SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 30
Baixar para ler offline
1
 




         แบบฝกเเสริมทักษะ
                         ะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิิทยาศาสตรเลมนี้ เปนหนังสือ
                                             วิ                  ร
     มประสบก ใ ห กั บ ก เรี ย นไ ฝ ก เสริ มประสบก ทั ก ษ ะกระบวน
เสริ ม          การณ บนั          ได       ม          การณ             นการคิ ด
นอกเหนือจากก ยนรูใน
                การเรี    นบทเรียน หรือใชซอมหรือเสริม กยภาพนัักเรียน ใหมีีความรู
                                              ม         มศั                ม
ความ าใจ ควา านาญใน กประสบการณตามวิธีการท ทยาศา ใหกับนักเรียน
    มเข        ามชํ     นการฝ              ต          ทางวิ    าสตร
ระดับ ้นมัธยมศึกษาตอนตน (ม.1-ม.3) มุงเนนใหนักเรียนมีทกษะการกํา
     บชั        ศึ                           ห          ทั       าหนดปญหา ทักษะ
                                                                          ห
การตั้งสมมติฐาน ทักษะการกําหนดแล
    ตั           น                ละควบคุมตัวแปร ทักษ   ษะการรวบร อมูล วิเคราะห
                                                                 รวมข
ขอมูล และสรุปผล ตามวิธีการทางวิท
                         ธี       ทยาศาสตรหรือธรรมชา วิชาวิทยาศาสตร ดังขั้นตอน
                                             ห          าติ
ตอไป ้
     ปนี
                บบทดสอบกอนเรียนกอ าแบบฝกเสริมทักษ
         1. ทําแบ         ก       อนทํ      ฝ         ษะกระบวนการคิด
      2. อานร
             รายละเอียดคาสั่ง/คําชี้แ
                       คํ           แจงของแบบ กเสริมทัก
                                            บฝ      กษะกระบวน ดกอนลงมือ
                                                             นการคิ น
          ปฏิบติทุกครัง
             บัั      ้
      3. ปฏิบติตามคําสั่ง/คําชี้แจงใน จกรรมฝกเสริมทักษะ ่กําหนดใหทุกขอ
            บัั                     นกิ      ก         ะที
      4. เมื่อทํากิจกรรมฝกเสริมทักษ
                        ฝ         ษะกระบวนก ดเสร็จ ว นักเรีย วมกันเฉ
                                           การคิ จแล       ยนร    ฉลยและ
          อภิปรายเกี่ยวกับ าตอบ
                        บคํ
      5. นักเรียนตองมีวนยในการเรีย และซือสัตยตอตนเอ โดยไมดูเฉลยกอน จึงจะ
             รี         นั
                        ิ         ยน     ่ส          อง
          เรียน ไดอยางมีป ทธิภา เปนคนเกง คนดี และ ยนรูอยาง ความสุข
              นรู         ประสิ าพ        ก        ะเรี       งมี
      6. ทําแบ  บบทดสอบห งเรียน เพื่อดูการพัฒนาการของต
                       หลั       พื                  ตนเองระหวางกอนเรียน และ
                                                             ว
          หลังเเรียน
      ขอใหนก ยนพยายา าแบบฝ มทักษะกระบวนก ดเลมนี้ อยางเต็ม
              กเรี
              ั        ามทํ     ฝกเสริ ษ             การคิ
      ความสาม เพื่อจะ พัฒนาทกษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาส
                มารถ   ะได      ทั                                    สตร
      อยางตอเเนื่อง
2
 




                ใช
                ใ กระบวนกา  ารทางวิทยาศาสตรและจิตวิทยาศาสตรใ
                                                         ิ       ในการสืบเสา
                                                                           าะหาความรู การ
                                                                                       ก
         แกปญหา รูวาปรากฏก ทางธรรมชาติที่เกิดขึนสวนใหญมีรูปแบบที่แนนอน สามารถ บาย
                           การณ                     น
                                                      ้                                ถอธิ
         และ ตรวจจสอบได ภาย ขอมูลและ ่องมือทีมีอยูในชวงเวล นๆ เขาใจ า วิทยาศาส
                            ยใต       ะเครื       ่ม ี         ลานั้     จว      สตร
         เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดลอมมีค
                 ยี          สิ         ความเกี่ยวของสัมพันธกัน



         1. การกําหนดปญหา
         2. การตั้ังสมมติฐาน
         3. การกําหนดและคว มตัวแปร
                         วบคุ
         4. การรวบรวมขอมูล
         5. การวิเคราะหขอมูล
                         
         6. การส ปผล
               สรุ



    1. อธิบายวิธีการทางวิทยาศาสตรแตล ้นตอนไดถูกตอง
               วิ                    ละขั     ด
    2. นําวิธีกา
               ารทางวิทยาศ
                         ศาสตรไปประยุกตใชในก ารวจ ตร
                                              การสํ    รวจสอบ ทดล
                                                                ลองในการเรียนรูตาม
                                                                         รี
          ธรรมชา วิชาไดถูกตอง
                 าติ
    3.    วิเคราะ หและประเมินความสอด องของป ก ษพยา นกับขอสรุ ป ทั้งที่สนับสนุนหรือ
                               มิ         ดคล       ประจั                              ส
          ขัดแยงกับสมมติฐาน และความผิด ของขอมูลจากการสํารวจตรวจสอ
                              น           ดปกติ                              อบ
    4.    อธิบายผ อแสดงผลของการสํา
                 ผลหรื                    ารวจตรวจสอ อบ
    5.           าถามที่นําไปสูการสํารวจตรวจสอบ ในเรื่องที่เกี่ยวของ และนําความรูที่ไดไปใชใน
          สรางคํา                                   ใ
          สถานกา ใหม
                  ารณ
    6.    บันทึกแและอธิบายผล งเกต ก ารวจ ตร
                               ลการสั การสํ          รวจสอบ คนค าเพิ่มเติมจ
                                                                 คว       จากแหลงควา ตาง ๆ
                                                                                        ามรู
          ใหไดขอ ลที่เชื่อถือได และยอมรบการเปลี่ยนแปลงความรูที่คนพบเมื่อ ขอมูลและ
                  อมู                     รั         น                       อมี        ะประจักษ
          พยานให เพิ่มขึ้นหรือโตแยงจากเเดิม
                 หม           รื
3
 




    คําชี้แจง
    ใหนักเรีย อกขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว แลวกากบาท
             ยนเลื                            แ        ทลงในกระด าตอบ
                                                               ดาษคํ
    1. ขอใดเเปนลําดับขั้นนตอนการศึกษาความรูตามวิธีการท ทยาศา ไดถูกตอง
                                    ศึ                     ทางวิ าสตร
            ก.
            ก การสังเก   กตและกําหน ญหา การทดลองและตั้งสมมติฐาน
                                     นดป                          ติ
                 การตรวจ   จสอบสมมติฐาน และส ปผล
                                    ติ        สรุ
            ข.
            ข การสังเก   กตและกําหน ญหา การตั้งสมมติฐาน การตร
                                     นดป                ติ         รวจสอบสมมติฐาน
                 และการ  รทดลอง และสรุปผล
            ค.
            ค การตั้งสมมติฐาน กา     ารรวบรวมขอมูล การท
                                               ข        ทดลอง และส ปผล
                                                                    สรุ
            ง.
            ง การตั้งส ฐาน การสังเกตแล ญหา กา
                       สมมติ                  ละป         ารตรวจสอบ
                                                                   บสมมติฐาน
                 และการ  รทดลอง และสรุปผล
    2. ขอใด นขอมูลที่ไดจากการสังเกตปราก
            ดเป                               กฏกรทางธร   รรมชาติ
            ก.
            ก ใบไมตอ  องการแกสค บอนไดอ
                                   คาร      ออกไซดในก งเคราะ ดวยแสง
                                                           การสั    ะห
            ข.
            ข ถาใชพลาสติกหุมใบ พืชไมสามารถสราง
                                    บไว      ส            งอาหารเองไ
                                                                    ได
            ค.
            ค ถาพืชขาดออกซิเจน พืชไมสามารถมีชีวิตอยูได
            ง ใบไมมีสเี ขียว สวนลาตนมีสีน้ําตาลออน
            ง.           สี         ลํ
    3. เมื่อใ น้ําแข็งลงในแกว แลว ้งทิ้งไวสกครูจะพบวารอบนอกข วมีหยดน้ํา
            ใส                      วตั       ก
                                               ั                   ของแก ย
         เกาะ เต็ม ขอใ นผลจากการสังเกต และบันทึก
            ะอยู         ใดเป                ต            กผล
            ก.
            ก มีหยดน้า   าขนาดเล็กแ
                         ํ          และขนาดให เกาะอยูจํา
                                              หญ          านวนมากที่ผิวแกว
                                                                   ที
            ข.
            ข ไอน้ําในอากาศกลั่นตัวเปนหยด ําเกาะอยูร
                                              ดน้        รอบๆแกว
                                                         
            ค.
            ค หยดน้ําที่เกิดเปนกระบวนการเดียวกับการเกดน้ําคาง
                                              ดี           กิ
            ง.
            ง แกวน้ํารั่ัวเปนเหตุใหน้ําซึมออกมาที่ผิวนอก
                                    ห                     ก
4
 




    4. ขอใดเปนการกําหนดปญหาที่ถูกตองที่สุด
        ก. เมื่อพืชไมไดรับแสง พืชจะตาย
        ข. ใบไมมีสีเขียว สวนลําตนมีสีน้ําตาลออน
        ค. แสงมีผลตอการเจริญเติบโตของพืชหรือไม
        ง. ถาพืชขาดออกซิเจน พืชไมสามารถมีชีวิตอยูได
    5. จากสถานการณที่กําหนดให ขอใดเปนตัวแปรตน
       “ปริมาณตัวละลายมีผลตอความเขมขนของสารละลาย”
        ก. ปริมาณตัวละลาย
        ข. ความเขมขนของสารละลาย
        ค. สารละลาย
        ง. ปริมาณตัวทําละลายในสารละลายเขมขน
    6. จากขอ 5 ตัวแปรตาม คือขอใด
       ก. ปริมาณตัวละลาย
       ข. ความเขมขนของสารละลาย
       ค. สารละลาย
       ง. ปริมาณตัวทําละลายในสารละลายเขมขน

    จากตารางบันทึกผลการทดสอบกรด-เบส ดังตอไปนี้ ใชตอบคําถามขอ 7
         สาร         การเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัส        การเปลี่ยนสี
        ละลาย        สีแดง          สีน้ําเงิน     เจนเชียลไวโอเลต
          A         เปลี่ยน              -                 -
          B             -           เปลี่ยน        เปลี่ยนเปนสีเขียว
          C         เปลี่ยน              -                 -
          D             -           เปลี่ยน                -
5
 




