SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
เอกสารประกอบการเรียนเอกสารประกอบการเรียน
เล่มที่ 3 เรื่อง เส้นและสัญลักษณ์ในงานเขียนแบบ
อานาจ ศรีทิม
ตาแหน่งครู วิทยฐานะครูชานาญการ
โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 41
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
รายวิชาช่างไม้ครุภัณฑ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
คานา
ในปัจจุบันสภาพการจัดการเรียนการสอน มุ่งเน้นให้นักเรียนได้ศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง
ให้มากที่สุด เพื่อให้นักเรียนมีนิสัย ใฝ่เรียน ใฝ่รู้ อยู่เสมอ ดังนั้นการจัดทาเอกสารประกอบการเรียน
เป็นแนวทางหนึ่งที่ส่งเสริมให้นักเรียนค้นคว้าและสามารถเรียนรู้หาคาตอบได้ด้วยตนเอง
ผู้เขียนจึงได้ดาเนินการสร้างเอกสารประกอบการเรียน ราย วิชาช่างไม้ครุภัณฑ์ ระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 4 จานวน 6 เล่ม เป็นเอกสารที่ผู้เขียนดาเนินการสร้างตรงตาม หลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ผู้เขียนได้ค้นคว้า รวบรวม เนื้อหา ความรู้จากตาราและ
แหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ อย่างหลากหลาย เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และทักษะกระบวนการปฏิบัติจริง
ที่เหมาะสมกับวัยและความสามารถของผู้เรียน สาหรับเอกสารประกอบการเรียนเล่มนี้ ประกอบด้วย
เนื้อหาเกี่ยวกับเส้นและสัญลักษณ์ในงานเขียนแบบ ซึ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารประกอบการเรียน
ที่จัดทาเล่มนี้ สามารถแก้ปัญหาและพัฒนานักเรียนให้มีคุณภาพต่อไป นอกจากนั้นครูอาจารย์ที่สนใจ
สามารถใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้บรรลุผล ตามจุดมุ่งหมายของ หลักสูตร
อย่างมีประสิทธิภาพ
ขอขอบคุณ นายธวัชชัย เทศขา ผู้อานวยการโรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ นายอาวุธ เพ็งแตง
ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนพิจิตรพิทยาคม นายอภิรัฐ จันดาหาญ ครูชานาญการพิเศษ
โรงเรียนตะพานหิน นางกมลรัตน์ มีไชโย ครูชานาญการพิเศ ษ นางธันยพร เขียวเขิน
ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ และนางศิริพร ภู่ดี ครูชานาญการพิเศษ
โรงเรียนบ้านหนองหูช้าง ที่ได้กรุณาตรวจสอบเอกสารประกอบการเรียน และให้ข้อเสนอแนะ
ที่เป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ผู้เขียนจึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้
อานาจ ศรีทิม
สารบัญ
หน้า
คานา ก
สารบัญ ข
จุดประสงค์การเรียนรู้ ค
คาชี้แจง ง
กระดาษคาตอบ จ
แบบทดสอบก่อนเรียน ฉ
เรื่องที่ 1 เส้นและสัญลักษณ์ในงานเขียนแบบ 1
- กิจกรรมที่ 1 11
แบบทดสอบหลังเรียน 12
ภาคผนวก 14
- เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 15
- เฉลยกิจกรรมที่ 1 16
- เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 17
บรรณานุกรม 18
จุดประสงค์การเรียนรู้
หลังจากนักเรียนศึกษาเอกสารประกอบการเรียน รายวิชาช่างไม้ครุภัณฑ์ เรื่องเส้นและ
สัญลักษณ์ในงานเขียนแบบ แล้ว นักเรียนจะมีความรู้ความสามารถ ดังนี้
1. สามารถบอกความหมายของเส้นและสัญลักษณ์ที่ใช้ในงานเขียนแบบได้
2. สามารถกาหนดขนาดในงานเขียนแบบได้
3. สามารถอธิบายขั้นตอนการเขียนภาพออบลิค และไอโซเมตริกได้
4. สามารถเลือกใช้แบบเพื่อเขียนแบบชิ้นงานครุภัณฑ์ได้
คาชี้แจงสาหรับนักเรียน
เอกสารประกอบการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สาระการอาชีพ
รายวิชาช่างไม้ครุภัณฑ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่มนี้ เป็นเอกสารสาหรับนักเรียน เพื่อใช้ประกอบ
การเรียนรู้ และ ฝึกทักษะในการปฏิบัติกิจกรรม โดยนักเรียนสามารถใช้เอกสารประกอบการเรียน
ได้ด้วยตนเองตามแนวทางตามลาดับดังนี้
1. ให้นักเรียนศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้ทราบว่า เมื่อศึกษาจบแล้ว จะได้รับความรู้
อะไรบ้าง
2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน 10 ข้อ เพื่อตรวจสอบความรู้พื้นฐานของนักเรียน
3. ให้นักเรียนศึกษาและทาความเข้าใจเนื้อหา เรื่องที่ 1 เส้นและสัญลักษณ์ในงานเขียนแบบ
4. ทากิจกรรมตามที่กาหนดให้ด้วยตนเอง ถ้าทาไม่ได้ หรือสงสัยให้อ่านทบทวนเนื้อหาใหม่
5. ตรวจคาตอบแบบกิจกรรมที่ 1 จากเฉลยในส่วนของภาคผนวก
6. หลังทากิจกรรมเสร็จแล้วให้ทาแบบทดสอบหลังเรียน จานวน 10 ข้อ
7. ตรวจคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียนจากเฉลยในส่วนของ
ภาคผนวก
8. สรุปคะแนนในแบบสรุปผลการเรียน
รายวิชาช่างไม้ครุภัณฑ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เล่มที่ 3 เรื่องเส้นและสัญลักษณ์ในงานเขียนแบบ
ชื่อ ................................................................................................................ เลขที่ .............................
แบบทดสอบก่อนเรียน
ข้อ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
สรุปผลการเรียน
คะแนนเต็ม คะแนน
แบบทดสอบก่อนเรียน
แบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบหลังเรียน
ข้อ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
เกณฑ์การประเมิน
80 - 100 % = ดีมาก
70 – 79 % = ดี
60 - 69 % = พอใช้
0 - 59 % = ควรปรับปรุง
กระดาษคาตอบ
คาชี้แจง ข้อสอบแบบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ
คาสั่ง จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วกากบาท (X) ลงในกระดาษคาตอบ
1. เส้นที่เขียนด้วยมือ ใช้เขียนอะไรในงานเขียนแบบ
ก. เส้นลายไม้
ข. เส้นผ่านศูนย์กลาง
ค. เส้นกรอบ
ง. เส้นร่าง
2. เส้นลูกโซ่เบาใช้เขียนเส้นอะไรในงานเขียนแบบ
ก. เส้นผ่านศูนย์กลาง
ข. เส้นแสดงแนวตัด
ค. เส้นรูป
ง. เส้นแสดงส่วนแตกหักของชิ้นงาน
3. เส้นที่ใช้ในงานเขียนแบบแบ่งเป็นกี่ชนิด
ก. 2 ชนิด
ข. 3 ชนิด
ค. 4 ชนิด
ง. 5 ชนิด
4. เกณฑ์ของหัวลูกศรมีว่าอย่างไร
ก. ความยาวเป็น 1 เท่าของความกว้าง
ข. ความยาวเป็น 2 เท่าของความกว้าง
ค. ความยาวเป็น 3 เท่าของความกว้าง
ง. ความยาวเป็น 4 เท่าของความกว้าง
แบบทดสอบก่อนเรียน
รายวิชาช่างไม้ครุภัณฑ์ เรื่องเส้นและสัญลักษณ์ในงานเขียนแบบ
5. การขีดเส้นบอกขนาด ควรมีน้าหนักอย่างไร
ก. น้าหนักเบากว่าเส้นรูป
