SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 40
Baixar para ler offline
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
Participative Management




                           1
นิสิตบัณฑิตศึกษา สาขาบริการการศึกษา ห้อง 2
          ระบบนอกเวลาราชการ รุ่น พ 25 ปีการศึกษา 2555
เอกสารการนาเสนอรายวิชา หลักการ ทฤษฏี และนวัตกรรมการบริหารการศึกษา
             ภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
                      มหาวิทยาลัยมหาสารคาม                     2
ประเด็นในการนาเสนอ
          ความหมาย แนวคิดและทฤษฎี ของการบริหารแบบมีส่วนร่วม
บทเรียนที่สนับสนุนแนวคิดและทฤษฎีการบริหารแบบมีส่วนร่วม
                      ประเภทและลักษณะของการบริหารแบบมีส่วนร่วม
 วิธีการของการบริหารแบบมีส่วนร่วม
                        องค์ประกอบของการบริหารแบบมีส่วนร่วม
 ประโยชน์ของการบริหารแบบมีส่วนร่วม
                                                              3

                             อุปสรรค์ของการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม ......นับว่าเป็นวิทยาการสมัยใหม่โดยเน้นเป้าหมายของ
การมีพันธะสัญญาร่วมกันของผู้บริหารและผู้ใต้บังคับบัญชาในการทางานร่วมกัน
เพื่อให้บรรลุเป้าหมายขององค์กร                                          4
“ความหมายของการบริหารแบบมีส่วนร่วม”
     (Participative Management)

Keith Davis (ค.ศ.1972)
“การมีส่วนร่วม” หมายถึง การเกี่ยวข้อง ทาง
จิตใจและอารมณ์ ของบุคคลหนึ่งในสถานการณ์
กลุ่ม ซึ่งผลดังกล่าว เป็นเหตุเร้าใจให้กระทาให้
บรรลุจุดมุ่งหมายของกลุ่มนั้น และรู้สกรับผิดชอบ
                                    ึ
กับกลุ่มดังกล่าวด้วย                             5
“ความหมายของการบริหารแบบมีส่วนร่วม”
        (Participative Management)

   White (ค.ศ.1982)
“การมีส่วนร่วม” ประกอบด้วย 4 มิติ คือ
1. มีส่วนร่วมเสียสละมีส่วนร่วมในการตัดสินใจว่าอะไรควรทา
   และทาอย่างไร
2. มีส่วนร่วมในการพัฒนาการลงมือปฏิบติตามที่ได้สนใจ
                                      ั
3. มีส่วนร่วมในการแบ่งปันผลประโยชน์ที่เกิดจากการดาเนินงาน
4. มีส่วนร่วมในการประเมินผล                           6
“ความหมายของการบริหารแบบมีส่วนร่วม”
      (Participative Management)

สมยศ นาวีการ (พ.ศ.2525)
 “การมีส่วนร่วม” หมายถึง กระบวนการที่ผู้ใต้บังคับบัญชา
 มีส่วนในการตัดสินใจ โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์ ความ
 เชี่ยวชาญ ในการแก้ปัญหาของการบริหาร
  หลักสาคัญ อยู่ที่การแบ่งอานาจหน้าที่การบริหารให้
 ผู้ใต้บังคับบัญชา
                                                         7
“ความหมายของการบริหารแบบมีส่วนร่วม”
      (Participative Management)

เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์ (พ.ศ.2541)
 “การมีส่วนร่วม” หมายถึง การที่บุคคลหรือคณะบุคคลเข้า
 มาช่วยเหลือสนับสนุน ทาประโยชน์ในเรื่องต่างๆ หรือใน
 กระบวนการบริหาร เช่น การเกี่ยวข้องด้วย(Involvement)
 การช่วยเหลือ (Contribution) และการรับผิดชอบ
 (Responsibility)
                                                   8
“ความหมายของการบริหารแบบมีส่วนร่วม”
      (Participative Management)

สมเดช สีแสง(พ.ศ.2547)
 “การมีส่วนร่วม” หมายถึง การเปิดโอกาสให้พนักงานทุก
 ระดับได้มีส่วนร่วมในการบริหารกิจการภายในขอบเขต
 หน้าที่ของตน เรียกว่า “การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร”
 (Total Quality Control หรือ TQC)

                                                         9
สรุปการบริหารแบบมีส่วนร่วม
“การบริหารแบบมีส่วนร่วม”
         หมายถึง การบริหารโดยให้บุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
ในการได้รับประโยชน์ ทั้งทางตรง และทางอ้อม มาจัดการ
ศึกษา ได้มีส่วนในการกาหนดนโยบายและทิศทางในการจัด
การศึกษา โดยร่วมดาเนินการสนับสนุนทั้งด้านกาลังความคิด
กาลังกาย กาลังใจ และกาลังทรัพย์ พร้อมร่วมกากับติดตาม
ตรวจสอบและประเมินผล เพื่อให้การศึกษามีคุณภาพตาม
มาตรฐานที่กาหนดเป็นที่ยอมรับในระดับสากล               10
“แนวคิดและทฤษฎีการบริหารแบบมีส่วนร่วม”




Mary Parker Follet เขียนบทความชื่อ “Dynamics Administration” บรรยาย
ให้ผู้บริหารแก้ปัญหาความขัดแย้งในองค์กรด้วยการสร้างมนุษยสัมพันธ์ ซึ่งเป็น
จุดเริ่มต้นของการบริหารเชิงมนุษย์สัมพันธ์ และการบริหารเชิงพฤติกรรม .....ต่อมา
                                                                          11
นักวิชาการที่ได้เสนอแนวคิดและทฤษฎี
            การบริหารแบบมีสวนร่วม
                             ่
David McClelland (1961) ได้ทาการวิจัยเกี่ยวกับแรงจูงใจของ
มนุษย์ในการทางานให้เกิดผลสาเร็จ สรุปได้ 3 ประการคือ
 1. ความต้องการสัมฤทธิผล (Need for Achievement)
 2. ความต้องการผูกพัน (Need for Affiliation)
 3. ความต้องการมีอานาจบารมี (Need for Power)
     สาระสาคัญ คือ ถ้าแต่ละคนมีความต้องการด้านสัมฤทธิผลสูงก็สามารถ
         ทางานได้สาเร็จ และช่วยให้งานของหน่วยงานสาเร็จไปด้วย  12
Rensis Likert (1967) เสนอรูปแบบการบริหารมี
ลักษณะแตกต่างกัน 4 รูปแบบ
ระบบที่ 1 “เผด็จการ” ใช้อานาจเพื่อใช้ประโยชน์ส่วนตัว เน้น
หน้าที่และโครงสร้างแบบอานาจนิยมสูง
 ระบบที่ 2 “เผด็จการแบบมีศิลป์” ใช้อานาจแบบเมตตา ใช้
 ความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง
ระบบที่ 3 “การปรึกษาหารือ” บริหารแบบมีความมั่นคง แต่ฝ่าย
บริหารไม่มีความเชื่อมั่นและความไว้วางใจในตัวผู้บังคับบัญชา
ระบบที่ 4 “กลุ่มทีมีส่วนร่วม” ความเป็นมิตรกันระหว่างนายจ้างกับ
                  ่
ลูกจ้างในระดับสูง จากการมีส่วนร่วมในการทางานกลุ่ม           13
อุทัย บุญประเสริฐ (2543) กล่าวถึง การบริหารแบบ
 มีส่วนร่วม มีแนวความคิดพื้นฐาน ดังนี้
1. ความเชื่อเรื่องธรรมชาติของมนุษย์
        (ตามแนวคิด ของ Mc Gregor)