          7. ในการทดสอบกรด-เบสจากตารางขอใดสรุปไดถกตอง   ู
              ก. สาร C กับสาร D เปนสารพวกเดียวกัน
              ข. สาร D เปนสารที่แตกตางจากสารอื่นมากที่สุด
              ค. สาร B เปนสารที่แตกตางจากสารอื่นมากที่สุด
              ง. สาร A และ D มีคุณสมบัติเปนสารเดียวกัน

    จากขอมูลตอไปนี้ ใชตอบคําถามขอ 71-72
            สาร           ละลายน้ํา (g)     ละลายในแอลกอฮอล(g)
             A                  8                   4
             B                 10                    -
             C                  -                    -
             D                  -                   5

          8. จากขอมูลขางตนสรุปไดวาอยางไร
               ก. สาร A มีความสามารถในการละลายไดนอย
               ข. สาร B มีความสามารถในการละลายไดมาก
               ค. สาร C สามารถละลายไดมาก
               ง. สารแตละชนิดมีความสามารถในการละลายได
                  ไมเทากันขึ้นอยูกับตัวทําละลายแตละชนิด
          9. ถาสารชนิดหนึ่งเปนน้ําตาลทรายนักเรียนคิดวานาจะเปนสารใด
              ก. สาร A
              ข. สาร B
              ค.สาร C
              ง. สาร D
6
 

             จากการทดลองตอไปนี้ใหตอบคําถามในกระดาษคําตอบ




    ภาพการทดลองการตรวจสอบขนาดอนุภาคของสาร 3 ชนิด คือ น้ําโคลน นมสด
            และน้ําแดง ดวยกระดาษกรอง และถุงกระดาษเซลโลเฟน

           10. จากภาพการทดสอบสารตัวแปรตน คือ ขอใด
                  ก. บีกเกอร
                  ข. กระดาษกรอง และถุงกระดาษเซลโลเฟน
                  ค. สารทั้ง 3 ชนิด คือ น้ําโคลน นมสด และน้ําแดง
                  ง. สารที่ไดจากการกรองผานกระดาษกรอง และกระดาษเซลโลเฟน
7
 




    สาระสําคัญของทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร



                    การสังเกตจุดเริ่มตนของการคิด



          สงสัย มองเห็นปญหา กําหนดปญหา หรือระบุปญหาได
                                                  



              ตั้งสมมติฐานหรือคาดคะเนคําตอบของปญหา



     ออกแบบเพือสํารวจตรวจสอบสมมติฐาน กําหนดและคาบคุมตัวแปร
              ่



                  ทดลอง เก็บขอมูล รวบรวมขอมูล g



                     วิเคราะหขอมูล และสรุปผล
8
 




      สาระสําคัญของการสังเกตจุดเริ่มตนของการคิด และการกําหนดปญหา


      การสังเกต

         หมายถึง การใชประสาทสัมผัสอยางใดอยางหนึ่ง หรือประสาทสัมผัสทั้ง 5 (ตา หู
จมูก ลิ้น ผิวกาย) เขาไปสํารวจ ตรวจสอบวัตถุ หรือปรากฏการณตางๆ ในธรรมชาติ โดยไม
ลงความคิดเห็นของผูสังเกตไปดวย




                    ตูปลา A                                ตูปลา B

      จากการสังเกตตูปลาทั้งสองตู ขอมูลที่ไดจากการสังเกต มีดังนี้
      1. ตูปลา A ระบบนิเวศประกอบดวย พืชหลากหลายชนิดกวาตูปลา B
      2. ตูปลา A มีปลาอยู 2 ชนิด สวนตูปลา B ไมมีปลาอยูเลย
9
 




       การกําหนดปญหา

       เปนการตั้งคําถาม หรือเกิดขอสงสัย กับสิ่งที่สังเกต วาทําไม
       หรือเพราะอะไร กับสิ่งที่ไดสังเกต สํารวจ ตรวจสอบหรือสงสัย ประโยคที่กําหนด
ปญหาเปนประโยคคําถาม เพื่อเปนแนวทางในการแกปญหา และคนหาคําตอบได
       เชน ถาทิ้งตูปลาไว 1 เดือนโดยไมใหอาหารปลา ลักษณะน้ํา และปลาในตูปลาทั้งสอง
จะเกิดการเปลี่ยนแปลง หรือไม โดยบันทึกผลจากการสังเกตสีของน้ํา จํานวนปลา จํานวนพืช
และลักษณะของพืชที่อยูในตูปลาทั้งสองทุกๆ วัน


                                                     การสังเกต ตองไมใส
                                                     ความคิดเห็นสวนตัว
            การกําหนดปญหา
            ตองตั้งเปนประโยค                       เขาไปพิจารณาสิ่งที่
            คําถามนะจะบอกให                         สังเกตนะจะบอกให
10
 




               กิจกรรมที่ 1.1 ฝกทัก
                      ที          กษะการสังเกต และกํ
                                          ง       กาหนดปญห
                                                          หา

        คําชี้แจง ใหนักเรียนนําคําที่กําหนดใหตอไปนี้ไปเติมคาในชองวาง ถูกตอง
                ง                                 ไ          คํ         งให


    ชนิดใด หรือ
     นิ      อไม เพรา ใด ทําไม อยางไ เมื่อไร ที่ไหน คืออะ ใคร อยางไร
                     าะเหตุ          ไร                   ะไร    ย




                 จากการสังเกต ภาพนี้ ชายฝงมีปลาตายเต็ม
                       สั        นี                   มไปหมดเลย
                                                              ย

                                                   ป
                                                   ปญหาที่กําหนด    ห
                1. ปลาทีต นปลา............................................................
                             ตายเป
                             ่
                2. .......................................................................ปลาจึงตาย
                3. ปลาที่ต นปลาช ดเดียวกัน.....................................
                               ตายเป              ชนิ               น
                4. แหลงน้าแหลงอื่นที่ใกลกัน มีการตายของแ ยวกัน
                                 ํ                                                     แบบเดี
                ..........................................................................................
                5. สาเหตุก     การตายของ         งปลา..................................................
11
 




                 กิจกรรมที่ 1.2 ฝกทัก
                        ที          กษะการสังเกต และกําหนดปญห
                                            ง       กํ       หา
           คําชี้แ
                 แจง        ใสเครื่องหมา ก ( ) ในชองตารางที่ตรงกับทักษะนั้น
                             ส        ายถู    ใ




                       ขอมูลที่ได
                                 ด               ทักษะการสังเกต
                                                               ต   ทักษะก าหนดปญหา
                                                                        การกํ
    1.
    1 น้ําแข็งขั้วโลกกําลังละลา  าย
    2.
    2 หมีจะเอาชีวิิตรอดไดอยางไร
    3.
    3 ทําไมหมีจึง บนกอนน้ําแข็ง
                  งไปอยู
    4.
    4 หมีจะเย็นไ  ไหมเมื่ออยูบน ําแข็ง
                                นน้
    5.
    5 ทําไมน้ําแข็งขั้วโลกถึงละ
                  ข็             ะลาย
    6.
    6 เห็นน้ําแข็ง นแผนเล็กแ
                  งเป           แยกออกจากกน
                                           กั
    7.
    7 ภาพเปนบร   รรยากาศตอน    นกลางวันทอง า
                                           งฟ
    มีเมฆบางบาง วน
                  งส
    8.
    8 ทําไมแผนนาแข็งจึงไมเปนแผนเดียวกัน
                  น้ํ
    9.
    9 หมีจะเดินไ  ไปทางไหน
    10.
    1 หมีจะใชชวิตอยูอยางไร
                  ชีี            ร
12
 




           กิจกรรมที่ 1.3 ฝกทัก
                  ที          กษะการสังเกต และกําหนดปญห
                                      ง       กํ       หา
         คําชี้แจง ใหร
                     ระบายสีขอค
                               ความที่แสดง งทักษะการกําหนดปญหา
                                         งถึ              ป

          การทดลองเปาเทียนผาน ่งกีดขวาง เทียนดับทุกครั้งหรือไ
    1. จากก        ป        นสิ       ง                     ไม

    2. จากก
          กราฟที่นักเรียนเขียนได ขณะที่น้ําแข็งยังหลอม
                     รี        ด           แ         มเหลวไมหม มด
    เสนกรา นอยาง และอุณห มขณะนัันเปลี่ยนแป
          าฟเป      งไร        หภู ิ        ้        ปลงหรือไม

    3. ถาปลอยลูกบอลจ
           ล       จากระดับที่สูงขึ้นลงสูพื้น ลูกบอลจ
                                          พื
                                                    จะกระเดงสู ้น
                                                              สงขึ

    4. นักเรียนสรุปควา มพันธร างปริมาตรของอากาศกับอุณห มิ
           รี        ามสั    ระหว ม                  หภู

    5. ทานจ าเนินกา
           จะดํ    ารทดลองอยางไรเพื่อทด
                           ย         ดสอบวาน้ํามผลตอการ
                                                 มี
    เจริญเติบโตของพืช
          ติ

    6. นักเรียนใชเกณฑอะไรในการ าแนกพืชออกเปนพว
           รี        ฑ        รจํ              วกๆ

    7. ถาจะ
           ะหามวลของ อไปนี้ นักเรียนควรจะใชเครื่ืองชั่งสปริง
                   งสารต นี

    8. ในน้า 5 ลูกบาศกเซนติเมตร น้ําตาลสาม
           ํ         ก                   มารถละลายไ มากที่สด 5 ชอน
                                                   ได      ุ

    9. หินกอนนีหนัก 5 กิโลกรัม
             ้

    10. กลอ ้มีปริ
           องใบนี รมาตรเทาใด
                            ด
                                       3
13
 




                       สาระสําคัญของทักษะการตั้งสมมติฐาน


        ทักษะการตั้งสมมติฐาน ( Formulating hypothesis) หมายถึง ความสามารถในการ
ใหคําอธิบายซึ่งเปนคําตอบลวงหนากอนที่จะดําเนินการทดลอง เพื่อตรวจสอบความถูกตอง
เปนจริงในเรื่องนั้นๆ ตอไป สมมติฐานเปนขอความที่แสดงการคาดคะเน ซึ่งอาจเปน
คําอธิบายของสิ่งที่ไมสามารถตรวจสอบโดยการสังเกตได หรืออาจเปนขอความที่แสดง
ความสัมพันธท่คาดคะเนวาจะเกิดขึ้นระหวางตัวแปรตนกับตัวแปรตาม ขอความของ
                ี
สมมติฐานนี้สรางขึ้นโดยอาศัยการสังเกตความรู ประสบการณเดิมเปนพื้นฐาน การคาดคะเน
คําตอบที่คิดลวงหนานี้ยงไมทราบ หรือยังไมเปนหลักการ กฎ หรือทฤษฎีมากอน ขอความ
                         ั
ของสมมุติฐานตองสามารถทําการตรวจสอบโดยการทดลองและแกไขเมื่อมีความรูใหมได