ข. น้าหนักหนักกว่าเส้นรูป
ค. น้าหนักเท่ากับเส้นรูป
ง. น้าหนักเท่ากับหัวลูกศร
6. การเขียนแบบภาพออบลิคต่างกับภาพไอโซเมตริกอย่างไร
ก. เป็นภาพลักษณะสามมิติ
ข. เป็นภาพที่มองเห็นสามด้าน
ค. มีเส้น 90 องศา
ง. การยกมุมด้านข้าง
7. การเขียนแบบภาพออบลิค ควรเขียนภาพด้านใดก่อน
ก. ด้านบน
ข. ด้านหน้า
ค. ด้านข้าง
ง. ด้านหลัง
8. การเขียนแบบภาพไอโซเมตริกเป็นการเขียนแบบภาพลักษณะใด
ก. 1 มิติ
ข. 2 มิติ
ค. 3 มิติ
ง. 4 มิติ
9. การเขียนแบบภาพไอโซเมตริกต้องเขียนเส้นใดก่อน
ก. เส้นฐาน
ข. เส้น 30 องศา
ค. เส้น 60 องศา
ง. เส้น 45 องศา
10. การเขียนแบบภาพไอโซเมตริก แสดงให้เห็นภาพกี่ด้าน
ก. 1 ด้าน
ข. 2 ด้าน
ค. 3 ด้าน
ง. 4 ด้าน
**********************
เรื่องที่ 1
เส้นและสัญลักษณ์ในงานเขียนแบบ
เส้น
การเขียนแบบจะประกอบด้วยเส้นมากมาย แต่ละเส้นมีขนาดไม่เท่ากันและเส้นต่าง ๆ เหล่านั้น
ก็มีความหมายไม่เหมือนกัน ผู้เขียนแบบจาเป็นจะต้องรู้ความหมายของเส้นต่าง ๆ เหล่านั้นได้อย่าง
ถูกต้องตามความหมาย ซึ่งจะแบ่งออกได้ดังนี้
1. เส้นเต็ม ( VISIBLE LINE ) ลักษณะของเส้นคือ เส้นที่ขีดจากจุดหนึ่งไปยังจุดหนึ่ง จะเป็น
เส้นตรงหรือเส้นโค้งก็ได้แบ่งออกเป็น 3 ชนิด
1.1 เส้นเต็มหนัก ใช้เขียนเส้นรูป เส้นกรอบ
1.2 เส้นเต็มปานกลาง ใช้เขียนเส้นบอกขนาด กาหนดขนาดและเส้นแสดงภาคตัด
1.3 เส้นเต็มเบา ใช้เขียนเส้นร่างแบบ
2. เส้นประหรือเส้นไข่ปลา ( HIDDLE LINE ) มีลักษณะคือ ขีดเป็นเส้นสั้นๆต่อกันไปเรื่อย ๆ
โดยแต่ละเส้นมีความยาว 3 มิลลิเมตร ระยะห่างของแต่ละเส้น 1 มิลลิเมตร ใช้แสดงส่วนที่เส้นขอบ
รูปถูกบังหรือส่วนที่สายตามองไม้เห็น
3. เส้นลูกโซ่ ( CHIN LINE ) มีลักษณะคือ ขีดเป็นเส้นยาวสั้นยาวสั้นสลับกันไปเรื่อยๆ
โดยที่เส้นยาวมีความยาว 10 – 15 มิลลิเมตร เส้นสั้นมีความยาว 3 มิลลิเมตร ระยะห่างของแต่ละเส้น
1 มิลลิเมตร แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
3.1 เส้นลูกโซ่หนัก เส้นแสดงแนวการตัด
3.2 เส้นลูกโซ่เบา ใช้เขียนเส้นผ่านศูนย์กลาง
4. เส้นที่เขียนด้วยมือ ( FREE HAND LINE ) เป็นเส้นที่ใช้มือเปล่าเขียนโดยไม่ได้ใช้
ไม้บรรทัด เขียนแสดงส่วนที่แตกหักของชิ้นงาน เส้นลายไม้(ดังภาพที่ 3.1)
ภาพที่ 3.1 แสดงเส้นที่เขียนด้วยมือ
ที่มา : http://203.172.139.92/nonghan/kunplan/kkk/index1.htm
สัญลักษณ์ของวัตถุ
สัญลักษณ์ของวัตถุที่ใช้แสดงในภาคตัดมีขึ้นเพื่อแสดงให้ทราบว่าวัตถุที่ใช้นั้นเป็นชนิดใดบ้าง
เพราะต้องการให้สะดวกและรวดเร็วในการทางาน จึงได้แยกสัญลักษณ์ดังต่อไปนี้ (ดังภาพที่ 3.2)
ภาพที่ 3.2 สัญลักษณ์ของวัตถุ
ที่มา : http://203.172.139.92/nonghan/kunplan/kkk/index1.htm
การบอกขนาด
การบอกขนาดมีความสาคัญสาหรับงานเขียนแบบเป็นอย่างยิ่ง เพื่อว่าผู้อ่านแบบจะได้ทราบถึง
ขนาดของสิ่งของนั้นๆ การบอกขนาดมีส่วนประกอบดังต่อไปนี้ (ดังภาพที่ 3.3)
เส้นกาหนดขนาด ( EXTENSION ) มีลักษณะคล้ายเสารั้ว ห่างจากภาพ 1 ม.ม. ยาว 10 ม.ม.
เส้นบอกขนาด ( DIMENSION ) มีลักษณะคล้ายลวดหนาม ห่างจากภาพ 10 ม.ม.
ภาพที่ 3.3 การบอกขนาด
ที่มา : http://203.172.139.92/nonghan/kunplan/kkk/index1.htm
หัวลูกศร ( ARROW HEAD) ความยาวเป็น 3 เท่าของความกว้าง ปกติยาว 6 ม.ม. กว้าง 2 ม.ม.
(ดังภาพที่ 3.4)
ภาพที่ 3.4 หัวลูกศร
ที่มา : http://203.172.139.92/nonghan/kunplan/kkk/index1.htm
เครื่องหมาย  หรือ D ย่อมาจาก DIAMETER คือ เส้นผ่านศูนย์กลาง
เครื่องหมาย R. ย่อมาจาก RADIUS คือ รัศมี (ดังภาพที่ 3.5)
ภาพที่ 3.5 การบอกความยาวเส้นผ่าศูนย์กลางและรัศมี
ที่มา : http://203.172.139.92/nonghan/kunplan/kkk/index1.htm
การเขียนตัวเลขบอกขนาด เขียนได้ 2 แบบ คือ เขียนบนเส้นบอกขนาดและเขียนกลางเส้นบอกขนาด
(ดังภาพที่ 3.6)
การเขียนตัวเลขแบบบนเส้น
การเขียนตัวเลขแบบกลางเส้น
ภาพที่ 3.6 การเขียนตัวเลขบอกขนาด
ที่มา : http://203.172.139.92/nonghan/kunplan/kkk/index1.htm
การเขียนภาพออบลิค
รูปออบลิคเป็นแบบภาพสามมิติอีกชนิดหนึ่ง มีลักษณะคล้ายกับรูปไอโซเมตริก ส่วนที่แตกต่าง
กันคือ ภาพออบลิคจะแสดงด้านหน้าตรงๆ ส่วนด้านข้างจะทามุม 45 องศา เพียงด้านเดียว คือ
ด้านขวามือ เนื่องจากภาพออบลิคแสดงด้านหน้าได้ชัดเจนดี จึงนิยมเขียนภาพที่มีรายละเอียดด้านหน้า
มาก ๆ
ข้อสังเกตในการเขียนแบบภาพออบลิค
1. มุมที่ใช้ในการเขียนแบบภาพออบลิคจะมีเพียง 2 มุมเท่านั้นคือ 45 องศาและ 90 องศา
เส้นที่ขีดทามุมด้านขวามือจะเป็นมุม 45 องศา ส่วนเส้นที่ลากขึ้นหรือลากลงจะเป็นมุม 90 องศา
2. เส้นที่ขีดจะเป็นเส้นขนานกันโดยตลอดคือ เส้นที่ลากทามุมด้านขวาก็จะขนานกันกับ
ด้านขวา เส้นที่ลากด้านซ้ายเป็นเส้นระนาบ และเส้นที่ลากขึ้นหรือลงก็จะขนานกัน
3. การเขียนเส้นระนาบเส้นแรกควรให้อยู่ด้านล่างเพราะภาพที่เขียนจะอยู่ด้านบนและ
ควรคานึงถึงความสูงของภาพด้วย
4. ก่อนที่จะเขียนเส้นตั้งฉากจะต้องคานึงถึงความยาวด้านหน้าของภาพด้วย
ลาดับขั้นการเขียนแบบภาพออบลิค
1. ให้เขียนภาพด้านหน้าก่อน
2. ขีดเส้นด้านข้าง 45 องศา
3. ขีดเส้นตั้งฉากและเส้นระนาบให้ครบ
ภาพที่ 3.7 ขั้นตอนการเขียนภาพออบลิค
การเขียนแบบภาพไอโซเมตริก
การเขียนแบบภาพไอโซเมตริกเป็นภาพลักษณะสามมิติอีกแบบหนึ่งของการเขียนแบบ
มีลักษณะเป็นภาพที่มองเห็นจากมุมที่กาหนดเป็นจุดเริ่มต้น การสร้างภาพไอโซเมตริกนี้จึงเป็นการวัด
เอาขนาดกว้าง ยาว ของด้านต่าง ๆ มาเป็นขนา ดในภาพนั้นเอง การเขียนแบบภาพไอโซเมตริกนี้
จะแสดงการเขียนโดยใช้มุมทั้งสองข้างเท่ากัน คือ เป็นมุม 30 องศา โดยวัดจากเส้นระนาบ
ข้อสังเกตในการเขียนแบบภาพไอโซเมตริก
1. มุมที่ใช้ในการเขียนแบบภาพไอโซเมตริกนี้จะมีเพียง 2 มุมเท่านั้นคือมุม 30 องศา และ
90 องศา กล่าวคือ เส้นที่ขีดทามุมด้านซ้ายและขวา จะทามุม 30 องศา ส่วนเส้นที่ขีดขึ้นหรือขีดลงจะ
เป็นมุม 90 องศา
2. เส้นที่ขีดจะเป็นเส้นขนานกันโดยตลอดคืนเส้นที่ทามุมด้านซ้ายก็จะขนานกัน เส้นที่
ลากด้านขวาก็จะขนานกัน และเส้นตั้งฉากก็จะขนานกัน
3. การเขียนเส้นระนาบเส้นแรก ควรให้อยู่ด้านล่างเพราะภาพที่เขียนจะอยู่ด้านบนและ
ควรคานึงถึงความสูงของ ภาพที่จะเขียนด้วย เพื่อไม่ให้ภาพที่เขียนล้นกรอบกระดาษเขียนแบบ
4. ก่อนที่จะเขียนเส้นตั้งฉากจะต้องดูก่อนว่าภาพเอียงไปด้านใด หากภาพที่จะเขียนเอียง
ด้านซ้ายเส้นตั้งฉากจะต้องอยู่ด้านขวา เป็นต้น