      ทฤษฎี X                         ทฤษฎี Y
  เชื่อว่ามนุษย์ข้ ีเกียจ     เชื่อว่ามน ุษย์ขยัน ชอบ
      และขาดความ             ทางานถ้าสภาพทางานมี
       รับผิดชอบ                   ความเหมาะสม
                                                   14
อุทย บุญประเสริฐ (2543)
               ั
2. ความเป็นองค์การของโรงเรียน
     องค์การเป็นสถานที่สาหรับการดารงชีวิตและการ
พัฒนา
3. รูปแบบการตัดสินใจ
    การตัดสินใจในสถานศึกษา ควรร่วมมือกันใช้
อานาจระหว่างครู ผู้ปกครอง นักเรียน ตลอดจนศิษย์เก่า
                                                15
อุทย บุญประเสริฐ (2543)
                ั
4. ภาวะผู้นา
   ตามทฤษฎีของ Sergiovanni ได้จัดผู้นาไว้ 5 ระดับ
1. ภาวะผู้นาด้านเทคนิค
2.   ภาวะผู้นาด้านมนุษย์
3.   ภาวะผู้นาทางการศึกษา
4.   ภาวะผู้นาเชิงสัญญาลักษณ์
5.   ภาวะผู้นาทางวัฒนธรรม
                                               16
อุทย บุญประเสริฐ (2543)
                ั
5. กลยุทธ์การใช้อานาจ
     French และ Raven แบ่งที่มาของอานาจได้ 5 แบบ
1.    อานาจจากการให้รางวัล
2.    อานาจจากการบังคับ
3.    อานาจตามกฎหมาย
4.    อานาจจากการการอ้างอิง
5.    อานาจจากความรู้ความเชี่ยวชาญ
                                              17
อุทย บุญประเสริฐ (2543)
                  ั
6. ทักษะในการบริหาร
       ทักษะการบริหารแบบใหม่ๆ ที่ได้รับการพัฒนามาปรับใช้ใน
องค์การ เช่น การใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ , ใช้ทักษะแก้ไขความ
ขัดแย้ง , ใช้กลยุทธ์พัฒนาองค์การ
7. การใช้ทรัพยากร
      สถาบันการศึกษามีอานาจในการใช้และบริหารทรัพยากร ทา
ให้สถานศึกษาไม่ต้องสิ้นเปลืองบุคลากร งบประมาณ และเวลาในการ
ควบคุมตรวจสอบ
                                                               18
สรุปแนวคิดและทฤษฎีการบริหารแบบมีส่วนร่วม
        การบริหารจัดการในปัจจุบัน “คน” มีความรู้ ความ
 ต้องการและการแสวงหาสิ่งต่างๆ เพิ่มขึ้น ผูร่วมงานกลายเป็น
                                           ้
 ผู้ทรัพยากรทางการบริหารที่มีค่า และสาคัญมาก
        แนวคิดดังกล่าว ได้มีองค์การต่างๆ ได้นามาประยุกต์ใช้
 อย่างแพร่หลาย ก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการทางาน การ
 ให้บริการที่ตรงกับความต้องการของลูกค้า และความ
 เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป ทั้งทางด้าน
 ธุรกิจ และการศึกษา
                                                        19
บทเรียนที่สนับสนุนแนวคิดและทฤษฎี
      บริหารแบบมีส่วนร่วม




                               20
ระหว่างปี 1927-1932 นักวิชาการมหาวิทยาลัย
                 ฮาร์วาร์ด Elton Mayo ได้รับการติดต่อจาก
                 บริษัท Western Electric ผู้ผลิตอุปกรณ์ไฟฟ้า ใน
                 เมืองชิคาโกให้ทาการศึกษาความสัมพันธ์ของ
                 สภาพแวดล้อมทางกายภาพด้านแสงสว่าง อุณหภูมิ
 (Elton Mayo )   ระยะเวลาพักผ่อน การเพิมค่าจ้าง และการควบคุม
                                         ่
                 งานที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการผลิต โดยได้
                 ทาการศึกษา 3 แบบ คือ
1. การศึกษาสภาพการทางานภายในห้อง (room studies)
2. การสัมภาษณ์ (interview studies)
3. การสังเกต (observation studies)                         21
ผลการศึกษาพบว่า
     1. ปริมาณของผลผลิตมิได้ขึ้นอยู่กับ
     สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ หากขึ้นอยู่กับ
     สภาพแวดล้อมทางสังคม
      2. เงินไม่ใช่ปัจจัยสาคัญ แต่ขวัญ
     กาลังใจ และความพึงพอใจเป็นเรื่อง
     สาคัญในการทางาน
     3. อิทธิพลของกลุ่มมีความสาคัญยิ่งใน
     การดาเนินการหน่วยงาน

                                      22
Coch and French ได้ทาการศึกษาเกี่ยวกับการมีส่วน
ร่วมของคนงานในปลายทศวรรษ 1940 โดยได้เปรียบเทียบ
ผลงานของคนงาน 3 กลุ่ม คือ
    1. คนงานไม่มีส่วนร่วม (กลุ่มควบคุม)

      2. คนงานมีส่วนร่วมบ้าง (กลุ่มทดลองที่ 1)

       3. คนงานทั้งหมดส่วนร่วม (กลุ่มทดลองที่ 2)


                                           ได้ผลการทดลองดังนี้
                                                          23
1) กลุ่มควบคุม 1 (คนงานมีีส่วนร่วม) าได้รับรู้จงากผู้บังคับบัจงความ
                   (คนงานไม่ม ส่วนร่วมบ้ ง) หลั จากการชี้แ ญชา
2) กลุ่มทดลอง 2 (คนงานมีส่วนร่วมทั้งหมด) หลังจากที่ได้รับฟัง
3)่ยกลุ่มทดลอง ่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น และความจาเป็นที่ต้อง
เกี วกับการเปลีารเปลี่ยนแปลง ได้มีการพัฒนาวิธีการทางาน
จาเป็นที่ตาเป็นที่ต้องมีการเปลี่ยนแปลง ผู้ปฏิบัตทงหมดได้ช่วยกัน
            ้องมีก
ถึงความจ เช่น การขยายงานและอัตราใหม่ของการจ่ายต่อชิ้น
                                                ิ ั้
เปลี่ยนแปลง ราการจ่ายตามที่ฝ่ายบริหารร้องขอให้ช่วยกลุ่มได้เลือก
ใหม่ และอัต ทุกคนทางานได้ดีที่สุด ผลผลิตเป็นหน่วยต่อ
ออกแบบงานใหม่
ภายในัต40 วัน ของการเปลี่ยนแปลง พบว่า 17 ๆ หลัเงจาก ของ
                                                 เปอร์ ซ็นต์
ผู้ปโมงเพิานบางคนไปฝึกอบรมวิธีกาวหน้าสูงกว่าที่มีการ
     ฏิบ ิง่มขึ้น ผลการปฏิบัติงานก้ ารทางานใหม่
ชั่ว กงานลาออกและที่เหลืออยู่หยุดการผลิต ปฏิเสธที่จะ
พนัสัปดาห์ของการปรับปรุง แก้ไข กลุ่มมีผลงานดีกว่าครั้ง
2 ่ยนแปลง 14 เปอร์เซ็นต์
เปลี อ และจานวนหน่วยของผลงานต่อชั่วโมงยังเท่าเดิม
ร่วมมื และอีก 2 สัปดาห์ ของการปรับปรุงแก้ไข กลุ่มมีผลงานดีขึ้นอีก
ก่อน
คนงานไม่ลาออกและมีทัศนคติดีขึ้น

