SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 8
ประวัติดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 1
สมัยก่อนกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี
จากประวัติศาสตร์ชนชาติไทยเดิมที่ได้อพยพมาจากแถบภูเขาอัลไตและอพยพเรื่อยมาจนถึงแหลมทอง
ในปัจจุบัน และได้ปรากฏหลักฐานเป็นจดหมายของอาจารย์ที่เซี่ยงไฮ้ซึ่งอาจารย์มนตรี ตราโมทกล่าวว่า
(สงบศึก ธรรมวิหาร.2540 : 3 อ้างใน มนตรี ตราโมท.2507 : ไม่ปรากฏหน้า) ดังนี้ “ จดหมายของอาจารย์ผู้หนึ่ง
ในโรงเรียนที่เซียงไฮ้ซึ่งมีมาถึงรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการของไทยเรา ลงในวันที่ 11 ตุลาคม 2484
กล่าวว่า เขาได้ทาการศึกษาค้นคว้าตานานดึกดาบรรพ์ของชาติไทยในดินแดนจีนได้หลักฐานไว้หลายอย่าง
มีความในหนังสือฉบับนี้กล่าวว่าคนไทยมีอุปนิสัยทางศิลปะทางดนตรีมาแต่ดึกดาบรรพ์”
จากข้อความในจดหมายที่ยกมา แสดงให้เห็นว่า ดนตรีไทยมีมาควบคู่กับคนไทยมาตั้งแต่โบราณ
ก่อนการอพยพลงมาสู่แหลมทองปัจจุบันและยังมีเอกสารหลักฐานเกี่ยวกับดนตรีไทย ซึ่งอาจารย์มนตรี ตราโมท
ได้กล่าวถึงความเจริญรุ่งเรืองและความเป็นมาเกี่ยวกับดนตรีไทยและเพลงไทยอีกว่า(มนตรี ตราโมท. 2507 :
ไม่ปรากฎหน้า) “ ในตอนกลางลุ่มแม่น้าแยงซี เป็นที่ตั้งของอาณาจักรฌ้อ ซึ่งนักประวัติศาสตร์ โดยมากกล่าว
รับรองว่า ฌ้อในสมัยนั้นคือชนชาติไทย พระเจ้าฌ้อปาออง ซึ่งครองราชอยู่ระหว่าง พ.ศ.310 ถึง 343 ว่าเป็นกษัตริย์
ไทย ในสมัยนั้นจีนได้เครื่องดนตรีไปจากชนชาติในดินแดนตอนใต้หลายอย่างที่ปรากฏชัดคือ กลองชนิดหนึ่ง
ซึ่งจีนใช้อยู่จนทุกวันนี้เรียกว่า“ น่านตังกู” อันหมายถึง กลองชาวใต้ลักษณะเป็นกลองขึงหนังตรึงด้วยหมุด
ทั้งสองหน้าอย่าง “ กลองทัด ” ของไทยเราไม่ผิดเพี้ยนเลย และรูปร่างก็แตกต่างจากกลองชนิดอื่นๆของจีน
ซึ่งเข้าใจว่าอาจได้ไปจากกลองของชนชาติไทยในสมัยครั้งกระโน้นก็เป็นได้” หลักฐานสาคัญอีกอย่างหนึ่งที่
บ่งบอกถึง “เครื่องดนตรีไทย” และเครื่องดนตรีที่เก่าแก่ ของไทยก็คือ“แคน” โดยมีหลักฐานยืนยัน ซึ่งมีบันทึก
ของจีนได้บันทึกไว้ว่า (สงบศึก ธรรมวิหาร.2540 : 5)“ ที่เมือง CHANGSHA แคว้นยูนานเป็นบ้านเกิดของ
ประธานาธิบดีเหมาเจ๋อตุง เขาได้พบศพ 2 ศพ ที่เกรียวกราวมากคือ เป็นศพที่มีอายุตั้ง 2,000 ปี แล้วร่างกายอยู่
อย่างเก่าเอาอะไรกดเข้าไปก็ไม่เป็นอะไรแล้วเครื่องแต่งกายก็วิจิตรพิศดารมาก รัฐบาลของเขาให้ชื่อศพนี้ว่า
“ The Duke of Tai and his Consart” ในข้าง ๆ ศพ ปรากฏสิ่งของอยู่2 อย่างคือ เครื่องใช้ประจาวันเป็นเครื่องเขิน
เครื่องเขินที่คล้าย ๆ กับเชียงใหม่เรานี้ แล้วก็เป็นจานวนนับร้อยแล้วอีกสิ่งหนึ่งก็เป็นเครื่องดนตรีชนิดหนึ่งที่ตรง
กับของเราที่เรียกว่า แคนในเรื่องที่เกี่ยวกับแคนนี้ สุมาลี นิมมานุภาพ ยังเล่าเพิ่มเติมพอสรุปได้ว่าจากบันทึกของจีน
ที่บันทึกว่าจีนมีแคนใช้ประมาณ3,000 ปี แต่จีนมีแคนใช้หลังไทย เพราะฉะนั้นแคนไทยต้องมีอายุมากกว่า3,000 ปี
ที่กล่าวว่าจีนมีแคนใช้หลังไทยเพราะถ้าใช้หลังการเปรียบเทียบจะเห็นว่าแคนของจีนสวยงามประณีตกระทัดรัด
กว่าของไทย เพราะจีนได้แบบอย่างและรูปแบบไปจากแคนไทยซึ่งมีรูปร่างยาว ใช้วัสดุที่ไม่ทนทานเท่าแคน
ของจีน ซึ่งเมื่อจีนเห็นข้อบกพร่องของแคนไทยแล้วจึงนาไปปรับปรุงให้กระทัดรัดและสวยงามจากแคนของไทย
ได้พัฒนาเป็นเครื่องดนตรีอื่นๆ อีกหลายชนิด เช่น ขลุ่ย และปี่ซอเพราะขลุ่ยทาง่ายกว่าแคน เพียงแต่เจาะรูที่ไม้ไผ่
ก็เป่าได้แล้ว อย่างเช่น ขลุ่ยผิวของจีน ส่วนปี่ซอก็คือลูกของแคนนั้นเองใช้ลิ้นโลหะประกอบกับไม้ไผ่เข้าแล้วเจาะรู
เพื่อบังคับเสียง อย่างเช่น ปี่ซอของทางภาคเหนือในปัจจุบัน ซึ่งต่อมาจึงใช้ไม้ทาเครื่องบังคับลมเรียกว่า “ดาก”
เข้าไปในตัวของ ไม้ไผ่แล้วเจาะลิ้น ทาให้เกิดเสียง เช่น ขลุ่ยชนิดต่างๆ ที่เราใช้กันอยู่ในปัจจุบันนี้
ประวัติดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 2
(สงบศึก ธรรมวิหาร.2540 : 6 อ้างใน จารุวรรณ ไวยเจตน์. 2529 : 213)
สรุปได้ว่า ดนตรีไทยมีประวัติความเป็นมาควบคู่กับชนชาติไทยก่อนที่จะอพยพมาสู่ถิ่นแหลมทอง
ในปัจจุบัน เครื่องดนตรีชิ้นแรกที่ค้นพบคือกลองและแคน ต่อมาได้พัฒนาจากแคนเป็นปี่ซอและขลุ่ยซึ่งเป็น
เครื่องดนตรีประเภทเป่า เพราะทาได้ง่ายเพียงแต่เจาะรูแล้วทาเครื่องบังคับลมก็สามารถเป่าเป็นเสียงดนตรีได้แล้ว
ดนตรีสมัยกรุงสุโขทัย
การดนตรีในสมัยกรุงสุโขทัยเป็นราชธานีนับเป็นสมัยเริ่มต้นประวัติศาสตร์ของประเทศไทยเพราะว่า
เรื่องราวชนชาติไทยปรากฏหลักฐานเด่นชัดขึ้นในสมัยสุโขทัยเมื่อพ่อขุนรามคาแหงได้ประดิษฐ์อักษรไทยและ
จารึกเรื่องราวต่างๆ ลงในศิลา และจากศิลาจารึกสมัยสุโขทัยนี้ ทาให้ทราบประวัติศาสตร์สุโขทัยอย่างดี
( เฉลิม พงศ์อาจารย์.2529 : 90) เพราะในหลักศิลาจารึกของพ่อขุนรามคาแหงที่จารึกเป็นคาสั้นๆ ว่า
“ เสียงพาทย์เสียงพิณ เสียงเลื้อน เสียงขับ” ( สงบศึก ธรรมวิหาร. 2540: 9 อ้างใน ณรงค์ชัย ปิฎกรัชน์.2528 : 17)
ทาให้เราทราบถึงดนตรีไทยในสมัยสุโขทัยได้เป็นอย่างดีมีความกว้างขวางมากมายเสียงพาทย์หมายถึง การ
บรรเลงวงปี่พาทย์เสียงพิณ หมายถึง วงเครื่องสาย เป็นต้น
จากหลักฐานจารึกวัดพระยืน จังหวัดลาพูน (จารึกหลักที่สี่ 62 การประชุมจารึกภาคที่สามแปลความ
ในหนังสือไตรภูมิพระร่วงและนิราศหริภุญชัย) ระบุว่าเครื่องดนตรีไทยในสมัยสุโขทัยมีดังนี้
- ตีพาทย์คือเครื่องดนตรีประเภทเครื่องตี และเครื่องเป่ารวมกัน (เช่น วงปี่พาทย์เครื่องห้า)
ประกอบด้วยปี่ ฆ้อง กลอง ตะโพนและฉิ่ง
- ดังพณ คือ พิณเพี้ยะ หรือน้าเต้า
- ฆ้อง
- กลองทับ กลองทัด กลองบัณเฑาะว์ กลองตุ๊ก
- ปี่สรไน (ปี่ใน หรือ ปี่แน)
- พิสเนญชัย หมายถึง ปี่ที่ทามาจากเขาสัตว์ (ปี่เสนง หรือ แขนง)
- ทะเทียด หมายถึง กลองสองหน้า หน้าใหญ่ตีด้วยไม้หน้าเล็กตีด้วยมือ
- กาหล หมายถึง แตรงอน
- แตรสังข์
- มฤทิงค์ หมายถึง กลองตะโพน
- ดงเดือด หมายถึง กลองทัด
- บัณเฑาะว์ หมายถึง เครื่องประกอบจังหวะ
- กรับ
- ซอพุงตอ หมายถึง ซอสามสาย
- กังสดาล หมายถึง ระฆังวงเดือน
ประวัติดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 3
- มโหระทึก หมายถึง กลองที่หล่อจากโลหะผสม คือทองแดง ตะกั่ว ดีบุก
ประเภทของเครื่องดนตรีไทยสมัยสุโขทัย
1. เครื่องดีด ได้แก่ กระจับปี่ พิณน้าเต้า และพิณเพี้ยะ
2. เครื่องสี ได้แก่ ซอสามสาย
3. เครื่องตี ได้แก่
3.1 ประเภทโลหะ ได้แก่ มโหระทึก ฆ้อง
3.2 ประเภทไม้ ได้แก่ กรับคู่ กรับพวง กรับเสภา
3.3 ประเภทหนัง ได้แก่ กลองทัด กลองตะโพน กลองตุ๊ก บัณเฑาะว์ กลองมลายู
4. เครื่องเป่า ได้แก่ แตรงอน แตรสังข์ ปี่ไน
ดนตรีสมัยกรุงศรีอยุธยา
ในยุคสมัยกรุงศรีอยุธยา ดนตรีไทยมีความเจริญรุ่งเรืองมากเนื่องจากมีการสืบทอดดนตรีสุโขทัยมี
การคิดค้นเครื่องดนตรี บทเพลง จนเป็นกาเนิดวงดนตรี 3 ประเภท คือ วงปี่พาทย์ วงมโหรี และวงเครื่องสาย
ทั้งนี้ประชาชนนิยมเล่นดนตรีโดยทั่วไปอย่างแพร่หลายในสมัยพระบรมไตรโลกนาถได้ออกกฎมณเฑียรบาล
ห้ามเล่น ร้องเพลงเรือ เป่าขลุ่ย สีซอ ดีดกระจับปี่ ดีดจะเข้ ตีโทน – ทับ ในเขตพระราชฐาน
ดังนั้นในสมัยกรุงศรีอยุธยาจึงมีเครื่องดนตรีไทยครบทุกประเภทดังนี้
- เครื่องดีด ได้แก่ กระจับปี่ จะเข้ พิณเพี้ยะ พิณน้าเต้า
- เครื่องสี ได้แก่ ซอสามสาย ซออู้ ซอด้วง
- เครื่องตีไม้ได้แก่ กรับคู่ กรับพวง กรับเสภา ระนาเดเอก
- เครื่องตีโลหะ ได้แก่ ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องคู่ ฆ้องชัย ฆ้องโหม่ง ฉิ่ง ฉาบกลองมะโหระทึก
- เครื่องตีหนัง ได้แก่ ตะโพร (ทับ) รามะนากลองทัด กลองตุ๊ก
- เครื่องเป่า ได้แก่ ปี่ไน ปี่กลางปี่มอญ ปี่ชวา ขลุ่ยแตรงอน
เพลงไทยในยุคสมัยกรุงศรีอยุธยา แบ่งเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
