SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 31
Baixar para ler offline
หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่ ว 23101
โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13
ครูผู้สอน
นางพรพนา สมัยรัฐ
ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
หน่วยย่อยที่ 3
แรงพยุง
โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13
หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
จุดประสงค์การเรียนรู้
ทดลองและอธิบายแรงพยุงของของเหลวที่กระทา
ต่อวัตถุ
โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13
หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
คาถามก่อนทากิจกรรม
วัตถุอยู่ในของเหลว หรือแก็ส จะมีแรงกระทาต่อ
วัตถุอย่างไรบ้าง
เมื่อชั่งวัตถุเดียวกันในน้า และในอากาศ น้าหนักที่
ชั่งได้ทั้งสองกรณีจะเท่ากันหรือไม่ อย่างไร
โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13
หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
กิจกรรมการทดลอง เรื่องแรงพยุง
โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13
หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
กิจกรรมการทดลอง เรื่องแรงพยุง
โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13
หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
กิจกรรมที่ 3 แรงพยุง
วิธีทากิจกรรม
1. นาปลายเชือกข้างหนึ่งผูกก้อนดินน้ามัน ปลาย
เชือกที่เหลือผูกคล้องกับตะขอเครื่องชั่งสปริง ชั่งน้าหนัก
ของดินน้ามันขณะอยู่ในอากาศ ดังภาพ สังเกต และ
บันทึกผล
2. ใช้เครื่องชั่งสปริง ชั่งน้าหนักดินน้ามันขณะจม
อยู่ในน้าครึ่งก้อน ดังภาพ สังเกต และบันทึกผล
โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13
หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
กิจกรรมที่ 3 แรงพยุง
วิธีทากิจกรรม (ต่อ)
ใช้เครื่องชั่งสปริง ชั่งน้าหนักดินน้ามันขณะจมอยู่
ในน้าทั้งก้อน ดังภาพ สังเกต และบันทึกผล
โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13
หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ทากิจกรรม
ก้อนดินน้ามัน ถ้วยยูเรกาและบีกเกอร์
เครื่องชั่งสปริง
โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13
หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
ตารางบันทึกผล แรงพยุง (แรงลอยตัว)
กิจกรรมที่ทา ค่าแรงที่อ่านได้(N)
ชั่งก้อนดินน้ามันในอากาศ
ชั่งก้อนดินน้ามัน
ขณะจมอยู่ในน้าครึ่งก้อน
ชั่งก้อนดินน้ามัน
ขณะจมน้าทั้งก้อน
โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13
หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
คาถามท้ายกิจกรรม
1. น้าหนักก้อนดินน้ามันที่ชั่งในอากาศ และชั่งในน้า
เท่ากันหรือไม่ เพราะเหตุใด
2. จากการเปรียบเทียบน้าหนักของน้าที่ล้นออกมากับ
ผลต่างของน้าหนักก้อนดินน้ามันเมื่อชั่งในอากาศกับชั่ง
ขณะอยู่ในน้าจะได้ข้อสรุปว่าอย่างไร
โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13
หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
สรุปผลการทากิจกรรม
เมื่อชั่งวัตถุในอากาศ กับในน้าค่าที่อ่านได้จาก
เครื่องชั่งที่ชั่งในอากาศมีค่ามากกว่าที่ชั่งในน้า
เพราะค่าแรงพยุง หรือแรงลอยตัวต่างกัน
ขนาดน้าหนักของของเหลวที่ถูกวัตถุแทนที่ เท่ากับ
ขนาดของแรงพยุง
แรงพยุง เท่ากับผลต่างของขนาดน้าหนักที่ชั่ง
ในอากาศกับน้าหนักของวัตถุที่ชั่งในน้า
โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13
หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
วัตถุก้อนใดมีแรงพยุงมากที่สุด
โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13
หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
ขนาดของแรงพยุง
เท่ากับ ขนาดน้าหนักของของเหลวที่ถูกวัตถุแทนที่
โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13
หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
= ขนาดของแรงพยุง หน่วย นิวตัน (N)
= ความหนาแน่นของของเหลว
หน่วย กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร(kg/m3)
โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13
หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
= ปริมาตรของของเหลวที่ถูกแทนที่
หน่วย (m3)
= ค่าความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก
หน่วย (m/s2)
โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13
หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
อาร์คิมีดีส (Archimedes)
โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13
หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
อาร์คิมีดิส (Archimedes)
(ปี 287-212 ก่อนคริตศักราช) เป็นนักปราชญ์ชาวกรีก
ที่มีผลงานทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่ การค้นพบธรรมชาติ
ของแรงพยุง ซึ่งนาไปอธิบายหลักการเกี่ยวกับการจม
การลอยของวัตถุซึ่งเรียกว่า หลักอาร์คีมีดีส
(Archimedes’s principle)
โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13
หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
http://suwanan2011.blogspot.com
โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13
หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
http://suwanan2011.blogspot.com
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับแรงลอยตัว ได้แก่
1. ชนิดของวัตถุ
วัตถุจะมีความหนาแน่นแตกต่างกันออกไปยิ่งวัตถุมีความ
หนาแน่นมาก ก็ยิ่งจมลงไปในของเหลวมากยิ่งขึ้น
2. ชนิดของของเหลว
ยิ่งของเหลวมีความหนาแน่นมาก ก็จะทาให้แรงลอยตัวมี
ขนาดมากขึ้นด้วย
โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13
หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
http://suwanan2011.blogspot.com
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับแรงลอยตัว ได้แก่
3. ขนาดของวัตถุ
จะส่งผลต่อปริมาตรที่จมลงไปในของเหลว เมื่อปริมาตร
ที่จมลงไปในของเหลวมาก ก็จะทาให้แรงลอยตัวมีขนาด
มากขึ้นอีกด้วย
โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13
หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
http://suwanan2011.blogspot.com
แรงลอยตัวที่พบในชีวิตประจาวัน
โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13
หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
http://suwanan2011.blogspot.com
แรงลอยตัวที่พบในชีวิตประจาวัน
โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13
หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
ตัวอย่างข้อสอบ O-NET
วางก้อนวัตถุชนิดหนึ่ง ซึ่งมีน้าหนัก ปริมาตร และรูปร่าง
เหมือนกัน จ้านวน 4 ก้อน ลงในภาชนะ
บรรจุของเหลว 4 ชนิด ชนิดละก้อน ได้ผลดังภาพ
โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13
หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
ตัวอย่างข้อสอบ O-NET
จากภาพ แรงลอยตัวของของเหลวชนิดใดที่กระท้าต่อ
วัตถุแล้วมีค่าน้อยกว่าน้าหนักของวัตถุ
1. ของเหลว A
2. ของเหลว B
3. ของเหลว C
4. ของเหลว D
โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13
หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
เมื่อนาดินน้ามันก้อนหนึ่งแขวนด้วยเครื่องชั่งสปริง พบว่า
อ่านค่าน้าหนักได้ 5 N และเมื่อชั่งในน้าอ่านน้าหนักได้ 4 N
จงหาแรงพยุงที่น้ากระทาต่อดินน้ามัน
วิธีทา จากสูตร
แรงพยุง = น้าหนักที่ชั่งในอากาศ - น้าหนักที่ชั่งในน้า
= 5-4 N
= 1 N
แรงพยุงที่น้ากระทาต่อดินน้ามัน เท่ากับ 1 N
โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13
หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
เหล็กก้อนหนึ่งชั่งในในอากาศได้หนัก 7 N และเมื่อชั่งใน
น้าได้หนัก 6 N จงหาปริมาตรของแท่งเหล็ก
(กาหนดให้น้ามีความหนาแน่น 1 x 10³ kg/m3
และความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก=10 m/s2
วิธีทา
แรงพยุง = น้าหนักที่ชั่งในอากาศ - น้าหนักที่ชั่งในน้า
FB = 7 N – 6 N = 1 N
โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13
หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
เหล็กก้อนหนึ่งชั่งในในอากาศได้หนัก 7 N และเมื่อชั่งใน
น้าได้หนัก 6 N จงหาปริมาตรของแท่งเหล็ก
(กาหนดให้น้ามีความหนาแน่น 1 x 10³ kg/m3
และความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก=10 m/s2
วิธีทา (ต่อ) จากสูตร FB = pgV
แทนค่า 1 = 1x10³ x 10 xV
V = 1
1x10³ x 10 xV
kg/m3
โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13
หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
เหล็กก้อนหนึ่งชั่งในในอากาศได้หนัก 60 N และเมื่อชั่งใน
น้าได้หนัก 40 N แต่เมื่อชั่งในของเหลวชนิดหนึ่งหนัก 50 N
จงหาความหนาแน่นของของเหลว
วิธีทา จากสูตร
แรงลอยตัวในน้า = pgV
60 - 40 = 10³ x V x 10
V = 20 x 10¯x m³
แรงลอยตัวในของเหลว = pgV
โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13
หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
เหล็กก้อนหนึ่งชั่งในในอากาศได้หนัก 60 N และเมื่อชั่งใน
น้าได้หนัก 40 N แต่เมื่อชั่งในของเหลวชนิดหนึ่งหนัก 50 N
จงหาความหนาแน่นของของเหลว
วิธีทา (ต่อ) จากสูตร
แรงลอยตัวในของเหลว = pgV
60 - 50 = p( 20 x 10¯) (10)
p = 10
2 x 10¯ ²
= 0.5 x 10³ kg/m³
โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13
หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
บรรณานุกรม
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี,สถาบัน. (2554).
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ 5
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1
โรงพิมพ์ สกสค. กรุงเทพฯ.
โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13
หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่nik2529
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงานPinutchaya Nakchumroon
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าThaweekoon Intharachai
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2Wichai Likitponrak
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะTa Lattapol
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสารtaew paichibi
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรงwiriya kosit
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานWijitta DevilTeacher
 
