SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 7
Baixar para ler offline
ใบความรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย                                              รายวิชา ท ๔๒๑๐๑ ภาษาไทย
เรื่อง การร้อยเรียงประโยค                                                ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕

                                     การร้อยเรียงประโยค

                                              ประโยค
        ประโยค หมายถึง ข้อความที่ประกอบด้วยภาคประธานกับภาคแสดง ในการใช้ภาษามีรูปประโยค
ต่าง ๆ ๓ ชนิด ดังนี้
        ๑. ประโยคสามัญ หรือประโยคความเดียว
        ๒. ประโยครวม หรือประโยคความรวม
        ๓. ประโยคซ้อน หรือประโยคความซ้อน

                                           ประโยคสามัญ
      ประโยคสามัญ หมายถึง ประโยคที่มุ่งกล่าวถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่งเพียงสิ่งเดียว และสิ่งนั้นแสดงกิริยา
อาการหรืออยู่ในสภาพอย่างหนึ่งเพียงอย่างเดียว เช่น
                        ภาคประธาน                                   ภาคแสดง
          นกสีเขียว                                  บินสูง
          แม่บ้าน                                    ซื้อกับข้าว
          แม่บ้านสมัยใหม่                            ซื้อกับข้าวสาเร็จ

                                            ประโยครวม
        ประโยครวม คือ ประโยคที่รวมเอาประโยคสามัญ ตั้งแต่           ๒ ประโยคขึ้นไปเข้ามาไว้ด้วยกัน
มีสันธานเป็นเครื่องเชื่อม หรือเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการรวม

ประเภทของประโยครวม มี ๔ ประเภท ได้แก่
       ๑. ประโยครวมที่มีเนื้อความคล้อยตามกัน
       ประโยครวมชนิดนี้ สังเกตได้เมื่อใช้สันธาน และ หรือ ทั้ง...และ เป็นคาเชื่อม นอกจากนั้นยังใช้
สันธานที่แสดงลาดับการกระทาก่อน หลัง ได้ด้วย เช่น ครั้น...จึง พอ...ก็ แล้ว...ก็ ฯลฯ
       ตัวอย่าง เขาทางานเสร็จแล้วเขาก็กลับบ้านตามปกติ
                  ทีมฟุตบอลโรงเรียนเราชนะเลิศ และได้รับคาชมเชยเป็นอย่างมาก
                  พอฉันเห็นเงาคนตะคุ่ม ๆ อยู่ ฉันก็ตะโกนถามไป
๒. ประโยครวมที่มีเนื้อความแย้งกัน
        ประโยครวมชนิดนี้ สังเกตได้เมื่อใช้สันธาน แต่ เป็นคาเชื่อมหรือสันธานที่เกิดจากการประสมคาอื่น
กับคาว่า แต่ เช่น แต่ว่า แต่ทว่า นอกจากคาว่า แต่ ยังมีคา แม้ แม้...ก็
        ตัวอย่าง ละครเรื่องนี้ทั้งคนดูสนุกมาก แต่คนเล่นเหนื่อยเหลือเกิน
                    ฉันเห็นเงาคนตะคุ่ม ๆ อยู่ แต่ทว่าฉันไม่กล้าจะตะโกนถามไป
                    แม้เขายากจน เขาก็ไม่เคยขอใครกิน
        ๓. ประโยครวมที่มีเนื้อความให้เลือก
        ประโยครวมชนิดนี้ สังเกตได้เมื่อใช้สันธาน หรือ หรือไม่ก็ ไม่...ก็
        ตัวอย่าง ไปเชียงใหม่เที่ยวนี้ เราอาจขับรถยนต์ไปเอง หรืออาจนั่งรถทัวร์ไปก็ได้
                       ง่วงก็นอนเสีย หรือไม่ก็ลุกขึ้นล้างหน้า
                       ไม่ตารวจก็ผู้ร้าย ต้องตายกันไปข้างหนึ่ง
        ประโยครวมที่ใช้ “หรือ” เป็นตัวเชื่อมนี้อาจจะเป็นประโยคคาถามก็ได้ เช่น
                      คุณหรือเพื่อนคุณกันแน่ประสงค์จะขอรับทุน
        ๔. ประโยครวมที่มีเนื้อความเป็นเหตุเป็นผลกัน
        ประโยครวมชนิดนี้ สังเกตได้เมื่อใช้สันธาน จึง เพราะ...จึง เพราะฉะนั้น...จึง ดังนั้น...จึง ฯลฯ
        ตัวอย่าง เพราะเขาขี้เกียจจึงสอบตก
                       เขาชอบกินอาหารมัน ๆ ดังนั้นเขาจึงมีรูปร่างอ้วน

                                           ประโยคซ้อน
          ประโยคซ้อน คือ ประโยคที่เกิดจากประโยคตั้งแต่ ๒ ประโยคขึ้นไปมารวมกัน โดยที่ประโยคหนึ่ง
ทาหน้าที่ขยายส่วนใดส่วนหนึ่งของอีกประโยคหนึ่ง หรือทาหน้าที่เป็นส่วนใดส่วนหนึ่งของอีกประโยค
หนึ่ง ประโยคที่ทาหน้าที่ขยายหรือทาหน้าที่ส่วนใดส่วนหนึ่ง เราเรียกว่า “ประโยคย่อย ” และประโยคที่ถูก
ขยายเราเรียกว่า “ประโยคหลัก”
          ประโยคซ้อนแบ่งตามหน้าที่ของประโยคย่อยได้ ๓ ลักษณะ คือ
          แบบที่ ๑
              ประโยคซ้อน                        ประโยคหลักและประโยคย่อย                 คาเชื่อม
 ๑. คนไม่ทางาน เป็นคนเกียจคร้าน        คนไม่ทํางาน (ประโยคย่อย)                            -
                                       คน...เป็นคนเกียจคร้าน (ประโยคหลัก)
 ๒. คนทะเลาะกันก่อความราคาญให้ คนทะเลาะกัน (ประโยคย่อย)                                    -
     เพื่อนบ้าน                        คน...ก่อความราคาญให้เพื่อนบ้าน (ประโยคหลัก)
 ๓. ฉันไม่ชอบคนเอาเปรียบผู้อื่น        ฉันไม่ชอบคน...(ประโยคหลัก)
                                       คนเอาเปรียบผู้อื่น (ประโยคย่อย)                     -
ประโยคซ้อนแบบนี้ประกอบด้วย ประโยคหลักและประโยคย่อยที่ทาหน้าที่เหมือนคาน                าม
ทาหน้าที่เป็นประธานหรือกรรมของประโยค
           แบบที่ ๒
                ประโยคซ้อน                       ประโยคหลักและประโยคย่อย                คาเชื่อม
 ๑. คนที่ประพฤติดีย่อมมีความเจริญ คน...มีความเจริญในชีวิต (ประโยคหลัก)                     ที่
     ในชีวิต                         (คน) ประพฤติดี (ประโยคย่อย)
 ๒. เราเห็นภูเขาซึ่งมีถ้าอยู่ข้างใต้ เราเห็นภูเขา (ประโยคหลัก)                             ซึ่ง
                                     (ภูเขา) มีถ้ําอยู่ข้างใต้ (ประโยคย่อย)
 ๓. เราหวงแหนแผ่นดินไทยอันเป็น เราหวงแหนแผ่นดินไทย (ประโยคหลัก)                           อัน
      บ้านเกิดเมืองนอนของเรา         (แผ่นดินไทย ) เป็นบ้านเกิดเมืองนอนของเรา
                                     (ประโยคย่อย)
           ประโยคซ้อนแบบนี้ประกอบด้วย ประโยคหลักและประโยคย่อยที่ทาหน้าที่เหมือนคาวิเศษณ์ขยาย
นามหรือสรรพนาม คาที่ใช้เชื่อมได้แก่คา ที่ ซึ่ง อัน คาเหล่านี้เรียกว่า ประพันธสรรพนาม หรือ สรรพนาม
เชื่อมประโยค
           แบบที่ ๓
                ประโยคซ้อน                       ประโยคหลักและประโยคย่อย                คาเชื่อม
 ๑. เด็ก ๆ กลับไปเมื่องานเลิกแล้ว    เด็ก ๆ กลับไป (ประโยคหลัก)                           เมื่อ
                                     งานเลิกแล้ว (ประโยคย่อย)
 ๒. นายอาเภอทางานหนักจนป่วยไป นายอาเภอทางานหนัก (ประโยคหลัก)                               จน
      หลายวัน                        (นายอาเภอ) ป่วยไปหลายวัน (ประโยคย่อย)
 ๓. เขานอนตัวสั่นเพราะกลัวเสียงปืน เขานอนตัวสั่น (ประโยคหลัก)                            เพราะ
                                     (เขา) กลัวเสียงปืน (ประโยคย่อย)
 ๔. เขาอ่านหนังสือพิมพ์ระหว่างที่ เขาอ่านหนังสือพิมพ์ (ประโยคหลัก)                     ระหว่างที่
      นั่งรอเพื่อน                   (เขา) นั่งรอเพื่อน (ประโยคย่อย)

        ประโยคซ้อนแบบนี้คือ ประโยคที่ประกอบด้วยประโยคหลักและประโยคย่อย และประโยคย่อย
นั้นๆ ทาหน้าที่เหมือนคาวิเศษณ์ สันธานที่ใช้เชื่อมได้แก่คา เมื่อ จน เพราะ ตาม ราวกับ ให้ กว่า ระหว่างที่
เพราะเหตุว่า เหมือน ดุจดัง เสมือน ฯลฯ

(จงจิต นิมมานนรเทพ. (๒๕๕๑). คู่มือหลักและการใช้ภาษาไทย ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ : เดอะบุคส์ , หน้า
          ๑๐๖-๑๒๒.)
ชนิดของประโยคที่แบ่งตามเจตนา

        ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนาของผู้พูดในการสื่อสารได้หลายแบบ เช่น ประโยคบอกให้ทราบ
ประโยคเสนอแนะ ประโยคสั่ง ประโยคห้าม ประโยคชักชวน ประโยคขู่ ประโยคขอร้อง ประโยคคาดคะเน
ประโยคถาม
        ๑. ประโยคบอกให้ทราบ
        ประโยคบอกให้ทราบ คือ ประโยคที่ผู้พูดต้องการบอกกล่าวหรืออธิ บายเรื่องต่าง ๆ ให้ผู้ฟังทราบ
เช่น
                 คุณตาลชอบกินขนมไทย ๆ
                 คุณตาลไม่ชอบกินขนมไทย ๆ
        ประโยคบอกให้ทราบอาจอยู่ในรูปคาถามก็ได้ เช่น
                 รู้ไหมว่าเขาไปเมืองนอกแล้วนะ
        ๒. ประโยคเสนอแนะ
        ประโยคเสนอแนะ คือ ประโยคที่ผู้พูดต้องการเสนอแนะข้อคิดเห็นให้ผู้ฟังปฏิบัติ ในประโยคอาจมี
คากริยานา ลอง หรือคากริยาตาม ดู คาช่วยกริยา ควร หรือคาลงท้าย นะซิ ซิ่ ซี่ ซี้ เช่น
                 ลองชิมแกงเขียวหวานไก่ฝีมือเราดูหน่อยนะ
                 เราควรอ่อนน้อมต่อผู้ใหญ่ ท่านจะได้เมตตา
        ๓. ประโยคสั่ง
        ประโยคสั่ง คือ ประโยคที่ผู้พูดต้องการบังคับให้ผู้ฟังปฏิบัติต าม มักมีคาช่วยกริยา จง คากริยานา
ต้อง คาลงท้าย ซิ นะ เช่น
                 ต้องทําการบ้านให้เสร็จก่อนนะ
                 จงตอบคําถามต่อไปนี้
                 หยุดร้องไห้เดี๋ยวนี้นะ
        ประโยคสั่งอาจเป็นคาถามก็ได้ เช่น
                 ทําไมไม่นั่งลงล่ะ
                 เมื่อไรจะหยุดร้องไห้
        ๔. ประโยคห้าม
        ประโยคห้าม คือ ประโยคที่ผู้พู ดต้องการสั่งผู้ฟังไม่ให้กระทา มักมีคาช่วยกริยา อย่า ห้าม และ
คาลงท้าย นะ ปรากฏอยู่ด้วย เช่น
อย่าจับของที่จัดนิทรรศการเหล่านี้นะ
                ห้ามบีบแตรในโรงพยาบาล
                คุณอย่าเสียใจเลยนะ
       ประโยคห้ามอาจเป็นประโยคบอกให้ทราบก็ได้ เช่น
                เราต้องไม่ส่งเสียงดังในห้องสมุด
       ๕. ประโยคชักชวน
       ประโยคชักชวน คือ ประโยคที่มีเจตนาชวนให้ผู้ฟังทาตามความคิดของตน อาจมีคาวิเศษณ์ กัน
คาลงท้าย นะ เถอะ เถอะนะ ปรากฏอยู่ด้วย เช่น
                เราไปดูละครกันดีกว่า
                คุณเชื่อผมเถอะ แล้วจะปลอดภัย
                วันสิ้นปีมากินข้าวบ้านเรากันนะ
       ประโยคชักชวนอาจเป็นประโยคคาถามก็ได้ เช่น
                ไปห้องสมุดกันไหม
       ๖. ประโยคขู่
       ประโยคขู่ คือ ประโยคที่ผู้พูดมีเจตนาชักจูงให้ผู้ฟังทาตามด้วยการบอกผลของการไม่ทาตามไว้
ประโยคขู่อาจมีคาเชื่อม ถ้า หาก ปรากฏอยู่ด้วย เช่น
                ถ้าเธอไม่เปิดประตู ฉันจะพังเข้าไปเดี๋ยวนี้
                หากเธอไม่ร่วมมือ พวกเราจะไม่ให้เธออยู่ในกลุ่มของพวกเราแล้ว
                ฉันจะฟ้องพ่อ
                ลองมาว่าฉันซิ
                เดี๋ยวโดนตี
       ๗. ประโยคขอร้อง
       ประโยคขอร้อง คือ ประโยคที่ผู้พูดมีเจตนาขอให้ผู้ฟังช่วยสงเคราะห์ทาสิ่งใดสิ่งหนึ่ง อาจมี
คากริยานา ช่วย กรุณา วาน โปรด หรืออาจมีคาวิเศษณ์ ด้วย ที หน่อย หรือคาลงท้าย เถอะ นะ น่ะ เช่น
                ช่วยไปยืมหนังสือที่ห้องสมุดให้ทีนะ
                กรุณาถอดรองเท้าด้วยค่ะ
                โปรดอย่าเปิดโทรศัพท์มือถือในห้องประชุม
                เธอดูแลเด็กแทนฉันหน่อยเถอะ
       ประโยคขอร้องอาจเป็นประโยคคาถามก็ได้ เช่น
                จะลําบากไหมถ้าจะฝากซื้อของสัก ๒ อย่าง
๘. ประโยคคาดคะเน
        ประโยคคาดคะเน คือ ประโยคที่ผู้พูดมีเจตนาแสดงความคาดหมายว่าสิ่งใดจะเกิดขึ้นหรือเกิดขึ้น
แล้ว ในประโยคอาจมีคาช่วยกริยา คง อาจ ท่าจะ เห็นจะ น่ากลัว คาลงท้าย กระมัง ละซิ เช่น
                ไพรัชคงไปโรงเรียนแล้ว
                ณัฐอาจไม่ไปซื้อของกับแม่
                แดงน่ากลัวจะไปฮ่องกงแล้ว
                สมศักดิ์โกรธสมศรีกระมัง
                เก๋อิจฉาปองละซิที่อาจารย์ให้คะแนนดี
        ๙. ประโยคถาม
        ประโยคถาม คือ ประโยคที่ผู้พูดมีเจตนาถามผู้ฟัง ประโยคชนิดนี้จะมีคาแสดงคาถาม ใคร อะไร
อย่างไร ไหน เท่าไร ทําไม เหตุใด เมื่อไร เช่น
                ใครอยู่ในห้อง
                อะไรตก
                คุณเข้าบ้านได้อย่างไรเมื่อคืนนี้
                เสื้อตัวนี้ซื้อมาเท่าไร
                อารยาร้องไห้ทาไม
                เหตุใดเธอจึงไม่มาประชุม
                เมื่อไรพี่ยุพาจะมาสักที
        ประโยคถามอาจเป็นประโยคบอกให้ทราบก็ได้ เช่น
                อยากรู้จังว่าใครจะมาเปิดงาน




(คณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน, สานักงาน กระทรวงศึกษาธิการ . (๒๕๕๒). หนังสืออุเทศภาษาไทย ชุด
       บรรทัดฐานภาษาไทย เล่ม ๓ : ชนิดของคา วลี ประโยคและสัมพันธสาร. กรุงเทพฯ : องค์การค้า
       ของ สกสค, หน้า ๑๑๒-๑๑๖.)
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑bangonchin
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1พัน พัน
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...Decha Sirigulwiriya
 
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑krunoree.wordpress.com
 
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35Milky' __
 
ประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนพัน พัน
 
ข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างkrupeak
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นTook Took Rachataporn
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...คำเมย มุ่งเงินทอง
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง ปีการศึกษา 2553
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง  ปีการศึกษา 2553ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง  ปีการศึกษา 2553
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง ปีการศึกษา 2553Yutthana Sriumnaj
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาAj.Mallika Phongphaew
 

Mais procurados (20)

แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
 
ประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อน
 
ข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่าง
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
คำสรรพนาม
คำสรรพนามคำสรรพนาม
คำสรรพนาม
 
เพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการเพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการ
 
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดกใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง ปีการศึกษา 2553
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง  ปีการศึกษา 2553ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง  ปีการศึกษา 2553
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง ปีการศึกษา 2553
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนา
 

Semelhante a การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์

ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยHansa Srikrachang
 
ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยHansa Srikrachang
 
(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)pingpingmum
 
คำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยคำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยSiraporn Boonyarit
 
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6thaneerat
 
Parts of speech
Parts of speechParts of speech
Parts of speechkrupeatie
 
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยthaneerat
 
คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)perunruk
 
แบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำแบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำLadawan Munchit
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยNook Kanokwan
 

Semelhante a การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์ (20)

ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทย
 
ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทย
 
(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)
 
คำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยคำในภาษาไทย
คำในภาษาไทย
 
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทยการจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
 
วรรคตอน1
วรรคตอน1วรรคตอน1
วรรคตอน1
 
วรรคตอน1
วรรคตอน1วรรคตอน1
วรรคตอน1
 
Parts of speech
Parts of speechParts of speech
Parts of speech
 
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
คำซ้อน 1
คำซ้อน 1คำซ้อน 1
คำซ้อน 1
 
คำซ้อน 1
คำซ้อน 1คำซ้อน 1
คำซ้อน 1
 
คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)
 
แบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำแบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
Brands thai (o net)
Brands thai (o net)Brands thai (o net)
Brands thai (o net)
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
ชนิดของคำ
ชนิดของคำชนิดของคำ
ชนิดของคำ
 

การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์

  • 1. ใบความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวิชา ท ๔๒๑๐๑ ภาษาไทย เรื่อง การร้อยเรียงประโยค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ การร้อยเรียงประโยค ประโยค ประโยค หมายถึง ข้อความที่ประกอบด้วยภาคประธานกับภาคแสดง ในการใช้ภาษามีรูปประโยค ต่าง ๆ ๓ ชนิด ดังนี้ ๑. ประโยคสามัญ หรือประโยคความเดียว ๒. ประโยครวม หรือประโยคความรวม ๓. ประโยคซ้อน หรือประโยคความซ้อน ประโยคสามัญ ประโยคสามัญ หมายถึง ประโยคที่มุ่งกล่าวถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่งเพียงสิ่งเดียว และสิ่งนั้นแสดงกิริยา อาการหรืออยู่ในสภาพอย่างหนึ่งเพียงอย่างเดียว เช่น ภาคประธาน ภาคแสดง นกสีเขียว บินสูง แม่บ้าน ซื้อกับข้าว แม่บ้านสมัยใหม่ ซื้อกับข้าวสาเร็จ ประโยครวม ประโยครวม คือ ประโยคที่รวมเอาประโยคสามัญ ตั้งแต่ ๒ ประโยคขึ้นไปเข้ามาไว้ด้วยกัน มีสันธานเป็นเครื่องเชื่อม หรือเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการรวม ประเภทของประโยครวม มี ๔ ประเภท ได้แก่ ๑. ประโยครวมที่มีเนื้อความคล้อยตามกัน ประโยครวมชนิดนี้ สังเกตได้เมื่อใช้สันธาน และ หรือ ทั้ง...และ เป็นคาเชื่อม นอกจากนั้นยังใช้ สันธานที่แสดงลาดับการกระทาก่อน หลัง ได้ด้วย เช่น ครั้น...จึง พอ...ก็ แล้ว...ก็ ฯลฯ ตัวอย่าง เขาทางานเสร็จแล้วเขาก็กลับบ้านตามปกติ ทีมฟุตบอลโรงเรียนเราชนะเลิศ และได้รับคาชมเชยเป็นอย่างมาก พอฉันเห็นเงาคนตะคุ่ม ๆ อยู่ ฉันก็ตะโกนถามไป
  • 2. ๒. ประโยครวมที่มีเนื้อความแย้งกัน ประโยครวมชนิดนี้ สังเกตได้เมื่อใช้สันธาน แต่ เป็นคาเชื่อมหรือสันธานที่เกิดจากการประสมคาอื่น กับคาว่า แต่ เช่น แต่ว่า แต่ทว่า นอกจากคาว่า แต่ ยังมีคา แม้ แม้...ก็ ตัวอย่าง ละครเรื่องนี้ทั้งคนดูสนุกมาก แต่คนเล่นเหนื่อยเหลือเกิน ฉันเห็นเงาคนตะคุ่ม ๆ อยู่ แต่ทว่าฉันไม่กล้าจะตะโกนถามไป แม้เขายากจน เขาก็ไม่เคยขอใครกิน ๓. ประโยครวมที่มีเนื้อความให้เลือก ประโยครวมชนิดนี้ สังเกตได้เมื่อใช้สันธาน หรือ หรือไม่ก็ ไม่...ก็ ตัวอย่าง ไปเชียงใหม่เที่ยวนี้ เราอาจขับรถยนต์ไปเอง หรืออาจนั่งรถทัวร์ไปก็ได้ ง่วงก็นอนเสีย หรือไม่ก็ลุกขึ้นล้างหน้า ไม่ตารวจก็ผู้ร้าย ต้องตายกันไปข้างหนึ่ง ประโยครวมที่ใช้ “หรือ” เป็นตัวเชื่อมนี้อาจจะเป็นประโยคคาถามก็ได้ เช่น คุณหรือเพื่อนคุณกันแน่ประสงค์จะขอรับทุน ๔. ประโยครวมที่มีเนื้อความเป็นเหตุเป็นผลกัน ประโยครวมชนิดนี้ สังเกตได้เมื่อใช้สันธาน จึง เพราะ...จึง เพราะฉะนั้น...จึง ดังนั้น...จึง ฯลฯ ตัวอย่าง เพราะเขาขี้เกียจจึงสอบตก เขาชอบกินอาหารมัน ๆ ดังนั้นเขาจึงมีรูปร่างอ้วน ประโยคซ้อน ประโยคซ้อน คือ ประโยคที่เกิดจากประโยคตั้งแต่ ๒ ประโยคขึ้นไปมารวมกัน โดยที่ประโยคหนึ่ง ทาหน้าที่ขยายส่วนใดส่วนหนึ่งของอีกประโยคหนึ่ง หรือทาหน้าที่เป็นส่วนใดส่วนหนึ่งของอีกประโยค หนึ่ง ประโยคที่ทาหน้าที่ขยายหรือทาหน้าที่ส่วนใดส่วนหนึ่ง เราเรียกว่า “ประโยคย่อย ” และประโยคที่ถูก ขยายเราเรียกว่า “ประโยคหลัก” ประโยคซ้อนแบ่งตามหน้าที่ของประโยคย่อยได้ ๓ ลักษณะ คือ แบบที่ ๑ ประโยคซ้อน ประโยคหลักและประโยคย่อย คาเชื่อม ๑. คนไม่ทางาน เป็นคนเกียจคร้าน คนไม่ทํางาน (ประโยคย่อย) - คน...เป็นคนเกียจคร้าน (ประโยคหลัก) ๒. คนทะเลาะกันก่อความราคาญให้ คนทะเลาะกัน (ประโยคย่อย) - เพื่อนบ้าน คน...ก่อความราคาญให้เพื่อนบ้าน (ประโยคหลัก) ๓. ฉันไม่ชอบคนเอาเปรียบผู้อื่น ฉันไม่ชอบคน...(ประโยคหลัก) คนเอาเปรียบผู้อื่น (ประโยคย่อย) -
  • 3. ประโยคซ้อนแบบนี้ประกอบด้วย ประโยคหลักและประโยคย่อยที่ทาหน้าที่เหมือนคาน าม ทาหน้าที่เป็นประธานหรือกรรมของประโยค แบบที่ ๒ ประโยคซ้อน ประโยคหลักและประโยคย่อย คาเชื่อม ๑. คนที่ประพฤติดีย่อมมีความเจริญ คน...มีความเจริญในชีวิต (ประโยคหลัก) ที่ ในชีวิต (คน) ประพฤติดี (ประโยคย่อย) ๒. เราเห็นภูเขาซึ่งมีถ้าอยู่ข้างใต้ เราเห็นภูเขา (ประโยคหลัก) ซึ่ง (ภูเขา) มีถ้ําอยู่ข้างใต้ (ประโยคย่อย) ๓. เราหวงแหนแผ่นดินไทยอันเป็น เราหวงแหนแผ่นดินไทย (ประโยคหลัก) อัน บ้านเกิดเมืองนอนของเรา (แผ่นดินไทย ) เป็นบ้านเกิดเมืองนอนของเรา (ประโยคย่อย) ประโยคซ้อนแบบนี้ประกอบด้วย ประโยคหลักและประโยคย่อยที่ทาหน้าที่เหมือนคาวิเศษณ์ขยาย นามหรือสรรพนาม คาที่ใช้เชื่อมได้แก่คา ที่ ซึ่ง อัน คาเหล่านี้เรียกว่า ประพันธสรรพนาม หรือ สรรพนาม เชื่อมประโยค แบบที่ ๓ ประโยคซ้อน ประโยคหลักและประโยคย่อย คาเชื่อม ๑. เด็ก ๆ กลับไปเมื่องานเลิกแล้ว เด็ก ๆ กลับไป (ประโยคหลัก) เมื่อ งานเลิกแล้ว (ประโยคย่อย) ๒. นายอาเภอทางานหนักจนป่วยไป นายอาเภอทางานหนัก (ประโยคหลัก) จน หลายวัน (นายอาเภอ) ป่วยไปหลายวัน (ประโยคย่อย) ๓. เขานอนตัวสั่นเพราะกลัวเสียงปืน เขานอนตัวสั่น (ประโยคหลัก) เพราะ (เขา) กลัวเสียงปืน (ประโยคย่อย) ๔. เขาอ่านหนังสือพิมพ์ระหว่างที่ เขาอ่านหนังสือพิมพ์ (ประโยคหลัก) ระหว่างที่ นั่งรอเพื่อน (เขา) นั่งรอเพื่อน (ประโยคย่อย) ประโยคซ้อนแบบนี้คือ ประโยคที่ประกอบด้วยประโยคหลักและประโยคย่อย และประโยคย่อย นั้นๆ ทาหน้าที่เหมือนคาวิเศษณ์ สันธานที่ใช้เชื่อมได้แก่คา เมื่อ จน เพราะ ตาม ราวกับ ให้ กว่า ระหว่างที่ เพราะเหตุว่า เหมือน ดุจดัง เสมือน ฯลฯ (จงจิต นิมมานนรเทพ. (๒๕๕๑). คู่มือหลักและการใช้ภาษาไทย ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ : เดอะบุคส์ , หน้า ๑๐๖-๑๒๒.)
  • 4. ชนิดของประโยคที่แบ่งตามเจตนา ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนาของผู้พูดในการสื่อสารได้หลายแบบ เช่น ประโยคบอกให้ทราบ ประโยคเสนอแนะ ประโยคสั่ง ประโยคห้าม ประโยคชักชวน ประโยคขู่ ประโยคขอร้อง ประโยคคาดคะเน ประโยคถาม ๑. ประโยคบอกให้ทราบ ประโยคบอกให้ทราบ คือ ประโยคที่ผู้พูดต้องการบอกกล่าวหรืออธิ บายเรื่องต่าง ๆ ให้ผู้ฟังทราบ เช่น คุณตาลชอบกินขนมไทย ๆ คุณตาลไม่ชอบกินขนมไทย ๆ ประโยคบอกให้ทราบอาจอยู่ในรูปคาถามก็ได้ เช่น รู้ไหมว่าเขาไปเมืองนอกแล้วนะ ๒. ประโยคเสนอแนะ ประโยคเสนอแนะ คือ ประโยคที่ผู้พูดต้องการเสนอแนะข้อคิดเห็นให้ผู้ฟังปฏิบัติ ในประโยคอาจมี คากริยานา ลอง หรือคากริยาตาม ดู คาช่วยกริยา ควร หรือคาลงท้าย นะซิ ซิ่ ซี่ ซี้ เช่น ลองชิมแกงเขียวหวานไก่ฝีมือเราดูหน่อยนะ เราควรอ่อนน้อมต่อผู้ใหญ่ ท่านจะได้เมตตา ๓. ประโยคสั่ง ประโยคสั่ง คือ ประโยคที่ผู้พูดต้องการบังคับให้ผู้ฟังปฏิบัติต าม มักมีคาช่วยกริยา จง คากริยานา ต้อง คาลงท้าย ซิ นะ เช่น ต้องทําการบ้านให้เสร็จก่อนนะ จงตอบคําถามต่อไปนี้ หยุดร้องไห้เดี๋ยวนี้นะ ประโยคสั่งอาจเป็นคาถามก็ได้ เช่น ทําไมไม่นั่งลงล่ะ เมื่อไรจะหยุดร้องไห้ ๔. ประโยคห้าม ประโยคห้าม คือ ประโยคที่ผู้พู ดต้องการสั่งผู้ฟังไม่ให้กระทา มักมีคาช่วยกริยา อย่า ห้าม และ คาลงท้าย นะ ปรากฏอยู่ด้วย เช่น
  • 5. อย่าจับของที่จัดนิทรรศการเหล่านี้นะ ห้ามบีบแตรในโรงพยาบาล คุณอย่าเสียใจเลยนะ ประโยคห้ามอาจเป็นประโยคบอกให้ทราบก็ได้ เช่น เราต้องไม่ส่งเสียงดังในห้องสมุด ๕. ประโยคชักชวน ประโยคชักชวน คือ ประโยคที่มีเจตนาชวนให้ผู้ฟังทาตามความคิดของตน อาจมีคาวิเศษณ์ กัน คาลงท้าย นะ เถอะ เถอะนะ ปรากฏอยู่ด้วย เช่น เราไปดูละครกันดีกว่า คุณเชื่อผมเถอะ แล้วจะปลอดภัย วันสิ้นปีมากินข้าวบ้านเรากันนะ ประโยคชักชวนอาจเป็นประโยคคาถามก็ได้ เช่น ไปห้องสมุดกันไหม ๖. ประโยคขู่ ประโยคขู่ คือ ประโยคที่ผู้พูดมีเจตนาชักจูงให้ผู้ฟังทาตามด้วยการบอกผลของการไม่ทาตามไว้ ประโยคขู่อาจมีคาเชื่อม ถ้า หาก ปรากฏอยู่ด้วย เช่น ถ้าเธอไม่เปิดประตู ฉันจะพังเข้าไปเดี๋ยวนี้ หากเธอไม่ร่วมมือ พวกเราจะไม่ให้เธออยู่ในกลุ่มของพวกเราแล้ว ฉันจะฟ้องพ่อ ลองมาว่าฉันซิ เดี๋ยวโดนตี ๗. ประโยคขอร้อง ประโยคขอร้อง คือ ประโยคที่ผู้พูดมีเจตนาขอให้ผู้ฟังช่วยสงเคราะห์ทาสิ่งใดสิ่งหนึ่ง อาจมี คากริยานา ช่วย กรุณา วาน โปรด หรืออาจมีคาวิเศษณ์ ด้วย ที หน่อย หรือคาลงท้าย เถอะ นะ น่ะ เช่น ช่วยไปยืมหนังสือที่ห้องสมุดให้ทีนะ กรุณาถอดรองเท้าด้วยค่ะ โปรดอย่าเปิดโทรศัพท์มือถือในห้องประชุม เธอดูแลเด็กแทนฉันหน่อยเถอะ ประโยคขอร้องอาจเป็นประโยคคาถามก็ได้ เช่น จะลําบากไหมถ้าจะฝากซื้อของสัก ๒ อย่าง
  • 6. ๘. ประโยคคาดคะเน ประโยคคาดคะเน คือ ประโยคที่ผู้พูดมีเจตนาแสดงความคาดหมายว่าสิ่งใดจะเกิดขึ้นหรือเกิดขึ้น แล้ว ในประโยคอาจมีคาช่วยกริยา คง อาจ ท่าจะ เห็นจะ น่ากลัว คาลงท้าย กระมัง ละซิ เช่น ไพรัชคงไปโรงเรียนแล้ว ณัฐอาจไม่ไปซื้อของกับแม่ แดงน่ากลัวจะไปฮ่องกงแล้ว สมศักดิ์โกรธสมศรีกระมัง เก๋อิจฉาปองละซิที่อาจารย์ให้คะแนนดี ๙. ประโยคถาม ประโยคถาม คือ ประโยคที่ผู้พูดมีเจตนาถามผู้ฟัง ประโยคชนิดนี้จะมีคาแสดงคาถาม ใคร อะไร อย่างไร ไหน เท่าไร ทําไม เหตุใด เมื่อไร เช่น ใครอยู่ในห้อง อะไรตก คุณเข้าบ้านได้อย่างไรเมื่อคืนนี้ เสื้อตัวนี้ซื้อมาเท่าไร อารยาร้องไห้ทาไม เหตุใดเธอจึงไม่มาประชุม เมื่อไรพี่ยุพาจะมาสักที ประโยคถามอาจเป็นประโยคบอกให้ทราบก็ได้ เช่น อยากรู้จังว่าใครจะมาเปิดงาน (คณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน, สานักงาน กระทรวงศึกษาธิการ . (๒๕๕๒). หนังสืออุเทศภาษาไทย ชุด บรรทัดฐานภาษาไทย เล่ม ๓ : ชนิดของคา วลี ประโยคและสัมพันธสาร. กรุงเทพฯ : องค์การค้า ของ สกสค, หน้า ๑๑๒-๑๑๖.)