- เพลงร้องมโหรี ใช้วงมโหรีขับกล่อม เช่น เพลงตับ เพลงเกร็ด
- เพลงปี่พาทย์ ใช้บรรเลงประกอบการแสดงโขน ละคร และพิธีกรรมต่างๆได้แก่ เพลงหน้าพาทย์
เพลงเรื่อง
- เพลงภาษาใช้บรรเลงประกอบตัวละคร เช่น เพลงมอญแปลง เพลงธรณีร้องไห้ เพลงทะเลบ้า
เพลงโลมนอก เพลงช้าปี่ เพลงมหาชัย เพลงญี่ปุ่น เพลงอังคารสี้บท เป็นต้น
ประวัติดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 4
ดนตรีสมัยกรุงธนบุรี
เนื่อง จากในสมัยนี้เป็นช่วงระยะเวลาอันสั้นเพียงแค่ 15 ปี และประกอบกับ เป็นสมัยแห่งการก่อร่าง
สร้างเมือง และการป้องกันประเทศเสียโดยมาก วงดนตรีไทย ในสมัยนี้จึงไม่ปรากฎหลักฐานไว้ว่าได้มีการพัฒนา
เปลี่ยนแปลงขึ้น สันนิษฐานว่า ยังคงเป็นลักษณะและรูปแบบของดนตรีไทย ในสมัยกรุงศรีอยุธยานั่นเอง
ดนตรีสมัยกรุงรัตนโกสินทร์
ในสมัยนี้ เมื่อบ้านเมืองได้ผ่านพ้นจากภาวะศึกสงครามและได้มีการก่อสร้างเมืองให้มั่นคงเป็นปึกแผ่น
เกิดความ สงบร่มเย็นโดยทั่วไปแล้ว ศิลป วัฒนธรรม ของชาติ ก็ได้รับการฟื้นฟูทะนุบารุงและส่งเสริมให้
เจริญรุ่งเรืองขึ้น โดยเฉพาะ ทางด้าน ดนตรีไทยในสมัยนี้ได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงเจริญขึ้นเป็นลาดับ ดังต่อไปนี้
รัชกาลที่ 1
ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที่ 1 พระองค์ได้ทรงฟื้นฟูการดนตรีไทยให้
เจริญรุ่งเรือง โดยทรงพระราชนิพนธ์เรื่องรามเกียรติ์ให้สมบูรณ์ และดาหลังซึ่งเป็นวรรณคดีที่มีมาแต่สมัยอยุธยา
วรรณคดีทั้ง2 เรื่องนี้ ใช้นาแสดงละคร และแสดงโขน (เฉลิม พงษ์อาจารย์.2529 : 293) ดนตรี ไทย ในสมัยนี้
ส่วนใหญ่ ยังคงมีลักษณะ และ รูปแบบตามที่มีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ที่พัฒนาขึ้นบ้างในสมัยนี้ก็คือ การเพิ่ม
กลองทัด ขึ้นอีก1 ลูก ใน วงปี่พาทย์ซึ่ง แต่เดิมมา มีแค่ 1 ลูก พอมาถึง สมัยรัชกาลที่ 1 วงปี่พาทย์มี กลองทัด 2 ลูก
เสียงสูง (ตัวผู้) ลูกหนึ่ง และ เสียงต่า (ตัวเมีย) ลูกหนึ่ง และการใช้กลองทัด2 ลูก ในวงปี่พาทย์ก็เป็นที่นิยมกันมา
จนกระทั่งปัจจุบันนี้
รัชกาลที่ 2
อาจกล่าว ว่าในสมัยนี้ เป็นยุคทองของ ดนตรีไทย ยุคหนึ่ง ทั้งนี้เพราะองค์พระมหากษัตริย์ทรงสนพระทัย
ดนตรีไทย เป็นอย่างยิ่งพระองค์ทรงพระปรีชาสามารถ ในทางดนตรีไทย ถึงขนาดที่ทรงดนตรีไทย คือซอสามสาย
มีซอคู่พระหัตถ์ชื่อว่า "ซอสายฟ้าฟาด" ทั้งพระองค์ได้พระราชนิพนธ์เพลงไทย ขึ้นเพลงหนึ่ง เป็นเพลงที่ไพเราะ
และอมตะ มาจนบัดนี้นั่นก็คือเพลง"บุหลันลอยเลื่อน" การพัฒนา เปลี่ยนแปลงของ ดนตรีไทย ในสมัยนี้ก็คือ
ได้มีการนาเอา วงปี่พาทย์มาบรรเลงประกอบการขับเสภา เป็นครั้งแรก นอกจากนี้ ยังมีกลองชนิดหนึ่งเกิดขึ้น
โดยดัดแปลงจาก "เปิงมาง" ของมอญ ต่อมาเรียกกลองชนิดนี้ว่า"สองหน้า"ใช้ตีกากับจังหวะแทนเสียงตะโพน
ในวงปี่พาทย์ประกอบการขับเสภาเนื่องจากเห็นว่าตะโพนดังเกินไป จนกระทั่งกลบเสียงขับ กลองสองหน้านี้
ปัจจุบันนิยมใช้ตีกากับจังหวะหน้าทับ ในวงปี่พาทย์ไม้แข็ง
รัชกาลที่ 3
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวแม้ว่าพระองค์จะไม่ทรงโปรดดนตรีมากนัก แต่ก็มิได้ห้าม
ไม่ให้เล่นดนตรีไทย ยังคงทาให้เจ้านายในวังได้มีการแสดงการดนตรี และการละครภายในวังของตนจึงทาให้
เจ้านายเหล่านี้มีส่วนในการอุปถัมภ์ส่งเสริมในการละคร และการดนตรีเจริญรุ่งเรืองสืบมาอย่างต่อเนื่อง
และในรัชสมัยนี้ มีการประดิษฐ์ระนาดทุ้มขึ้นเพื่อใช้คู่กับระนาดเอกวงปี่พาทย์ได้พัฒนาขึ้นเป็นวงปี่พาทย์เครื่องคู่
เพราะได้มีการประดิษฐ์ระนาดทุ้ม มาคู่กับระนาดเอกและประดิษฐ์ฆ้องวงเล็กมาคู่กับ ฆ้องวงใหญ่
ประวัติดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 5
รัชกาลที่ 4
วง ปี่พาทย์ได้พัฒนาขึ้นเป็นวงปี่พาทย์เครื่องใหญ่ เพราะได้มีการประดิษฐ์เครื่องดนตรี เพิ่มขึ้นอีก2 ชนิด
เลียนแบบ ระนาดเอก และระนาดทุ้มโดยใช้โลหะทาลูกระนาด และทารางระนาดให้แตกต่างไปจากรางระนาดเอก
และระนาดทุ้ม (ไม้) เรียกว่า ระนาดเอกเหล็ก และระนาดทุ้มเหล็กนามาบรรเลงเพิ่มในวงปี่พาทย์เครื่องคู่ ทาให้
ขนาดของ วงปี่พาทย์ขยายใหญ่ขึ้นจึงเรียกว่า วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่ อนึ่งในสมัยนี้ วงการดนตรีไทย นิยมการร้อง
เพลงส่งให้ดนตรีรับ หรือที่เรียกว่า "การร้องส่ง"กันมากจนกระทั่ง การขับเสภาซึ่งเคยนิยมกันมาก่อนค่อย ๆ
หายไป และการร้องส่งก็เป็นแนวทางให้มีผู้คิดแต่งขยายเพลง2 ชั้นของเดิมให้เป็นเพลง 3 ชั้น และตัดลง
เป็นชั้นเดียว จนกระทั่งกลายเป็นเพลงเถาในที่สุด (นับว่าเพลงเถาเกิดขึ้นมากมายในสมัยนี้) นอกจากนี้ วงเครื่องสาย
ก็เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลนี้เช่นกัน
รัชกาลที่ 5
ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ขยายแยกออกไปอีกมากมายอาทิ เกิดการแสดง
ละครขึ้นหลายรูปแบบการบรรเลงแตรวง ได้มีการปรับปรุงให้กว้างขวางมากยิ่งขึ้น ในสมัยนี้ได้มีการพัฒนา
เครื่องดนตรีไทยเพิ่มเติม ได้แก่ กลองตะโพน(ความจริงคือกลองตะโพนเดิมนั่นเอง) แต่วิธีการตีกลองผิดไปจาก
เดิมคือ ใช้ตีแบบกลองทัด(ตีหน้าเดียว) โดยใช้ไม้นวมตีเพื่อให้เกิดเสียงทุ้มกังวาน และ ยังเกิดวงปี่พาทย์ไม้นวม
เรียกว่า “ปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์” ใช้กับละครแบบใหม่ ซึ่งดัดแปลงมาจากโอเปร่า ปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์นี้ฟังไพเราะมาก
(ชิ้น ศิลปบรรเลง;2515:21) ในสมัยรัชกาลที่ 5 การดนตรีไทยได้พัฒนารูปแบบเพิ่มขึ้นอีกมากมายที่สาคัญคือ
การประชันฝีมือดนตรีทาให้เกิดการพัฒนาฝีมือของนักดนตรี และเกิดการผสมวงขึ้น โดยการนาเครื่องดนตรีต่างๆ
มารวมเพิ่มขึ้นในวงให้มากและเป็นการรวมนักดนตรีที่มีฝีมือเข้าด้วยกันจึงทาให้เพียบพร้อมไปด้วยนักดนตรีฝีมือ
และมีเครื่องดนตรีหลากหลายประเภท ทาให้การบรรเลงมีเสียงที่ไพเราะยิ่ง
รัชกาลที่ 6
ได้การปรับปรุงวงปี่พาทย์ขึ้นมาอีกชนิดหนึ่ง โดยนาวงดนตรีของมอญมาผสมกับวงปี่พาทย์ของไทย
ต่อมาเรียกวงดนตรีผสมนี้ว่า"วงปี่พาทย์มอญ"โดยหลวงประดิษฐไพเราะ(ศร ศิลปบรรเลง) เป็นผู้ปรับปรุงขึ้น
วงปี่พาทย์มอญดังกล่าวนี้ ก็มีทั้งวงปี่พาทย์มอญเครื่องห้า เครื่องคู่และเครื่องใหญ่ เช่นเดียวกับวงปี่พาทย์ของไทย
และกลายเป็นที่นิยมใช้บรรเลงประโคมในงานศพ มาจนกระทั่งบัดนี้ นอกจากนี้ยังได้มีการนาเครื่องดนตรีของ
ต่างชาติ เข้ามาบรรเลงผสมกับ วงดนตรีไทย บางชนิดก็นามาดัดแปลงเป็นเครื่องดนตรีของไทย ทาให้รูปแบบ
ของ วงดนตรีไทย เปลี่ยนแปลงพัฒนา ดังนี้ คือ
1. การนาเครื่องดนตรีของชวา หรืออินโดนีเซีย คือ"อังกะลุง" มาเผยแพร่ในเมืองไทยเป็นครั้งแรก โดย
หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ทั้งนี้โดยนามาดัดแปลงปรับปรุงขึ้นใหม่ให้มีเสียงครบ 7 เสียง
(เดิมมี 5 เสียง) ปรับปรุงวิธีการเล่น โดยถือเขย่าคนละ2 เสียง ทาให้เครื่องดนตรีชนิดนี้ กลายเป็นเครื่องดนตรีไทย
อีกอย่างหนึ่ง เพราะคนไทยสามารถทาอังกะลุงได้เอง อีกทั้งวิธีการบรรเลงก็เป็นแบบเฉพาะของเรา แตกต่างไปจาก
ของชวาโดยสิ้นเชิง
ประวัติดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 6
2. การนาเครื่องดนตรีของต่างชาติเข้ามาบรรเลงผสมในวงเครื่องสาย ได้แก่ขิมของจีน และออร์แกนของฝรั่ง
ทาให้วงเครื่องสายพัฒนารูปแบบของวงไปอีกลักษณะหนึ่ง คือ"วงเครื่องสายผสม"
ในสมัยรัชกาลที่ 6 มีนักดนตรีที่มีชื่อเสียงเกิดขึ้นหลายท่านซึ่งนักดนตรีที่มีชื่อเสียงในสมัยนี้
พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 6 ได้ทรงตั้งราชทินนามของนักดนตรี ไว้เป็นคากลอนสัมผัส
ดังนี้
พระเพลงไพเราะ หลวงเพราะสาเนียงหลวงเสียงเสนาะกรรณ
พระสรรพ์เพลงสรวงหลวงพวงสาเนียงร้อย หลวงสร้อยสาเนียงสนธิ์
หลวงวิมลวังเวง หลวงบรรเลงเลิศเลอ ขุนบาเรอจิตรจรง
