก้ไขปัญหา การออกแบบการวิจัย การดำเนินการวิจัย การเผยแพร่และการนำไปใช้ การประเมินผลและการพัฒนา กระบวนการในการทำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
สำรวจและวิเคราะห์ปัญหา ปัญหาที่เกิดขึ้นคืออะไร ปัญหาที่เกิดขึ้นเป็นปัญหาของใคร ปัญหาที่เกิดขึ้นเป็นปัญหาที่ส่งผลต่อใครและอย่างไร ตั้งคำถามวิจัย  ควรเป็นคำถามว่าอะไร ทำไม อย่างไร  เช่น ปัจจัยอะไรบ้างที่ส่งเสริมความสามารถในการออกแบบผลิตภัณฑ์ วิธีการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบผลิตภัณฑ์ควรมีลักษณอย่างไร 1.การสำรวจและการวิเคราะห์ปัญหาในการวิจัย
ศึกษาเอกสาร แนวคิดและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง กำหนดตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย เพื่อใช้เป็นกรอบแนวคิดในการวิจัย 2. การกำหนดแนวทางในการแก้ไขปัญหา
ประเภทของตัวแปร ตัวแปรแทรกซ้อนหรือตัวแปรเกิน  (Extraneous variable) ตัวแปรต้น (IndependentVariable) ตัวแปรตาม (DependentVariable) ตัวแปรสอดแทรก  (Intervening variable)
3.  การออกแบบการวิจัย วิธีการวิจัย การวิจัยเชิงทดลอง  การวิจัยเชิงสำรวจ การวิจัยกรณีศึกษา การวิจัยและพัฒนา แหล่งข้อมูลในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูล

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษาNU
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลmaymymay
 
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผลบทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผลมะม่วงกระล่อน จริงๆ
 
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้Bert Nangngam
 
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51oieseau1
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้Sujitra ComEdu
 
การวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผลการวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผลNavie Bts
 
การประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติการประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติNU
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้สุเทพ สอนนิล
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้vizaza
 
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผลมโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผลNU
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงkruteerapol
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้poms0077
 
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้Thotsaphon M'Max
 
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัยการวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัยบีน้อย สุชาดา
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงmickyindbsk
 
งานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะงานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะnwichunee
 
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...TupPee Zhouyongfang
 

Mais procurados (19)

๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผลบทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
 
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
การวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผลการวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผล
 
การประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติการประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติ
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผลมโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัยการวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
งานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะงานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะ
 
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
 

Semelhante a ประเมินผล การงานอาชีพและเทคโน

บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8team00428
 
การวัด.docx
การวัด.docxการวัด.docx
การวัด.docxssuserdad9e8
 
แผนการจัดการเรียนรู้.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้.pdfแผนการจัดการเรียนรู้.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้.pdfPuttidaSuttiprapa
 
บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้ยัยบ้อง ตาบร้า
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8sirinan120
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8sirinan120
 
การวัด
การวัดการวัด
การวัดnuaof
 
วิจัยของครูสวนกุหลาบ
วิจัยของครูสวนกุหลาบวิจัยของครูสวนกุหลาบ
วิจัยของครูสวนกุหลาบkrupawit
 

Semelhante a ประเมินผล การงานอาชีพและเทคโน (20)

งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
การวัด.docx
การวัด.docxการวัด.docx
การวัด.docx
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
แผนการจัดการเรียนรู้.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้.pdfแผนการจัดการเรียนรู้.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้.pdf
 
บทที่8...
บทที่8...บทที่8...
บทที่8...
 
บทที่8...
บทที่8...บทที่8...
บทที่8...
 
บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8...
บทที่8...บทที่8...
บทที่8...
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
การวัด
การวัดการวัด
การวัด
 
วิจัยของครูสวนกุหลาบ
วิจัยของครูสวนกุหลาบวิจัยของครูสวนกุหลาบ
วิจัยของครูสวนกุหลาบ
 

ประเมินผล การงานอาชีพและเทคโน