         เชน
         เมื่อขนาดของยางรถยนตใหญขึ้น ความเร็วของรถยนตจะลดลง
         ถาแสงมีผลตอการเจริญเติบโตของพืช ดังนั้น พืชที่ไดรับแสงจะเจริญเติบโตดีกวาพืช
ที่ไมไดรับแสง
         ถาแกสคารบอนไดออกไซดมีผลตอการสรางอาหารของพืช ดังนั้นพืชที่ไดรับแกส
คารบอนไดออกไซดจะสรางอาหารและมีแปงเกิดขึ้นที่ใบ
14
 




                      กิจก
                         กรรมที่ 2.1 ฝกทักษะก ้งสมม ฐาน
                                             การตั มติ


          คําชี้แ ลงสีใหสวยงามทับ อความทีแสดงถึงทักษ
                แจง               บข      ่แ        ษะการตั้งสม ฐาน
                                                               มมติ

    1.
    1 เมื่อทิ้งน้ําแชใบหูกวา ้งไวหลา น จํานวน
                            างทิ     ายวั     นพารามีเซีย
                                                        ยมจะมีมากขึ้น
    2.
    2 จุลินทรียเจริญเติบโต อยลง เมื่ือปริมาณอา
             ย           ตน                 าหารมีนอยล
                                                        ลง
    3.
    3 ปริมาณอ
            อาหารที่ใหมีผลตอการเจริญเติบโตข ลินทรียหรือไม
                       มี                   ของจุ รี
    4.
    4 อัตราการ
             รตกของวัตถชาลง เมื่อนําหนักของ ตถุมีนอยล
                      ถุ          น้       งวั        ลง
    5.
    5 อัตราของตกของวัต จะตกเร็วขึ้น เมือเพิ่มน้ําหนักของ ตถุใหมาก ้น
                     ตถุ               ่               งวั       กขึ
    6.
    6 อุณหภูมของอากาศใ านกับน าน แตกตางกันหรือไม
             ิ       ในบ   นอกบ           รื
    7.
    7 จํานวนห าตาง และ
            หน       ะประตูภายใ าน มีผลตออุณหภูมในบานหรือ
                               ในบ    ล        มิิ        อไม
    8.
    8 อัตราที่ตัวผึ้งฟกออก
              ตั          กจากไขมาก ้นเมื่ออุณหภูมของรังผึ้งสูงขึ้น
                                   กขึ         ห ิ
    9.
    9 อุณหภูมมีผลตอการ
             ิ        รงอกของเมลดพืชหรือไม
                               ล็       ไ
    10.
    1 อัตราการ
             รหายใจของ ตวจะเพิม ้น เมื่อขน างกายสัตวเพิ่มขึ้น
                     งสั      มขึ
                               ่          นาดร  สั
15
 




                       กิจก
                          กรรมที่ 2.2 ฝกทักษะก ้งสมม ฐาน
                                    2         การตั มติ


                                    คําชี้แจง
                                            ง

    โยงเสนทักษะที่สอดคลอง นระหวาง กษะการกําหนดปญห บทักษะการตั้งสมม ฐาน
                          งกั      งทั     กํ       หากั             มติ

        ทักษะการ าหนดปญ
                 รกํ      ญหา                        ทักษะการต้งสมมติฐาน
                                                                 ตั
     1.
     1 สัตวตัวใด วหนึ่งมีอัตรา
                ดตั                              A.. ถากําลังขอ ่องยนตสูง
                                                                 องเครื      ต
     การหายใจเทากันหรือไม
     ก          ท         ม                    มีผ ออัตราเเร็วของรถย
                                                   ผลต                     ยนต
                                                 ที่วิ่งสูง
                                                    วิ
     2.
     2 ลูกบอลลูน  นลอยสูงขึน
                          นได
                           ้                     B.. ถาพืชยิ่งไดรับน้ํามาก
                                                                 ด
     ขึ้นอยูกับปจ ยอะไรบาง
                  จจั                            เทาไหร พืชยิ่ง ญเติบโต
                                                  ท             งเจริ
                                                 ขอ งเทานั้น
                                                   องสู
     3.
     3 กําลังของเครื่องยนต มีผล                 C.. สัตวที่มน้ํา กสูง อัตรา
                                                               ี าหนั       ต
     ต
     ตออัตราเร็วของรถยนตที่วิ่ง
                             ต                  กา
                                                  ารหายใจจะสงขึ้นดวย
                                                                  สู
     หรื
     ห อไม
     4.
     4 ถาพืชยิ่งไ รับน้ํามาก
                 ได         ก                   D.. ถาพื้นที่ผิว
                                                                 วของภาชนะ ะ
     เทาไหร พืชยิ่งเจริญเติบ
                            บโต                  กวางอัตราการ
                                                  ว             รระเหยของ ํา
                                                                          งน้
     ของสู
     ข งเทานันจริงหรือไ
                  ้          ไม                 ก็ยิ่งมากขึ้นดว
                                                  ยิ             วย
     5.
     5 พื้นที่ผิวข
                 ของภาชนะมีผลตอ
                             มี                  E.. อุณหภูมิเป จจัยทีมีผล
                                                                ปนป     ่ม ี
     การระเหยของน้ําหรือไม
     ก                        ม                 ตอ
                                                   อการลอยขอ กบอลลูน
                                                                 องลู
16
 




               กิจก
                  กรรมที่ 2.3 ฝกทักษะก ้งสมม ฐาน
                            3         การตั มติ

           คําชี้แจง ใหตั้งสมม ฐานจากส
                   ง          มติ     สถานการณที่กําหนดให
                                               ที        ห

    1. อุณหภูมของ ําที่ตม มีผ อการสุกของไขหรือ
              ิ งน้          ผลต    ก         อไม
    สมม ฐานคือ
       มติ



    2. ห าจะสูงขึนหรือไม เมือไดรับน้ํามากขึ้น
        หญ      ้         มื่          ม
    สมม ฐานคือ
       มติ



    3. เม่อเพิ่มปริม
        มื         มาณเกลือในนํา อุณหภูมิของน้ําจะสูงขึ้นหรือต่ําลง
                             น้        มิ         สู
    สมม ฐานคือ
       มติ



    4. นําหนักของวตถุ มีผลตอ
       น้        วั         อแรงเสียดท
                                     ทานหรือไม
    สมม ฐานคือ
       มติ



    5. ลักษณะผิวข ตถุ มีผลตอแรงเสียดทานหรือไ
                ของวั              ย        ไม
    สมม ฐานคือ
       มติ
17
 




                 สาระสําคัญทักษะการกําหนดและควบคุมตัวแปร

     ทักษะการกําหนดและควบคุมตัวแปร (Identifying and controlling variables)
     หมายถึง การชี้บงตัวแปรตน ตัวแปรตาม และตัวแปรที่ตองควบคุมในสมมุติฐานหนึ่ง
     การควบคุมตัวแปรนั้นเปนการควบคุมสิ่งอื่นๆ นอกเหนือจากตัวแปรตนที่จะทําใหผล
การทดลองคลาดเคลื่อนถาหากวาไมควบคุมใหเหมือนกัน

      เชน ความสูงของตนถั่วขึ้นอยูกับปริมาณน้ําที่ตนถั่วไดรับ
      ตัวแปรตน คือ ปริมาณน้ําที่ตนถั่วไดรับ
      ตัวแปรตาม คือ ความสูงของตนถั่ว
      ตัวแปรควบคุม คือ ตนถั่ว

      เชน หญาจะสูงขึ้น ถาปริมาณแรธาตุในดินเพิ่มขึน
                                                     ้
      ตัวแปรตน คือ ปริมาณแรธาตุในดิน
      ตัวแปรตาม คือ ความสูงของหญา
      ตัวแปรควบคุม คือ หญา
18
 




          กิจกรรมที่ 3. 1 ฝกทัก
                              กษะการกําหนดและค มตัวแ
                                       ห     ควบคุ แปร

    คําชี้แจง ใหขีดเสน คําที่เปนตวแปรจากส
            ง          นใต        ตั      สถานการณที่กําหนดใหดังตอไปนี้
                                                  ณ          ห



      แสงมีผลตอการเเจริญเติบโต
         มี                   ตของตนผักบุง หรือไม
                                        บ



      ถาจํา
           านวนครั้งขอ
                     องการกระโดดเพิ่มขึ้น ดังนั้นอัตรา
                                          ด          าการเตนของ พจรเพิ่มขึน
                                                               งชี         ้



         งอกของเมล็ดขาโพดในเวลาตางกัน ขึ้นอยูกบอุณหภูมของ ําที่แชเมล็็ด
      การง                                       ั       ิ งน้



      ปริมาณมลภาวะะของอากาศท่เกิดขึ้นจาก
                              ที       กรถยนต วัด จากปริม ่แตกตาง
                                                 ดได    มาณที ต
      ของต ่วที่บรรจุอยูภายในแ สโซลีน
          ตะกั                แก



      อุณห มของผลตอพฤติกรร
         หภู ิ   ต      รมของไรน้า
                                  ํ
19
 




                 กิจกรรมที่ 3.2 ฝกทัก
                                    กษะการกําหนดและควบคุมตัวแ
                                             ห              แปร


    คําชี้แจง    จากสถานกา ที่กําหนดให
                 จ           ารณ
                 ใสเครื่องหมา ( ) ขอ ่เห็นวาระ ตัวแปรถูก
                              าย      อที          ะบุ
                 ใสเครื่องหมา ( ) ขอทีเ่ ห็นวาระบุตัวแปรผิด
                              าย                   บุ

           เมื่อนําน้ํา
                      าโคลนไปกร วยกระ
                              รองด ะดาษกรอง น้ําที่กรองไดจะมีลักษณ นอยางไ
                                             น           ด       ณะเป   ไร




            ตัวแปร น
                 รต                    ตัวแปรตา   าม            ตัวแปรควบคุม
           กระดาษกรอง                   น้ําที่กรองไได             น้า
                                                                      ําโคลน

           ถาเปลี่ยน
                    นกระดาษกร เปนกระ
                            รอง     ะดาษเซลโล
                                            ลเฟนน้ําที่กร ไดจะมีลักษณะ
                                                        รองได
เหมือ นหรือตางกันอยางไ
   อนกั    ต         ไร

           ตัวแปร น
                รต                     ตัวแปรตา   าม            ตัวแปรควบคุม
        กระดาษเซลโลเฟน                  น้ําที่กรองไได             น้า
                                                                      ําโคลน
20
 




                   กิจกรรมที่ 3.3 ฝกทัก
                                      กษะการกําหนดและควบคุมตัวแ
                                               ห              แปร


คําชี้แ
      แจง         จากสถานกา ที่กําหนด
                  จ           ารณ
                  ใหระบุวาตัวแปรใดที่เปน วแปรตน ตัวแปรตาม และตัวแป
                                          นตั                        ปรควบคุม

    สถานการณ
    ส
       หยดเทียน
              นบนแผนอะ มิเนียม
                        ะลู
       ใหความรอนแผนอะ มิเนียม
                       ะลู
       ดังภาพ
       หยดเทียน
              นไขแตละหหยด
       จะเกิดกา ่ยนแป างไร
              ารเปลี ปลงอย



        ตัวแปรตน
              ต                       คือ………     ……………            ………………               ……………            …………….
        ตัวแปรต
              ตาม                      คือ...................................................................................
        ตัวแปรค ม
              ควบคุ                    คือ...................................................................................