หลวงบารุงจิตรเจริญ ขุนเจริญดนตรีการพระยาประสานดุริยศัพท์
หลวงศรีวาฑิต หลวงสิทธิวาทิน พระพิณบรรเลงราช
พระพาทย์บรรเลงรมย์หลวงประสมสังคีต พระประณีตวรศัพท์
พระประดับดุริยกิจ ขุนสนิทบรรเลงการหมื่นประโคมเพลงประสาน
หลวงชาญเชิงระนาด ขุนฉลาดฆ้องวง ขุนบรรจงทุ้มเลิศ
หมื่นประเจิดปี่เสนาะ หลวงไพเราะเสียงซอ ขุนคลอขลุ่ยคล่อง
(ไม่มีตัวจริง) หลวงว่องจะเข้รับ หมื่นคนธรรพ์ประสิทธิประสาร
หมื่นขับคาหวาน หมื่นตันติการ เจนจิตรหลวงประดิษฐ์ไพเราะ
พระยาเสนาะดุริยางค์พระสาอางค์ดนตรีขุนสาเนียงชั้นเชิง(จารุวรรณไวยเจตน์;2529:235-236)
จะเห็นได้ว่า ในรัชสมัยพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่6 มีนักดนตรีที่พระองค์ได้ทรงโปรดพระราชทาน
ราชทินนาม บรรดาศักดิ์ และชื่อเสียงเกียรตินิยมแก่นักดนตรีหลายท่านอย่างเอาใจใส่ นับเป็นช่วงเวลาแห่งความ
เจริญรุ่งเรืองในด้านดนตรีไทยเป็นอย่างยิ่งและพระองค์มีพระปรีชาสามารถในด้านการดนตรีเช่นกันจึงเป็น
ระยะเวลาที่นักดนตรีของพระองค์มีความผาสุกอย่างยิ่งด้วยพระองค์ทรงเอาใจใส่เป็นอย่างดี
รัชกาลที่ 7
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงสนพระทัยทางด้าน ดนตรีไทย มากเช่นกันพระองค์ได้
พระราชนิพนธ์เพลงไทยที่ไพเราะไว้ถึง 3 เพลง คือ เพลงโหมโรงคลื่นกระทบฝั่ง3 ชั้น เพลงเขมรลอยองค์ (เถา)
และเพลงราตรีประดับดาว (เถา) พระองค์และพระราชินีได้โปรดให้ครูดนตรีเข้าไปถวายการสอนดนตรีในวัง
แต่เป็นที่น่าเสียดาย ที่ระยะเวลาแห่งการครองราชย์ของพระองค์ไม่นาน เนื่องมาจากมีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
และพระองค์ทรงสละราชบัลลังก์ หลังจากนั้นได้2 ปี มิฉะนั้นแล้ว ดนตรีไทย ก็คงจะเจริญรุ่งเรืองมากในสมัยแห่ง
พระองค์อย่างไรก็ตามดนตรีไทยในสมัยรัชกาลนี้ นับว่าได้พัฒนารูปแบบ และลักษณะ มาจนกระทั่ง สมบูรณ์
เป็นแบบแผนดังเช่น ในปัจจุบันนี้แล้ว ในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชมีผู้นิยมดนตรีไทยกันมากและมีผู้มีฝีมือ
ทางดนตรี ตลอดจน มีความคิดปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้พัฒนาก้าวหน้ามาตามลาดับ พระมหากษัตริย์เจ้านาย
ประวัติดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 7
ตลอดจนขุนนางผู้ใหญ่ ได้ให้ความอุปถัมภ์และทานุบารุงดนตรีไทย ในวังต่าง ๆมักจะมีวงดนตรีประจาวัง เช่น
วงวังบูรพา วงวังบางขุนพรหม วงวังบางคอแหลมและวงวังปลายเนิน เป็นต้น แต่ละวงต่างก็ขวนขวายหาครูดนตรี
และนักดนตรีที่มีฝีมือเข้ามาประจาวง มีการฝึกซ้อมกันอยู่เนืองนิจบางครั้งก็มีการประกวดประชันกัน จึงทาให้
ดนตรีไทยเจริญเฟื่องฟูมาก
รัชกาลที่ 8
การดนตรีไทยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จปรเมนทรมหาอนันทมหิดล รัชกาลที่8 เป็นสมัยหลังการ
เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสมัยนี้
“เป็นระยะที่ดนตรีไทยเข้าสู่สภาวะมืดมนเพราะรัฐบาลไม่ส่งเสริมดนตรีไทย และยังพยายามให้คนไทยหันไปเล่น
ดนตรีสากลแบบตะวันตก” อย่างไรก็ตาม ดนตรีไทยสมัยนี้ก็มิได้ซบเซาถึงขนาดจะขาดตอนเหมือนเมื่อครั้งเราเสีย
กรุงศรีอยุธยา แม้จะซบเซาลงบ้างและเกิดเพลงไทยสากลขึ้น เพลงไทยสากลที่เกิดขึ้นใหม่นี้ ก็ยังเอาเค้าของเดิมหรือ
เอาเพลงไทยของเดิมมาร้องเล่น เพียงแต่เปลี่ยนจังหวะให้กระชับขึ้นเป็นแบบฝรั่งของไทยแท้จึงไม่ถึงกับสูญและ
โชคดีที่ยุดนี้สั้นมากมีการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลกันบ่อยในที่สุด ดนตรีไทยแท้ก็กลับคืนมาอีกครั้ง
(อรวรรณ บรรจงศิลป์ และโกวิทย์ขันธศิริ.2526 : 18)
รัชกาลปัจจุบัน
การดนตรีไทยในรัชสมัยรัชกาลปัจจุบัน เมื่อปลายรัชกาลที่8 พ.ศ.2488 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ภูมิพลอดุลยเดช ซึ่งขณะนั้นทรงดารงพระอิสริยยศเป็นพระอนุชา ได้ทรงเริ่มพระราชนิพนธ์เพลงไทยสากลและ
เพลงสากลขึ้นเพลงแรก คือเพลงพระราชนิพนธ์ แสงเทียน และต่อมาก็ทรงพระราชนิพนธ์เพลงสายฝน และอีก
มากมาย เช่น เพลงชะตาชีวิต เพลงใกล้รุ่ง เพลงคาหวาน เพลงดวงใจกับความรักเพลงพระราชนิพนธ์เหล่านี้
ผิดแผกแตกต่างไปจากเพลงที่นาประพันธ์เพลงไทยสากลยุคนั้นได้ประพันธ์ขึ้นเป็นเพลงที่บรรเลงยาก ร้องยาก
ที่สุด เพราะใช้โน้ตครึ่งเสียงและกุญแจเสียงไม่เจนกับหูคนไทยในยุคนั้นกล่าวได้ว่าเพลงพระราชนิพนธ์ยุคแรก
เริ่มขึ้น ทรงได้ล้าหน้าความสามารถของนักประพันธ์เพลงไทยเป็นอย่างมากเข้ามาตรฐานเพลงที่นิยมสูงสุด
ในทวีปยุโรปและอเมริกาจนฝรั่งกล่าวสรรเสริญในพระปรีชาสามารถ(พูนพิศ อมาตยกุล.2529 : 19)
ในสมัยนี้ ได้มีผู้แต่งเพลงไทยสากลหลายท่าน สาหรับนักแต่งเพลงไทยสากลที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับ
โดยทั่วไปทั้งในและนอกประเทศคือ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชเพลงพระราชนิพนธ์ของ
พระองค์ได้แสดงถึงความงดงาม ความละเอียดประณีตมีรสนิยมเป็นแบบเฉพาะพระองค์ ซึ่งเป็นพรสวรรค์
อย่างหนึ่งอันหาได้ไม่ง่ายนัก ดังที่อาจารย์มนตรี ตราโมทย์ให้สัมภาษณ์ เสถียร ดวงจันทร์ทิพย์(เสถียร ดวงจันทร์
ทิพย์. 2530 : 28) ดังนี้ในด้านดนตรีไทยและนาฎศิลป์นี้ ดูเหมือนว่าพระองค์ท่านจะทรงสนพระทัยพอ ๆ กันแต่ถ้า
ทางด้านดนตรีสากลแล้วทรงพระปรีชาสามารถมากทีเดียวลักษณะนี้ถ้าหากเป็นสามัญชน คนธรรมดาก็เรียกว่า
มีพรสวรรค์เป็นบุคคลประเภทที่เรียกว่าเรียนน้อยแต่รู้มากได้จะมีอยู่เฉพาะรายบุคคลเท่านั้นนับได้ว่าเป็นบุญ
ของศิลปินไทยและประเทศชาติที่องค์พระมหากษัตริย์ทรงสนพระทัยในศิลปะการดนตรีเช่นนี้การดนตรีไทย
ประวัติดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 8
ในปัจจุบัน จะเห็นได้ว่า ได้ขยายวงกว้างเข้าไปอยู่ในสถานศึกษาเห็นได้จากสถาบันการศึกษาทั้งระดับ
ประถมศึกษา มัธยมศึกษาและอุดมศึกษาได้ส่งเสริมให้นักเรียนและเยาวชนเล่นดนตรีไทยและขับร้องเพลงไทย
โดยบรรจุวิชาดนตรีไว้ในหลักสูตรทุกระดับทั้งนี้ ด้วยพระบารมีของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้แผ่ปกคลุมเป็นร่มเกล้าแก่นักดนตรีไทย และเพลงไทย
อย่างใหญ่หลวง ด้วยพระองค์ทรงโปรดเพลงไทยและดนตรีไทยเป็นอย่างยิ่งซึ่งพระองค์ได้พระราชนิพนธ์เรื่อง
“เหตุใดข้าพเจ้าจึงชอบดนตรีไทย?” โดยทรงขึ้นต้นว่า“ดนตรีไทยดูเหมือนจะพัวพันกับชีวิตประจาวันของข้าพเจ้า
ตั้งแต่เกิดมาพอเกิดมาเขาก็ประโคม เวลาสมโภชน์เขาก็ประโคม(สงบศึก ธรรมวิหาร.2531 : 47 อ้างใน ทองต่อ
กล้าวไม้ณ อยุธยา.13)
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ทรงอุปถัมภ์และทรงทะนุบารุงดนตรีอยู่ตลอดมาทรง
พระอุตสาหะเสด็จพระราชดาเนินไปเป็นประธานการแสดงดนตรีไทยของครูอาวุโสและบรรดาวงดนตรีของเด็ก
และเยาวชน ตั้งแต่ระดับประถมมัธยมและอุดมศึกษาหลายครั้ง ได้ทรงร่วมการบรรเลงดนตรีด้วยยังความโสมนัส
ยินดีแก่ผู้ร่วมและผู้มีโอกาสได้เฝ้าทูลละอองพระบาทเป็นที่ยิ่ง (สงบศึก ธรรมวิหาร. 2540 : 48 อ้างใน ทองต่อ
กล้วยไม้ณ อยุธยา.2541 : 14)
สรุปได้ว่า การดนตรีในสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชรัชกาลที่ 9 ได้มีควาเจริญรุ่งเรือง
เป็นอย่างยิ่ง เพราะพระองค์ทรงโปรดการดนตรีทุกประเภท จนเป็นที่ยกย่องสรรเสริญจากชาวโลกทั้งในและ
ต่างประเทศอย่างท่วมท้น พระองค์ยังทรงพระราชนิพนธ์เพลงไว้อีกมากมายอีกทั้งสมเด็จพระเพทรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี ก็ได้ทรงโปรดปรานดนตรีไทยเป็นอย่างยิ่ง ทรงบรรเลงดนตรีไทยได้ทุกชนิดทรงใฝ่พระราช
หฤทัยอย่างจริงจัง ดังที่ เสรี หวังในธรรม กล่าวว่า“ดนตรีไทยไม่สิ้นแล้ว เพราะพระทูลกระหม่อมแก้วเอาใจใส่”
ที่มา http://www.sadetmusic.com/music/music.html
http://kamas-kamas.blogspot.com/2007/10/blog-post_27.html
http://www.oknation.net/blog/thai-rhythm/2010/04/07/entry-1