ลาดับขั้นตอนการเขียนแบบภาพไอโซเมตริก
45 องศา
1. ขีดเส้นระนาบ
2. ขีดเส้นตั้งฉากและ 30 องศา ซ้ายและขวา
3. ขีดเส้นตั้งฉากและ 30 องศา ซ้ายและขวา
4. ขีดเส้น 30 องศา ซ้ายและขวา
5. ภาพไอโซเมตริก
ภาพที่ 3.8 ขั้นตอนการเขียนแบบภาพไอโซเมตริก
1.
2.
3.
4.
5.
ขนาดและมาตรฐานของครุภัณฑ์ที่ทาด้วยไม้
ขั้นแรกในการทางานไม้ครุภัณฑ์ เราไม่จาเป็นต้องคิดหรือยึดติดกับการออกแบบด้วยตนเอง
มากนัก เพียงแต่พยายามดูแบบที่ท้องตลาดผลิตออกมา แล้วนามาดัดแปลงให้เหมาะสมกับประโยชน์
การใช้สอยของเรา
ตัวอย่างขนาดมาตรฐานเครื่องครุภัณฑ์ที่ทาด้วยไม้ที่นักเรียนสามารถนาไปประยุกต์มีดังนี้
ภาพที่ 3.9 ขนาดของครุภัณฑ์ประเภท เก้าอี้, โต๊ะเตี้ย, ตู้เตี้ย
ที่มา : หนังสือช่างไม้เฟอร์นิเจอร์และสารพัดช่าง. ม.ป.ป. ไม่มีเลขหน้า
ภาพที่ 3.10 ขนาดของครุภัณฑ์ประเภท เก้าอี้, ตู้, เตียง, โต๊ะ
ที่มา : หนังสือช่างไม้เฟอร์นิเจอร์และสารพัดช่าง. ม.ป.ป. ไม่มีเลขหน้า
ภาพที่ 3.11 ขนาดของครุภัณฑ์ประเภทตู้แบบต่าง ๆ
ที่มา : หนังสือช่างไม้เฟอร์นิเจอร์และสารพัดช่าง. ม.ป.ป. ไม่มีเลขหน้า
กิจกรรมที่ 1
เรื่อง เส้นและสัญลักษณ์ในงานเขียนแบบ
ชื่อ .............................................................................................................. เลขที่ ..................
คาสั่ง : ให้นักเรียนพิจารณาข้อความต่อไปนี้ และทาเครื่องหมาย  หน้าข้อความ
ที่ถูกต้อง ถ้าไม่ถูกต้องให้ทาเครื่องหมาย  หน้าข้อนั้น ( 10 คะแนน )
.......... 1. เส้นที่เขียนด้วยมือใช้เขียนเส้นร่าง
…….. 2. เส้นแบ่งเป็น 4 ชนิด
.......... 3. เส้นเต็มหนักใช้เขียนเส้นรูปในงานเขียนแบบ
.......... 4. เส้นกาหนดขนาดห่างจากภาพ 10 มิลลิเมตร
.......... 5. หัวลูกศรมีความยาวเป็น 2 เท่าของความกว้าง
........... 6. การขีดเส้นบอกขนาดควรให้มีน้าหนักเบากว่าเส้นรูปเล็กน้อย
........... 7. การเขียนภาพออบลิคทาให้มองเห็นภาพ 2 ด้าน
........... 8. การเขียนภาพออบลิคควรเขียนภาพด้านหน้าก่อน
........... 9. การเขียนแบบภาพไอโซเมตริกเริ่มเขียนจากด้านบนของภาพก่อน
........... 10. ภาพไอโซเมตริกยกมุม 30 องศา
คาชี้แจง ข้อสอบแบบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ
คาสั่ง จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วกากบาท (X) ลงในกระดาษคาตอบ
1. การเขียนแบบภาพไอโซเมตริก แสดงให้เห็นภาพกี่ด้าน
ก. 1 ด้าน
ข. 2 ด้าน
ค. 3 ด้าน
ง. 4 ด้าน
2. การเขียนแบบภาพไอโซเมตริกต้องเขียนเส้นใดก่อน
ก. เส้น 30 องศา
ข. เส้น 45 องศา
ค. เส้น 60 องศา
ง. เส้นฐาน
3. การเขียนแบบภาพไอโซเมตริกเป็นการเขียนแบบภาพลักษณะใด
ก. 1 มิติ
ข. 2 มิติ
ค. 3 มิติ
ง. 4 มิติ
4. การเขียนแบบภาพออบลิค ควรเขียนภาพด้านใดก่อน
ก. ด้านหน้า
ข. ด้านหลัง
ค. ด้านบน
ง. ด้านข้าง
แบบทดสอบหลังเรียน
รายวิชาช่างไม้ครุภัณฑ์ เรื่องเส้นและสัญลักษณ์ในงานเขียนแบบ
5. การเขียนแบบภาพออบลิคต่างกับภาพไอโซเมตริกอย่างไร
ก. มีเส้น 90 องศา
ข. การยกมุมด้านข้าง
ค. เป็นภาพลักษณะสามมิติ
ง. เป็นภาพที่มองเห็นสามด้าน
6. การขีดเส้นบอกขนาด ควรมีน้าหนักอย่างไร
ก. น้าหนักเท่ากับเส้นรูป
ข. น้าหนักเท่ากับหัวลูกศร
ค. น้าหนักเบากว่าเส้นรูป
ง. น้าหนักหนักกว่าเส้นรูป
7. เกณฑ์ของหัวลูกศรมีว่าอย่างไร
ก. ความยาวเป็น 1 เท่าของความกว้าง
ข. ความยาวเป็น 2 เท่าของความกว้าง
ค. ความยาวเป็น 3 เท่าของความกว้าง
ง. ความยาวเป็น 4 เท่าของความกว้าง
8. เส้นที่ใช้ในงานเขียนแบบแบ่งเป็นกี่ชนิด
ก. 2 ชนิด
ข. 3 ชนิด
ค. 4 ชนิด
ง. 5 ชนิด
9. เส้นลูกโซ่เบาใช้เขียนเส้นอะไรในงานเขียนแบบ
ก. เส้นรูป
ข. เส้นผ่านศูนย์กลาง
ค. เส้นแสดงแนวตัด
ง. เส้นแสดงส่วนแตกหักของชิ้นงาน
10. เส้นที่เขียนด้วยมือ ใช้เขียนอะไรในงานเขียนแบบ
ก. เส้นร่าง
ข. เส้นกรอบ
ค. เส้นลายไม้
ง. เส้นผ่านศูนย์กลาง
**********************
ภาคผนวก
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
รายวิชาช่างไม้ครุภัณฑ์
เรื่อง เส้นและสัญลักษณ์ในงานเขียนแบบ
1. ก
2. ก
3. ค
4. ค
5. ก
6. ง
7. ข
8. ค
9. ก
10. ค
เฉลยกิจกรรมที่ 1
เรื่อง เส้นและสัญลักษณ์ในงานเขียนแบบ
คาสั่ง : ให้นักเรียนพิจารณาข้อความต่อไปนี้ และทาเครื่องหมาย  หน้าข้อความ
ที่ถูกต้อง ถ้าไม่ถูกต้องให้ทาเครื่องหมาย  หน้าข้อนั้น ( 10 คะแนน )
.... ...... 1. เส้นที่เขียนด้วยมือใช้เขียนเส้นร่าง
…….. 2. เส้นแบ่งเป็น 4 ชนิด
..... ..... 3. เส้นเต็มหนักใช้เขียนเส้นรูปในงานเขียนแบบ
..... ..... 4. เส้นกาหนดขนาดห่างจากภาพ 10 มิลลิเมตร
..... ..... 5. หัวลูกศรมีความยาวเป็น 2 เท่าของความกว้าง
..... .... 6. การขีดเส้นบอกขนาดควรให้มีน้าหนักเบากว่าเส้นรูปเล็กน้อย
.... ....... 7. การเขียนภาพออบลิคทาให้มองเห็นภาพ 2 ด้าน
..... .... 8. การเขียนภาพออบลิคควรเขียนภาพด้านหน้าก่อน
..... .. . . 9. การเขียนแบบภาพไอโซเมตริกเริ่มเขียนจากด้านบนของภาพก่อน
..... .... 10. ภาพไอโซเมตริกยกมุม 30 องศา
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
รายวิชาช่างไม้ครุภัณฑ์
เรื่อง เส้นและสัญลักษณ์ในงานเขียนแบบ
1. ค
2. ง
3. ค
4. ก
5. ข
6. ค
7. ค
8. ค
9. ข
10. ค
บรรณานุกรม
กลุ่มสาระศิลปะ โรงเรียนบางสะพานวิทยา. บทที่ 7 ภาพสามมิติ (Pictorial View).
[ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://www.bspwit.ac.th/LINK%20PAGE/Art%20
Group/Drawing%20Tech/D-TECH%20UNIT-07.php.
(วันที่ค้นข้อมูล 10 พฤษภาคม 2554).
ครูป.ทศพล จันทนะสาโร. หน่วยที่ 9 เรื่องการเขียนภาพ “ออบลิค” (Oblique) และภาพ
“ไอโซเมตริค” (Isometric). [ออนไลน์]. แหล่งที่มา :
http://school.obec.go.th/pawt/unit_content/unit_9/oblique.html.
(วันที่ค้นข้อมูล 10 พฤษภาคม 2554).
ชาลี ลัทธิ,วรพงษ์ ลีพรหมมา, ชวิน เป้าอารีย์และ สุรเดช สุทธาวาทิน. (2527). ช่างทั่วไป.
กรมอาชีวศึกษา.
ประณต กุลประสูติ. (2533). เทคนิคงานไม้. กรุงเทพฯ : อมรินทร์ พริ้นติ้ง จากัด.
โรงเรียนหนองหานวิทยา. วิชา ง32201 งานเขียนแบบ. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา :
http://203.172.139.92/nonghan/kunplan/kkk/index1.htm
(วันที่ค้นข้อมูล 10 พฤษภาคม 2554).
หนังสือช่างไม้เฟอร์นิเจอร์และสารพัดช่าง. (ม.ป.ป.) กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์พิทยาคาร.

More Related Content

What's hot

เรียงความ ชนะเลิศ วันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2552
เรียงความ ชนะเลิศ วันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2552เรียงความ ชนะเลิศ วันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2552
เรียงความ ชนะเลิศ วันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2552
Duangjai Boonmeeprasert
 
โครงงานน้ำยาล้างจานกลิ่นมะกรูด
โครงงานน้ำยาล้างจานกลิ่นมะกรูดโครงงานน้ำยาล้างจานกลิ่นมะกรูด
โครงงานน้ำยาล้างจานกลิ่นมะกรูด
Wannwipha Kanjan
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
พัน พัน
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
Supaporn Khiewwan
 
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
อำนาจ ศรีทิม
 
ตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการ
justymew
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัน พัน
 
001 คำนำชุดฝึกทักษะ
001 คำนำชุดฝึกทักษะ001 คำนำชุดฝึกทักษะ
001 คำนำชุดฝึกทักษะ
Piyarerk Bunkoson
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
teerachon
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
Yanee Chaiwongsa
 
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
Napadon Yingyongsakul
 

What's hot (20)

หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษหลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
 
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
 
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิสรายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
 
โครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลายโครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลาย
 
เรียงความ ชนะเลิศ วันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2552
เรียงความ ชนะเลิศ วันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2552เรียงความ ชนะเลิศ วันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2552
เรียงความ ชนะเลิศ วันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2552
 
การเทียบสระภาษาไทยอังกฤษ
การเทียบสระภาษาไทยอังกฤษการเทียบสระภาษาไทยอังกฤษ
การเทียบสระภาษาไทยอังกฤษ
 
โครงงานน้ำยาล้างจานกลิ่นมะกรูด
โครงงานน้ำยาล้างจานกลิ่นมะกรูดโครงงานน้ำยาล้างจานกลิ่นมะกรูด
โครงงานน้ำยาล้างจานกลิ่นมะกรูด
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
 
ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตรชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
 
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
 
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
 
ตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการ
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
 
001 คำนำชุดฝึกทักษะ
001 คำนำชุดฝึกทักษะ001 คำนำชุดฝึกทักษะ
001 คำนำชุดฝึกทักษะ
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
 
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
 

Viewers also liked

ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
อำนาจ ศรีทิม
 
การทำครุภัณฑ์งานไม้
การทำครุภัณฑ์งานไม้การทำครุภัณฑ์งานไม้
การทำครุภัณฑ์งานไม้
พัน พัน
 
1 การเขียนแบบเบื้อนต้น
1 การเขียนแบบเบื้อนต้น1 การเขียนแบบเบื้อนต้น
1 การเขียนแบบเบื้อนต้น
Tolaha Diri
 
досуги башуткиной
досуги башуткинойдосуги башуткиной
досуги башуткиной
msikanov
 
торжественное мероприятие, посвящённое 70 летию великой победы
торжественное мероприятие, посвящённое 70 летию великой победыторжественное мероприятие, посвящённое 70 летию великой победы
торжественное мероприятие, посвящённое 70 летию великой победы
msikanov
 
презентация футбол кузьмичев в.в.
презентация футбол кузьмичев в.в.презентация футбол кузьмичев в.в.
презентация футбол кузьмичев в.в.
msikanov
 
sanjay sony(IIMP Updated )
sanjay sony(IIMP Updated )sanjay sony(IIMP Updated )
sanjay sony(IIMP Updated )
Sanjay Sony
 

Viewers also liked (20)

ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
 
การทำครุภัณฑ์งานไม้
การทำครุภัณฑ์งานไม้การทำครุภัณฑ์งานไม้
การทำครุภัณฑ์งานไม้
 
1 การเขียนแบบเบื้อนต้น
1 การเขียนแบบเบื้อนต้น1 การเขียนแบบเบื้อนต้น
1 การเขียนแบบเบื้อนต้น
 
Week 15 (2014) Interface and application programming
Week 15 (2014) Interface and application programmingWeek 15 (2014) Interface and application programming
Week 15 (2014) Interface and application programming
 
Week 6 (2014) Electronics Design
Week 6 (2014) Electronics DesignWeek 6 (2014) Electronics Design
Week 6 (2014) Electronics Design
 
досуги башуткиной
досуги башуткинойдосуги башуткиной
досуги башуткиной
 
торжественное мероприятие, посвящённое 70 летию великой победы
торжественное мероприятие, посвящённое 70 летию великой победыторжественное мероприятие, посвящённое 70 летию великой победы
торжественное мероприятие, посвящённое 70 летию великой победы
 
создание бизнес моделей константин холстинин
создание бизнес моделей константин холстининсоздание бизнес моделей константин холстинин
создание бизнес моделей константин холстинин
 
презентация футбол кузьмичев в.в.
презентация футбол кузьмичев в.в.презентация футбол кузьмичев в.в.
презентация футбол кузьмичев в.в.
 
Week 3 (2014) Computer-controlled cutting Part2
Week 3 (2014) Computer-controlled cutting Part2Week 3 (2014) Computer-controlled cutting Part2
Week 3 (2014) Computer-controlled cutting Part2
 
Dreamsphere Trade Copier
Dreamsphere Trade CopierDreamsphere Trade Copier
Dreamsphere Trade Copier
 
Week 8 (2014) Embedded programming
Week 8 (2014) Embedded programmingWeek 8 (2014) Embedded programming
Week 8 (2014) Embedded programming
 
Story board projek anyaman tikar kertas
Story board projek anyaman tikar kertasStory board projek anyaman tikar kertas
Story board projek anyaman tikar kertas
 
Week 18 (2014) Project Development
Week 18 (2014) Project DevelopmentWeek 18 (2014) Project Development
Week 18 (2014) Project Development
 
Campaign8
Campaign8Campaign8
Campaign8
 
sanjay sony(IIMP Updated )
sanjay sony(IIMP Updated )sanjay sony(IIMP Updated )
sanjay sony(IIMP Updated )
 
30032 pentium4 brief
30032 pentium4 brief30032 pentium4 brief
30032 pentium4 brief
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
Amanda Seyfried Gallery 20121224
Amanda Seyfried Gallery 20121224Amanda Seyfried Gallery 20121224
Amanda Seyfried Gallery 20121224
 
You tube[1]
You tube[1]You tube[1]
You tube[1]
 

Similar to ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ

สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
สื่อที่ใช้  ชุดการสอนสื่อที่ใช้  ชุดการสอน
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
Lampang Rajabhat University
 
สาระการเรียนรู้และมาตรฐานตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้และมาตรฐานตัวชี้วัดสาระการเรียนรู้และมาตรฐานตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้และมาตรฐานตัวชี้วัด
Oranee Seelopa
 
แผนที่และประวัติความเป็นมาของแผนที่
แผนที่และประวัติความเป็นมาของแผนที่แผนที่และประวัติความเป็นมาของแผนที่
แผนที่และประวัติความเป็นมาของแผนที่
พัน พัน
 

Similar to ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ (20)

หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
 
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
สื่อที่ใช้  ชุดการสอนสื่อที่ใช้  ชุดการสอน
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
 
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
 
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้น
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้นบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้น
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้น
 
(วัสดุกราฟฟิค)สื่อ
(วัสดุกราฟฟิค)สื่อ(วัสดุกราฟฟิค)สื่อ
(วัสดุกราฟฟิค)สื่อ
 
Plan
PlanPlan
Plan
 
อักษรหัวกลม - Peterfineart.com
อักษรหัวกลม - Peterfineart.comอักษรหัวกลม - Peterfineart.com
อักษรหัวกลม - Peterfineart.com
 
ออกแบบนิเทศศิลป์
ออกแบบนิเทศศิลป์ออกแบบนิเทศศิลป์
ออกแบบนิเทศศิลป์
 
Ebook เรขาคณิต
Ebook เรขาคณิตEbook เรขาคณิต
Ebook เรขาคณิต
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานคิมพิวเตอร์ (เดี่ยว)
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานคิมพิวเตอร์ (เดี่ยว)ใบงานที่5 โครงร่างโครงานคิมพิวเตอร์ (เดี่ยว)
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานคิมพิวเตอร์ (เดี่ยว)
 
สาระการเรียนรู้และมาตรฐานตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้และมาตรฐานตัวชี้วัดสาระการเรียนรู้และมาตรฐานตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้และมาตรฐานตัวชี้วัด
 
research 653.pdf
research 653.pdfresearch 653.pdf
research 653.pdf
 
แบบประดิษฐ์ - Peterfineart.com
แบบประดิษฐ์ - Peterfineart.comแบบประดิษฐ์ - Peterfineart.com
แบบประดิษฐ์ - Peterfineart.com
 
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตรแผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
แผนการสอน
แผนการสอนแผนการสอน
แผนการสอน
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
 
มาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนมาตราแม่ กน
มาตราแม่ กน
 
แผนที่และประวัติความเป็นมาของแผนที่
แผนที่และประวัติความเป็นมาของแผนที่แผนที่และประวัติความเป็นมาของแผนที่
แผนที่และประวัติความเป็นมาของแผนที่
 
%A1%d2%c3%e0%a2%d5%c2%b9%c3%d2%c2%a7%d2%b9
%A1%d2%c3%e0%a2%d5%c2%b9%c3%d2%c2%a7%d2%b9%A1%d2%c3%e0%a2%d5%c2%b9%c3%d2%c2%a7%d2%b9
%A1%d2%c3%e0%a2%d5%c2%b9%c3%d2%c2%a7%d2%b9
 

More from อำนาจ ศรีทิม

องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
อำนาจ ศรีทิม
 
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ินช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
อำนาจ ศรีทิม
 

More from อำนาจ ศรีทิม (20)

ประวัติดนตรีไทย 56
ประวัติดนตรีไทย 56ประวัติดนตรีไทย 56
ประวัติดนตรีไทย 56
 
วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56
 
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
 
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
 
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
 
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
 
บทคัดย่องานวิจัย
บทคัดย่องานวิจัยบทคัดย่องานวิจัย
บทคัดย่องานวิจัย
 
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
 
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ินช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
 
การป้องกันอุบัติเหตุ
การป้องกันอุบัติเหตุการป้องกันอุบัติเหตุ
การป้องกันอุบัติเหตุ
 
การปฏิบัติงาน
การปฏิบัติงานการปฏิบัติงาน
การปฏิบัติงาน
 
เครื่องมือ3
เครื่องมือ3เครื่องมือ3
เครื่องมือ3
 
Picasa[1]
Picasa[1]Picasa[1]
Picasa[1]
 
Google docs[1]
Google docs[1]Google docs[1]
Google docs[1]
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 
Twitter
TwitterTwitter
Twitter
 
การเชื่อมฟลักซ์
การเชื่อมฟลักซ์การเชื่อมฟลักซ์
การเชื่อมฟลักซ์
 

ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ

  • 1. เอกสารประกอบการเรียนเอกสารประกอบการเรียน เล่มที่ 3 เรื่อง เส้นและสัญลักษณ์ในงานเขียนแบบ อานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครู วิทยฐานะครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 41 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ รายวิชาช่างไม้ครุภัณฑ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
  • 2. คานา ในปัจจุบันสภาพการจัดการเรียนการสอน มุ่งเน้นให้นักเรียนได้ศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง ให้มากที่สุด เพื่อให้นักเรียนมีนิสัย ใฝ่เรียน ใฝ่รู้ อยู่เสมอ ดังนั้นการจัดทาเอกสารประกอบการเรียน เป็นแนวทางหนึ่งที่ส่งเสริมให้นักเรียนค้นคว้าและสามารถเรียนรู้หาคาตอบได้ด้วยตนเอง ผู้เขียนจึงได้ดาเนินการสร้างเอกสารประกอบการเรียน ราย วิชาช่างไม้ครุภัณฑ์ ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 จานวน 6 เล่ม เป็นเอกสารที่ผู้เขียนดาเนินการสร้างตรงตาม หลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ผู้เขียนได้ค้นคว้า รวบรวม เนื้อหา ความรู้จากตาราและ แหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ อย่างหลากหลาย เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และทักษะกระบวนการปฏิบัติจริง ที่เหมาะสมกับวัยและความสามารถของผู้เรียน สาหรับเอกสารประกอบการเรียนเล่มนี้ ประกอบด้วย เนื้อหาเกี่ยวกับเส้นและสัญลักษณ์ในงานเขียนแบบ ซึ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารประกอบการเรียน ที่จัดทาเล่มนี้ สามารถแก้ปัญหาและพัฒนานักเรียนให้มีคุณภาพต่อไป นอกจากนั้นครูอาจารย์ที่สนใจ สามารถใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้บรรลุผล ตามจุดมุ่งหมายของ หลักสูตร อย่างมีประสิทธิภาพ ขอขอบคุณ นายธวัชชัย เทศขา ผู้อานวยการโรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ นายอาวุธ เพ็งแตง ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนพิจิตรพิทยาคม นายอภิรัฐ จันดาหาญ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนตะพานหิน นางกมลรัตน์ มีไชโย ครูชานาญการพิเศ ษ นางธันยพร เขียวเขิน ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ และนางศิริพร ภู่ดี ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนบ้านหนองหูช้าง ที่ได้กรุณาตรวจสอบเอกสารประกอบการเรียน และให้ข้อเสนอแนะ ที่เป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ผู้เขียนจึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ อานาจ ศรีทิม
  • 3. สารบัญ หน้า คานา ก สารบัญ ข จุดประสงค์การเรียนรู้ ค คาชี้แจง ง กระดาษคาตอบ จ แบบทดสอบก่อนเรียน ฉ เรื่องที่ 1 เส้นและสัญลักษณ์ในงานเขียนแบบ 1 - กิจกรรมที่ 1 11 แบบทดสอบหลังเรียน 12 ภาคผนวก 14 - เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 15 - เฉลยกิจกรรมที่ 1 16 - เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 17 บรรณานุกรม 18
  • 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ หลังจากนักเรียนศึกษาเอกสารประกอบการเรียน รายวิชาช่างไม้ครุภัณฑ์ เรื่องเส้นและ สัญลักษณ์ในงานเขียนแบบ แล้ว นักเรียนจะมีความรู้ความสามารถ ดังนี้ 1. สามารถบอกความหมายของเส้นและสัญลักษณ์ที่ใช้ในงานเขียนแบบได้ 2. สามารถกาหนดขนาดในงานเขียนแบบได้ 3. สามารถอธิบายขั้นตอนการเขียนภาพออบลิค และไอโซเมตริกได้ 4. สามารถเลือกใช้แบบเพื่อเขียนแบบชิ้นงานครุภัณฑ์ได้
  • 5. คาชี้แจงสาหรับนักเรียน เอกสารประกอบการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สาระการอาชีพ รายวิชาช่างไม้ครุภัณฑ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่มนี้ เป็นเอกสารสาหรับนักเรียน เพื่อใช้ประกอบ การเรียนรู้ และ ฝึกทักษะในการปฏิบัติกิจกรรม โดยนักเรียนสามารถใช้เอกสารประกอบการเรียน ได้ด้วยตนเองตามแนวทางตามลาดับดังนี้ 1. ให้นักเรียนศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้ทราบว่า เมื่อศึกษาจบแล้ว จะได้รับความรู้ อะไรบ้าง 2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน 10 ข้อ เพื่อตรวจสอบความรู้พื้นฐานของนักเรียน 3. ให้นักเรียนศึกษาและทาความเข้าใจเนื้อหา เรื่องที่ 1 เส้นและสัญลักษณ์ในงานเขียนแบบ 4. ทากิจกรรมตามที่กาหนดให้ด้วยตนเอง ถ้าทาไม่ได้ หรือสงสัยให้อ่านทบทวนเนื้อหาใหม่ 5. ตรวจคาตอบแบบกิจกรรมที่ 1 จากเฉลยในส่วนของภาคผนวก 6. หลังทากิจกรรมเสร็จแล้วให้ทาแบบทดสอบหลังเรียน จานวน 10 ข้อ 7. ตรวจคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียนจากเฉลยในส่วนของ ภาคผนวก 8. สรุปคะแนนในแบบสรุปผลการเรียน
  • 6. รายวิชาช่างไม้ครุภัณฑ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เล่มที่ 3 เรื่องเส้นและสัญลักษณ์ในงานเขียนแบบ ชื่อ ................................................................................................................ เลขที่ ............................. แบบทดสอบก่อนเรียน ข้อ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 สรุปผลการเรียน คะแนนเต็ม คะแนน แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรียน แบบทดสอบหลังเรียน ข้อ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 เกณฑ์การประเมิน 80 - 100 % = ดีมาก 70 – 79 % = ดี 60 - 69 % = พอใช้ 0 - 59 % = ควรปรับปรุง กระดาษคาตอบ
  • 7. คาชี้แจง ข้อสอบแบบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ คาสั่ง จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วกากบาท (X) ลงในกระดาษคาตอบ 1. เส้นที่เขียนด้วยมือ ใช้เขียนอะไรในงานเขียนแบบ ก. เส้นลายไม้ ข. เส้นผ่านศูนย์กลาง ค. เส้นกรอบ ง. เส้นร่าง 2. เส้นลูกโซ่เบาใช้เขียนเส้นอะไรในงานเขียนแบบ ก. เส้นผ่านศูนย์กลาง ข. เส้นแสดงแนวตัด ค. เส้นรูป ง. เส้นแสดงส่วนแตกหักของชิ้นงาน 3. เส้นที่ใช้ในงานเขียนแบบแบ่งเป็นกี่ชนิด ก. 2 ชนิด ข. 3 ชนิด ค. 4 ชนิด ง. 5 ชนิด 4. เกณฑ์ของหัวลูกศรมีว่าอย่างไร ก. ความยาวเป็น 1 เท่าของความกว้าง ข. ความยาวเป็น 2 เท่าของความกว้าง ค. ความยาวเป็น 3 เท่าของความกว้าง ง. ความยาวเป็น 4 เท่าของความกว้าง แบบทดสอบก่อนเรียน รายวิชาช่างไม้ครุภัณฑ์ เรื่องเส้นและสัญลักษณ์ในงานเขียนแบบ
  • 8. 5. การขีดเส้นบอกขนาด ควรมีน้าหนักอย่างไร ก. น้าหนักเบากว่าเส้นรูป ข. น้าหนักหนักกว่าเส้นรูป ค. น้าหนักเท่ากับเส้นรูป ง. น้าหนักเท่ากับหัวลูกศร 6. การเขียนแบบภาพออบลิคต่างกับภาพไอโซเมตริกอย่างไร ก. เป็นภาพลักษณะสามมิติ ข. เป็นภาพที่มองเห็นสามด้าน ค. มีเส้น 90 องศา ง. การยกมุมด้านข้าง 7. การเขียนแบบภาพออบลิค ควรเขียนภาพด้านใดก่อน ก. ด้านบน ข. ด้านหน้า ค. ด้านข้าง ง. ด้านหลัง 8. การเขียนแบบภาพไอโซเมตริกเป็นการเขียนแบบภาพลักษณะใด ก. 1 มิติ ข. 2 มิติ ค. 3 มิติ ง. 4 มิติ 9. การเขียนแบบภาพไอโซเมตริกต้องเขียนเส้นใดก่อน ก. เส้นฐาน ข. เส้น 30 องศา ค. เส้น 60 องศา ง. เส้น 45 องศา 10. การเขียนแบบภาพไอโซเมตริก แสดงให้เห็นภาพกี่ด้าน ก. 1 ด้าน ข. 2 ด้าน ค. 3 ด้าน ง. 4 ด้าน **********************
  • 9. เรื่องที่ 1 เส้นและสัญลักษณ์ในงานเขียนแบบ เส้น การเขียนแบบจะประกอบด้วยเส้นมากมาย แต่ละเส้นมีขนาดไม่เท่ากันและเส้นต่าง ๆ เหล่านั้น ก็มีความหมายไม่เหมือนกัน ผู้เขียนแบบจาเป็นจะต้องรู้ความหมายของเส้นต่าง ๆ เหล่านั้นได้อย่าง ถูกต้องตามความหมาย ซึ่งจะแบ่งออกได้ดังนี้ 1. เส้นเต็ม ( VISIBLE LINE ) ลักษณะของเส้นคือ เส้นที่ขีดจากจุดหนึ่งไปยังจุดหนึ่ง จะเป็น เส้นตรงหรือเส้นโค้งก็ได้แบ่งออกเป็น 3 ชนิด 1.1 เส้นเต็มหนัก ใช้เขียนเส้นรูป เส้นกรอบ 1.2 เส้นเต็มปานกลาง ใช้เขียนเส้นบอกขนาด กาหนดขนาดและเส้นแสดงภาคตัด 1.3 เส้นเต็มเบา ใช้เขียนเส้นร่างแบบ 2. เส้นประหรือเส้นไข่ปลา ( HIDDLE LINE ) มีลักษณะคือ ขีดเป็นเส้นสั้นๆต่อกันไปเรื่อย ๆ โดยแต่ละเส้นมีความยาว 3 มิลลิเมตร ระยะห่างของแต่ละเส้น 1 มิลลิเมตร ใช้แสดงส่วนที่เส้นขอบ รูปถูกบังหรือส่วนที่สายตามองไม้เห็น 3. เส้นลูกโซ่ ( CHIN LINE ) มีลักษณะคือ ขีดเป็นเส้นยาวสั้นยาวสั้นสลับกันไปเรื่อยๆ โดยที่เส้นยาวมีความยาว 10 – 15 มิลลิเมตร เส้นสั้นมีความยาว 3 มิลลิเมตร ระยะห่างของแต่ละเส้น 1 มิลลิเมตร แบ่งออกเป็น 2 ชนิด 3.1 เส้นลูกโซ่หนัก เส้นแสดงแนวการตัด 3.2 เส้นลูกโซ่เบา ใช้เขียนเส้นผ่านศูนย์กลาง
  • 10. 4. เส้นที่เขียนด้วยมือ ( FREE HAND LINE ) เป็นเส้นที่ใช้มือเปล่าเขียนโดยไม่ได้ใช้ ไม้บรรทัด เขียนแสดงส่วนที่แตกหักของชิ้นงาน เส้นลายไม้(ดังภาพที่ 3.1) ภาพที่ 3.1 แสดงเส้นที่เขียนด้วยมือ ที่มา : http://203.172.139.92/nonghan/kunplan/kkk/index1.htm สัญลักษณ์ของวัตถุ สัญลักษณ์ของวัตถุที่ใช้แสดงในภาคตัดมีขึ้นเพื่อแสดงให้ทราบว่าวัตถุที่ใช้นั้นเป็นชนิดใดบ้าง เพราะต้องการให้สะดวกและรวดเร็วในการทางาน จึงได้แยกสัญลักษณ์ดังต่อไปนี้ (ดังภาพที่ 3.2) ภาพที่ 3.2 สัญลักษณ์ของวัตถุ
  • 11. ที่มา : http://203.172.139.92/nonghan/kunplan/kkk/index1.htm การบอกขนาด การบอกขนาดมีความสาคัญสาหรับงานเขียนแบบเป็นอย่างยิ่ง เพื่อว่าผู้อ่านแบบจะได้ทราบถึง ขนาดของสิ่งของนั้นๆ การบอกขนาดมีส่วนประกอบดังต่อไปนี้ (ดังภาพที่ 3.3) เส้นกาหนดขนาด ( EXTENSION ) มีลักษณะคล้ายเสารั้ว ห่างจากภาพ 1 ม.ม. ยาว 10 ม.ม. เส้นบอกขนาด ( DIMENSION ) มีลักษณะคล้ายลวดหนาม ห่างจากภาพ 10 ม.ม. ภาพที่ 3.3 การบอกขนาด ที่มา : http://203.172.139.92/nonghan/kunplan/kkk/index1.htm หัวลูกศร ( ARROW HEAD) ความยาวเป็น 3 เท่าของความกว้าง ปกติยาว 6 ม.ม. กว้าง 2 ม.ม. (ดังภาพที่ 3.4)
  • 12. ภาพที่ 3.4 หัวลูกศร ที่มา : http://203.172.139.92/nonghan/kunplan/kkk/index1.htm เครื่องหมาย  หรือ D ย่อมาจาก DIAMETER คือ เส้นผ่านศูนย์กลาง เครื่องหมาย R. ย่อมาจาก RADIUS คือ รัศมี (ดังภาพที่ 3.5) ภาพที่ 3.5 การบอกความยาวเส้นผ่าศูนย์กลางและรัศมี ที่มา : http://203.172.139.92/nonghan/kunplan/kkk/index1.htm การเขียนตัวเลขบอกขนาด เขียนได้ 2 แบบ คือ เขียนบนเส้นบอกขนาดและเขียนกลางเส้นบอกขนาด (ดังภาพที่ 3.6) การเขียนตัวเลขแบบบนเส้น
  • 13. การเขียนตัวเลขแบบกลางเส้น ภาพที่ 3.6 การเขียนตัวเลขบอกขนาด ที่มา : http://203.172.139.92/nonghan/kunplan/kkk/index1.htm การเขียนภาพออบลิค รูปออบลิคเป็นแบบภาพสามมิติอีกชนิดหนึ่ง มีลักษณะคล้ายกับรูปไอโซเมตริก ส่วนที่แตกต่าง กันคือ ภาพออบลิคจะแสดงด้านหน้าตรงๆ ส่วนด้านข้างจะทามุม 45 องศา เพียงด้านเดียว คือ ด้านขวามือ เนื่องจากภาพออบลิคแสดงด้านหน้าได้ชัดเจนดี จึงนิยมเขียนภาพที่มีรายละเอียดด้านหน้า มาก ๆ ข้อสังเกตในการเขียนแบบภาพออบลิค 1. มุมที่ใช้ในการเขียนแบบภาพออบลิคจะมีเพียง 2 มุมเท่านั้นคือ 45 องศาและ 90 องศา เส้นที่ขีดทามุมด้านขวามือจะเป็นมุม 45 องศา ส่วนเส้นที่ลากขึ้นหรือลากลงจะเป็นมุม 90 องศา 2. เส้นที่ขีดจะเป็นเส้นขนานกันโดยตลอดคือ เส้นที่ลากทามุมด้านขวาก็จะขนานกันกับ ด้านขวา เส้นที่ลากด้านซ้ายเป็นเส้นระนาบ และเส้นที่ลากขึ้นหรือลงก็จะขนานกัน 3. การเขียนเส้นระนาบเส้นแรกควรให้อยู่ด้านล่างเพราะภาพที่เขียนจะอยู่ด้านบนและ ควรคานึงถึงความสูงของภาพด้วย 4. ก่อนที่จะเขียนเส้นตั้งฉากจะต้องคานึงถึงความยาวด้านหน้าของภาพด้วย ลาดับขั้นการเขียนแบบภาพออบลิค 1. ให้เขียนภาพด้านหน้าก่อน 2. ขีดเส้นด้านข้าง 45 องศา
  • 14. 3. ขีดเส้นตั้งฉากและเส้นระนาบให้ครบ ภาพที่ 3.7 ขั้นตอนการเขียนภาพออบลิค การเขียนแบบภาพไอโซเมตริก การเขียนแบบภาพไอโซเมตริกเป็นภาพลักษณะสามมิติอีกแบบหนึ่งของการเขียนแบบ มีลักษณะเป็นภาพที่มองเห็นจากมุมที่กาหนดเป็นจุดเริ่มต้น การสร้างภาพไอโซเมตริกนี้จึงเป็นการวัด เอาขนาดกว้าง ยาว ของด้านต่าง ๆ มาเป็นขนา ดในภาพนั้นเอง การเขียนแบบภาพไอโซเมตริกนี้ จะแสดงการเขียนโดยใช้มุมทั้งสองข้างเท่ากัน คือ เป็นมุม 30 องศา โดยวัดจากเส้นระนาบ ข้อสังเกตในการเขียนแบบภาพไอโซเมตริก 1. มุมที่ใช้ในการเขียนแบบภาพไอโซเมตริกนี้จะมีเพียง 2 มุมเท่านั้นคือมุม 30 องศา และ 90 องศา กล่าวคือ เส้นที่ขีดทามุมด้านซ้ายและขวา จะทามุม 30 องศา ส่วนเส้นที่ขีดขึ้นหรือขีดลงจะ เป็นมุม 90 องศา 2. เส้นที่ขีดจะเป็นเส้นขนานกันโดยตลอดคืนเส้นที่ทามุมด้านซ้ายก็จะขนานกัน เส้นที่ ลากด้านขวาก็จะขนานกัน และเส้นตั้งฉากก็จะขนานกัน 3. การเขียนเส้นระนาบเส้นแรก ควรให้อยู่ด้านล่างเพราะภาพที่เขียนจะอยู่ด้านบนและ ควรคานึงถึงความสูงของ ภาพที่จะเขียนด้วย เพื่อไม่ให้ภาพที่เขียนล้นกรอบกระดาษเขียนแบบ 4. ก่อนที่จะเขียนเส้นตั้งฉากจะต้องดูก่อนว่าภาพเอียงไปด้านใด หากภาพที่จะเขียนเอียง ด้านซ้ายเส้นตั้งฉากจะต้องอยู่ด้านขวา เป็นต้น ลาดับขั้นตอนการเขียนแบบภาพไอโซเมตริก 45 องศา
  • 15. 1. ขีดเส้นระนาบ 2. ขีดเส้นตั้งฉากและ 30 องศา ซ้ายและขวา 3. ขีดเส้นตั้งฉากและ 30 องศา ซ้ายและขวา 4. ขีดเส้น 30 องศา ซ้ายและขวา 5. ภาพไอโซเมตริก
  • 17. ขนาดและมาตรฐานของครุภัณฑ์ที่ทาด้วยไม้ ขั้นแรกในการทางานไม้ครุภัณฑ์ เราไม่จาเป็นต้องคิดหรือยึดติดกับการออกแบบด้วยตนเอง มากนัก เพียงแต่พยายามดูแบบที่ท้องตลาดผลิตออกมา แล้วนามาดัดแปลงให้เหมาะสมกับประโยชน์ การใช้สอยของเรา ตัวอย่างขนาดมาตรฐานเครื่องครุภัณฑ์ที่ทาด้วยไม้ที่นักเรียนสามารถนาไปประยุกต์มีดังนี้ ภาพที่ 3.9 ขนาดของครุภัณฑ์ประเภท เก้าอี้, โต๊ะเตี้ย, ตู้เตี้ย ที่มา : หนังสือช่างไม้เฟอร์นิเจอร์และสารพัดช่าง. ม.ป.ป. ไม่มีเลขหน้า
  • 18. ภาพที่ 3.10 ขนาดของครุภัณฑ์ประเภท เก้าอี้, ตู้, เตียง, โต๊ะ ที่มา : หนังสือช่างไม้เฟอร์นิเจอร์และสารพัดช่าง. ม.ป.ป. ไม่มีเลขหน้า
  • 19. ภาพที่ 3.11 ขนาดของครุภัณฑ์ประเภทตู้แบบต่าง ๆ ที่มา : หนังสือช่างไม้เฟอร์นิเจอร์และสารพัดช่าง. ม.ป.ป. ไม่มีเลขหน้า
  • 20. กิจกรรมที่ 1 เรื่อง เส้นและสัญลักษณ์ในงานเขียนแบบ ชื่อ .............................................................................................................. เลขที่ .................. คาสั่ง : ให้นักเรียนพิจารณาข้อความต่อไปนี้ และทาเครื่องหมาย  หน้าข้อความ ที่ถูกต้อง ถ้าไม่ถูกต้องให้ทาเครื่องหมาย  หน้าข้อนั้น ( 10 คะแนน ) .......... 1. เส้นที่เขียนด้วยมือใช้เขียนเส้นร่าง …….. 2. เส้นแบ่งเป็น 4 ชนิด .......... 3. เส้นเต็มหนักใช้เขียนเส้นรูปในงานเขียนแบบ .......... 4. เส้นกาหนดขนาดห่างจากภาพ 10 มิลลิเมตร .......... 5. หัวลูกศรมีความยาวเป็น 2 เท่าของความกว้าง ........... 6. การขีดเส้นบอกขนาดควรให้มีน้าหนักเบากว่าเส้นรูปเล็กน้อย ........... 7. การเขียนภาพออบลิคทาให้มองเห็นภาพ 2 ด้าน ........... 8. การเขียนภาพออบลิคควรเขียนภาพด้านหน้าก่อน ........... 9. การเขียนแบบภาพไอโซเมตริกเริ่มเขียนจากด้านบนของภาพก่อน ........... 10. ภาพไอโซเมตริกยกมุม 30 องศา
  • 21. คาชี้แจง ข้อสอบแบบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ คาสั่ง จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วกากบาท (X) ลงในกระดาษคาตอบ 1. การเขียนแบบภาพไอโซเมตริก แสดงให้เห็นภาพกี่ด้าน ก. 1 ด้าน ข. 2 ด้าน ค. 3 ด้าน ง. 4 ด้าน 2. การเขียนแบบภาพไอโซเมตริกต้องเขียนเส้นใดก่อน ก. เส้น 30 องศา ข. เส้น 45 องศา ค. เส้น 60 องศา ง. เส้นฐาน 3. การเขียนแบบภาพไอโซเมตริกเป็นการเขียนแบบภาพลักษณะใด ก. 1 มิติ ข. 2 มิติ ค. 3 มิติ ง. 4 มิติ 4. การเขียนแบบภาพออบลิค ควรเขียนภาพด้านใดก่อน ก. ด้านหน้า ข. ด้านหลัง ค. ด้านบน ง. ด้านข้าง แบบทดสอบหลังเรียน รายวิชาช่างไม้ครุภัณฑ์ เรื่องเส้นและสัญลักษณ์ในงานเขียนแบบ
  • 22. 5. การเขียนแบบภาพออบลิคต่างกับภาพไอโซเมตริกอย่างไร ก. มีเส้น 90 องศา ข. การยกมุมด้านข้าง ค. เป็นภาพลักษณะสามมิติ ง. เป็นภาพที่มองเห็นสามด้าน 6. การขีดเส้นบอกขนาด ควรมีน้าหนักอย่างไร ก. น้าหนักเท่ากับเส้นรูป ข. น้าหนักเท่ากับหัวลูกศร ค. น้าหนักเบากว่าเส้นรูป ง. น้าหนักหนักกว่าเส้นรูป 7. เกณฑ์ของหัวลูกศรมีว่าอย่างไร ก. ความยาวเป็น 1 เท่าของความกว้าง ข. ความยาวเป็น 2 เท่าของความกว้าง ค. ความยาวเป็น 3 เท่าของความกว้าง ง. ความยาวเป็น 4 เท่าของความกว้าง 8. เส้นที่ใช้ในงานเขียนแบบแบ่งเป็นกี่ชนิด ก. 2 ชนิด ข. 3 ชนิด ค. 4 ชนิด ง. 5 ชนิด 9. เส้นลูกโซ่เบาใช้เขียนเส้นอะไรในงานเขียนแบบ ก. เส้นรูป ข. เส้นผ่านศูนย์กลาง ค. เส้นแสดงแนวตัด ง. เส้นแสดงส่วนแตกหักของชิ้นงาน 10. เส้นที่เขียนด้วยมือ ใช้เขียนอะไรในงานเขียนแบบ ก. เส้นร่าง ข. เส้นกรอบ ค. เส้นลายไม้ ง. เส้นผ่านศูนย์กลาง **********************
  • 25. เฉลยกิจกรรมที่ 1 เรื่อง เส้นและสัญลักษณ์ในงานเขียนแบบ คาสั่ง : ให้นักเรียนพิจารณาข้อความต่อไปนี้ และทาเครื่องหมาย  หน้าข้อความ ที่ถูกต้อง ถ้าไม่ถูกต้องให้ทาเครื่องหมาย  หน้าข้อนั้น ( 10 คะแนน ) .... ...... 1. เส้นที่เขียนด้วยมือใช้เขียนเส้นร่าง …….. 2. เส้นแบ่งเป็น 4 ชนิด ..... ..... 3. เส้นเต็มหนักใช้เขียนเส้นรูปในงานเขียนแบบ ..... ..... 4. เส้นกาหนดขนาดห่างจากภาพ 10 มิลลิเมตร ..... ..... 5. หัวลูกศรมีความยาวเป็น 2 เท่าของความกว้าง ..... .... 6. การขีดเส้นบอกขนาดควรให้มีน้าหนักเบากว่าเส้นรูปเล็กน้อย .... ....... 7. การเขียนภาพออบลิคทาให้มองเห็นภาพ 2 ด้าน ..... .... 8. การเขียนภาพออบลิคควรเขียนภาพด้านหน้าก่อน ..... .. . . 9. การเขียนแบบภาพไอโซเมตริกเริ่มเขียนจากด้านบนของภาพก่อน ..... .... 10. ภาพไอโซเมตริกยกมุม 30 องศา
  • 27. บรรณานุกรม กลุ่มสาระศิลปะ โรงเรียนบางสะพานวิทยา. บทที่ 7 ภาพสามมิติ (Pictorial View). [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://www.bspwit.ac.th/LINK%20PAGE/Art%20 Group/Drawing%20Tech/D-TECH%20UNIT-07.php. (วันที่ค้นข้อมูล 10 พฤษภาคม 2554). ครูป.ทศพล จันทนะสาโร. หน่วยที่ 9 เรื่องการเขียนภาพ “ออบลิค” (Oblique) และภาพ “ไอโซเมตริค” (Isometric). [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://school.obec.go.th/pawt/unit_content/unit_9/oblique.html. (วันที่ค้นข้อมูล 10 พฤษภาคม 2554). ชาลี ลัทธิ,วรพงษ์ ลีพรหมมา, ชวิน เป้าอารีย์และ สุรเดช สุทธาวาทิน. (2527). ช่างทั่วไป. กรมอาชีวศึกษา. ประณต กุลประสูติ. (2533). เทคนิคงานไม้. กรุงเทพฯ : อมรินทร์ พริ้นติ้ง จากัด. โรงเรียนหนองหานวิทยา. วิชา ง32201 งานเขียนแบบ. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://203.172.139.92/nonghan/kunplan/kkk/index1.htm (วันที่ค้นข้อมูล 10 พฤษภาคม 2554). หนังสือช่างไม้เฟอร์นิเจอร์และสารพัดช่าง. (ม.ป.ป.) กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์พิทยาคาร.