                                                                24
ประเภทของการมีส่วนร่วม

1. การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ (Decision Making)

2. การมีส่วนร่วมในการดาเนินงาน (Implementation)

3. การมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์ (Benefits)

4. การมีส่วนร่วมในการประเมินผล (Evaluation)
                                                  25
ลักษณะของการมีส่วนร่วม

      Arnstien (1969) เห็นว่าการมีส่วนร่วมมีลักษณะมากน้อย
เพียงใด สังเกตจากการให้ประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วมในการใช้
อานาจ ซึ่งบ่งบอกถึงภาวะผู้นาที่เป็นประชาธิปไตย ว่ามีสูงหรือต่า
Arnstien ได้แบ่งเกณฑ์บอกการมีส่วนร่วม สรุปเป็นขั้นบันได
(Participation Ladder) 8 ขั้น จัดได้เป็น 3 กลุ่ม


                                                             26
ขั้นควบคุมโดยประชาชน
                                                                                                               8         (Citizen Control)
     การมีส่วนร่วมที่แท้จริง มีอานาจและบทบาทมาก
              (Degree of Citizen Power)                                                                    ขั้นมอบอานาจ
                                                                                             7          (Delegated Power)


                                                                                     ขั้นเป็นหุ้นส่วน
                                                                              6      (Partnership)

                                                                       ขั้นปลอบใจ
                                                            5          (Placation)


                                                     ขั้นให้คาปรึกษา           การมีส่วนร่วมพอเป็นพิธีหรือบางส่วน
                                         4          (Consultation)
                                                                         (Degree of Tokenism or Partial Participation)
                                  ขั้นแจ้งข่าวสาร
                        3          (Informing)

                 ขั้นบาบัดรักษา
       2            (Therapy)                                                                               การมีส่วนร่วมเทียม
  ขั้นจัดฉาก                                                                                            (Pseudo – Participation)
(Manipulation)
1                                                                                                                                            27
บันไดขั้นที่ 6 – 8 ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจมาก เป็นการใช้
อานาจตัดสินใจของประชาชนโดยตรง หรือผ่านตัวแทน




บันไดขั้นที่ 3 – 5 เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมบ้างในบางเรื่อง
เท่านั้น เพราะบางส่วนผู้มีอานาจเต็มสงวนเอาไว้


บันไดขั้นที 1 – 2 เรียกว่า ขั้นการมีส่วนร่วมเทียม หรือไม่มีส่วนร่วม
หมายถึงประชาชน ไม่ได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการตัดสินใจอย่างแท้จริง
                                                                      28
การจัดฉาก (Manipulation)
   ผู้ใช้อานาจมาก                                           มีส่วนร่วมน้อย
       (เผด็จการ)        การบาบัดรักษา (Therapy)       หรือแทบไม่มีส่วนร่วมเลย
                         การแจ้งข่าวสาร (Informing)
    ผู้นาค่อนข้าง
                       การให้คาปรึกษา (Consultation)      มีส่วนร่วมเล็กน้อย
  เป็นประชาธิปไตย
                          การปลอบใจ (Placation)
                                การเป็นหุ้นส่วน
                                (Partnership)
ผู้นาเป็นประชาธิปไตย                                       มีส่วนร่วมมาก
                                การมอบอานาจ
                              (Citizen Control)
     ผู้นาแบบ              การควบคุมโดยประชาชน
                                                         มีส่วนร่วมมากที่สุด
ประชาธิปไตยในอุดมคติ          (Citizen Control)
                                                                               29
วิธีการบริหารแบบมีส่วนร่วม
1. การให้คาปรึกษา (Consultation)
2. การทางานเป็นทีมหรือการสร้างทีม (Team Building)
3. การสร้างกลุ่มคุณภาพงาน (OC Circles)
4. การรับฟังข้อเสนอแนะ (Suggestion Programe)
5. การฝึกอบรม ที – กรุ๊ป (T – Group Approach or Sensitivity)
6. การมอบอานาจ (Delegated Power)
                                                       30
องค์ประกอบของการมีส่วนร่วม
                ในการบริหารการศึกษา
                                                         คณะกรรมการ
        สถานศึกษา                                         สถานศึกษา

                           นักเรียนมีคุณภาพ
                           และมีมาตรฐาน

    การเรียนการสอน             การมีส่วนร่วมของ
                                                          หลักสูตรสอดคล้อง
                               ผู้ปกครอง เอกชน
ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ   องค์การปกครองส่วนทั้งถิ่น   กับความต้องการท้องถิ่น
                                                                        31
1. สามารถนาเอาประสบการณ์ ความรู้ และทักษะของแต่ละคนมาใช้ใน
การวางแผนทาให้ได้แผนงานที่ดี สมบูรณ์ขึ้น และนาไปปฏิบัติจะประสบ
ผลสาเร็จได้ดีขึ้น

2. ทาให้คุณภาพในการตัดสินใจสูงขึ้น และทาให้ได้แผนงาน
ที่เกิดจากหลาย ๆ ทัศนะและหลากหลาย
3. ส่งเสริมให้เกิดความรับผิดชอบอย่างเต็มที่ ทาให้เกิดพันธสัญญา พร้อม
ที่จะให้ตรวจสอบ ตลอดจนช่วยให้เกิดการสนับสนุนในการนาไปปฏิบัติ
และมีส่วนร่วมรับผิดชอบในผลลัพธ์
                                                                  32
4. สนับสนุนให้เกิดความสามัคคีในทีมงานและสร้างความเป็นน้าหนึ่งใจ
เดียวกันในหน่วยงาน

5. เปิดโอกาสให้แตะละบุคคล กลุ่มบุคคลเพิ่มพูนประสบการณ์ในวิชาชีพ
และเสาะแสวงหาแนวทางพัฒนาวิชาชีพของตน

6. เปิดโอกาสอันยิ่งใหญ่ สาหรับสถานศึกษาที่จะลดการต่อต้านและ
ปรับเปลี่ยนไปสู่แนวปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพ

7. ถือว่าเป็นความชอบธรรม หรือเป็นสิทธิของผู้ร่วมงานทุกคน
                                                                  33
การนาหลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม
       ไปใช้ในการบริหารสถานศึกษา
ด้านวิชาการ
     ควรเปิดโอกาสให้ชุมชนเป็นวิทยากร ในฐานะภูมิปัญญาท้องถิ่น ร่วม
จัดทาหลักสูตร กาหนดขอบข่ายเนื้อหาเกี่ยวกับวิชาชีพท้องถิ่น จัดชุมชน
และสถานประกอบการเป็นแหล่งการเรียนรู้และฝึกงาน ร่วมวางแผน
นโยบาย เกี่ยวกับการเรียนการสอน ส่งเสริมวัฒนธรรมท้องถิ่น นาความรู้
ด้านเทคโนโลยีพื้นบ้าน และภูมิปัญญาท้องถิ่นมาร่วมจัดทาหลักสูตร
ประสานกับวิทยาการสมัยใหม่
                                                                34
ด้านงบประมาณ
    ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาให้องค์การชุมชน ช่วยเหลือเงิน
ทุนการศึกษา ร่วมจัดกิจกรรมหารายได้ ร่วมติดตามผลการใช้งบประมาณ
สนับสนุนส่งเสริมสมาคม ศิษย์เก่า เพื่อประสานกิจกรรมระหว่างโรงเรียน
กับองค์การชุมชน ระดมทรัพยากร และสนับสนุนงบประมาณ

                                                     ด้านบุคลากร
     ควรให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมเป็นคณะกรรมการการประเมิน การ
ปฏิบัติของครู และบุคลากรของโรงเรียน ร่วมสร้างจิตสานึกที่ดีให้แก่ครู
สนับสนุนกิจกรรมพัฒนาบุคลากร เสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับการสอนของ
ครู การศึกษา
                                                                 35
ด้านบริหารทัวไป
            ่
     ควรให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดธรรมนูญโรงเรียน ร่วมกาหนด
วิสัยทัศน์ ร่วมกิจกรรมปรับปรุง และพัฒนาโรงเรียน ร่วมบริหาร งานในรูปของ
คณะกรรมการ ร่วมประชุมวางแผน กาหนดนโยบาย ร่วมกิจกรรมปรับปรุงและ
พัฒนาโรงเรียน พัฒนาอาคาร สถานที่ และสิ่งแวดล้อม                   36
อุปสรรค์ของการบริหารแบบมีส่วนร่วม
1. นโยบายเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วม แต่สถานศึกษาไม่สนองนโยบาย อย่าง
แท้จริง

2. ความคิดเห็นของผู้บริหารสูงสุดอาจไม่ตรงกับกับผู้ร่วมงาน

3. ในสังคมไทย ประชาชนมักไม่กล้าแสดงความคิดเห็น เพราะมีความรู้สึก
ว่า เป็นเรื่องราชการ
4.ไม่มีเวลาให้กับกิจกรรมอย่างเพียงพอ เพราะมีภาระหน้าที่ประจา

                                                               37
อุปสรรค์ของการบริหารแบบมีส่วนร่วม
5. ทางราชการเป็นผู้กาหนดบทบาท ดังนั้น การปฏิบัติหน้าที่อาจมุ่ง แต่
ประโยชน์ของทางราชการ มากกว่าประโยชน์ของประชาชน
6. ผู้มีส่วนร่วมบางคนมีข้อจากัด เช่น ความรู้ ประสบการณ์ จึงมักถูก
ครอบงาโดยราชการ
7. บรรยากาศในสถานศึกษา ไม่เอื้ออานวยที่จะกระตุ้นให้ประชาชน เข้ามา
มีส่วนร่วม ผู้บริหาร ครู ไม่เห็นความสาคัญ โดยเฉยเมิย
8. เกิดการแสวงหาผลประโยชน์เพื่อตนเองและพวกพ้อง
                                                                     38
สรุป.....การบริหารแบบมีส่วนร่วม
       การบริหารแบบมีส่วนร่วม มีหลักการสาคัญที่มีส่วนใน
การสร้างบรรยากาศแบบประชาธิปไตย เปิดโอกาสให้
ผู้เข้าร่วมแสดงความคิดเห็น ทาให้คนทางานมีความ
ภาคภูมิใจ การมีส่วนร่วมจะเกิดขึ้นได้ ผู้บริหารหรือผู้นาถือ
ว่าสาคัญที่สุดเป็น อันดับแรก จึงเป็นหน้าที่ของผู้บริหารที่
จะต้องชี้แจง ทาความเข้าใจ อันจะนาไปสู่ความร่วมมือ
และองค์การ พัฒนาไปสู่เป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป
                                                       39
ขอบคุณสาหรับการรับชม




             .......Good luck
                          40

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"พัน พัน
 
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมProud N. Boonrak
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
หลักธรรมาภิบาล ใหม่
หลักธรรมาภิบาล ใหม่หลักธรรมาภิบาล ใหม่
หลักธรรมาภิบาล ใหม่Chalermpon Dondee
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อwisheskerdsilp
 
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)Jirathorn Buenglee
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่Apirak Potpipit
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5Khunnawang Khunnawang
 
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษาสื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษาRatchaphon Cherngchon
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์Nonsawan Exschool
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3ทศพล พรหมภักดี
 

Mais procurados (20)

กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
 
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
หลักธรรมาภิบาล ใหม่
หลักธรรมาภิบาล ใหม่หลักธรรมาภิบาล ใหม่
หลักธรรมาภิบาล ใหม่
 
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
 
ใบ000
ใบ000ใบ000
ใบ000
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อ
 
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5
 
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษาสื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 

Destaque

การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมmaymymay
 
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟThida Noodaeng
 
เทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารราเทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารราguest4439f1
 
งานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียนงานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียนSukanya Polratanamonkol
 
ธรรมาภิบาลกับการบริหารงานภาครัฐ กทม
ธรรมาภิบาลกับการบริหารงานภาครัฐ กทมธรรมาภิบาลกับการบริหารงานภาครัฐ กทม
ธรรมาภิบาลกับการบริหารงานภาครัฐ กทมTaraya Srivilas
 
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนาSaiiew
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารAnchalee BuddhaBucha
 
การบินไทย PPT
การบินไทย PPTการบินไทย PPT
การบินไทย PPTLove Plukkie Zaa
 
Powerpoint4 เทคโนโลยีทางการบริหารมนุษย์
Powerpoint4 เทคโนโลยีทางการบริหารมนุษย์Powerpoint4 เทคโนโลยีทางการบริหารมนุษย์
Powerpoint4 เทคโนโลยีทางการบริหารมนุษย์Nawaponch
 
บทที่ 4 การสรรหาและคัดเลือก.compressed
บทที่ 4 การสรรหาและคัดเลือก.compressedบทที่ 4 การสรรหาและคัดเลือก.compressed
บทที่ 4 การสรรหาและคัดเลือก.compressedPatteera Somsong
 
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทยโครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทยSurasak Tumthong
 