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
วงดนตรีไทย
วงดนตรีไทยวงดนตรีไทย
วงดนตรีไทยSurin Keawkerd
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณbua2503
 
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงการค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงvanida juntapoon
 
นาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลนาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลPonpirun Homsuwan
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1peter dontoom
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้poms0077
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์Kapom K.S.
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51Krusupharat
 
ดนตรีไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี
ดนตรีไทยสมัยอยุธยาและธนบุรีดนตรีไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี
ดนตรีไทยสมัยอยุธยาและธนบุรีวิริยะ ทองเต็ม
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2Tanchanok Pps
 

Mais procurados (20)

เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
วงดนตรีไทย
วงดนตรีไทยวงดนตรีไทย
วงดนตรีไทย
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
 
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงการค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
นาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลนาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากล
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนาหน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
 
ดนตรีไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี
ดนตรีไทยสมัยอยุธยาและธนบุรีดนตรีไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี
ดนตรีไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
 

Destaque

ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ินช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ินอำนาจ ศรีทิม
 
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56อำนาจ ศรีทิม
 
досуги башуткиной
досуги башуткинойдосуги башуткиной
досуги башуткинойmsikanov
 
выпускной вечер
выпускной вечервыпускной вечер
выпускной вечерmsikanov
 
новогодние сказки
новогодние сказкиновогодние сказки
новогодние сказкиmsikanov
 
El impacto de pagos móviles en el cambiante escenario de los pagos del consum...
El impacto de pagos móviles en el cambiante escenario de los pagos del consum...El impacto de pagos móviles en el cambiante escenario de los pagos del consum...
El impacto de pagos móviles en el cambiante escenario de los pagos del consum...Asociación de Marketing Bancario Argentino
 
новогодние утренники во второй группе раннего возраста и группе кратковременн...
новогодние утренники во второй группе раннего возраста и группе кратковременн...новогодние утренники во второй группе раннего возраста и группе кратковременн...
новогодние утренники во второй группе раннего возраста и группе кратковременн...msikanov
 
торжественная линейка2pptx
торжественная линейка2pptxторжественная линейка2pptx
торжественная линейка2pptxmsikanov
 

Destaque (20)

การป้องกันอุบัติเหตุ
การป้องกันอุบัติเหตุการป้องกันอุบัติเหตุ
การป้องกันอุบัติเหตุ
 
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ินช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
 
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
 
เครื่องมือ3
เครื่องมือ3เครื่องมือ3
เครื่องมือ3
 
בסיסי
בסיסיבסיסי
בסיסי
 
досуги башуткиной
досуги башуткинойдосуги башуткиной
досуги башуткиной
 
Technology drivers
Technology driversTechnology drivers
Technology drivers
 
выпускной вечер
выпускной вечервыпускной вечер
выпускной вечер
 
Biomedische Technologie
Biomedische TechnologieBiomedische Technologie
Biomedische Technologie
 
UEM Presentation
UEM PresentationUEM Presentation
UEM Presentation
 
Psychologie
PsychologiePsychologie
Psychologie
 
05 conectados
05 conectados05 conectados
05 conectados
 
новогодние сказки
новогодние сказкиновогодние сказки
новогодние сказки
 
sap
sap sap
sap
 
El impacto de pagos móviles en el cambiante escenario de los pagos del consum...
El impacto de pagos móviles en el cambiante escenario de los pagos del consum...El impacto de pagos móviles en el cambiante escenario de los pagos del consum...
El impacto de pagos móviles en el cambiante escenario de los pagos del consum...
 
новогодние утренники во второй группе раннего возраста и группе кратковременн...
новогодние утренники во второй группе раннего возраста и группе кратковременн...новогодние утренники во второй группе раннего возраста и группе кратковременн...
новогодние утренники во второй группе раннего возраста и группе кратковременн...
 
¿De que color es el semáforo de la Economía para los Bancos?
¿De que color es el semáforo de la Economía para los Bancos?¿De que color es el semáforo de la Economía para los Bancos?
¿De que color es el semáforo de la Economía para los Bancos?
 