        สถานการณ สีของผิววัตถุมีผลตอการรับพลงงานความ อนหรือไม
                                      ต                   ลั               มร                 ม
        ตัวแปรตน
              ต            คือ………     ……………            ………………               ……………            …………….
        ตัวแปรต
              ตาม           คือ...................................................................................
        ตัวแปรค ม
              ควบคุ         คือ...................................................................................
21
 




                    สาระสําคัญของทักษะการจัดกระทําขอมูล

    ทักษะการจัดกระทําและสื่อความหมายขอมูล
    (Organizing data and communication)
    หมายถึง ความสามารถในการนําขอมูลที่ไดจากการสังเกต การวัด การทดลอง
    และจากแหลงอื่นมาจัดกระทําใหมโดยวิธีการตางๆ เชน การจัดเรียงลําดับ
    การแยกประเภท หรือคํานวณหาคาใหม เพื่อใหผูอื่นเขาใจมากขึ้น อาจนําเสนอในรูป
    ของตาราง แผนภูมิ แผนภาพ กราฟ สมการ เปนตน

    แสงมีผลตอการเจริญเติบโตของพืชหรือไม
    สามารถจัดกระทําขอมูลในรูปตารางไดดังนี้

          แสง(ตัวแปรตน)               การเจริญเติบโตของพืช(ตัวแปรตาม)



    ระยะเวลาที่แชเมล็ดถั่วในน้ํามีผลตอน้ําหนักเมล็ดถั่วที่เพิ่มขึ้น
    สามารถจัดกระทําขอมูลในรูปตารางไดดังนี้

      ระยะเวลาที่แชเมล็ดถัว (นาที)              น้ําหนักที่เพิ่มขึ้น(กรัม)
             (ตัวแปรตน)                              (ตัวแปรตาม)
22
 




               กิจกรรมที่ 4 ฝกทักษ
                          4.1     ษะการออก
                                         กแบบการจััดกระทําขอมูล

    คําชี้แจง จากภาพการทดลอง ใหนักเรียนออ
                                      ห     อกแบบชื่อต
                                                      ตารางบันทึกกผลการทดล
                                                                         ลอง
              ใชเมล็ดถั่วตมน้ํา วัดอุณ มของนํากอนและห งตม (ถั่ว จนหมด)
                          ต          ณหภู ิ น้       หลั        วไหม




    ชื่อตาราง .................................................................................................................
            ง

               อุณหภูมของ ํากอนตม
                      ิ งน้                                                  อุณหภูมของน้ําหลังตม
                                                                                  ภู ิ      ลั
                  (องศาเซล ยส)
                         ลเซี                                                   (อง
                                                                                  งศาเซลเซียส
                                                                                            ส)
23
 




        กิจ จกรรมที่ 4.2 ฝกทัก
          จกิ    ที          กษะการออ
                                    อกแบบการจัดกระทําขอมูล
                                                     ข

    คําชี้แจง จากภาพก  การทดลองแ อมูลทีให ในตาราง มนที่ 1 และคอลัมนที่ 2
                                   และข       ่ใ      งคอลั           น
              ใหนักเรียน
                        นออกแบบชือตารางบันทึกผลการท
                                   ชื่        น        ทดลอง
              และใสชื่อคอลัมนที่ 1 และ 2 วาอยางไร
                                                 ย
              ใหความรอนกับน้ําใน กเกอรวัดอุณหภูมขอ ําบริเวณใ กนบีกเก
                                  นบี               ิ องน้   ใกล     กอร
              และบริเวณ ผิวน้ําดานลางทุกๆ 5 นาที
                        ณใกล       ด




          ชื่อตาราง ......................................................................................................
                                                             อุณหภูมของน้ํา(องศาเซ ยส)
                                                             อ             ิ                     ซลเซี
          ระยะเวลาใน ม(นา )
          ร           นการต าที
                                                     บริเวณ กนบีก
                                                             ณใกล  กเกอร บริ                 รเวณใกลผวน้ํา   ิน
                          5
                         10
                         15
                         20
24
 




             กิจกรรมที่ 4.3 ฝกทักษ
                                  ษะการออก
                                         กแบบการจัดกระทําขอมูล
                                                จั

        คําชี้แจ จากสถา
               จง     านการณที่กํา
                                  าหนดให ใหจัดกระทําขอมูลในรูปกราฟเสน
                                            ห           ข
      ไดมีการบนทึกผลกา
               บั      ารทดลองเกี่ยวกับเวลาที่นําแข็งซึ่งมีมวลตางกัน
                                 กี          ที                     นหลอมเหลว
      ผลการบัันทึก แสดงใหเห็นดังตารางขางลางนี้
                                             ง
ตารา เวลาหลอมเหลวของนําแข็งที่มีม างๆ กัน
   าง                  น้        มวลต

              มวลของน้ําแข็ง(กรัม)   เวลาที่ใชในการหลอ
                                             ช         อมเหลว(นา )
                                                               าที
                     355                             2
                     455                             3
                     522                             5
                     611                             9
                     700                            11

             จงเขียนกราฟโ ขอมูลจ
                        โดยใช  จากตารางขางตน
                                            ง

             70
             7
             65
             6
             60
             6
             55
             50
             45
             4
             40
             4
             35
             30
                    1   2   3    4   5    6   7    8   9 10 11 12
25
 




          กิจกรรมที่ 4.4 ฝกทักษ
                               ษะการออก
                                      กแบบการจัดกระทําขอมูล
                                             จั


    คําชี้แจง จากสเกลแ
                     แกนนอนและแกนตั้งทีกําหนดให
                                          ่ก ํ
             จงใส
             จ จุดแสดดงเลขคูอันดับจากขอมูลในตารางท ายมือ
                                           ล       ทางซ

      ระยะท
          ทางจากตาถึงแผนแสดง วอักษร
                  ถึ        งตั                เวลาที่ใชในการหลออมเหลว
                   (m)
                   (                                      (นาที)
                     1                                      18
                     2                                      22
                     3                                      35
                     4                                      30
                     5                                      26

                จงเขีย
                     ยนกราฟโดยใ ขอมูลจากต
                              ใช        ตารางขางตน

                    38
                    3
                    34
                    3
                    30
                    3
                    26
                    2
                    22
                    2
                    18
                    1
                     0    1     2     3    4       5
26
 




    กิจกรรมที่ 4.5 ฝกทักษ
                         ษะการออก
                                กแบบการจัดกระทําขอมูล
                                       จั


     คําชี้แจง จ
               จากภาพการ รทดลอง ใหออกแบบตา นทึกผ
                                 ห          ารางบั ผล
               เต ยมแผนโ
                ตรี      โลหะชนิดหน่ง 2 แผน ที่มีขนาดเทา น
                                   นึ                    ากั
               แผ ่
               แ นหนึงทาสีขาว สวนอีกแผนหนึงทาสีดํา
                                 น           ่
               และติ ร
               แ ดเทอรมอมิเตอร โดยกระเปาะ
                                  โ          ะของเทอรม เตอร
                                                        มอมิ
               อยู
               อ บริเวณกล นโลห ้งสอง
                         ลางแผ หะทั
27
 




                   สาระสําคัญของทักษะการตีความหมายขอมูล
                         วิเคราะหขอมูล และลงขอสรุป


        ทักษะการลงความเห็นจากขอมูล ( Inferring)
        หมายถึง ความสามารถในการอธิบายขอมูลที่มีอยูอยางมีเหตุผล โดยอาศัยความรูหรือ
ประสบการณเดิมมาชวย ขอมูลที่มีอยูอาจไดมาจากการสังเกต การวัด การทดลอง คําอธิบาย
นั้นได มาจาก ความรูหรือประสบการณเดิมของ ผูสังเกตที่พยายามโยงบางสวนที่เปนความรู
หรือประสบการณเดิม ใหมาสัมพันธกับขอมูลที่ตนเองมีอยู

        ทักษะการตีความหมายขอมูลและลงขอสรุป
        Interpreting data and conclusion) หมายถึง ความสามารถในการบอกความหมาย
ของขอมูลที่ไดจัดกระทํา และอยูในรูปแบบที่ใชในการสื่อความหมายแลว ซึ่งอาจอยูในรูป
ตาราง กราฟ แผนภูมิหรือรูปภาพตางๆ รวมทั้งความสามารถในการบอกความหมายขอมูลใน
เชิงสถิติดวย และสามารถลงขอสรุปโดยการเอาความหมายของขอมูลที่ไดทั้งหมด สรุปให
เห็นความสัมพันธของขอมูลที่เกี่ยวของกับตัวแปรที่ตองการศึกษาภายในขอบเขตของการ
ทดลองนั้นๆ
28
 




                       กิจกรร ่ 5.1 ฝก กษะการ ความหม อมูล
                            รมที      กทั       รตี     มายข
                              วิเคราะหขอมูล และลงขอสรุป
                                     ห

    คําชี้แจง จากภา
                  าพการทดลอ อไปนี้ ใ ระบุขอมูลใหถูกตอง ตามชองวา ่กําหนดใ
                          องต     ให                           างที     ให




                                                A

                                                     B




     เมื่อเผาลวดนิโครมเปนเวลาหนึง กอนน้ําหนักจะ.....................................................
                       ป        ่
   ลวดทองแดง A สัมผัสกับแผนทองแดง B ทําใหหลอดไฟ............................................
และล          ง                             ห
29
 




                    กิจกรรมที่ 5.2 ฝก กษะการ ความหม อมูล
                                     กทั     รตี      มายข
                           วิเคราะหขอมูล และลงขอสรุป
                                   ห

          คําชีแจง จากภา และตาร
               ้       าพ        รางการทดลอ องการตมน้ํา บถั่วลิสงตอไปนี้
                                                        ากั
                          ใหเติมคาในชองวางใหถูกตอง
                                 คํ         ง