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคChanthawan Suwanhitathorn
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหลWijitta DevilTeacher
 

Mais procurados (20)

แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงาน
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสาร
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
 
อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
 

Destaque

หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาหน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาkrupornpana55
 
ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แรงและกาสรเคลื่อนที่
ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แรงและกาสรเคลื่อนที่ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แรงและกาสรเคลื่อนที่
ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แรงและกาสรเคลื่อนที่krupornpana55
 
Slหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 1  แรงและการเคลื่อนที่ ทดสอบก่อนเรียนSlหน่วย 1  แรงและการเคลื่อนที่ ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ ทดสอบก่อนเรียนkrupornpana55
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapkrupornpana55
 
หน่วยย่อยที่ 4 แรงเสียดทาน
หน่วยย่อยที่ 4  แรงเสียดทานหน่วยย่อยที่ 4  แรงเสียดทาน
หน่วยย่อยที่ 4 แรงเสียดทานkrupornpana55
 
บทเรียนโปรแกรม ผลของแรงลัพธ์
บทเรียนโปรแกรม ผลของแรงลัพธ์ บทเรียนโปรแกรม ผลของแรงลัพธ์
บทเรียนโปรแกรม ผลของแรงลัพธ์ krupornpana55
 
Wp3เฉลยบทเรียนโปรแกรม
Wp3เฉลยบทเรียนโปรแกรมWp3เฉลยบทเรียนโปรแกรม
Wp3เฉลยบทเรียนโปรแกรมkrupornpana55
 
ใบกิจกรรมที่ 1 การศึกษาการตกชองวัตถุ
ใบกิจกรรมที่ 1 การศึกษาการตกชองวัตถุใบกิจกรรมที่ 1 การศึกษาการตกชองวัตถุ
ใบกิจกรรมที่ 1 การศึกษาการตกชองวัตถุkrupornpana55
 
Wp1ปกบทเรียนโปรแกรม
Wp1ปกบทเรียนโปรแกรมWp1ปกบทเรียนโปรแกรม
Wp1ปกบทเรียนโปรแกรมkrupornpana55
 
หน่วยย่อยที่ 5 โมเมนต์
หน่วยย่อยที่ 5  โมเมนต์หน่วยย่อยที่ 5  โมเมนต์
หน่วยย่อยที่ 5 โมเมนต์krupornpana55
 
โครงสร้างวิชา หน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ 11 เม.ย.56
โครงสร้างวิชา หน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ 11 เม.ย.56โครงสร้างวิชา หน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ 11 เม.ย.56
โครงสร้างวิชา หน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ 11 เม.ย.56krupornpana55
 
Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่
Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่
Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ krupornpana55
 
ตัวอย่าง Mind map
ตัวอย่าง Mind mapตัวอย่าง Mind map
ตัวอย่าง Mind mapkrupornpana55
 
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดSlแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดkrupornpana55
 
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่งWp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่งkrupornpana55
 