Fly fishing
Fly fishingFly fishing
Fly fishing
 
торжественная линейка2pptx
торжественная линейка2pptxторжественная линейка2pptx
торжественная линейка2pptx
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 

Semelhante a ประวัติดนตรีไทย 56

ประวัติดนตรีไทย
ประวัติดนตรีไทยประวัติดนตรีไทย
ประวัติดนตรีไทยUsername700
 
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.doc
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.docหน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.doc
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.docpinglada1
 
รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขKwandjit Boonmak
 
ใบความรู้ นาฎศิลป์ไทย กศน.ม.ต้น
ใบความรู้ นาฎศิลป์ไทย กศน.ม.ต้นใบความรู้ นาฎศิลป์ไทย กศน.ม.ต้น
ใบความรู้ นาฎศิลป์ไทย กศน.ม.ต้นpeter dontoom
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมmayavee16
 
9789740331445
97897403314459789740331445
9789740331445CUPress
 
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลอำนาจ ศรีทิม
 
เพลงชาติไทย
เพลงชาติไทยเพลงชาติไทย
เพลงชาติไทยKrumai Kjna
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนwarintorntip
 

Semelhante a ประวัติดนตรีไทย 56 (20)

Generation
GenerationGeneration
Generation
 
ประวัติดนตรีไทย
ประวัติดนตรีไทยประวัติดนตรีไทย
ประวัติดนตรีไทย
 
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.doc
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.docหน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.doc
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.doc
 
ยุคสมัยของดนตรีไทย
ยุคสมัยของดนตรีไทยยุคสมัยของดนตรีไทย
ยุคสมัยของดนตรีไทย
 
Ppt เตย สังคม
Ppt เตย สังคมPpt เตย สังคม
Ppt เตย สังคม
 
วงแตรวง และวงโยธวาทิต
วงแตรวง และวงโยธวาทิตวงแตรวง และวงโยธวาทิต
วงแตรวง และวงโยธวาทิต
 
วงแตรวง และวงโยธวาทิต
วงแตรวง และวงโยธวาทิตวงแตรวง และวงโยธวาทิต
วงแตรวง และวงโยธวาทิต
 
ดนตรีไทยสมัยรัตน
ดนตรีไทยสมัยรัตนดนตรีไทยสมัยรัตน
ดนตรีไทยสมัยรัตน
 
รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุข
 
ใบความรู้ นาฎศิลป์ไทย กศน.ม.ต้น
ใบความรู้ นาฎศิลป์ไทย กศน.ม.ต้นใบความรู้ นาฎศิลป์ไทย กศน.ม.ต้น
ใบความรู้ นาฎศิลป์ไทย กศน.ม.ต้น
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
9789740331445
97897403314459789740331445
9789740331445
 
Ppt1
Ppt1Ppt1
Ppt1
 
ดนตรีล้านนา
ดนตรีล้านนาดนตรีล้านนา
ดนตรีล้านนา
 
ดนตรีล้านนา
 ดนตรีล้านนา ดนตรีล้านนา
ดนตรีล้านนา
 
Art
ArtArt
Art
 
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
 
คีตะการ ดนตรีล้านนา
คีตะการ ดนตรีล้านนาคีตะการ ดนตรีล้านนา
คีตะการ ดนตรีล้านนา
 
เพลงชาติไทย
เพลงชาติไทยเพลงชาติไทย
เพลงชาติไทย
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 

Mais de อำนาจ ศรีทิม

คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4 อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6อำนาจ ศรีทิม
 
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบอำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์อำนาจ ศรีทิม
 

Mais de อำนาจ ศรีทิม (20)

คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
 
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
 
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
 
บทคัดย่องานวิจัย
บทคัดย่องานวิจัยบทคัดย่องานวิจัย
บทคัดย่องานวิจัย
 
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
 
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
 
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
 
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
 
การปฏิบัติงาน
การปฏิบัติงานการปฏิบัติงาน
การปฏิบัติงาน
 
Picasa[1]
Picasa[1]Picasa[1]
Picasa[1]
 
Google docs[1]
Google docs[1]Google docs[1]
Google docs[1]
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
You tube[1]
You tube[1]You tube[1]
You tube[1]
 