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์Nawaponch
 
28 โครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ55
28 โครงการ  โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ5528 โครงการ  โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ55
28 โครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ55ชยานันท์ แท่นแสง
 
บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?
บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?
บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?NIDA Business School
 

Destaque (20)

การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
Happy8place
Happy8placeHappy8place
Happy8place
 
How to be a good leader
How to be a good leaderHow to be a good leader
How to be a good leader
 
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
 
Ppt.happy 8 (1)
Ppt.happy 8 (1)Ppt.happy 8 (1)
Ppt.happy 8 (1)
 
เทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารราเทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารรา
 
งานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียนงานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียน
 
ธรรมาภิบาลกับการบริหารงานภาครัฐ กทม
ธรรมาภิบาลกับการบริหารงานภาครัฐ กทมธรรมาภิบาลกับการบริหารงานภาครัฐ กทม
ธรรมาภิบาลกับการบริหารงานภาครัฐ กทม
 
Hr1 1
Hr1 1Hr1 1
Hr1 1
 
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
 
การสรรหาบุคลากร
การสรรหาบุคลากรการสรรหาบุคลากร
การสรรหาบุคลากร
 
การบินไทย PPT
การบินไทย PPTการบินไทย PPT
การบินไทย PPT
 
การฝึกอบรมและพัฒนา Ppt
การฝึกอบรมและพัฒนา Pptการฝึกอบรมและพัฒนา Ppt
การฝึกอบรมและพัฒนา Ppt
 
Powerpoint4 เทคโนโลยีทางการบริหารมนุษย์
Powerpoint4 เทคโนโลยีทางการบริหารมนุษย์Powerpoint4 เทคโนโลยีทางการบริหารมนุษย์
Powerpoint4 เทคโนโลยีทางการบริหารมนุษย์
 
บทที่ 4 การสรรหาและคัดเลือก.compressed
บทที่ 4 การสรรหาและคัดเลือก.compressedบทที่ 4 การสรรหาและคัดเลือก.compressed
บทที่ 4 การสรรหาและคัดเลือก.compressed
 
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทยโครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
 
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
 
28 โครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ55
28 โครงการ  โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ5528 โครงการ  โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ55
28 โครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ55
 
บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?
บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?
บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?
 

Semelhante a การบริหารแบบมีส่วนร่วม

ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารguest6b6fea3
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้Nona Khet
 
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่Chatnakrop Sukhonthawat
 
HR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RUHR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RUpantapong
 
การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)Yingjira Panomai
 
Hr and organization innovation@KKU 20140824
Hr and organization innovation@KKU 20140824Hr and organization innovation@KKU 20140824
Hr and organization innovation@KKU 20140824pantapong
 
องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..Areerat Robkob
 
9789740330660
97897403306609789740330660
9789740330660CUPress
 
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการTwatchai Tangutairuang
 
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...นิพ พิทา
 
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลง
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลงวิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลง
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลงstjohnbatch753
 
บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1Saiiew
 
องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้looktao
 
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการCh1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการNittaya Intarat
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfTeetut Tresirichod
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...Sawittri Phaisal
 

Semelhante a การบริหารแบบมีส่วนร่วม (20)

ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหาร
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
 
HR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RUHR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RU
 
การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)
 
Hr and organization innovation@KKU 20140824
Hr and organization innovation@KKU 20140824Hr and organization innovation@KKU 20140824
Hr and organization innovation@KKU 20140824
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..
 
Chapter(1)
Chapter(1)Chapter(1)
Chapter(1)
 
9789740330660
97897403306609789740330660
9789740330660
 
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
 
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
 
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลง
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลงวิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลง
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลง
 
201704_cognitive_weapon
201704_cognitive_weapon201704_cognitive_weapon
201704_cognitive_weapon
 
บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1
 
องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการCh1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
 