                       การทดลอง                                อุณหภูมิ (
                                                                        (องศาเซลเซียส)
                                                                                 ซี
                        กอน ม
                           นต                                            27
                        หลัง ม
                           งต                                            70

    อุณหภูมของน้ําในห
            ิ            หลอดทดลอง ่วัดกอนและหลังจากการตมมีคาเทากับ....................
                                              งที
    และอุณห มหลังตม มีคาเทากับ ...................................................................................
           หภู ิ
    แสดงวาใ
           ใน................................................มี...............................................สะสม 
                                                                                                                 มอยู
30
 


               กิจกรรมที่ 5.3 ฝกทักษะการตีความหมายขอมูล
                      วิเคราะหขอมูล และลงขอสรุป
                                  

     คําชี้แจง จากภาพและผลการทดลองขางลางนี้ ใหวิเคราะหขอมูลใหถูกตอง
                                                           




    ตารางแสดงอุณหภูมของน้ําในบีกเกอรแตละใบ
                           ิ
                   บีกเกอร             อุณหภูมของน้ํา (องศาเซลเศียส)
                                               ิ
          ใบที่ 1 น้ําที่อุณหภูมหอง
                                 ิ                   25
                ใบที่ 2 น้ํารอน                     70
            ใบที่ 3 น้ําที่ผสมกัน
                                                     47
        ระหวางบีกเกอรใบที่ 1 และ 2

    วิเคราะหขอมูลและสรุปผลการทดลอง
    ……………………………………………………………………………………..
    ……………………………………………………………………………………..
    …………………………………………………………………………………

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนSukanya Nak-on
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่nik2529
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนKobwit Piriyawat
 
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์Sivagon Soontong
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102พัน พัน
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพyangclang22
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 

Mais procurados (20)

2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 

Semelhante a เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์

ส่วนหน้าแบบฝึกเสริมทักษะ
ส่วนหน้าแบบฝึกเสริมทักษะส่วนหน้าแบบฝึกเสริมทักษะ
ส่วนหน้าแบบฝึกเสริมทักษะkrupornpana55
 
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนNongruk Srisukha
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2Aroonswat
 
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
01 มองอนาคตด้วยเดลฟายKruBeeKa
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333Chirinee Deeraksa
 
07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final examKruBeeKa
 
Ppt+วิทยา..[1]
Ppt+วิทยา..[1]Ppt+วิทยา..[1]
Ppt+วิทยา..[1]krupatchara
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
กำหนดการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1กำหนดการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
กำหนดการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1tassanee chaicharoen
 
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้krupornpana55
 
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้skiats
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาMko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาNanzzy Sutthanont
 
Mko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาMko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาNanzzy Sutthanont
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนnang_phy29
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 

Semelhante a เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์ (20)

1ปกสอน
1ปกสอน1ปกสอน
1ปกสอน
 
ส่วนหน้าแบบฝึกเสริมทักษะ
ส่วนหน้าแบบฝึกเสริมทักษะส่วนหน้าแบบฝึกเสริมทักษะ
ส่วนหน้าแบบฝึกเสริมทักษะ
 
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
 
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
 
07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final exam
 
Ppt+วิทยา..[1]
Ppt+วิทยา..[1]Ppt+วิทยา..[1]
Ppt+วิทยา..[1]
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
กำหนดการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1กำหนดการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
กำหนดการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
 
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
 
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
 
05chap3
05chap305chap3
05chap3
 
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาMko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
 
Metacognition
MetacognitionMetacognition
Metacognition
 
Mko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาMko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยา
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
Standard7
Standard7Standard7
Standard7
 

Mais de krupornpana55

รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ krupornpana55
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนkrupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4krupornpana55
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...krupornpana55
 
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวโฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวkrupornpana55
 
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมบอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมkrupornpana55
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวkrupornpana55
 
บอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกบอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกkrupornpana55
 
คุณลักษณะ
คุณลักษณะคุณลักษณะ
คุณลักษณะkrupornpana55
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายkrupornpana55
 
5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็กkrupornpana55
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตยkrupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4krupornpana55
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมkrupornpana55
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุมkrupornpana55
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่าkrupornpana55
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมkrupornpana55
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุมkrupornpana55
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่าkrupornpana55
 

Mais de krupornpana55 (20)

รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
 
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวโฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
 
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมบอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
 
บอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกบอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลก
 
คุณลักษณะ
คุณลักษณะคุณลักษณะ
คุณลักษณะ
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่าย
 