Twitter
TwitterTwitter
Twitter
 

ประวัติดนตรีไทย 56

  • 1. ประวัติดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 1 สมัยก่อนกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี จากประวัติศาสตร์ชนชาติไทยเดิมที่ได้อพยพมาจากแถบภูเขาอัลไตและอพยพเรื่อยมาจนถึงแหลมทอง ในปัจจุบัน และได้ปรากฏหลักฐานเป็นจดหมายของอาจารย์ที่เซี่ยงไฮ้ซึ่งอาจารย์มนตรี ตราโมทกล่าวว่า (สงบศึก ธรรมวิหาร.2540 : 3 อ้างใน มนตรี ตราโมท.2507 : ไม่ปรากฏหน้า) ดังนี้ “ จดหมายของอาจารย์ผู้หนึ่ง ในโรงเรียนที่เซียงไฮ้ซึ่งมีมาถึงรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการของไทยเรา ลงในวันที่ 11 ตุลาคม 2484 กล่าวว่า เขาได้ทาการศึกษาค้นคว้าตานานดึกดาบรรพ์ของชาติไทยในดินแดนจีนได้หลักฐานไว้หลายอย่าง มีความในหนังสือฉบับนี้กล่าวว่าคนไทยมีอุปนิสัยทางศิลปะทางดนตรีมาแต่ดึกดาบรรพ์” จากข้อความในจดหมายที่ยกมา แสดงให้เห็นว่า ดนตรีไทยมีมาควบคู่กับคนไทยมาตั้งแต่โบราณ ก่อนการอพยพลงมาสู่แหลมทองปัจจุบันและยังมีเอกสารหลักฐานเกี่ยวกับดนตรีไทย ซึ่งอาจารย์มนตรี ตราโมท ได้กล่าวถึงความเจริญรุ่งเรืองและความเป็นมาเกี่ยวกับดนตรีไทยและเพลงไทยอีกว่า(มนตรี ตราโมท. 2507 : ไม่ปรากฎหน้า) “ ในตอนกลางลุ่มแม่น้าแยงซี เป็นที่ตั้งของอาณาจักรฌ้อ ซึ่งนักประวัติศาสตร์ โดยมากกล่าว รับรองว่า ฌ้อในสมัยนั้นคือชนชาติไทย พระเจ้าฌ้อปาออง ซึ่งครองราชอยู่ระหว่าง พ.ศ.310 ถึง 343 ว่าเป็นกษัตริย์ ไทย ในสมัยนั้นจีนได้เครื่องดนตรีไปจากชนชาติในดินแดนตอนใต้หลายอย่างที่ปรากฏชัดคือ กลองชนิดหนึ่ง ซึ่งจีนใช้อยู่จนทุกวันนี้เรียกว่า“ น่านตังกู” อันหมายถึง กลองชาวใต้ลักษณะเป็นกลองขึงหนังตรึงด้วยหมุด ทั้งสองหน้าอย่าง “ กลองทัด ” ของไทยเราไม่ผิดเพี้ยนเลย และรูปร่างก็แตกต่างจากกลองชนิดอื่นๆของจีน ซึ่งเข้าใจว่าอาจได้ไปจากกลองของชนชาติไทยในสมัยครั้งกระโน้นก็เป็นได้” หลักฐานสาคัญอีกอย่างหนึ่งที่ บ่งบอกถึง “เครื่องดนตรีไทย” และเครื่องดนตรีที่เก่าแก่ ของไทยก็คือ“แคน” โดยมีหลักฐานยืนยัน ซึ่งมีบันทึก ของจีนได้บันทึกไว้ว่า (สงบศึก ธรรมวิหาร.2540 : 5)“ ที่เมือง CHANGSHA แคว้นยูนานเป็นบ้านเกิดของ ประธานาธิบดีเหมาเจ๋อตุง เขาได้พบศพ 2 ศพ ที่เกรียวกราวมากคือ เป็นศพที่มีอายุตั้ง 2,000 ปี แล้วร่างกายอยู่ อย่างเก่าเอาอะไรกดเข้าไปก็ไม่เป็นอะไรแล้วเครื่องแต่งกายก็วิจิตรพิศดารมาก รัฐบาลของเขาให้ชื่อศพนี้ว่า “ The Duke of Tai and his Consart” ในข้าง ๆ ศพ ปรากฏสิ่งของอยู่2 อย่างคือ เครื่องใช้ประจาวันเป็นเครื่องเขิน เครื่องเขินที่คล้าย ๆ กับเชียงใหม่เรานี้ แล้วก็เป็นจานวนนับร้อยแล้วอีกสิ่งหนึ่งก็เป็นเครื่องดนตรีชนิดหนึ่งที่ตรง กับของเราที่เรียกว่า แคนในเรื่องที่เกี่ยวกับแคนนี้ สุมาลี นิมมานุภาพ ยังเล่าเพิ่มเติมพอสรุปได้ว่าจากบันทึกของจีน ที่บันทึกว่าจีนมีแคนใช้ประมาณ3,000 ปี แต่จีนมีแคนใช้หลังไทย เพราะฉะนั้นแคนไทยต้องมีอายุมากกว่า3,000 ปี ที่กล่าวว่าจีนมีแคนใช้หลังไทยเพราะถ้าใช้หลังการเปรียบเทียบจะเห็นว่าแคนของจีนสวยงามประณีตกระทัดรัด กว่าของไทย เพราะจีนได้แบบอย่างและรูปแบบไปจากแคนไทยซึ่งมีรูปร่างยาว ใช้วัสดุที่ไม่ทนทานเท่าแคน ของจีน ซึ่งเมื่อจีนเห็นข้อบกพร่องของแคนไทยแล้วจึงนาไปปรับปรุงให้กระทัดรัดและสวยงามจากแคนของไทย ได้พัฒนาเป็นเครื่องดนตรีอื่นๆ อีกหลายชนิด เช่น ขลุ่ย และปี่ซอเพราะขลุ่ยทาง่ายกว่าแคน เพียงแต่เจาะรูที่ไม้ไผ่ ก็เป่าได้แล้ว อย่างเช่น ขลุ่ยผิวของจีน ส่วนปี่ซอก็คือลูกของแคนนั้นเองใช้ลิ้นโลหะประกอบกับไม้ไผ่เข้าแล้วเจาะรู เพื่อบังคับเสียง อย่างเช่น ปี่ซอของทางภาคเหนือในปัจจุบัน ซึ่งต่อมาจึงใช้ไม้ทาเครื่องบังคับลมเรียกว่า “ดาก” เข้าไปในตัวของ ไม้ไผ่แล้วเจาะลิ้น ทาให้เกิดเสียง เช่น ขลุ่ยชนิดต่างๆ ที่เราใช้กันอยู่ในปัจจุบันนี้
  • 2. ประวัติดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 2 (สงบศึก ธรรมวิหาร.2540 : 6 อ้างใน จารุวรรณ ไวยเจตน์. 2529 : 213) สรุปได้ว่า ดนตรีไทยมีประวัติความเป็นมาควบคู่กับชนชาติไทยก่อนที่จะอพยพมาสู่ถิ่นแหลมทอง ในปัจจุบัน เครื่องดนตรีชิ้นแรกที่ค้นพบคือกลองและแคน ต่อมาได้พัฒนาจากแคนเป็นปี่ซอและขลุ่ยซึ่งเป็น เครื่องดนตรีประเภทเป่า เพราะทาได้ง่ายเพียงแต่เจาะรูแล้วทาเครื่องบังคับลมก็สามารถเป่าเป็นเสียงดนตรีได้แล้ว ดนตรีสมัยกรุงสุโขทัย การดนตรีในสมัยกรุงสุโขทัยเป็นราชธานีนับเป็นสมัยเริ่มต้นประวัติศาสตร์ของประเทศไทยเพราะว่า เรื่องราวชนชาติไทยปรากฏหลักฐานเด่นชัดขึ้นในสมัยสุโขทัยเมื่อพ่อขุนรามคาแหงได้ประดิษฐ์อักษรไทยและ จารึกเรื่องราวต่างๆ ลงในศิลา และจากศิลาจารึกสมัยสุโขทัยนี้ ทาให้ทราบประวัติศาสตร์สุโขทัยอย่างดี ( เฉลิม พงศ์อาจารย์.2529 : 90) เพราะในหลักศิลาจารึกของพ่อขุนรามคาแหงที่จารึกเป็นคาสั้นๆ ว่า “ เสียงพาทย์เสียงพิณ เสียงเลื้อน เสียงขับ” ( สงบศึก ธรรมวิหาร. 2540: 9 อ้างใน ณรงค์ชัย ปิฎกรัชน์.2528 : 17) ทาให้เราทราบถึงดนตรีไทยในสมัยสุโขทัยได้เป็นอย่างดีมีความกว้างขวางมากมายเสียงพาทย์หมายถึง การ บรรเลงวงปี่พาทย์เสียงพิณ หมายถึง วงเครื่องสาย เป็นต้น จากหลักฐานจารึกวัดพระยืน จังหวัดลาพูน (จารึกหลักที่สี่ 62 การประชุมจารึกภาคที่สามแปลความ ในหนังสือไตรภูมิพระร่วงและนิราศหริภุญชัย) ระบุว่าเครื่องดนตรีไทยในสมัยสุโขทัยมีดังนี้ - ตีพาทย์คือเครื่องดนตรีประเภทเครื่องตี และเครื่องเป่ารวมกัน (เช่น วงปี่พาทย์เครื่องห้า) ประกอบด้วยปี่ ฆ้อง กลอง ตะโพนและฉิ่ง - ดังพณ คือ พิณเพี้ยะ หรือน้าเต้า - ฆ้อง - กลองทับ กลองทัด กลองบัณเฑาะว์ กลองตุ๊ก - ปี่สรไน (ปี่ใน หรือ ปี่แน) - พิสเนญชัย หมายถึง ปี่ที่ทามาจากเขาสัตว์ (ปี่เสนง หรือ แขนง) - ทะเทียด หมายถึง กลองสองหน้า หน้าใหญ่ตีด้วยไม้หน้าเล็กตีด้วยมือ - กาหล หมายถึง แตรงอน - แตรสังข์ - มฤทิงค์ หมายถึง กลองตะโพน - ดงเดือด หมายถึง กลองทัด - บัณเฑาะว์ หมายถึง เครื่องประกอบจังหวะ - กรับ - ซอพุงตอ หมายถึง ซอสามสาย - กังสดาล หมายถึง ระฆังวงเดือน
  • 3. ประวัติดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 3 - มโหระทึก หมายถึง กลองที่หล่อจากโลหะผสม คือทองแดง ตะกั่ว ดีบุก ประเภทของเครื่องดนตรีไทยสมัยสุโขทัย 1. เครื่องดีด ได้แก่ กระจับปี่ พิณน้าเต้า และพิณเพี้ยะ 2. เครื่องสี ได้แก่ ซอสามสาย 3. เครื่องตี ได้แก่ 3.1 ประเภทโลหะ ได้แก่ มโหระทึก ฆ้อง 3.2 ประเภทไม้ ได้แก่ กรับคู่ กรับพวง กรับเสภา 3.3 ประเภทหนัง ได้แก่ กลองทัด กลองตะโพน กลองตุ๊ก บัณเฑาะว์ กลองมลายู 4. เครื่องเป่า ได้แก่ แตรงอน แตรสังข์ ปี่ไน ดนตรีสมัยกรุงศรีอยุธยา ในยุคสมัยกรุงศรีอยุธยา ดนตรีไทยมีความเจริญรุ่งเรืองมากเนื่องจากมีการสืบทอดดนตรีสุโขทัยมี การคิดค้นเครื่องดนตรี บทเพลง จนเป็นกาเนิดวงดนตรี 3 ประเภท คือ วงปี่พาทย์ วงมโหรี และวงเครื่องสาย ทั้งนี้ประชาชนนิยมเล่นดนตรีโดยทั่วไปอย่างแพร่หลายในสมัยพระบรมไตรโลกนาถได้ออกกฎมณเฑียรบาล ห้ามเล่น ร้องเพลงเรือ เป่าขลุ่ย สีซอ ดีดกระจับปี่ ดีดจะเข้ ตีโทน – ทับ ในเขตพระราชฐาน ดังนั้นในสมัยกรุงศรีอยุธยาจึงมีเครื่องดนตรีไทยครบทุกประเภทดังนี้ - เครื่องดีด ได้แก่ กระจับปี่ จะเข้ พิณเพี้ยะ พิณน้าเต้า - เครื่องสี ได้แก่ ซอสามสาย ซออู้ ซอด้วง - เครื่องตีไม้ได้แก่ กรับคู่ กรับพวง กรับเสภา ระนาเดเอก - เครื่องตีโลหะ ได้แก่ ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องคู่ ฆ้องชัย ฆ้องโหม่ง ฉิ่ง ฉาบกลองมะโหระทึก - เครื่องตีหนัง ได้แก่ ตะโพร (ทับ) รามะนากลองทัด กลองตุ๊ก - เครื่องเป่า ได้แก่ ปี่ไน ปี่กลางปี่มอญ ปี่ชวา ขลุ่ยแตรงอน เพลงไทยในยุคสมัยกรุงศรีอยุธยา แบ่งเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ - เพลงร้องมโหรี ใช้วงมโหรีขับกล่อม เช่น เพลงตับ เพลงเกร็ด - เพลงปี่พาทย์ ใช้บรรเลงประกอบการแสดงโขน ละคร และพิธีกรรมต่างๆได้แก่ เพลงหน้าพาทย์ เพลงเรื่อง - เพลงภาษาใช้บรรเลงประกอบตัวละคร เช่น เพลงมอญแปลง เพลงธรณีร้องไห้ เพลงทะเลบ้า เพลงโลมนอก เพลงช้าปี่ เพลงมหาชัย เพลงญี่ปุ่น เพลงอังคารสี้บท เป็นต้น