4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 

การบริหารแบบมีส่วนร่วม

  • 2. นิสิตบัณฑิตศึกษา สาขาบริการการศึกษา ห้อง 2 ระบบนอกเวลาราชการ รุ่น พ 25 ปีการศึกษา 2555 เอกสารการนาเสนอรายวิชา หลักการ ทฤษฏี และนวัตกรรมการบริหารการศึกษา ภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2
  • 3. ประเด็นในการนาเสนอ ความหมาย แนวคิดและทฤษฎี ของการบริหารแบบมีส่วนร่วม บทเรียนที่สนับสนุนแนวคิดและทฤษฎีการบริหารแบบมีส่วนร่วม ประเภทและลักษณะของการบริหารแบบมีส่วนร่วม วิธีการของการบริหารแบบมีส่วนร่วม องค์ประกอบของการบริหารแบบมีส่วนร่วม ประโยชน์ของการบริหารแบบมีส่วนร่วม 3 อุปสรรค์ของการบริหารแบบมีส่วนร่วม
  • 5. “ความหมายของการบริหารแบบมีส่วนร่วม” (Participative Management) Keith Davis (ค.ศ.1972) “การมีส่วนร่วม” หมายถึง การเกี่ยวข้อง ทาง จิตใจและอารมณ์ ของบุคคลหนึ่งในสถานการณ์ กลุ่ม ซึ่งผลดังกล่าว เป็นเหตุเร้าใจให้กระทาให้ บรรลุจุดมุ่งหมายของกลุ่มนั้น และรู้สกรับผิดชอบ ึ กับกลุ่มดังกล่าวด้วย 5
  • 6. “ความหมายของการบริหารแบบมีส่วนร่วม” (Participative Management) White (ค.ศ.1982) “การมีส่วนร่วม” ประกอบด้วย 4 มิติ คือ 1. มีส่วนร่วมเสียสละมีส่วนร่วมในการตัดสินใจว่าอะไรควรทา และทาอย่างไร 2. มีส่วนร่วมในการพัฒนาการลงมือปฏิบติตามที่ได้สนใจ ั 3. มีส่วนร่วมในการแบ่งปันผลประโยชน์ที่เกิดจากการดาเนินงาน 4. มีส่วนร่วมในการประเมินผล 6
  • 7. “ความหมายของการบริหารแบบมีส่วนร่วม” (Participative Management) สมยศ นาวีการ (พ.ศ.2525) “การมีส่วนร่วม” หมายถึง กระบวนการที่ผู้ใต้บังคับบัญชา มีส่วนในการตัดสินใจ โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์ ความ เชี่ยวชาญ ในการแก้ปัญหาของการบริหาร หลักสาคัญ อยู่ที่การแบ่งอานาจหน้าที่การบริหารให้ ผู้ใต้บังคับบัญชา 7
  • 8. “ความหมายของการบริหารแบบมีส่วนร่วม” (Participative Management) เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์ (พ.ศ.2541) “การมีส่วนร่วม” หมายถึง การที่บุคคลหรือคณะบุคคลเข้า มาช่วยเหลือสนับสนุน ทาประโยชน์ในเรื่องต่างๆ หรือใน กระบวนการบริหาร เช่น การเกี่ยวข้องด้วย(Involvement) การช่วยเหลือ (Contribution) และการรับผิดชอบ (Responsibility) 8
  • 9. “ความหมายของการบริหารแบบมีส่วนร่วม” (Participative Management) สมเดช สีแสง(พ.ศ.2547) “การมีส่วนร่วม” หมายถึง การเปิดโอกาสให้พนักงานทุก ระดับได้มีส่วนร่วมในการบริหารกิจการภายในขอบเขต หน้าที่ของตน เรียกว่า “การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร” (Total Quality Control หรือ TQC) 9
  • 10. สรุปการบริหารแบบมีส่วนร่วม “การบริหารแบบมีส่วนร่วม” หมายถึง การบริหารโดยให้บุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ในการได้รับประโยชน์ ทั้งทางตรง และทางอ้อม มาจัดการ ศึกษา ได้มีส่วนในการกาหนดนโยบายและทิศทางในการจัด การศึกษา โดยร่วมดาเนินการสนับสนุนทั้งด้านกาลังความคิด กาลังกาย กาลังใจ และกาลังทรัพย์ พร้อมร่วมกากับติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล เพื่อให้การศึกษามีคุณภาพตาม มาตรฐานที่กาหนดเป็นที่ยอมรับในระดับสากล 10
  • 11. “แนวคิดและทฤษฎีการบริหารแบบมีส่วนร่วม” Mary Parker Follet เขียนบทความชื่อ “Dynamics Administration” บรรยาย ให้ผู้บริหารแก้ปัญหาความขัดแย้งในองค์กรด้วยการสร้างมนุษยสัมพันธ์ ซึ่งเป็น จุดเริ่มต้นของการบริหารเชิงมนุษย์สัมพันธ์ และการบริหารเชิงพฤติกรรม .....ต่อมา 11
  • 12. นักวิชาการที่ได้เสนอแนวคิดและทฤษฎี การบริหารแบบมีสวนร่วม ่ David McClelland (1961) ได้ทาการวิจัยเกี่ยวกับแรงจูงใจของ มนุษย์ในการทางานให้เกิดผลสาเร็จ สรุปได้ 3 ประการคือ 1. ความต้องการสัมฤทธิผล (Need for Achievement) 2. ความต้องการผูกพัน (Need for Affiliation) 3. ความต้องการมีอานาจบารมี (Need for Power) สาระสาคัญ คือ ถ้าแต่ละคนมีความต้องการด้านสัมฤทธิผลสูงก็สามารถ ทางานได้สาเร็จ และช่วยให้งานของหน่วยงานสาเร็จไปด้วย 12
  • 13. Rensis Likert (1967) เสนอรูปแบบการบริหารมี ลักษณะแตกต่างกัน 4 รูปแบบ ระบบที่ 1 “เผด็จการ” ใช้อานาจเพื่อใช้ประโยชน์ส่วนตัว เน้น หน้าที่และโครงสร้างแบบอานาจนิยมสูง ระบบที่ 2 “เผด็จการแบบมีศิลป์” ใช้อานาจแบบเมตตา ใช้ ความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง ระบบที่ 3 “การปรึกษาหารือ” บริหารแบบมีความมั่นคง แต่ฝ่าย บริหารไม่มีความเชื่อมั่นและความไว้วางใจในตัวผู้บังคับบัญชา ระบบที่ 4 “กลุ่มทีมีส่วนร่วม” ความเป็นมิตรกันระหว่างนายจ้างกับ ่ ลูกจ้างในระดับสูง จากการมีส่วนร่วมในการทางานกลุ่ม 13
  • 14. อุทัย บุญประเสริฐ (2543) กล่าวถึง การบริหารแบบ มีส่วนร่วม มีแนวความคิดพื้นฐาน ดังนี้ 1. ความเชื่อเรื่องธรรมชาติของมนุษย์ (ตามแนวคิด ของ Mc Gregor) ทฤษฎี X ทฤษฎี Y เชื่อว่ามนุษย์ข้ ีเกียจ เชื่อว่ามน ุษย์ขยัน ชอบ และขาดความ ทางานถ้าสภาพทางานมี รับผิดชอบ ความเหมาะสม 14
  • 15. อุทย บุญประเสริฐ (2543) ั 2. ความเป็นองค์การของโรงเรียน องค์การเป็นสถานที่สาหรับการดารงชีวิตและการ พัฒนา 3. รูปแบบการตัดสินใจ การตัดสินใจในสถานศึกษา ควรร่วมมือกันใช้ อานาจระหว่างครู ผู้ปกครอง นักเรียน ตลอดจนศิษย์เก่า 15
  • 16. อุทย บุญประเสริฐ (2543) ั 4. ภาวะผู้นา ตามทฤษฎีของ Sergiovanni ได้จัดผู้นาไว้ 5 ระดับ 1. ภาวะผู้นาด้านเทคนิค 2. ภาวะผู้นาด้านมนุษย์ 3. ภาวะผู้นาทางการศึกษา 4. ภาวะผู้นาเชิงสัญญาลักษณ์ 5. ภาวะผู้นาทางวัฒนธรรม 16