5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
 

เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์

  • 1. 1   แบบฝกเเสริมทักษะ ะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิิทยาศาสตรเลมนี้ เปนหนังสือ วิ ร มประสบก ใ ห กั บ ก เรี ย นไ ฝ ก เสริ มประสบก ทั ก ษ ะกระบวน เสริ ม การณ บนั ได ม การณ นการคิ ด นอกเหนือจากก ยนรูใน การเรี นบทเรียน หรือใชซอมหรือเสริม กยภาพนัักเรียน ใหมีีความรู ม มศั ม ความ าใจ ควา านาญใน กประสบการณตามวิธีการท ทยาศา ใหกับนักเรียน มเข ามชํ นการฝ ต ทางวิ าสตร ระดับ ้นมัธยมศึกษาตอนตน (ม.1-ม.3) มุงเนนใหนักเรียนมีทกษะการกํา บชั ศึ ห ทั าหนดปญหา ทักษะ ห การตั้งสมมติฐาน ทักษะการกําหนดแล ตั น ละควบคุมตัวแปร ทักษ ษะการรวบร อมูล วิเคราะห รวมข ขอมูล และสรุปผล ตามวิธีการทางวิท ธี ทยาศาสตรหรือธรรมชา วิชาวิทยาศาสตร ดังขั้นตอน ห าติ ตอไป ้ ปนี บบทดสอบกอนเรียนกอ าแบบฝกเสริมทักษ 1. ทําแบ ก อนทํ ฝ ษะกระบวนการคิด 2. อานร รายละเอียดคาสั่ง/คําชี้แ คํ แจงของแบบ กเสริมทัก บฝ กษะกระบวน ดกอนลงมือ นการคิ น ปฏิบติทุกครัง บัั ้ 3. ปฏิบติตามคําสั่ง/คําชี้แจงใน จกรรมฝกเสริมทักษะ ่กําหนดใหทุกขอ บัั นกิ ก ะที 4. เมื่อทํากิจกรรมฝกเสริมทักษ ฝ ษะกระบวนก ดเสร็จ ว นักเรีย วมกันเฉ การคิ จแล ยนร ฉลยและ อภิปรายเกี่ยวกับ าตอบ บคํ 5. นักเรียนตองมีวนยในการเรีย และซือสัตยตอตนเอ โดยไมดูเฉลยกอน จึงจะ รี นั ิ ยน ่ส อง เรียน ไดอยางมีป ทธิภา เปนคนเกง คนดี และ ยนรูอยาง ความสุข นรู ประสิ าพ ก ะเรี งมี 6. ทําแบ บบทดสอบห งเรียน เพื่อดูการพัฒนาการของต หลั พื ตนเองระหวางกอนเรียน และ ว หลังเเรียน ขอใหนก ยนพยายา าแบบฝ มทักษะกระบวนก ดเลมนี้ อยางเต็ม กเรี ั ามทํ ฝกเสริ ษ การคิ ความสาม เพื่อจะ พัฒนาทกษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาส มารถ ะได ทั สตร อยางตอเเนื่อง
  • 2. 2   ใช ใ กระบวนกา ารทางวิทยาศาสตรและจิตวิทยาศาสตรใ ิ ในการสืบเสา าะหาความรู การ ก แกปญหา รูวาปรากฏก ทางธรรมชาติที่เกิดขึนสวนใหญมีรูปแบบที่แนนอน สามารถ บาย  การณ น ้ ถอธิ และ ตรวจจสอบได ภาย ขอมูลและ ่องมือทีมีอยูในชวงเวล นๆ เขาใจ า วิทยาศาส ยใต  ะเครื ่ม ี ลานั้ จว สตร เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดลอมมีค ยี สิ ความเกี่ยวของสัมพันธกัน 1. การกําหนดปญหา 2. การตั้ังสมมติฐาน 3. การกําหนดและคว มตัวแปร วบคุ 4. การรวบรวมขอมูล 5. การวิเคราะหขอมูล  6. การส ปผล สรุ 1. อธิบายวิธีการทางวิทยาศาสตรแตล ้นตอนไดถูกตอง วิ ละขั ด 2. นําวิธีกา ารทางวิทยาศ ศาสตรไปประยุกตใชในก ารวจ ตร การสํ รวจสอบ ทดล ลองในการเรียนรูตาม รี ธรรมชา วิชาไดถูกตอง าติ 3. วิเคราะ หและประเมินความสอด องของป ก ษพยา นกับขอสรุ ป ทั้งที่สนับสนุนหรือ มิ ดคล ประจั ส ขัดแยงกับสมมติฐาน และความผิด ของขอมูลจากการสํารวจตรวจสอ น ดปกติ อบ 4. อธิบายผ อแสดงผลของการสํา ผลหรื ารวจตรวจสอ อบ 5. าถามที่นําไปสูการสํารวจตรวจสอบ ในเรื่องที่เกี่ยวของ และนําความรูที่ไดไปใชใน สรางคํา ใ สถานกา ใหม ารณ 6. บันทึกแและอธิบายผล งเกต ก ารวจ ตร ลการสั การสํ รวจสอบ คนค าเพิ่มเติมจ คว จากแหลงควา ตาง ๆ ามรู ใหไดขอ ลที่เชื่อถือได และยอมรบการเปลี่ยนแปลงความรูที่คนพบเมื่อ ขอมูลและ อมู รั น อมี ะประจักษ พยานให เพิ่มขึ้นหรือโตแยงจากเเดิม หม รื
  • 3. 3   คําชี้แจง ใหนักเรีย อกขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว แลวกากบาท ยนเลื แ ทลงในกระด าตอบ ดาษคํ 1. ขอใดเเปนลําดับขั้นนตอนการศึกษาความรูตามวิธีการท ทยาศา ไดถูกตอง ศึ ทางวิ าสตร ก. ก การสังเก กตและกําหน ญหา การทดลองและตั้งสมมติฐาน นดป ติ การตรวจ จสอบสมมติฐาน และส ปผล ติ สรุ ข. ข การสังเก กตและกําหน ญหา การตั้งสมมติฐาน การตร นดป ติ รวจสอบสมมติฐาน และการ รทดลอง และสรุปผล ค. ค การตั้งสมมติฐาน กา ารรวบรวมขอมูล การท ข ทดลอง และส ปผล สรุ ง. ง การตั้งส ฐาน การสังเกตแล ญหา กา สมมติ ละป ารตรวจสอบ บสมมติฐาน และการ รทดลอง และสรุปผล 2. ขอใด นขอมูลที่ไดจากการสังเกตปราก ดเป กฏกรทางธร รรมชาติ ก. ก ใบไมตอ องการแกสค บอนไดอ  คาร ออกไซดในก งเคราะ ดวยแสง การสั ะห ข. ข ถาใชพลาสติกหุมใบ พืชไมสามารถสราง บไว ส งอาหารเองไ ได ค. ค ถาพืชขาดออกซิเจน พืชไมสามารถมีชีวิตอยูได ง ใบไมมีสเี ขียว สวนลาตนมีสีน้ําตาลออน ง. สี ลํ 3. เมื่อใ น้ําแข็งลงในแกว แลว ้งทิ้งไวสกครูจะพบวารอบนอกข วมีหยดน้ํา ใส วตั ก ั ของแก ย เกาะ เต็ม ขอใ นผลจากการสังเกต และบันทึก ะอยู ใดเป ต กผล ก. ก มีหยดน้า าขนาดเล็กแ ํ และขนาดให เกาะอยูจํา หญ านวนมากที่ผิวแกว ที ข. ข ไอน้ําในอากาศกลั่นตัวเปนหยด ําเกาะอยูร ดน้ รอบๆแกว  ค. ค หยดน้ําที่เกิดเปนกระบวนการเดียวกับการเกดน้ําคาง ดี กิ ง. ง แกวน้ํารั่ัวเปนเหตุใหน้ําซึมออกมาที่ผิวนอก ห ก
  • 4. 4   4. ขอใดเปนการกําหนดปญหาที่ถูกตองที่สุด ก. เมื่อพืชไมไดรับแสง พืชจะตาย ข. ใบไมมีสีเขียว สวนลําตนมีสีน้ําตาลออน ค. แสงมีผลตอการเจริญเติบโตของพืชหรือไม ง. ถาพืชขาดออกซิเจน พืชไมสามารถมีชีวิตอยูได 5. จากสถานการณที่กําหนดให ขอใดเปนตัวแปรตน “ปริมาณตัวละลายมีผลตอความเขมขนของสารละลาย” ก. ปริมาณตัวละลาย ข. ความเขมขนของสารละลาย ค. สารละลาย ง. ปริมาณตัวทําละลายในสารละลายเขมขน 6. จากขอ 5 ตัวแปรตาม คือขอใด ก. ปริมาณตัวละลาย ข. ความเขมขนของสารละลาย ค. สารละลาย ง. ปริมาณตัวทําละลายในสารละลายเขมขน จากตารางบันทึกผลการทดสอบกรด-เบส ดังตอไปนี้ ใชตอบคําถามขอ 7 สาร การเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัส การเปลี่ยนสี ละลาย สีแดง สีน้ําเงิน เจนเชียลไวโอเลต A เปลี่ยน - - B - เปลี่ยน เปลี่ยนเปนสีเขียว C เปลี่ยน - - D - เปลี่ยน -
  • 5. 5   7. ในการทดสอบกรด-เบสจากตารางขอใดสรุปไดถกตอง ู ก. สาร C กับสาร D เปนสารพวกเดียวกัน ข. สาร D เปนสารที่แตกตางจากสารอื่นมากที่สุด ค. สาร B เปนสารที่แตกตางจากสารอื่นมากที่สุด ง. สาร A และ D มีคุณสมบัติเปนสารเดียวกัน จากขอมูลตอไปนี้ ใชตอบคําถามขอ 71-72 สาร ละลายน้ํา (g) ละลายในแอลกอฮอล(g) A 8 4 B 10 - C - - D - 5 8. จากขอมูลขางตนสรุปไดวาอยางไร ก. สาร A มีความสามารถในการละลายไดนอย ข. สาร B มีความสามารถในการละลายไดมาก ค. สาร C สามารถละลายไดมาก ง. สารแตละชนิดมีความสามารถในการละลายได ไมเทากันขึ้นอยูกับตัวทําละลายแตละชนิด 9. ถาสารชนิดหนึ่งเปนน้ําตาลทรายนักเรียนคิดวานาจะเปนสารใด ก. สาร A ข. สาร B ค.สาร C ง. สาร D
  • 6. 6   จากการทดลองตอไปนี้ใหตอบคําถามในกระดาษคําตอบ ภาพการทดลองการตรวจสอบขนาดอนุภาคของสาร 3 ชนิด คือ น้ําโคลน นมสด และน้ําแดง ดวยกระดาษกรอง และถุงกระดาษเซลโลเฟน 10. จากภาพการทดสอบสารตัวแปรตน คือ ขอใด ก. บีกเกอร ข. กระดาษกรอง และถุงกระดาษเซลโลเฟน ค. สารทั้ง 3 ชนิด คือ น้ําโคลน นมสด และน้ําแดง ง. สารที่ไดจากการกรองผานกระดาษกรอง และกระดาษเซลโลเฟน
  • 7. 7   สาระสําคัญของทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร การสังเกตจุดเริ่มตนของการคิด สงสัย มองเห็นปญหา กําหนดปญหา หรือระบุปญหาได  ตั้งสมมติฐานหรือคาดคะเนคําตอบของปญหา ออกแบบเพือสํารวจตรวจสอบสมมติฐาน กําหนดและคาบคุมตัวแปร ่ ทดลอง เก็บขอมูล รวบรวมขอมูล g วิเคราะหขอมูล และสรุปผล
  • 8. 8   สาระสําคัญของการสังเกตจุดเริ่มตนของการคิด และการกําหนดปญหา การสังเกต หมายถึง การใชประสาทสัมผัสอยางใดอยางหนึ่ง หรือประสาทสัมผัสทั้ง 5 (ตา หู จมูก ลิ้น ผิวกาย) เขาไปสํารวจ ตรวจสอบวัตถุ หรือปรากฏการณตางๆ ในธรรมชาติ โดยไม ลงความคิดเห็นของผูสังเกตไปดวย ตูปลา A ตูปลา B จากการสังเกตตูปลาทั้งสองตู ขอมูลที่ไดจากการสังเกต มีดังนี้ 1. ตูปลา A ระบบนิเวศประกอบดวย พืชหลากหลายชนิดกวาตูปลา B 2. ตูปลา A มีปลาอยู 2 ชนิด สวนตูปลา B ไมมีปลาอยูเลย
  • 9. 9   การกําหนดปญหา เปนการตั้งคําถาม หรือเกิดขอสงสัย กับสิ่งที่สังเกต วาทําไม หรือเพราะอะไร กับสิ่งที่ไดสังเกต สํารวจ ตรวจสอบหรือสงสัย ประโยคที่กําหนด ปญหาเปนประโยคคําถาม เพื่อเปนแนวทางในการแกปญหา และคนหาคําตอบได เชน ถาทิ้งตูปลาไว 1 เดือนโดยไมใหอาหารปลา ลักษณะน้ํา และปลาในตูปลาทั้งสอง จะเกิดการเปลี่ยนแปลง หรือไม โดยบันทึกผลจากการสังเกตสีของน้ํา จํานวนปลา จํานวนพืช และลักษณะของพืชที่อยูในตูปลาทั้งสองทุกๆ วัน การสังเกต ตองไมใส ความคิดเห็นสวนตัว การกําหนดปญหา ตองตั้งเปนประโยค เขาไปพิจารณาสิ่งที่ คําถามนะจะบอกให สังเกตนะจะบอกให
  • 10. 10   กิจกรรมที่ 1.1 ฝกทัก ที กษะการสังเกต และกํ ง กาหนดปญห หา คําชี้แจง ใหนักเรียนนําคําที่กําหนดใหตอไปนี้ไปเติมคาในชองวาง ถูกตอง ง ไ คํ งให ชนิดใด หรือ นิ อไม เพรา ใด ทําไม อยางไ เมื่อไร ที่ไหน คืออะ ใคร อยางไร าะเหตุ ไร ะไร ย จากการสังเกต ภาพนี้ ชายฝงมีปลาตายเต็ม สั นี มไปหมดเลย ย ป ปญหาที่กําหนด ห 1. ปลาทีต นปลา............................................................ ตายเป ่ 2. .......................................................................ปลาจึงตาย 3. ปลาที่ต นปลาช ดเดียวกัน..................................... ตายเป ชนิ น 4. แหลงน้าแหลงอื่นที่ใกลกัน มีการตายของแ ยวกัน ํ แบบเดี .......................................................................................... 5. สาเหตุก การตายของ งปลา..................................................
  • 11. 11   กิจกรรมที่ 1.2 ฝกทัก ที กษะการสังเกต และกําหนดปญห ง กํ หา คําชี้แ แจง ใสเครื่องหมา ก ( ) ในชองตารางที่ตรงกับทักษะนั้น ส ายถู ใ ขอมูลที่ได ด ทักษะการสังเกต ต ทักษะก าหนดปญหา การกํ 1. 1 น้ําแข็งขั้วโลกกําลังละลา าย 2. 2 หมีจะเอาชีวิิตรอดไดอยางไร 3. 3 ทําไมหมีจึง บนกอนน้ําแข็ง งไปอยู 4. 4 หมีจะเย็นไ ไหมเมื่ออยูบน ําแข็ง นน้ 5. 5 ทําไมน้ําแข็งขั้วโลกถึงละ ข็ ะลาย 6. 6 เห็นน้ําแข็ง นแผนเล็กแ งเป แยกออกจากกน กั 7. 7 ภาพเปนบร รรยากาศตอน นกลางวันทอง า งฟ มีเมฆบางบาง วน งส 8. 8 ทําไมแผนนาแข็งจึงไมเปนแผนเดียวกัน น้ํ 9. 9 หมีจะเดินไ ไปทางไหน 10. 1 หมีจะใชชวิตอยูอยางไร ชีี ร
  • 12. 12   กิจกรรมที่ 1.3 ฝกทัก ที กษะการสังเกต และกําหนดปญห ง กํ หา คําชี้แจง ใหร ระบายสีขอค ความที่แสดง งทักษะการกําหนดปญหา งถึ ป การทดลองเปาเทียนผาน ่งกีดขวาง เทียนดับทุกครั้งหรือไ 1. จากก ป นสิ ง ไม 2. จากก กราฟที่นักเรียนเขียนได ขณะที่น้ําแข็งยังหลอม รี ด แ มเหลวไมหม มด เสนกรา นอยาง และอุณห มขณะนัันเปลี่ยนแป าฟเป งไร หภู ิ ้ ปลงหรือไม 3. ถาปลอยลูกบอลจ ล จากระดับที่สูงขึ้นลงสูพื้น ลูกบอลจ พื  จะกระเดงสู ้น สงขึ 4. นักเรียนสรุปควา มพันธร างปริมาตรของอากาศกับอุณห มิ รี ามสั ระหว ม หภู 5. ทานจ าเนินกา จะดํ ารทดลองอยางไรเพื่อทด ย ดสอบวาน้ํามผลตอการ มี เจริญเติบโตของพืช ติ 6. นักเรียนใชเกณฑอะไรในการ าแนกพืชออกเปนพว รี ฑ รจํ วกๆ 7. ถาจะ ะหามวลของ อไปนี้ นักเรียนควรจะใชเครื่ืองชั่งสปริง งสารต นี 8. ในน้า 5 ลูกบาศกเซนติเมตร น้ําตาลสาม ํ ก มารถละลายไ มากที่สด 5 ชอน ได ุ 9. หินกอนนีหนัก 5 กิโลกรัม  ้ 10. กลอ ้มีปริ องใบนี รมาตรเทาใด ด 3
  • 13. 13   สาระสําคัญของทักษะการตั้งสมมติฐาน ทักษะการตั้งสมมติฐาน ( Formulating hypothesis) หมายถึง ความสามารถในการ ใหคําอธิบายซึ่งเปนคําตอบลวงหนากอนที่จะดําเนินการทดลอง เพื่อตรวจสอบความถูกตอง เปนจริงในเรื่องนั้นๆ ตอไป สมมติฐานเปนขอความที่แสดงการคาดคะเน ซึ่งอาจเปน คําอธิบายของสิ่งที่ไมสามารถตรวจสอบโดยการสังเกตได หรืออาจเปนขอความที่แสดง ความสัมพันธท่คาดคะเนวาจะเกิดขึ้นระหวางตัวแปรตนกับตัวแปรตาม ขอความของ ี สมมติฐานนี้สรางขึ้นโดยอาศัยการสังเกตความรู ประสบการณเดิมเปนพื้นฐาน การคาดคะเน คําตอบที่คิดลวงหนานี้ยงไมทราบ หรือยังไมเปนหลักการ กฎ หรือทฤษฎีมากอน ขอความ ั ของสมมุติฐานตองสามารถทําการตรวจสอบโดยการทดลองและแกไขเมื่อมีความรูใหมได เชน เมื่อขนาดของยางรถยนตใหญขึ้น ความเร็วของรถยนตจะลดลง ถาแสงมีผลตอการเจริญเติบโตของพืช ดังนั้น พืชที่ไดรับแสงจะเจริญเติบโตดีกวาพืช ที่ไมไดรับแสง ถาแกสคารบอนไดออกไซดมีผลตอการสรางอาหารของพืช ดังนั้นพืชที่ไดรับแกส คารบอนไดออกไซดจะสรางอาหารและมีแปงเกิดขึ้นที่ใบ
  • 14. 14   กิจก กรรมที่ 2.1 ฝกทักษะก ้งสมม ฐาน การตั มติ คําชี้แ ลงสีใหสวยงามทับ อความทีแสดงถึงทักษ แจง บข ่แ ษะการตั้งสม ฐาน มมติ 1. 1 เมื่อทิ้งน้ําแชใบหูกวา ้งไวหลา น จํานวน างทิ ายวั นพารามีเซีย ยมจะมีมากขึ้น 2. 2 จุลินทรียเจริญเติบโต อยลง เมื่ือปริมาณอา ย ตน าหารมีนอยล ลง 3. 3 ปริมาณอ อาหารที่ใหมีผลตอการเจริญเติบโตข ลินทรียหรือไม มี ของจุ รี 4. 4 อัตราการ รตกของวัตถชาลง เมื่อนําหนักของ ตถุมีนอยล ถุ น้ งวั ลง 5. 5 อัตราของตกของวัต จะตกเร็วขึ้น เมือเพิ่มน้ําหนักของ ตถุใหมาก ้น ตถุ ่ งวั กขึ 6. 6 อุณหภูมของอากาศใ านกับน าน แตกตางกันหรือไม ิ ในบ นอกบ รื 7. 7 จํานวนห าตาง และ หน ะประตูภายใ าน มีผลตออุณหภูมในบานหรือ ในบ ล มิิ อไม 8. 8 อัตราที่ตัวผึ้งฟกออก ตั กจากไขมาก ้นเมื่ออุณหภูมของรังผึ้งสูงขึ้น กขึ ห ิ 9. 9 อุณหภูมมีผลตอการ ิ รงอกของเมลดพืชหรือไม ล็ ไ 10. 1 อัตราการ รหายใจของ ตวจะเพิม ้น เมื่อขน างกายสัตวเพิ่มขึ้น งสั มขึ ่ นาดร สั
  • 15. 15   กิจก กรรมที่ 2.2 ฝกทักษะก ้งสมม ฐาน 2 การตั มติ คําชี้แจง ง โยงเสนทักษะที่สอดคลอง นระหวาง กษะการกําหนดปญห บทักษะการตั้งสมม ฐาน งกั งทั กํ หากั มติ ทักษะการ าหนดปญ รกํ ญหา ทักษะการต้งสมมติฐาน ตั 1. 1 สัตวตัวใด วหนึ่งมีอัตรา ดตั A.. ถากําลังขอ ่องยนตสูง องเครื ต การหายใจเทากันหรือไม ก ท ม มีผ ออัตราเเร็วของรถย ผลต ยนต ที่วิ่งสูง วิ 2. 2 ลูกบอลลูน นลอยสูงขึน นได ้ B.. ถาพืชยิ่งไดรับน้ํามาก ด ขึ้นอยูกับปจ ยอะไรบาง จจั เทาไหร พืชยิ่ง ญเติบโต ท งเจริ ขอ งเทานั้น องสู 3. 3 กําลังของเครื่องยนต มีผล C.. สัตวที่มน้ํา กสูง อัตรา ี าหนั ต ต ตออัตราเร็วของรถยนตที่วิ่ง ต กา ารหายใจจะสงขึ้นดวย สู หรื ห อไม 4. 4 ถาพืชยิ่งไ รับน้ํามาก ได ก D.. ถาพื้นที่ผิว วของภาชนะ ะ เทาไหร พืชยิ่งเจริญเติบ บโต กวางอัตราการ ว รระเหยของ ํา งน้ ของสู ข งเทานันจริงหรือไ ้ ไม ก็ยิ่งมากขึ้นดว ยิ วย 5. 5 พื้นที่ผิวข ของภาชนะมีผลตอ มี E.. อุณหภูมิเป จจัยทีมีผล ปนป ่ม ี การระเหยของน้ําหรือไม ก ม ตอ อการลอยขอ กบอลลูน องลู
  • 16. 16   กิจก กรรมที่ 2.3 ฝกทักษะก ้งสมม ฐาน 3 การตั มติ คําชี้แจง ใหตั้งสมม ฐานจากส ง มติ สถานการณที่กําหนดให ที ห 1. อุณหภูมของ ําที่ตม มีผ อการสุกของไขหรือ ิ งน้ ผลต ก อไม สมม ฐานคือ มติ 2. ห าจะสูงขึนหรือไม เมือไดรับน้ํามากขึ้น หญ ้ มื่ ม สมม ฐานคือ มติ 3. เม่อเพิ่มปริม มื มาณเกลือในนํา อุณหภูมิของน้ําจะสูงขึ้นหรือต่ําลง น้ มิ สู สมม ฐานคือ มติ 4. นําหนักของวตถุ มีผลตอ น้ วั อแรงเสียดท ทานหรือไม สมม ฐานคือ มติ 5. ลักษณะผิวข ตถุ มีผลตอแรงเสียดทานหรือไ ของวั ย ไม สมม ฐานคือ มติ
  • 17. 17   สาระสําคัญทักษะการกําหนดและควบคุมตัวแปร ทักษะการกําหนดและควบคุมตัวแปร (Identifying and controlling variables) หมายถึง การชี้บงตัวแปรตน ตัวแปรตาม และตัวแปรที่ตองควบคุมในสมมุติฐานหนึ่ง การควบคุมตัวแปรนั้นเปนการควบคุมสิ่งอื่นๆ นอกเหนือจากตัวแปรตนที่จะทําใหผล การทดลองคลาดเคลื่อนถาหากวาไมควบคุมใหเหมือนกัน เชน ความสูงของตนถั่วขึ้นอยูกับปริมาณน้ําที่ตนถั่วไดรับ ตัวแปรตน คือ ปริมาณน้ําที่ตนถั่วไดรับ ตัวแปรตาม คือ ความสูงของตนถั่ว ตัวแปรควบคุม คือ ตนถั่ว เชน หญาจะสูงขึ้น ถาปริมาณแรธาตุในดินเพิ่มขึน ้ ตัวแปรตน คือ ปริมาณแรธาตุในดิน ตัวแปรตาม คือ ความสูงของหญา ตัวแปรควบคุม คือ หญา
  • 18. 18   กิจกรรมที่ 3. 1 ฝกทัก กษะการกําหนดและค มตัวแ ห ควบคุ แปร คําชี้แจง ใหขีดเสน คําที่เปนตวแปรจากส ง นใต ตั สถานการณที่กําหนดใหดังตอไปนี้ ณ ห แสงมีผลตอการเเจริญเติบโต มี ตของตนผักบุง หรือไม บ ถาจํา านวนครั้งขอ องการกระโดดเพิ่มขึ้น ดังนั้นอัตรา ด าการเตนของ พจรเพิ่มขึน งชี ้ งอกของเมล็ดขาโพดในเวลาตางกัน ขึ้นอยูกบอุณหภูมของ ําที่แชเมล็็ด การง ั ิ งน้ ปริมาณมลภาวะะของอากาศท่เกิดขึ้นจาก ที กรถยนต วัด จากปริม ่แตกตาง ดได มาณที ต ของต ่วที่บรรจุอยูภายในแ สโซลีน ตะกั แก อุณห มของผลตอพฤติกรร หภู ิ ต รมของไรน้า ํ
  • 19. 19   กิจกรรมที่ 3.2 ฝกทัก กษะการกําหนดและควบคุมตัวแ ห แปร คําชี้แจง จากสถานกา ที่กําหนดให จ ารณ ใสเครื่องหมา ( ) ขอ ่เห็นวาระ ตัวแปรถูก าย อที ะบุ ใสเครื่องหมา ( ) ขอทีเ่ ห็นวาระบุตัวแปรผิด าย บุ เมื่อนําน้ํา าโคลนไปกร วยกระ รองด ะดาษกรอง น้ําที่กรองไดจะมีลักษณ นอยางไ น ด ณะเป ไร ตัวแปร น รต ตัวแปรตา าม ตัวแปรควบคุม กระดาษกรอง น้ําที่กรองไได น้า ําโคลน ถาเปลี่ยน นกระดาษกร เปนกระ รอง ะดาษเซลโล ลเฟนน้ําที่กร ไดจะมีลักษณะ รองได เหมือ นหรือตางกันอยางไ อนกั ต ไร ตัวแปร น รต ตัวแปรตา าม ตัวแปรควบคุม กระดาษเซลโลเฟน น้ําที่กรองไได น้า ําโคลน
  • 20. 20   กิจกรรมที่ 3.3 ฝกทัก กษะการกําหนดและควบคุมตัวแ ห แปร คําชี้แ แจง จากสถานกา ที่กําหนด จ ารณ ใหระบุวาตัวแปรใดที่เปน วแปรตน ตัวแปรตาม และตัวแป นตั ปรควบคุม สถานการณ ส หยดเทียน นบนแผนอะ มิเนียม ะลู ใหความรอนแผนอะ มิเนียม ะลู ดังภาพ หยดเทียน นไขแตละหหยด จะเกิดกา ่ยนแป างไร ารเปลี ปลงอย ตัวแปรตน ต คือ……… …………… ……………… …………… ……………. ตัวแปรต ตาม คือ................................................................................... ตัวแปรค ม ควบคุ คือ................................................................................... สถานการณ สีของผิววัตถุมีผลตอการรับพลงงานความ อนหรือไม ต ลั มร ม ตัวแปรตน ต คือ……… …………… ……………… …………… ……………. ตัวแปรต ตาม คือ................................................................................... ตัวแปรค ม ควบคุ คือ...................................................................................
  • 21. 21   สาระสําคัญของทักษะการจัดกระทําขอมูล ทักษะการจัดกระทําและสื่อความหมายขอมูล (Organizing data and communication) หมายถึง ความสามารถในการนําขอมูลที่ไดจากการสังเกต การวัด การทดลอง และจากแหลงอื่นมาจัดกระทําใหมโดยวิธีการตางๆ เชน การจัดเรียงลําดับ การแยกประเภท หรือคํานวณหาคาใหม เพื่อใหผูอื่นเขาใจมากขึ้น อาจนําเสนอในรูป ของตาราง แผนภูมิ แผนภาพ กราฟ สมการ เปนตน แสงมีผลตอการเจริญเติบโตของพืชหรือไม สามารถจัดกระทําขอมูลในรูปตารางไดดังนี้ แสง(ตัวแปรตน) การเจริญเติบโตของพืช(ตัวแปรตาม) ระยะเวลาที่แชเมล็ดถั่วในน้ํามีผลตอน้ําหนักเมล็ดถั่วที่เพิ่มขึ้น สามารถจัดกระทําขอมูลในรูปตารางไดดังนี้ ระยะเวลาที่แชเมล็ดถัว (นาที) น้ําหนักที่เพิ่มขึ้น(กรัม) (ตัวแปรตน) (ตัวแปรตาม)
  • 22. 22   กิจกรรมที่ 4 ฝกทักษ 4.1 ษะการออก กแบบการจััดกระทําขอมูล คําชี้แจง จากภาพการทดลอง ใหนักเรียนออ ห อกแบบชื่อต ตารางบันทึกกผลการทดล ลอง ใชเมล็ดถั่วตมน้ํา วัดอุณ มของนํากอนและห งตม (ถั่ว จนหมด) ต ณหภู ิ น้ หลั วไหม ชื่อตาราง ................................................................................................................. ง อุณหภูมของ ํากอนตม ิ งน้ อุณหภูมของน้ําหลังตม ภู ิ ลั (องศาเซล ยส) ลเซี (อง งศาเซลเซียส ส)
  • 23. 23   กิจ จกรรมที่ 4.2 ฝกทัก จกิ ที กษะการออ อกแบบการจัดกระทําขอมูล ข คําชี้แจง จากภาพก การทดลองแ อมูลทีให ในตาราง มนที่ 1 และคอลัมนที่ 2 และข ่ใ งคอลั น ใหนักเรียน นออกแบบชือตารางบันทึกผลการท ชื่ น ทดลอง และใสชื่อคอลัมนที่ 1 และ 2 วาอยางไร ย ใหความรอนกับน้ําใน กเกอรวัดอุณหภูมขอ ําบริเวณใ กนบีกเก  นบี ิ องน้ ใกล กอร และบริเวณ ผิวน้ําดานลางทุกๆ 5 นาที ณใกล ด ชื่อตาราง ...................................................................................................... อุณหภูมของน้ํา(องศาเซ ยส) อ ิ ซลเซี ระยะเวลาใน ม(นา ) ร นการต าที บริเวณ กนบีก ณใกล  กเกอร บริ รเวณใกลผวน้ํา ิน 5 10 15 20
  • 24. 24   กิจกรรมที่ 4.3 ฝกทักษ ษะการออก กแบบการจัดกระทําขอมูล จั คําชี้แจ จากสถา จง านการณที่กํา าหนดให ใหจัดกระทําขอมูลในรูปกราฟเสน ห ข ไดมีการบนทึกผลกา บั ารทดลองเกี่ยวกับเวลาที่นําแข็งซึ่งมีมวลตางกัน กี ที นหลอมเหลว ผลการบัันทึก แสดงใหเห็นดังตารางขางลางนี้ ง ตารา เวลาหลอมเหลวของนําแข็งที่มีม างๆ กัน าง น้ มวลต มวลของน้ําแข็ง(กรัม) เวลาที่ใชในการหลอ ช อมเหลว(นา ) าที 355 2 455 3 522 5 611 9 700 11 จงเขียนกราฟโ ขอมูลจ โดยใช  จากตารางขางตน ง 70 7 65 6 60 6 55 50 45 4 40 4 35 30 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12
  • 25. 25   กิจกรรมที่ 4.4 ฝกทักษ ษะการออก กแบบการจัดกระทําขอมูล จั คําชี้แจง จากสเกลแ แกนนอนและแกนตั้งทีกําหนดให ่ก ํ จงใส จ จุดแสดดงเลขคูอันดับจากขอมูลในตารางท ายมือ ล ทางซ ระยะท ทางจากตาถึงแผนแสดง วอักษร ถึ งตั เวลาที่ใชในการหลออมเหลว (m) ( (นาที) 1 18 2 22 3 35 4 30 5 26 จงเขีย ยนกราฟโดยใ ขอมูลจากต ใช ตารางขางตน 38 3 34 3 30 3 26 2 22 2 18 1 0 1 2 3 4 5
  • 26. 26   กิจกรรมที่ 4.5 ฝกทักษ ษะการออก กแบบการจัดกระทําขอมูล จั คําชี้แจง จ จากภาพการ รทดลอง ใหออกแบบตา นทึกผ ห ารางบั ผล เต ยมแผนโ ตรี โลหะชนิดหน่ง 2 แผน ที่มีขนาดเทา น นึ ากั แผ ่ แ นหนึงทาสีขาว สวนอีกแผนหนึงทาสีดํา น ่ และติ ร แ ดเทอรมอมิเตอร โดยกระเปาะ โ ะของเทอรม เตอร มอมิ อยู อ บริเวณกล นโลห ้งสอง ลางแผ หะทั
  • 27. 27   สาระสําคัญของทักษะการตีความหมายขอมูล วิเคราะหขอมูล และลงขอสรุป ทักษะการลงความเห็นจากขอมูล ( Inferring) หมายถึง ความสามารถในการอธิบายขอมูลที่มีอยูอยางมีเหตุผล โดยอาศัยความรูหรือ ประสบการณเดิมมาชวย ขอมูลที่มีอยูอาจไดมาจากการสังเกต การวัด การทดลอง คําอธิบาย นั้นได มาจาก ความรูหรือประสบการณเดิมของ ผูสังเกตที่พยายามโยงบางสวนที่เปนความรู หรือประสบการณเดิม ใหมาสัมพันธกับขอมูลที่ตนเองมีอยู ทักษะการตีความหมายขอมูลและลงขอสรุป Interpreting data and conclusion) หมายถึง ความสามารถในการบอกความหมาย ของขอมูลที่ไดจัดกระทํา และอยูในรูปแบบที่ใชในการสื่อความหมายแลว ซึ่งอาจอยูในรูป ตาราง กราฟ แผนภูมิหรือรูปภาพตางๆ รวมทั้งความสามารถในการบอกความหมายขอมูลใน เชิงสถิติดวย และสามารถลงขอสรุปโดยการเอาความหมายของขอมูลที่ไดทั้งหมด สรุปให เห็นความสัมพันธของขอมูลที่เกี่ยวของกับตัวแปรที่ตองการศึกษาภายในขอบเขตของการ ทดลองนั้นๆ
  • 28. 28   กิจกรร ่ 5.1 ฝก กษะการ ความหม อมูล รมที กทั รตี มายข วิเคราะหขอมูล และลงขอสรุป ห คําชี้แจง จากภา าพการทดลอ อไปนี้ ใ ระบุขอมูลใหถูกตอง ตามชองวา ่กําหนดใ องต ให  างที ให A B เมื่อเผาลวดนิโครมเปนเวลาหนึง กอนน้ําหนักจะ..................................................... ป ่ ลวดทองแดง A สัมผัสกับแผนทองแดง B ทําใหหลอดไฟ............................................ และล ง ห
  • 29. 29   กิจกรรมที่ 5.2 ฝก กษะการ ความหม อมูล กทั รตี มายข วิเคราะหขอมูล และลงขอสรุป ห คําชีแจง จากภา และตาร ้ าพ รางการทดลอ องการตมน้ํา บถั่วลิสงตอไปนี้ ากั ใหเติมคาในชองวางใหถูกตอง คํ ง การทดลอง อุณหภูมิ ( (องศาเซลเซียส) ซี กอน ม นต 27 หลัง ม งต 70 อุณหภูมของน้ําในห ิ หลอดทดลอง ่วัดกอนและหลังจากการตมมีคาเทากับ.................... งที และอุณห มหลังตม มีคาเทากับ ................................................................................... หภู ิ แสดงวาใ ใน................................................มี...............................................สะสม  มอยู
  • 30. 30   กิจกรรมที่ 5.3 ฝกทักษะการตีความหมายขอมูล วิเคราะหขอมูล และลงขอสรุป  คําชี้แจง จากภาพและผลการทดลองขางลางนี้ ใหวิเคราะหขอมูลใหถูกตอง  ตารางแสดงอุณหภูมของน้ําในบีกเกอรแตละใบ ิ บีกเกอร อุณหภูมของน้ํา (องศาเซลเศียส) ิ ใบที่ 1 น้ําที่อุณหภูมหอง ิ 25 ใบที่ 2 น้ํารอน 70 ใบที่ 3 น้ําที่ผสมกัน 47 ระหวางบีกเกอรใบที่ 1 และ 2 วิเคราะหขอมูลและสรุปผลการทดลอง …………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………