  • 4. ประวัติดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 4 ดนตรีสมัยกรุงธนบุรี เนื่อง จากในสมัยนี้เป็นช่วงระยะเวลาอันสั้นเพียงแค่ 15 ปี และประกอบกับ เป็นสมัยแห่งการก่อร่าง สร้างเมือง และการป้องกันประเทศเสียโดยมาก วงดนตรีไทย ในสมัยนี้จึงไม่ปรากฎหลักฐานไว้ว่าได้มีการพัฒนา เปลี่ยนแปลงขึ้น สันนิษฐานว่า ยังคงเป็นลักษณะและรูปแบบของดนตรีไทย ในสมัยกรุงศรีอยุธยานั่นเอง ดนตรีสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ในสมัยนี้ เมื่อบ้านเมืองได้ผ่านพ้นจากภาวะศึกสงครามและได้มีการก่อสร้างเมืองให้มั่นคงเป็นปึกแผ่น เกิดความ สงบร่มเย็นโดยทั่วไปแล้ว ศิลป วัฒนธรรม ของชาติ ก็ได้รับการฟื้นฟูทะนุบารุงและส่งเสริมให้ เจริญรุ่งเรืองขึ้น โดยเฉพาะ ทางด้าน ดนตรีไทยในสมัยนี้ได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงเจริญขึ้นเป็นลาดับ ดังต่อไปนี้ รัชกาลที่ 1 ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที่ 1 พระองค์ได้ทรงฟื้นฟูการดนตรีไทยให้ เจริญรุ่งเรือง โดยทรงพระราชนิพนธ์เรื่องรามเกียรติ์ให้สมบูรณ์ และดาหลังซึ่งเป็นวรรณคดีที่มีมาแต่สมัยอยุธยา วรรณคดีทั้ง2 เรื่องนี้ ใช้นาแสดงละคร และแสดงโขน (เฉลิม พงษ์อาจารย์.2529 : 293) ดนตรี ไทย ในสมัยนี้ ส่วนใหญ่ ยังคงมีลักษณะ และ รูปแบบตามที่มีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ที่พัฒนาขึ้นบ้างในสมัยนี้ก็คือ การเพิ่ม กลองทัด ขึ้นอีก1 ลูก ใน วงปี่พาทย์ซึ่ง แต่เดิมมา มีแค่ 1 ลูก พอมาถึง สมัยรัชกาลที่ 1 วงปี่พาทย์มี กลองทัด 2 ลูก เสียงสูง (ตัวผู้) ลูกหนึ่ง และ เสียงต่า (ตัวเมีย) ลูกหนึ่ง และการใช้กลองทัด2 ลูก ในวงปี่พาทย์ก็เป็นที่นิยมกันมา จนกระทั่งปัจจุบันนี้ รัชกาลที่ 2 อาจกล่าว ว่าในสมัยนี้ เป็นยุคทองของ ดนตรีไทย ยุคหนึ่ง ทั้งนี้เพราะองค์พระมหากษัตริย์ทรงสนพระทัย ดนตรีไทย เป็นอย่างยิ่งพระองค์ทรงพระปรีชาสามารถ ในทางดนตรีไทย ถึงขนาดที่ทรงดนตรีไทย คือซอสามสาย มีซอคู่พระหัตถ์ชื่อว่า "ซอสายฟ้าฟาด" ทั้งพระองค์ได้พระราชนิพนธ์เพลงไทย ขึ้นเพลงหนึ่ง เป็นเพลงที่ไพเราะ และอมตะ มาจนบัดนี้นั่นก็คือเพลง"บุหลันลอยเลื่อน" การพัฒนา เปลี่ยนแปลงของ ดนตรีไทย ในสมัยนี้ก็คือ ได้มีการนาเอา วงปี่พาทย์มาบรรเลงประกอบการขับเสภา เป็นครั้งแรก นอกจากนี้ ยังมีกลองชนิดหนึ่งเกิดขึ้น โดยดัดแปลงจาก "เปิงมาง" ของมอญ ต่อมาเรียกกลองชนิดนี้ว่า"สองหน้า"ใช้ตีกากับจังหวะแทนเสียงตะโพน ในวงปี่พาทย์ประกอบการขับเสภาเนื่องจากเห็นว่าตะโพนดังเกินไป จนกระทั่งกลบเสียงขับ กลองสองหน้านี้ ปัจจุบันนิยมใช้ตีกากับจังหวะหน้าทับ ในวงปี่พาทย์ไม้แข็ง รัชกาลที่ 3 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวแม้ว่าพระองค์จะไม่ทรงโปรดดนตรีมากนัก แต่ก็มิได้ห้าม ไม่ให้เล่นดนตรีไทย ยังคงทาให้เจ้านายในวังได้มีการแสดงการดนตรี และการละครภายในวังของตนจึงทาให้ เจ้านายเหล่านี้มีส่วนในการอุปถัมภ์ส่งเสริมในการละคร และการดนตรีเจริญรุ่งเรืองสืบมาอย่างต่อเนื่อง และในรัชสมัยนี้ มีการประดิษฐ์ระนาดทุ้มขึ้นเพื่อใช้คู่กับระนาดเอกวงปี่พาทย์ได้พัฒนาขึ้นเป็นวงปี่พาทย์เครื่องคู่ เพราะได้มีการประดิษฐ์ระนาดทุ้ม มาคู่กับระนาดเอกและประดิษฐ์ฆ้องวงเล็กมาคู่กับ ฆ้องวงใหญ่
  • 5. ประวัติดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 5 รัชกาลที่ 4 วง ปี่พาทย์ได้พัฒนาขึ้นเป็นวงปี่พาทย์เครื่องใหญ่ เพราะได้มีการประดิษฐ์เครื่องดนตรี เพิ่มขึ้นอีก2 ชนิด เลียนแบบ ระนาดเอก และระนาดทุ้มโดยใช้โลหะทาลูกระนาด และทารางระนาดให้แตกต่างไปจากรางระนาดเอก และระนาดทุ้ม (ไม้) เรียกว่า ระนาดเอกเหล็ก และระนาดทุ้มเหล็กนามาบรรเลงเพิ่มในวงปี่พาทย์เครื่องคู่ ทาให้ ขนาดของ วงปี่พาทย์ขยายใหญ่ขึ้นจึงเรียกว่า วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่ อนึ่งในสมัยนี้ วงการดนตรีไทย นิยมการร้อง เพลงส่งให้ดนตรีรับ หรือที่เรียกว่า "การร้องส่ง"กันมากจนกระทั่ง การขับเสภาซึ่งเคยนิยมกันมาก่อนค่อย ๆ หายไป และการร้องส่งก็เป็นแนวทางให้มีผู้คิดแต่งขยายเพลง2 ชั้นของเดิมให้เป็นเพลง 3 ชั้น และตัดลง เป็นชั้นเดียว จนกระทั่งกลายเป็นเพลงเถาในที่สุด (นับว่าเพลงเถาเกิดขึ้นมากมายในสมัยนี้) นอกจากนี้ วงเครื่องสาย ก็เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลนี้เช่นกัน รัชกาลที่ 5 ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ขยายแยกออกไปอีกมากมายอาทิ เกิดการแสดง ละครขึ้นหลายรูปแบบการบรรเลงแตรวง ได้มีการปรับปรุงให้กว้างขวางมากยิ่งขึ้น ในสมัยนี้ได้มีการพัฒนา เครื่องดนตรีไทยเพิ่มเติม ได้แก่ กลองตะโพน(ความจริงคือกลองตะโพนเดิมนั่นเอง) แต่วิธีการตีกลองผิดไปจาก เดิมคือ ใช้ตีแบบกลองทัด(ตีหน้าเดียว) โดยใช้ไม้นวมตีเพื่อให้เกิดเสียงทุ้มกังวาน และ ยังเกิดวงปี่พาทย์ไม้นวม เรียกว่า “ปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์” ใช้กับละครแบบใหม่ ซึ่งดัดแปลงมาจากโอเปร่า ปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์นี้ฟังไพเราะมาก (ชิ้น ศิลปบรรเลง;2515:21) ในสมัยรัชกาลที่ 5 การดนตรีไทยได้พัฒนารูปแบบเพิ่มขึ้นอีกมากมายที่สาคัญคือ การประชันฝีมือดนตรีทาให้เกิดการพัฒนาฝีมือของนักดนตรี และเกิดการผสมวงขึ้น โดยการนาเครื่องดนตรีต่างๆ มารวมเพิ่มขึ้นในวงให้มากและเป็นการรวมนักดนตรีที่มีฝีมือเข้าด้วยกันจึงทาให้เพียบพร้อมไปด้วยนักดนตรีฝีมือ และมีเครื่องดนตรีหลากหลายประเภท ทาให้การบรรเลงมีเสียงที่ไพเราะยิ่ง รัชกาลที่ 6 ได้การปรับปรุงวงปี่พาทย์ขึ้นมาอีกชนิดหนึ่ง โดยนาวงดนตรีของมอญมาผสมกับวงปี่พาทย์ของไทย ต่อมาเรียกวงดนตรีผสมนี้ว่า"วงปี่พาทย์มอญ"โดยหลวงประดิษฐไพเราะ(ศร ศิลปบรรเลง) เป็นผู้ปรับปรุงขึ้น วงปี่พาทย์มอญดังกล่าวนี้ ก็มีทั้งวงปี่พาทย์มอญเครื่องห้า เครื่องคู่และเครื่องใหญ่ เช่นเดียวกับวงปี่พาทย์ของไทย และกลายเป็นที่นิยมใช้บรรเลงประโคมในงานศพ มาจนกระทั่งบัดนี้ นอกจากนี้ยังได้มีการนาเครื่องดนตรีของ ต่างชาติ เข้ามาบรรเลงผสมกับ วงดนตรีไทย บางชนิดก็นามาดัดแปลงเป็นเครื่องดนตรีของไทย ทาให้รูปแบบ ของ วงดนตรีไทย เปลี่ยนแปลงพัฒนา ดังนี้ คือ 1. การนาเครื่องดนตรีของชวา หรืออินโดนีเซีย คือ"อังกะลุง" มาเผยแพร่ในเมืองไทยเป็นครั้งแรก โดย หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ทั้งนี้โดยนามาดัดแปลงปรับปรุงขึ้นใหม่ให้มีเสียงครบ 7 เสียง (เดิมมี 5 เสียง) ปรับปรุงวิธีการเล่น โดยถือเขย่าคนละ2 เสียง ทาให้เครื่องดนตรีชนิดนี้ กลายเป็นเครื่องดนตรีไทย อีกอย่างหนึ่ง เพราะคนไทยสามารถทาอังกะลุงได้เอง อีกทั้งวิธีการบรรเลงก็เป็นแบบเฉพาะของเรา แตกต่างไปจาก ของชวาโดยสิ้นเชิง
  • 6. ประวัติดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 6 2. การนาเครื่องดนตรีของต่างชาติเข้ามาบรรเลงผสมในวงเครื่องสาย ได้แก่ขิมของจีน และออร์แกนของฝรั่ง ทาให้วงเครื่องสายพัฒนารูปแบบของวงไปอีกลักษณะหนึ่ง คือ"วงเครื่องสายผสม" ในสมัยรัชกาลที่ 6 มีนักดนตรีที่มีชื่อเสียงเกิดขึ้นหลายท่านซึ่งนักดนตรีที่มีชื่อเสียงในสมัยนี้ พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 6 ได้ทรงตั้งราชทินนามของนักดนตรี ไว้เป็นคากลอนสัมผัส ดังนี้ พระเพลงไพเราะ หลวงเพราะสาเนียงหลวงเสียงเสนาะกรรณ พระสรรพ์เพลงสรวงหลวงพวงสาเนียงร้อย หลวงสร้อยสาเนียงสนธิ์ หลวงวิมลวังเวง หลวงบรรเลงเลิศเลอ ขุนบาเรอจิตรจรง หลวงบารุงจิตรเจริญ ขุนเจริญดนตรีการพระยาประสานดุริยศัพท์ หลวงศรีวาฑิต หลวงสิทธิวาทิน พระพิณบรรเลงราช พระพาทย์บรรเลงรมย์หลวงประสมสังคีต พระประณีตวรศัพท์ พระประดับดุริยกิจ ขุนสนิทบรรเลงการหมื่นประโคมเพลงประสาน หลวงชาญเชิงระนาด ขุนฉลาดฆ้องวง ขุนบรรจงทุ้มเลิศ หมื่นประเจิดปี่เสนาะ หลวงไพเราะเสียงซอ ขุนคลอขลุ่ยคล่อง (ไม่มีตัวจริง) หลวงว่องจะเข้รับ หมื่นคนธรรพ์ประสิทธิประสาร หมื่นขับคาหวาน หมื่นตันติการ เจนจิตรหลวงประดิษฐ์ไพเราะ พระยาเสนาะดุริยางค์พระสาอางค์ดนตรีขุนสาเนียงชั้นเชิง(จารุวรรณไวยเจตน์;2529:235-236) จะเห็นได้ว่า ในรัชสมัยพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่6 มีนักดนตรีที่พระองค์ได้ทรงโปรดพระราชทาน ราชทินนาม บรรดาศักดิ์ และชื่อเสียงเกียรตินิยมแก่นักดนตรีหลายท่านอย่างเอาใจใส่ นับเป็นช่วงเวลาแห่งความ เจริญรุ่งเรืองในด้านดนตรีไทยเป็นอย่างยิ่งและพระองค์มีพระปรีชาสามารถในด้านการดนตรีเช่นกันจึงเป็น ระยะเวลาที่นักดนตรีของพระองค์มีความผาสุกอย่างยิ่งด้วยพระองค์ทรงเอาใจใส่เป็นอย่างดี รัชกาลที่ 7 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงสนพระทัยทางด้าน ดนตรีไทย มากเช่นกันพระองค์ได้ พระราชนิพนธ์เพลงไทยที่ไพเราะไว้ถึง 3 เพลง คือ เพลงโหมโรงคลื่นกระทบฝั่ง3 ชั้น เพลงเขมรลอยองค์ (เถา) และเพลงราตรีประดับดาว (เถา) พระองค์และพระราชินีได้โปรดให้ครูดนตรีเข้าไปถวายการสอนดนตรีในวัง แต่เป็นที่น่าเสียดาย ที่ระยะเวลาแห่งการครองราชย์ของพระองค์ไม่นาน เนื่องมาจากมีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง และพระองค์ทรงสละราชบัลลังก์ หลังจากนั้นได้2 ปี มิฉะนั้นแล้ว ดนตรีไทย ก็คงจะเจริญรุ่งเรืองมากในสมัยแห่ง พระองค์อย่างไรก็ตามดนตรีไทยในสมัยรัชกาลนี้ นับว่าได้พัฒนารูปแบบ และลักษณะ มาจนกระทั่ง สมบูรณ์ เป็นแบบแผนดังเช่น ในปัจจุบันนี้แล้ว ในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชมีผู้นิยมดนตรีไทยกันมากและมีผู้มีฝีมือ ทางดนตรี ตลอดจน มีความคิดปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้พัฒนาก้าวหน้ามาตามลาดับ พระมหากษัตริย์เจ้านาย
  • 7. ประวัติดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 7 ตลอดจนขุนนางผู้ใหญ่ ได้ให้ความอุปถัมภ์และทานุบารุงดนตรีไทย ในวังต่าง ๆมักจะมีวงดนตรีประจาวัง เช่น วงวังบูรพา วงวังบางขุนพรหม วงวังบางคอแหลมและวงวังปลายเนิน เป็นต้น แต่ละวงต่างก็ขวนขวายหาครูดนตรี และนักดนตรีที่มีฝีมือเข้ามาประจาวง มีการฝึกซ้อมกันอยู่เนืองนิจบางครั้งก็มีการประกวดประชันกัน จึงทาให้ ดนตรีไทยเจริญเฟื่องฟูมาก รัชกาลที่ 8 การดนตรีไทยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จปรเมนทรมหาอนันทมหิดล รัชกาลที่8 เป็นสมัยหลังการ เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสมัยนี้ “เป็นระยะที่ดนตรีไทยเข้าสู่สภาวะมืดมนเพราะรัฐบาลไม่ส่งเสริมดนตรีไทย และยังพยายามให้คนไทยหันไปเล่น ดนตรีสากลแบบตะวันตก” อย่างไรก็ตาม ดนตรีไทยสมัยนี้ก็มิได้ซบเซาถึงขนาดจะขาดตอนเหมือนเมื่อครั้งเราเสีย กรุงศรีอยุธยา แม้จะซบเซาลงบ้างและเกิดเพลงไทยสากลขึ้น เพลงไทยสากลที่เกิดขึ้นใหม่นี้ ก็ยังเอาเค้าของเดิมหรือ เอาเพลงไทยของเดิมมาร้องเล่น เพียงแต่เปลี่ยนจังหวะให้กระชับขึ้นเป็นแบบฝรั่งของไทยแท้จึงไม่ถึงกับสูญและ โชคดีที่ยุดนี้สั้นมากมีการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลกันบ่อยในที่สุด ดนตรีไทยแท้ก็กลับคืนมาอีกครั้ง (อรวรรณ บรรจงศิลป์ และโกวิทย์ขันธศิริ.2526 : 18) รัชกาลปัจจุบัน การดนตรีไทยในรัชสมัยรัชกาลปัจจุบัน เมื่อปลายรัชกาลที่8 พ.ศ.2488 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช ซึ่งขณะนั้นทรงดารงพระอิสริยยศเป็นพระอนุชา ได้ทรงเริ่มพระราชนิพนธ์เพลงไทยสากลและ เพลงสากลขึ้นเพลงแรก คือเพลงพระราชนิพนธ์ แสงเทียน และต่อมาก็ทรงพระราชนิพนธ์เพลงสายฝน และอีก มากมาย เช่น เพลงชะตาชีวิต เพลงใกล้รุ่ง เพลงคาหวาน เพลงดวงใจกับความรักเพลงพระราชนิพนธ์เหล่านี้ ผิดแผกแตกต่างไปจากเพลงที่นาประพันธ์เพลงไทยสากลยุคนั้นได้ประพันธ์ขึ้นเป็นเพลงที่บรรเลงยาก ร้องยาก ที่สุด เพราะใช้โน้ตครึ่งเสียงและกุญแจเสียงไม่เจนกับหูคนไทยในยุคนั้นกล่าวได้ว่าเพลงพระราชนิพนธ์ยุคแรก เริ่มขึ้น ทรงได้ล้าหน้าความสามารถของนักประพันธ์เพลงไทยเป็นอย่างมากเข้ามาตรฐานเพลงที่นิยมสูงสุด ในทวีปยุโรปและอเมริกาจนฝรั่งกล่าวสรรเสริญในพระปรีชาสามารถ(พูนพิศ อมาตยกุล.2529 : 19) ในสมัยนี้ ได้มีผู้แต่งเพลงไทยสากลหลายท่าน สาหรับนักแต่งเพลงไทยสากลที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับ โดยทั่วไปทั้งในและนอกประเทศคือ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชเพลงพระราชนิพนธ์ของ พระองค์ได้แสดงถึงความงดงาม ความละเอียดประณีตมีรสนิยมเป็นแบบเฉพาะพระองค์ ซึ่งเป็นพรสวรรค์ อย่างหนึ่งอันหาได้ไม่ง่ายนัก ดังที่อาจารย์มนตรี ตราโมทย์ให้สัมภาษณ์ เสถียร ดวงจันทร์ทิพย์(เสถียร ดวงจันทร์ ทิพย์. 2530 : 28) ดังนี้ในด้านดนตรีไทยและนาฎศิลป์นี้ ดูเหมือนว่าพระองค์ท่านจะทรงสนพระทัยพอ ๆ กันแต่ถ้า ทางด้านดนตรีสากลแล้วทรงพระปรีชาสามารถมากทีเดียวลักษณะนี้ถ้าหากเป็นสามัญชน คนธรรมดาก็เรียกว่า มีพรสวรรค์เป็นบุคคลประเภทที่เรียกว่าเรียนน้อยแต่รู้มากได้จะมีอยู่เฉพาะรายบุคคลเท่านั้นนับได้ว่าเป็นบุญ ของศิลปินไทยและประเทศชาติที่องค์พระมหากษัตริย์ทรงสนพระทัยในศิลปะการดนตรีเช่นนี้การดนตรีไทย
  • 8. ประวัติดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 8 ในปัจจุบัน จะเห็นได้ว่า ได้ขยายวงกว้างเข้าไปอยู่ในสถานศึกษาเห็นได้จากสถาบันการศึกษาทั้งระดับ ประถมศึกษา มัธยมศึกษาและอุดมศึกษาได้ส่งเสริมให้นักเรียนและเยาวชนเล่นดนตรีไทยและขับร้องเพลงไทย โดยบรรจุวิชาดนตรีไว้ในหลักสูตรทุกระดับทั้งนี้ ด้วยพระบารมีของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้แผ่ปกคลุมเป็นร่มเกล้าแก่นักดนตรีไทย และเพลงไทย อย่างใหญ่หลวง ด้วยพระองค์ทรงโปรดเพลงไทยและดนตรีไทยเป็นอย่างยิ่งซึ่งพระองค์ได้พระราชนิพนธ์เรื่อง “เหตุใดข้าพเจ้าจึงชอบดนตรีไทย?” โดยทรงขึ้นต้นว่า“ดนตรีไทยดูเหมือนจะพัวพันกับชีวิตประจาวันของข้าพเจ้า ตั้งแต่เกิดมาพอเกิดมาเขาก็ประโคม เวลาสมโภชน์เขาก็ประโคม(สงบศึก ธรรมวิหาร.2531 : 47 อ้างใน ทองต่อ กล้าวไม้ณ อยุธยา.13) สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ทรงอุปถัมภ์และทรงทะนุบารุงดนตรีอยู่ตลอดมาทรง พระอุตสาหะเสด็จพระราชดาเนินไปเป็นประธานการแสดงดนตรีไทยของครูอาวุโสและบรรดาวงดนตรีของเด็ก และเยาวชน ตั้งแต่ระดับประถมมัธยมและอุดมศึกษาหลายครั้ง ได้ทรงร่วมการบรรเลงดนตรีด้วยยังความโสมนัส ยินดีแก่ผู้ร่วมและผู้มีโอกาสได้เฝ้าทูลละอองพระบาทเป็นที่ยิ่ง (สงบศึก ธรรมวิหาร. 2540 : 48 อ้างใน ทองต่อ กล้วยไม้ณ อยุธยา.2541 : 14) สรุปได้ว่า การดนตรีในสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชรัชกาลที่ 9 ได้มีควาเจริญรุ่งเรือง เป็นอย่างยิ่ง เพราะพระองค์ทรงโปรดการดนตรีทุกประเภท จนเป็นที่ยกย่องสรรเสริญจากชาวโลกทั้งในและ ต่างประเทศอย่างท่วมท้น พระองค์ยังทรงพระราชนิพนธ์เพลงไว้อีกมากมายอีกทั้งสมเด็จพระเพทรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ก็ได้ทรงโปรดปรานดนตรีไทยเป็นอย่างยิ่ง ทรงบรรเลงดนตรีไทยได้ทุกชนิดทรงใฝ่พระราช หฤทัยอย่างจริงจัง ดังที่ เสรี หวังในธรรม กล่าวว่า“ดนตรีไทยไม่สิ้นแล้ว เพราะพระทูลกระหม่อมแก้วเอาใจใส่” ที่มา http://www.sadetmusic.com/music/music.html http://kamas-kamas.blogspot.com/2007/10/blog-post_27.html http://www.oknation.net/blog/thai-rhythm/2010/04/07/entry-1