  • 17. อุทย บุญประเสริฐ (2543) ั 5. กลยุทธ์การใช้อานาจ French และ Raven แบ่งที่มาของอานาจได้ 5 แบบ 1. อานาจจากการให้รางวัล 2. อานาจจากการบังคับ 3. อานาจตามกฎหมาย 4. อานาจจากการการอ้างอิง 5. อานาจจากความรู้ความเชี่ยวชาญ 17
  • 18. อุทย บุญประเสริฐ (2543) ั 6. ทักษะในการบริหาร ทักษะการบริหารแบบใหม่ๆ ที่ได้รับการพัฒนามาปรับใช้ใน องค์การ เช่น การใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ , ใช้ทักษะแก้ไขความ ขัดแย้ง , ใช้กลยุทธ์พัฒนาองค์การ 7. การใช้ทรัพยากร สถาบันการศึกษามีอานาจในการใช้และบริหารทรัพยากร ทา ให้สถานศึกษาไม่ต้องสิ้นเปลืองบุคลากร งบประมาณ และเวลาในการ ควบคุมตรวจสอบ 18
  • 19. สรุปแนวคิดและทฤษฎีการบริหารแบบมีส่วนร่วม การบริหารจัดการในปัจจุบัน “คน” มีความรู้ ความ ต้องการและการแสวงหาสิ่งต่างๆ เพิ่มขึ้น ผูร่วมงานกลายเป็น ้ ผู้ทรัพยากรทางการบริหารที่มีค่า และสาคัญมาก แนวคิดดังกล่าว ได้มีองค์การต่างๆ ได้นามาประยุกต์ใช้ อย่างแพร่หลาย ก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการทางาน การ ให้บริการที่ตรงกับความต้องการของลูกค้า และความ เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป ทั้งทางด้าน ธุรกิจ และการศึกษา 19
  • 20. บทเรียนที่สนับสนุนแนวคิดและทฤษฎี บริหารแบบมีส่วนร่วม 20
  • 21. ระหว่างปี 1927-1932 นักวิชาการมหาวิทยาลัย ฮาร์วาร์ด Elton Mayo ได้รับการติดต่อจาก บริษัท Western Electric ผู้ผลิตอุปกรณ์ไฟฟ้า ใน เมืองชิคาโกให้ทาการศึกษาความสัมพันธ์ของ สภาพแวดล้อมทางกายภาพด้านแสงสว่าง อุณหภูมิ (Elton Mayo ) ระยะเวลาพักผ่อน การเพิมค่าจ้าง และการควบคุม ่ งานที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการผลิต โดยได้ ทาการศึกษา 3 แบบ คือ 1. การศึกษาสภาพการทางานภายในห้อง (room studies) 2. การสัมภาษณ์ (interview studies) 3. การสังเกต (observation studies) 21
  • 22. ผลการศึกษาพบว่า 1. ปริมาณของผลผลิตมิได้ขึ้นอยู่กับ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ หากขึ้นอยู่กับ สภาพแวดล้อมทางสังคม 2. เงินไม่ใช่ปัจจัยสาคัญ แต่ขวัญ กาลังใจ และความพึงพอใจเป็นเรื่อง สาคัญในการทางาน 3. อิทธิพลของกลุ่มมีความสาคัญยิ่งใน การดาเนินการหน่วยงาน 22
  • 23. Coch and French ได้ทาการศึกษาเกี่ยวกับการมีส่วน ร่วมของคนงานในปลายทศวรรษ 1940 โดยได้เปรียบเทียบ ผลงานของคนงาน 3 กลุ่ม คือ 1. คนงานไม่มีส่วนร่วม (กลุ่มควบคุม) 2. คนงานมีส่วนร่วมบ้าง (กลุ่มทดลองที่ 1) 3. คนงานทั้งหมดส่วนร่วม (กลุ่มทดลองที่ 2) ได้ผลการทดลองดังนี้ 23
  • 24. 1) กลุ่มควบคุม 1 (คนงานมีีส่วนร่วม) าได้รับรู้จงากผู้บังคับบัจงความ (คนงานไม่ม ส่วนร่วมบ้ ง) หลั จากการชี้แ ญชา 2) กลุ่มทดลอง 2 (คนงานมีส่วนร่วมทั้งหมด) หลังจากที่ได้รับฟัง 3)่ยกลุ่มทดลอง ่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น และความจาเป็นที่ต้อง เกี วกับการเปลีารเปลี่ยนแปลง ได้มีการพัฒนาวิธีการทางาน จาเป็นที่ตาเป็นที่ต้องมีการเปลี่ยนแปลง ผู้ปฏิบัตทงหมดได้ช่วยกัน ้องมีก ถึงความจ เช่น การขยายงานและอัตราใหม่ของการจ่ายต่อชิ้น ิ ั้ เปลี่ยนแปลง ราการจ่ายตามที่ฝ่ายบริหารร้องขอให้ช่วยกลุ่มได้เลือก ใหม่ และอัต ทุกคนทางานได้ดีที่สุด ผลผลิตเป็นหน่วยต่อ ออกแบบงานใหม่ ภายในัต40 วัน ของการเปลี่ยนแปลง พบว่า 17 ๆ หลัเงจาก ของ เปอร์ ซ็นต์ ผู้ปโมงเพิานบางคนไปฝึกอบรมวิธีกาวหน้าสูงกว่าที่มีการ ฏิบ ิง่มขึ้น ผลการปฏิบัติงานก้ ารทางานใหม่ ชั่ว กงานลาออกและที่เหลืออยู่หยุดการผลิต ปฏิเสธที่จะ พนัสัปดาห์ของการปรับปรุง แก้ไข กลุ่มมีผลงานดีกว่าครั้ง 2 ่ยนแปลง 14 เปอร์เซ็นต์ เปลี อ และจานวนหน่วยของผลงานต่อชั่วโมงยังเท่าเดิม ร่วมมื และอีก 2 สัปดาห์ ของการปรับปรุงแก้ไข กลุ่มมีผลงานดีขึ้นอีก ก่อน คนงานไม่ลาออกและมีทัศนคติดีขึ้น 24
  • 25. ประเภทของการมีส่วนร่วม 1. การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ (Decision Making) 2. การมีส่วนร่วมในการดาเนินงาน (Implementation) 3. การมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์ (Benefits) 4. การมีส่วนร่วมในการประเมินผล (Evaluation) 25
  • 26. ลักษณะของการมีส่วนร่วม Arnstien (1969) เห็นว่าการมีส่วนร่วมมีลักษณะมากน้อย เพียงใด สังเกตจากการให้ประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วมในการใช้ อานาจ ซึ่งบ่งบอกถึงภาวะผู้นาที่เป็นประชาธิปไตย ว่ามีสูงหรือต่า Arnstien ได้แบ่งเกณฑ์บอกการมีส่วนร่วม สรุปเป็นขั้นบันได (Participation Ladder) 8 ขั้น จัดได้เป็น 3 กลุ่ม 26
  • 27. ขั้นควบคุมโดยประชาชน 8 (Citizen Control) การมีส่วนร่วมที่แท้จริง มีอานาจและบทบาทมาก (Degree of Citizen Power) ขั้นมอบอานาจ 7 (Delegated Power) ขั้นเป็นหุ้นส่วน 6 (Partnership) ขั้นปลอบใจ 5 (Placation) ขั้นให้คาปรึกษา การมีส่วนร่วมพอเป็นพิธีหรือบางส่วน 4 (Consultation) (Degree of Tokenism or Partial Participation) ขั้นแจ้งข่าวสาร 3 (Informing) ขั้นบาบัดรักษา 2 (Therapy) การมีส่วนร่วมเทียม ขั้นจัดฉาก (Pseudo – Participation) (Manipulation) 1 27
  • 28. บันไดขั้นที่ 6 – 8 ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจมาก เป็นการใช้ อานาจตัดสินใจของประชาชนโดยตรง หรือผ่านตัวแทน บันไดขั้นที่ 3 – 5 เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมบ้างในบางเรื่อง เท่านั้น เพราะบางส่วนผู้มีอานาจเต็มสงวนเอาไว้ บันไดขั้นที 1 – 2 เรียกว่า ขั้นการมีส่วนร่วมเทียม หรือไม่มีส่วนร่วม หมายถึงประชาชน ไม่ได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการตัดสินใจอย่างแท้จริง 28
  • 29. การจัดฉาก (Manipulation) ผู้ใช้อานาจมาก มีส่วนร่วมน้อย (เผด็จการ) การบาบัดรักษา (Therapy) หรือแทบไม่มีส่วนร่วมเลย การแจ้งข่าวสาร (Informing) ผู้นาค่อนข้าง การให้คาปรึกษา (Consultation) มีส่วนร่วมเล็กน้อย เป็นประชาธิปไตย การปลอบใจ (Placation) การเป็นหุ้นส่วน (Partnership) ผู้นาเป็นประชาธิปไตย มีส่วนร่วมมาก การมอบอานาจ (Citizen Control) ผู้นาแบบ การควบคุมโดยประชาชน มีส่วนร่วมมากที่สุด ประชาธิปไตยในอุดมคติ (Citizen Control) 29
  • 30. วิธีการบริหารแบบมีส่วนร่วม 1. การให้คาปรึกษา (Consultation) 2. การทางานเป็นทีมหรือการสร้างทีม (Team Building) 3. การสร้างกลุ่มคุณภาพงาน (OC Circles) 4. การรับฟังข้อเสนอแนะ (Suggestion Programe) 5. การฝึกอบรม ที – กรุ๊ป (T – Group Approach or Sensitivity) 6. การมอบอานาจ (Delegated Power) 30
  • 31. องค์ประกอบของการมีส่วนร่วม ในการบริหารการศึกษา คณะกรรมการ สถานศึกษา สถานศึกษา นักเรียนมีคุณภาพ และมีมาตรฐาน การเรียนการสอน การมีส่วนร่วมของ หลักสูตรสอดคล้อง ผู้ปกครอง เอกชน ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ องค์การปกครองส่วนทั้งถิ่น กับความต้องการท้องถิ่น 31
  • 32. 1. สามารถนาเอาประสบการณ์ ความรู้ และทักษะของแต่ละคนมาใช้ใน การวางแผนทาให้ได้แผนงานที่ดี สมบูรณ์ขึ้น และนาไปปฏิบัติจะประสบ ผลสาเร็จได้ดีขึ้น 2. ทาให้คุณภาพในการตัดสินใจสูงขึ้น และทาให้ได้แผนงาน ที่เกิดจากหลาย ๆ ทัศนะและหลากหลาย 3. ส่งเสริมให้เกิดความรับผิดชอบอย่างเต็มที่ ทาให้เกิดพันธสัญญา พร้อม ที่จะให้ตรวจสอบ ตลอดจนช่วยให้เกิดการสนับสนุนในการนาไปปฏิบัติ และมีส่วนร่วมรับผิดชอบในผลลัพธ์ 32
  • 33. 4. สนับสนุนให้เกิดความสามัคคีในทีมงานและสร้างความเป็นน้าหนึ่งใจ เดียวกันในหน่วยงาน 5. เปิดโอกาสให้แตะละบุคคล กลุ่มบุคคลเพิ่มพูนประสบการณ์ในวิชาชีพ และเสาะแสวงหาแนวทางพัฒนาวิชาชีพของตน 6. เปิดโอกาสอันยิ่งใหญ่ สาหรับสถานศึกษาที่จะลดการต่อต้านและ ปรับเปลี่ยนไปสู่แนวปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพ 7. ถือว่าเป็นความชอบธรรม หรือเป็นสิทธิของผู้ร่วมงานทุกคน 33
  • 34. การนาหลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม ไปใช้ในการบริหารสถานศึกษา ด้านวิชาการ ควรเปิดโอกาสให้ชุมชนเป็นวิทยากร ในฐานะภูมิปัญญาท้องถิ่น ร่วม จัดทาหลักสูตร กาหนดขอบข่ายเนื้อหาเกี่ยวกับวิชาชีพท้องถิ่น จัดชุมชน และสถานประกอบการเป็นแหล่งการเรียนรู้และฝึกงาน ร่วมวางแผน นโยบาย เกี่ยวกับการเรียนการสอน ส่งเสริมวัฒนธรรมท้องถิ่น นาความรู้ ด้านเทคโนโลยีพื้นบ้าน และภูมิปัญญาท้องถิ่นมาร่วมจัดทาหลักสูตร ประสานกับวิทยาการสมัยใหม่ 34
  • 35. ด้านงบประมาณ ควรจัดเก็บภาษีเพื่อการศึกษาให้องค์การชุมชน ช่วยเหลือเงิน ทุนการศึกษา ร่วมจัดกิจกรรมหารายได้ ร่วมติดตามผลการใช้งบประมาณ สนับสนุนส่งเสริมสมาคม ศิษย์เก่า เพื่อประสานกิจกรรมระหว่างโรงเรียน กับองค์การชุมชน ระดมทรัพยากร และสนับสนุนงบประมาณ ด้านบุคลากร ควรให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมเป็นคณะกรรมการการประเมิน การ ปฏิบัติของครู และบุคลากรของโรงเรียน ร่วมสร้างจิตสานึกที่ดีให้แก่ครู สนับสนุนกิจกรรมพัฒนาบุคลากร เสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับการสอนของ ครู การศึกษา 35
  • 36. ด้านบริหารทัวไป ่ ควรให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดธรรมนูญโรงเรียน ร่วมกาหนด วิสัยทัศน์ ร่วมกิจกรรมปรับปรุง และพัฒนาโรงเรียน ร่วมบริหาร งานในรูปของ คณะกรรมการ ร่วมประชุมวางแผน กาหนดนโยบาย ร่วมกิจกรรมปรับปรุงและ พัฒนาโรงเรียน พัฒนาอาคาร สถานที่ และสิ่งแวดล้อม 36
  • 37. อุปสรรค์ของการบริหารแบบมีส่วนร่วม 1. นโยบายเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วม แต่สถานศึกษาไม่สนองนโยบาย อย่าง แท้จริง 2. ความคิดเห็นของผู้บริหารสูงสุดอาจไม่ตรงกับกับผู้ร่วมงาน 3. ในสังคมไทย ประชาชนมักไม่กล้าแสดงความคิดเห็น เพราะมีความรู้สึก ว่า เป็นเรื่องราชการ 4.ไม่มีเวลาให้กับกิจกรรมอย่างเพียงพอ เพราะมีภาระหน้าที่ประจา 37
  • 38. อุปสรรค์ของการบริหารแบบมีส่วนร่วม 5. ทางราชการเป็นผู้กาหนดบทบาท ดังนั้น การปฏิบัติหน้าที่อาจมุ่ง แต่ ประโยชน์ของทางราชการ มากกว่าประโยชน์ของประชาชน 6. ผู้มีส่วนร่วมบางคนมีข้อจากัด เช่น ความรู้ ประสบการณ์ จึงมักถูก ครอบงาโดยราชการ 7. บรรยากาศในสถานศึกษา ไม่เอื้ออานวยที่จะกระตุ้นให้ประชาชน เข้ามา มีส่วนร่วม ผู้บริหาร ครู ไม่เห็นความสาคัญ โดยเฉยเมิย 8. เกิดการแสวงหาผลประโยชน์เพื่อตนเองและพวกพ้อง 38
  • 39. สรุป.....การบริหารแบบมีส่วนร่วม การบริหารแบบมีส่วนร่วม มีหลักการสาคัญที่มีส่วนใน การสร้างบรรยากาศแบบประชาธิปไตย เปิดโอกาสให้ ผู้เข้าร่วมแสดงความคิดเห็น ทาให้คนทางานมีความ ภาคภูมิใจ การมีส่วนร่วมจะเกิดขึ้นได้ ผู้บริหารหรือผู้นาถือ ว่าสาคัญที่สุดเป็น อันดับแรก จึงเป็นหน้าที่ของผู้บริหารที่ จะต้องชี้แจง ทาความเข้าใจ อันจะนาไปสู่ความร่วมมือ และองค์การ พัฒนาไปสู่เป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป 39