หน่วยย่อยที่ 1 ผลของแรงลัพธ์กระทำกับปรับ 24พค56
หน่วยย่อยที่ 1  ผลของแรงลัพธ์กระทำกับปรับ 24พค56หน่วยย่อยที่ 1  ผลของแรงลัพธ์กระทำกับปรับ 24พค56
หน่วยย่อยที่ 1 ผลของแรงลัพธ์กระทำกับปรับ 24พค56krupornpana55
 
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docx
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docxSlแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docx
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docxkrupornpana55
 
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม1
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม1คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม1
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม1KruPa Jggdd
 
สรุปแรงฯ
สรุปแรงฯสรุปแรงฯ
สรุปแรงฯJiraporn
 
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3 แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3 Supaluk Juntap
 

Destaque (20)

หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาหน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
 
ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แรงและกาสรเคลื่อนที่
ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แรงและกาสรเคลื่อนที่ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แรงและกาสรเคลื่อนที่
ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แรงและกาสรเคลื่อนที่
 
Slหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 1  แรงและการเคลื่อนที่ ทดสอบก่อนเรียนSlหน่วย 1  แรงและการเคลื่อนที่ ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ ทดสอบก่อนเรียน
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind map
 
หน่วยย่อยที่ 4 แรงเสียดทาน
หน่วยย่อยที่ 4  แรงเสียดทานหน่วยย่อยที่ 4  แรงเสียดทาน
หน่วยย่อยที่ 4 แรงเสียดทาน
 
บทเรียนโปรแกรม ผลของแรงลัพธ์
บทเรียนโปรแกรม ผลของแรงลัพธ์ บทเรียนโปรแกรม ผลของแรงลัพธ์
บทเรียนโปรแกรม ผลของแรงลัพธ์
 
Wp3เฉลยบทเรียนโปรแกรม
Wp3เฉลยบทเรียนโปรแกรมWp3เฉลยบทเรียนโปรแกรม
Wp3เฉลยบทเรียนโปรแกรม
 
ใบกิจกรรมที่ 1 การศึกษาการตกชองวัตถุ
ใบกิจกรรมที่ 1 การศึกษาการตกชองวัตถุใบกิจกรรมที่ 1 การศึกษาการตกชองวัตถุ
ใบกิจกรรมที่ 1 การศึกษาการตกชองวัตถุ
 
Wp1ปกบทเรียนโปรแกรม
Wp1ปกบทเรียนโปรแกรมWp1ปกบทเรียนโปรแกรม
Wp1ปกบทเรียนโปรแกรม
 
หน่วยย่อยที่ 5 โมเมนต์
หน่วยย่อยที่ 5  โมเมนต์หน่วยย่อยที่ 5  โมเมนต์
หน่วยย่อยที่ 5 โมเมนต์
 
โครงสร้างวิชา หน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ 11 เม.ย.56
โครงสร้างวิชา หน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ 11 เม.ย.56โครงสร้างวิชา หน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ 11 เม.ย.56
โครงสร้างวิชา หน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ 11 เม.ย.56
 
Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่
Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่
Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่
 
ตัวอย่าง Mind map
ตัวอย่าง Mind mapตัวอย่าง Mind map
ตัวอย่าง Mind map
 
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดSlแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
 
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่งWp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
 
หน่วยย่อยที่ 1 ผลของแรงลัพธ์กระทำกับปรับ 24พค56
หน่วยย่อยที่ 1  ผลของแรงลัพธ์กระทำกับปรับ 24พค56หน่วยย่อยที่ 1  ผลของแรงลัพธ์กระทำกับปรับ 24พค56
หน่วยย่อยที่ 1 ผลของแรงลัพธ์กระทำกับปรับ 24พค56
 
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docx
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docxSlแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docx
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docx
 
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม1
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม1คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม1
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม1
 
สรุปแรงฯ
สรุปแรงฯสรุปแรงฯ
สรุปแรงฯ
 
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3 แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
 

Semelhante a หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง

หน่วยย่อยที่ 5 โมเมนต์
หน่วยย่อยที่ 5  โมเมนต์หน่วยย่อยที่ 5  โมเมนต์
หน่วยย่อยที่ 5 โมเมนต์krupornpana55
 
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม4
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม4Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม4
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม4krupornpana55
 
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1krupornpana55
 
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีอวกาศ
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีอวกาศหน่วยที่ 3 เทคโนโลยีอวกาศ
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีอวกาศkrupornpana55
 
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม3
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม3Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม3
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม3krupornpana55
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงานPhanuwat Somvongs
 
คาบที่ 1 หน่วยบูรณาการระบบนิเวศ
คาบที่ 1 หน่วยบูรณาการระบบนิเวศคาบที่ 1 หน่วยบูรณาการระบบนิเวศ
คาบที่ 1 หน่วยบูรณาการระบบนิเวศkrupornpana55
 
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 3  พลังงานไฟฟ้าSlปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลังงานไฟฟ้าkrupornpana55
 
หน่วยที่ 3.3
หน่วยที่ 3.3 หน่วยที่ 3.3
หน่วยที่ 3.3 krupornpana55
 
ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ดวงดาวบนท้องฟ้า
ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ดวงดาวบนท้องฟ้าปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ดวงดาวบนท้องฟ้า
ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ดวงดาวบนท้องฟ้าkrupornpana55
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียkrupornpana55
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านaapiaa
 
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรมส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรมkrupornpana55
 
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 งานและพลังงาน
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 งานและพลังงานSlปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 งานและพลังงาน
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 งานและพลังงานkrupornpana55
 
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 งานและพลังงาน
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 งานและพลังงานSlปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 งานและพลังงาน
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 งานและพลังงานkrupornpana55
 
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม2
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม2Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม2
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม2krupornpana55
 

Semelhante a หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง (19)

Sci31101 force-friction
Sci31101 force-friction Sci31101 force-friction
Sci31101 force-friction
 
หน่วยย่อยที่ 5 โมเมนต์
หน่วยย่อยที่ 5  โมเมนต์หน่วยย่อยที่ 5  โมเมนต์
หน่วยย่อยที่ 5 โมเมนต์
 
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม4
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม4Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม4
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม4
 
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1
 
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีอวกาศ
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีอวกาศหน่วยที่ 3 เทคโนโลยีอวกาศ
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีอวกาศ
 
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม3
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม3Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม3
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม3
 
Obec robot contest 2012
Obec robot contest 2012Obec robot contest 2012
Obec robot contest 2012
 
5.ตอนที่ 3
5.ตอนที่ 35.ตอนที่ 3
5.ตอนที่ 3
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน
 
คาบที่ 1 หน่วยบูรณาการระบบนิเวศ
คาบที่ 1 หน่วยบูรณาการระบบนิเวศคาบที่ 1 หน่วยบูรณาการระบบนิเวศ
คาบที่ 1 หน่วยบูรณาการระบบนิเวศ
 
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 3  พลังงานไฟฟ้าSlปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
หน่วยที่ 3.3
หน่วยที่ 3.3 หน่วยที่ 3.3
หน่วยที่ 3.3
 
ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ดวงดาวบนท้องฟ้า
ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ดวงดาวบนท้องฟ้าปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ดวงดาวบนท้องฟ้า
ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ดวงดาวบนท้องฟ้า
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้าน
 
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรมส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
 
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 งานและพลังงาน
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 งานและพลังงานSlปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 งานและพลังงาน
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 งานและพลังงาน
 
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 งานและพลังงาน
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 งานและพลังงานSlปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 งานและพลังงาน
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 งานและพลังงาน
 
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม2
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม2Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม2
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม2
 

Mais de krupornpana55

รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ krupornpana55
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนkrupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4krupornpana55
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...krupornpana55
 
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวโฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวkrupornpana55
 
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมบอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมkrupornpana55
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวkrupornpana55
 
บอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกบอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกkrupornpana55
 
คุณลักษณะ
คุณลักษณะคุณลักษณะ
คุณลักษณะkrupornpana55
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายkrupornpana55
 
5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็กkrupornpana55
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตยkrupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4krupornpana55
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมkrupornpana55
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุมkrupornpana55
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่าkrupornpana55
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมkrupornpana55
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุมkrupornpana55
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่าkrupornpana55
 

Mais de krupornpana55 (20)

รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
 
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวโฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
 
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมบอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
 
บอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกบอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลก
 
คุณลักษณะ
คุณลักษณะคุณลักษณะ
คุณลักษณะ
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่าย
 
5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
 

หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง