SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 44
Baixar para ler offline
เอกสารประกอบการเรียน วิชา วท0206 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ       1


                                ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

ระบบสารสนเทศ

        ขอมูล, สารสนเทศ และการจัดการ
          ขอมูล (Data) หมายถึงคาความจริง ซึ่งแสดงถึงความเปนจริงที่ปรากฏขึ้น เชน ชื่อพนักงานและ
จํานวนชั่วโมงการทํางานในหนึ่งสัปดาห, จํานวนสินคาที่อยูในคลังสินคา เปนตน ขอมูลมีหลายประเภท เชน
ขอมูลตัวเลข ขอมูล ตัวอักษร ขอมูลรูปภาพ ขอมูลเสียงและขอมูลภาพเคลื่อนไหว ซึ่งขอมูลชนิดตางๆ เหลานี้
ใชในการนําเสนอคาความจริงตางๆ โดยคาความจริงที่ถูกนํามาจัดการและปรับแตงเพื่อใหมีความหมายแลว
จะเปลี่ยนเปนสารสนเทศ
          สารสนเทศ (Information) หมายถึงกลุมขอมูลที่ถูกจัดการตามกฎหรือ ถูกกําหนดความสัมพันธให
เพื่อใหขอมูลเหลานั้นเกิดประโยชนหรือมีความหมายเพิ่มมากขึ้น ประเภทของสารสนเทศขึ้นอยูกับ
ความสัมพันธระหวางขอมูลที่มีอยู ตัวอยางเชน จํานวนยอดขายของตัวแทนจําหนายแตละคนในเดือนมกราคม
จัดเปนขอมูล เมื่อนํามาประมวลผลรวมกันทําใหไดยอดขายรายเดือนของเดือนมกราคม ทําใหผูบริหารสามารถ
นํายอดขายรายเดือนมาพิจารณาวายอดขายเปนไปตามวัตถุประสงคขององคกรหรือไมไดงายขึ้น ยอดขายราย
เดือนนี้จึงจัดเปนสารสนเทศ หรือตัวอยาง เชน ตัวเลข 1.1, 1.5, และ 1.6 จัดเปนขอมูลตัวเลข เนื่องจากเปน
คาความจริงซึ่งยังไมสามารถแปลความหมายใดๆ ไดแตขอมูลเหลานี้จัดเปนสารสนเทศเมื่ออยูใน
สภาพแวดลอมที่บงบอกความหมายของขอมูลไดมากขึ้น เชน เมื่อกลาววา ตัวเลขเหลานี้คือยอดขาย
ประจําเดือนมกราคม กุมภาพันธและมีนาคม โดยมีหนวยเปนหลักลาน จะทําใหตัวเลขทั้ง 3 มี ความหมาย
เกิดขึ้น หรืออาจกลาวไดวายอดขายเฉลี่ยระหวางเดือนมกราคมถึงมีนาคมมีคาเทากับ 1.4 ลาน จัดเปน
สารสนเทศที่เกิดขึ้นจากขอมูลตัวเลขทั้ง 3
          ขบวนการ (Process) หมายถึงการแปลงขอมูลใหเปลี่ยนเปนสารสนเทศหรือกลาวไดวา ขบวนการคือ
กลุมของงานที่สัมพันธกัน เพื่อทําใหเกิดผลลัพธตามที่ตองการ รูปที่ 1 แสดงขบวนการแปลงขอมูลเปน
สารสนเทศ




                              รูปที่ 1 ขบวนการแปลงขอมูลเปนสารสนเทศ
เอกสารประกอบการเรียน วิชา วท0206 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ   2

       การจัดการ (Management) หมายถึงการบริหารอยางมีระบบ ซึ่งประกอบดวยการกําหนด
เปาหมายและ ทิศทางขององคกรและการปฏิบัติเพื่อใหบรรลุเปาหมายนั้น ซึ่งจะตองมีการวางแผน การจัดการ
การกําหนดทิศทางและการควบคุมเพื่อใหเกิดการใชทรัพยากรไดอยางเหมาะสม

       แนวคิดของระบบและการทําตัวแบบ
        ระบบ (System) หมายถึงกลุมสวนประกอบหรือระบบยอยตางๆที่มีการทํางานรวมกัน เพื่อให
ประสบผลสําเร็จตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว โดยสวนประกอบและความสัมพันธระหวางสวนประกอบตางๆ ใน
ระบบ จะเปนตัวกําหนดวาระบบจะสามารถทํางานไดอยางไร เพื่อใหผลลัพธที่ไดเปนไปตามวัตถุประสงคที่
ตองการ โดยระบบแตละระบบถูกจํากัดดวยขอบเขต (System Boundary) ซึ่งจะเปนตัวแยกระบบนั้นๆ ออก
จากสิ่งแวดลอม ดังแสดงความสัมพันธของสวนตางๆในระบบดังรูปที่ 2




                             รูปที่ 2 ความสัมพันธของสวนตางๆ ในระบบ

       ประเภทของระบบ
       ระบบสามารถแบงเปนประเภทตางๆไดหลายกลุม ดังนี้

       1. ระบบอยางงาย(Simple) และระบบที่ซับซอน (Complex)
       - ระบบอยางงาย (Simple) หมายถึง ระบบที่มีสวนประกอบนอยและความสัมพันธ หรือการ
โตตอบระหวางสวนประกอบตางๆ ไมซับซอน ตรงไปตรงมา
       - ระบบที่ซับซอน (Complex) หมายถึง ระบบที่มีสวนประกอบมากหลายสวน แตละ สวนมี
ความสัมพันธและมีความเกี่ยวของกันคอนขางมาก
เอกสารประกอบการเรียน วิชา วท0206 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ        3

        2. ระบบเปด(Open) และระบบปด (Close)
        - ระบบเปด (Open) คือ ระบบที่มีการโตตอบกับสิ่งแวดลอม
        - ระบบปด (Close) คือ ระบบที่ไมมีการโตตอบกับสิ่งแวดลอม
        3. ระบบคงที่ (Static) และระบบเคลื่อนไหว (Dynamic)
        - ระบบคงที่ (Static) คือ ระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงนอยมากเมื่อเวลาผานไป
        - ระบบเคลื่อนไหว (Dynamic) คือ ระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและมีการ เปลี่ยนแปลง
อยางคงที่ตลอดเวลา
        4. ระบบที่ปรับเปลี่ยนได (Adaptive) และระบบที่ปรับเปลี่ยนไมได (Nonadaptive)
        - ระบบที่ปรับเปลี่ยนได (Adaptive) คือระบบที่สามารถเปลี่ยนแปลงเพื่อตอบโตกับ สิ่งแวดลอมที่
เปลี่ยนไปได
        - ระบบที่ปรับเปลี่ยนไมได (Nonadaptive) คือระบบที่ไมสามารถเปลี่ยนแปลง เพื่อ ตอบโตกับ
        สิ่งแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไปได
        5. ระบบถาวร (Permanent) และระบบชั่วคราว (Temporary)
        - ระบบถาวร(Permanent) คือระบบที่มีอยูในชวงระยะเวลายาวนาน
        - ระบบชั่วคราว(Temporary) คือระบบที่มีอยูเพียงชวงระยะเวลาสั้นๆ

        ประสิทธิภาพของระบบ
        ประสิทธิภาพของระบบสามารถวัดไดหลายทาง ไดแก

          ประสิทธิภาพ (Efficiency) คือการวัดสิ่งที่ถูกผลิตออกมา หารดวยสิ่งที่ถูกใชไป สามารถแบงชวงจาก
0 ถึง 100% ตัวอยางเชน ประสิทธิภาพของเครื่องมอเตอรเครื่องหนึ่งคือพลังงานที่ผลิตออกมา (ในรูปของงาน
ที่ทําเสร็จ) หารดวยไดพลังงานที่ใชไป (ในรูปของไฟฟาหรือเชื้อเพลิง) เครื่องมอเตอรบางเครื่องมีประสิทธิภาพ
50% หรือนอยกวา เนื่องจากพลังงานสูญเสียไปในการเสียดทาน และกําเนิดความรอน
ประสิทธิผล (Effectiveness) คือการวัดระดับการประสบผลสําเร็จตามเปาหมายของระบบ สามารถคํานวณได
ดวยการ หารสิ่งที่ไดรับจากการประสบผลสําเร็จจริง ดวยเปาหมายรวม เชน บริษัทหนึ่งมีเปาหมายในการลด
ชิ้นสวนที่เสียหาย 100 หนวย เมื่อนําระบบการควบคุมใหมมาใชอาจจะชวยใหบรรลุเปาหมายนี้ได ถาระบบ
ควบคุมใหมนี้สามารถลดจํานวนชิ้นสวนที่เสียหายไดเพียง 85 หนวย ดังนั้นระดับของประสิทธิผลของระบบ
ควบคุมนี้จะเทากับ 85%
เอกสารประกอบการเรียน วิชา วท0206 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ   4


       การทําตัวแบบของระบบ
       ในโลกแหงความเปนจริงคอนขางซับซอนและมีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา ดังนั้นเมื่อตองการ
ทดสอบความสัมพันธแบบตางๆ และสังเกตผลที่เกิดขึ้น จึงจําเปนตองใชตัวแบบของระบบนั้นๆ แทนที่จะ
ทดลองกับระบบจริง ตัวแบบ (Model) คือตัวแทนซึ่งเปนแนวคิดหรือเปนการประมาณเพื่อใชในการแสดงการ
ทํางานของระบบจริง ตัวแบบสามารถชวยสามารถสังเกตและเกิดความเขาใจตอผลลัพธอาจเกิดขึ้นภายใต
สถานการณในโลกแหงความเปนจริงได ตัวแบบมีหลายชนิด ไดแก

       1. TC = (V)(X)+FC

       โดยที่

                TC = คาใชจายรวม
                V = คาใชจายผันแปรตอหนวย
                X = จํานวนหนวยที่ถูกผลิต
                FC = คาใชจายคงที่

     ในการสรางตัวแบบแบบใดๆ จะตองพยายามทําใหตัวแบบนั้นๆสามารถเปนตัวแทนระบบจริงไดมากที่สุด
เทาที่จะเปนไปได เพื่อใหไดทางแกปญหาของระบบที่ถูกตองมากที่สุด

       ความหมายและบทบาทของระบบสารสนเทศ
         ระบบสารสนเทศ (Information System หรือ IS) คือระบบแบบเฉพาะเจาะจงชนิดหนึ่ง ซึ่งอาจ
กลาวไดวาเปนกลุมของสวนประกอบพื้นฐานตางๆ ที่ทํางานเกี่ยวของกันในการเก็บ (นําเขา), จัดการ
(ประมวลผล) และเผยแพร(แสดงผล) ขอมูลและสารสนเทศและสนับสนุนกลไกลของผลสะทอนกลับ เพื่อให
บรรลุตามวัตถุประสงค
เอกสารประกอบการเรียน วิชา วท0206 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ       5

        สวนประกอบของระบบสารสนเทศ
        ระบบสารสนเทศประกอบดวย สวนหลักดังรูปที่ 3




                                 รูปที่ 3 สวนประกอบของระบบสารสนเทศ
         1. สวนที่นําเขา (Inputs) ไดแกการรวบรวมและการจัดเตรียมขอมูลดิบ สวนที่นําเขานี้สามารถมีได
หลายรูปแบบไมวาจะเปนการโทรเขาเพื่อขอขอมูลในระบบสอบถามเบอรโทรศัพท ขอมูลที่ลูกคากรอกในใบ
สอบถามการใหบริการของรานคาฯลฯ ขึ้นอยูกับสวนแสดงผลที่ตองการ สวนที่นําเขานี้อาจเปนขบวนการที่ทํา
ดวยตัวเองหรือเปนแบบอัตโนมัติก็ได เชนการอานขอมูลรายชื่อสินคาและรายราคาโดยเครื่องอาน บารโคดของ
หางสรรพสินคา จัดเปนสวนที่นําเขาแบบอัตโนมัติ
         2. การประมวลผล (Processing) เกี่ยวของกับการเปลี่ยนและการแปลงขอมูลใหอยูในรูปของสวน
แสดงผลที่มีประโยชน ตัวอยางของการประมวลผลไดแกการคํานวณ การเปรียบเทียบ การเลือกทางเลือกใน
การปฏิบัติงานและการเก็บขอมูลไวใชในอนาคต โดยการประมวลผลสามารถทําไดดวยตนเองหรือสามารถใช
คอมพิวเตอรเขามาชวยก็ได ตัวอยางเชน ระบบคิดเงินเดือนพนักงาน สามารถคิดไดจากการนําจํานวน ชั่วโมง
การทํางานของพนักงานคูณเขากับอัตราคาจางเพื่อใหไดยอดเงินรวมที่ตองจายรวม ถาชั่วโมงการทํางานราย
สัปดาหมากกวา 40 ชั่วโมงอาจมีการคิดเงินลวงเวลาให โดยเพิ่มเขาไปกับเงินรวม จากนั้นอาจจะทําการหัก
ภาษีพนักงาน โดยการนําเงินรวมมาคิดภาษีและนําเงินรวมมาลบดวยภาษีที่คํานวณได จะทําใหไดเงินสุทธิที่
ตองจายใหกับพนักงาน

          3. สวนที่แสดงผล (Outputs) เกี่ยวของกับการผลิตสารสนเทศที่มีประโยชน มักจะอยูในรูปของ
เอกสาร หรือรายงานหรืออาจะเปนเช็คที่จายใหกับพนักงาน รายงานที่นําเสนอผูบริหารและสารสนเทศที่ถูก
ผลิตออกมาใหกับผูถือหุน ธนาคาร หรือกลุมอื่นๆ โดยสวนแสดงผลของระบบหนึ่งอาจใชเปนสวนที่นําเขาเพื่อ
ควบคุมระบบหรืออุปกรณอื่นๆ ก็ได เชนในขบวนการผลิตเฟอรนิเจอร พนักงานขาย ลูกคา และ นักออกแบบ
เฟอรนิเจอรอาจจะทําการออกแบบเฟอรนิเจอรซ้ําแลวซ้ําเลา เพื่อใหตรงตามความตองการของลูกคา โดย
อาจจะใชซอฟตแวรหรือฮารดแวรคอมพิวเตอรเขามาชวยในการออกแบบนี้ดวย จนกระทั่งไดตนแบบที่ตรง
ความตองการมากที่สุด จึงสงแบบนั้นไปทําการผลิต จะเห็นวาแบบเฟอรนิเจอรที่ไดจากการออกแบบแตละครั้ง
จะเปนสวนที่ถูกนําไปปรับปรุงการออกแบบในครั้งตอๆ ไป จนกระทั่งไดแบบ สุดทายออกมา อาจอยูในรูปของ
สิ่งพิมพที่ออกมาจากเครื่องพิมพหรือแสดงอยูบนหนาจอคอมพิวเตอรที่เปนอุปกรณแสดงผลตัวหนึ่งหรืออาจจะ
อยูในรูปของรายงานและเอกสารที่เขียนดวยมือก็ได
เอกสารประกอบการเรียน วิชา วท0206 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ      6

         4. ผลสะทอนกลับ (Feedback) คือสวนแสดงผลที่ใชในการทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงตอสวนที่
นําเขาหรือสวนประมวลผล เชน ความผิดพลาดหรือปญหาที่เกิดขึ้น อาจจําเปนตองแกไขขอมูลนําเขาหรือทํา
การเปลี่ยนแปลงการประมวลผลเพื่อใหไดสวนแสดงผลที่ถูกตอง ตัวอยางเชน ระบบการจายเงินเดือนพนักงาน
ถาทําการปอนชั่วโมงการทํางานรายสัปดาหเปน 400 แทนที่จะเปน 40 ชั่วโมง ถาทําการกําหนดใหระบบ
ตรวจสอบคาชั่วโมงการทํางานใหอยูในชวง 0-100 ชั่วโมง ดังนั้นเมื่อพบขอมูลนี้เปน 400 ชั่วโมง ระบบจะทํา
การสงผลสะทอนกลับออกมา อาจจะอยูในรูปของรายงานความผิดพลาด ซึ่งสามารถนําไปใชในการตรวจสอบ
และแกไขจํานวนชั่วโมงการทํางานที่นําเขามาคํานวณใหถูกตองได

        ตัวอยาง เชน ระบบลางรถอัตโนมัติ
        ระบบสารสนเทศประกอบดวย สวนหลักดังรูปที่ 3

          สวนที่นําเขา คือ รถที่สกปรก น้ํา และน้ํายาตางๆ ที่ใชในการลางรถ เวลาและพลังงานถูกใชในการ
ปฏิบัติการลางรถ ทักษะไดแกความสามารถเฉพาะอยางจะถูกนํามาใชในการฉีดสเปรย ขัดโฟม และเปาแหง
ความรูถูกนํามาใชในการกําหนดขั้นตอนการทํางานของการลางรถใหทํางานไปตามขั้นตอนที่ถูกตอง
          การประมวลผล ประกอบดวย ขั้นที่หนึ่ง การเลือกประเภทการลางรถที่ตองการ เชน ลางอยางเดียว
ลางและขัดเงา ลางและขัดเงาและเปาแหงฯลฯ และขั้นตอไปทําการนํารถเขาไปในเครื่องลางรถ (สังเกตวาใน
สวนนี้จะเกิดกลไกของผลสะทอนกลับขึ้น ไดแกการประเมินผลของเจาของรถที่มีตอขบวนการลางรถที่กําลัง
เกิดขึ้น) จากนั้นของฉีดของเหลวจะฉีดน้ํา สบูเหลว หรือครีมขัดเงาไปที่รถ ขึ้นอยูกับตัวเลือกที่เลือกไวใน
ตอนตน
          สวนที่แสดงผล คือรถที่สะอาดแลว
จากตัวอยาง จะเห็นวาสวนประกอบอิสระตางๆ ในระบบลางรถอัตโนมัติ เชนเครื่องฉีดของเหลว แปลงสําหรับ
ทางโฟม และเครื่องเปาแหง ทํางานโตตอบกัน เพื่อใหรถสะอาดนั่นเอง

        ระบบสารสนเทศที่ใชคอมพิวเตอร (Computer-Based Information Systems : CBIS)

        ระบบสารสนเทศที่ใชคอมพิวเตอรประกอบดวย ฮารดแวร (Hardware), ซอฟตแวร (Software),
ขอมูล(Data), บุคคล (People), ขบวนการ (Procedure) และการสื่อสารขอมูล (Telecommunication) ซึ่ง
ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทําการรวบรวม, จัดการ จัดเก็บและประมวลผลขอมูลใหเปนสารสนเทศ รูปที่ 4 แสดง
สวนประกอบของระบบ สารสนเทศที่ใชคอมพิวเตอร
เอกสารประกอบการเรียน วิชา วท0206 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ   7




                         รูปที่ 4 สวนประกอบของสารสนเทศที่ใชคอมพิวเตอร

         1. ฮารดแวร คืออุปกรณทางกายภาพ ที่ใชในการรวบรวม การนําเขา และการจัดเก็บ ขอมูล,
ประมวลผล ขอมูลใหเปนสารสนเทศ และแสดงสารสนเทศที่เปนผลลัพธ              ออกมา
         2. ซอฟตแวร ประกอบดวยกลุมของโปรแกรมที่ใชในการปฏิบัติงานรวมกับฮารดแวร และใชในการ
ประมวลผลขอมูลเปนสารสนเทศ
         3. ขอมูล ในสวนนี้หมายถึงขอมูลและสารสนเทศที่ถูกเก็บอยูในฐานขอมูล โดย ฐานขอมูล
(Database) หมายถึงกลุมของคาความจริงและสารสนเทศที่มีความ เกี่ยวของกันนั่นเอง
         4. บุคคล หมายถึงบุคคลที่ใชงานและปฏิบัติงานรวมกับระบบสารสนเทศ
         5. ขบวนการ หมายถึงกลุมของคําสั่งหรือกฎ ที่แนะนําวิธีการปฏิบัติงานกับ คอมพิวเตอรในระบบ
สารสนเทศ ซึ่งอาจไดแกการแนะนําการควบคุมการเขาใชงาน คอมพิวเตอร, วิธีการสํารองสารสนเทศในระบบ
และวิธีจัดการกับปญหาที่อาจเกิดขึ้น ได
         6. การสื่อสารขอมูล หมายถึงการสงสัญญาณอิเล็กทรอนิกสเพื่อติดตอสื่อสาร และ ชวยให
องคกรสามารถเชื่อมระบบคอมพิวเตอรเขากับระบบเครือขาย (Network) ที่มี ประสิทธิภาพได โดยเครือขาย
ใชในการเชื่อมตอคอมพิวเตอรและอุปกรณ คอมพิวเตอรไวดวยกัน อาจจะเปนภายในอาคารเดียวกัน ใน
ประเทศเดียวกัน หรือทั่ว โลก เพื่อใหสามารถสื่อสารขอมูลอิเล็กทรอนิกสได
เอกสารประกอบการเรียน วิชา วท0206 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ     8

ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหาร

        ระบบสารสนเทศที่มีการจัดการกับสารสนเทศและสนับสนุนการตัดสินใจของผูบริหารใหเกิด
ประสิทธิผล เรียกวาระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหาร โดยเนนเรื่องการสนับสนุนการตัดสินใจในระดับ
การจัดการระดับตางๆ ไมเนนที่การประมวลขอมูลที่ไดจากการดําเนินการทางธุรกิจและเนนที่โครงรางของ
ระบบควรจะถูกใชในการ จัดการการใชงานระบบสารสนเทศ รูปที่ 5 แสดงความสัมพันธระหวางระบบ
สารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารและระดับของการจัดการ




      รูปที่ 5 ความสัมพันธระหวางระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหาร และระดับของการจัดการ

        บทบาทของการจัดการในองคกร

        ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ สนับสนุนบทบาทในการจัดการของผูบริหาร ดังนี้

        1.การวางแผน (Plan) หมายถึง การกําหนดเปาหมาย และกลยุทธในการบริหารองคกร
        2. การจัดการ (Organize) หมายถึง การจัดสรรทรัพยากรที่ตองการนํามาใชในองคกร
        3. การเปนผูนํา (Lead) หมายถึง การกระตุนพนักงาน เพื่อใหปฏิบัติการใหบรรลุเปาหมาย
        4. การควบคุม (Control) หมายถึง การควบคุมดูแล เพื่อใหเกิดความกาวหนาไปยังเปาหมายที่วางไว

         จากบทบาทในการจัดการตางๆ ที่ไดกลาวมาแลวขางตน สารสนเทศจึงเปนสวนที่สําคัญมากในการที่
ผูบริหารจะดําเนินงานเหลานี้ใหสําเร็จ เชน สารสนเทศเกี่ยวกับการขาย, การผลิตและการเงิน เพื่อที่จะนํา
ขอมูลเหลานี้มาใช ควบคุมการปฏิบัติงานรายวันขององคกร การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการจะตอง
เปนไปตามการจัดองคกรและกลยุทธขององคกรนั้นๆ
เอกสารประกอบการเรียน วิชา วท0206 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ    9

         ผูจัดการตองเปนผูกระทําและจัดการพฤติกรรมขององคกรเพื่อใหบรรลุเปาหมาย เชนการควบคุม
องคกรใหดีขึ้น ไมวาจะเปนการนําระบบคอมพิวเตอรเขามาชวยในการทํางานหรือจะเปนการตวรจสอบวา
บุคคลที่ไดรับมอบหมายงานไปนั้นสามารถปฏิบัติงานตามที่ตองการไดหรือไม โดยอาจกําหนดใหมีการฝกอบรม
พนักงานกอนเริ่มปฏิบัติงานนั้นๆ ผูจัดการตางๆ ตองการสารสนเทศที่แตกตางกัน เพื่อที่จะนําไปใชในการ
ทํางานของตน ดังนั้นในสวนตอไปจะอธิบายถึงความตองการของสารสนเทศของการจัดการในระดับตางๆ
เอกสารประกอบการเรียน วิชา วท0206 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ         10

ระดับของการจัดการและการดําเนินการ
        ระดับของการจัดการ (Levels of Management)

       การทําความเขาใจระบบสารสนเทศแบบตางๆ ภายในองคกร และทราบวาระบบตางๆ สามารถ
รองรับความตองการของการบริหารไดอยางไร จําเปนตองทําความเขาใจกับระดับของการจัดการระดับตางๆ
ขององคกรกอน ซึ่งระดับของการจัดการแบงออกเปนระดับกลยุทธ (Strategic), ระดับยุทธวิธี (Tactical),
และระดับปฏิบัติการ(Operation) ดังแสดงในรูปที่ 6




                                        รูปที่ 6 ระดับของการจัดการ

        การปฏิบัติงานในระดับปฏิบัติการ (Operational)

           ไดแกการปฏิบัติงานในระดับที่ต่ําที่สุด ผูควบคุมการทํางานในระดับนี้ ตองการรายละเอียดสารสนเทศ
ที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน ตามขบวนการผลิตของบริษัทในแตละวัน การควบคุมการปฏิบัติการในระดับนี้
จะตองพิจารณาหาวิธีที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยขบวนการตัดสินใจในระดับนี้ตองการสารสนเทศ
เกี่ยวกับ งานที่จะตองปฏิบัติ, ทรัพยากรที่มีอยู ความรวมมือที่ตองการจากสวนปฏิบัติงานอื่นๆ ภายในองคกร,
มาตรฐานและงบประมาณที่สามารถใชได, และผลสะทอนกลับที่ใชในการประเมินผลลัพธ
           หนาที่ของผูจัดการในระดับปฏิบัติการ ไดแก ทําการตัดสินใจจากขอมูลที่ถูกเก็บไว, กําหนดหนาที่ใน
การทํางาน, และตรวจสอบการขนสงใหเปนไปตามนโยบายหรือกฎที่ผูจัดการระดับยุทธวิธีกําหนดไว โดย
สารสนเทศที่ใชในการจัดการระดับนี้จะตองมีรายละเอียดมาก, มีความแมนยําสูงและเกิดขึ้นมาจากการทํางาน
ที่เกิดขึ้นเปนประจําและประกอบดวยรายการขอมูลรายวันที่แสดงถึงการผลิต, การขายและการเงินในแตละวัน

        การปฏิบัติงานในระดับยุทธวิธี (Tactical)

        การควบคุมการจัดการในระดับยุทธวิธีจะเกี่ยวกับการจัดหาและการใชทรัพยากรที่มีอยูอยางมี
ประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคของการจัดการระดับสูง ผูจัดการในระดับนี้ทําหนาที่
เอกสารประกอบการเรียน วิชา วท0206 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ      11

ในการวางแผนงานสําหรับหนวยปฏิบัติงานระดับลาง เชน ศูนยกลางการขายและการผลิต เพื่อใหบรรลุ
วัตถุประสงคขององคกร ผูจัดการระดับกลางนี้ตองการรายงานสรุปจากการปฏิบัติงานของบริษัท เพื่อใชในการ
ตัดสินใจเชิงยุทธวิธี เพื่อที่จะปฏิบัติตามนโยบายการตัดสินใจที่ถูกกําหนดมาจากระดับบนหรือระดับกลยุทธ
ของบริษัท
         สิ่งสําคัญที่ผูจัดการในระดับปฏิบัติการและระดับยุทธวิธีตองการใชในการตัดสินใจไดแก รายงานสรุป
ที่ เหมาะสมกับความตองการ โดยสารสนเทศในระดับนี้จะเปนสารสนเทศที่เกิดขึ้นในระยะยาวมากขึ้น เชน
สารสนเทศเกี่ยวกับสถานภาพทางการเงินของบริษัท สามารถนํามาใชในการทํานายสถานการณที่จะเกิดขึ้นใน
อนาคตไดแมนยํามากขึ้น

        การปฏิบัติงานในระดับกลยุทธ (Strategic)

         การจัดการเชิงกลยุทธเกี่ยวของกับการกําหนดวัตถุประสงคขององคกร โดยหนวยงานตางๆ จะตอง
ปฏิบัติตามกลยุทธที่กําหนด เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคขององคกร ผูจัดการระดับกลยุทธจะทําการกําหนด
นโยบายและตัดสินใจดานการเงิน, ดานบุคลากร, ดานสารสนเทศและดานแหลงเงินทุนที่ตองการ เพื่อใหบรรลุ
วัตถุประสงคขององคกร การตัดสินใจที่เกิดขึ้นจะเกี่ยวกับการกําหนดทิศทางขององคกร รวมทั้งการผลิตสินคา
ใหม, ลงทุนในตลาดใหมและการใชเทคโนโลยีในการผลิตใหมๆ
         จากรูปที่ 5 แสดงสัดสวนระหวางจํานวนบุคคลภายในองคกร ที่ทําการตัดสินใจในระดับการจัดการ
ระดับตางๆ และแสดงความสัมพันธระหวางการตัดสินใจในทั้ง 3 ระดับ จากรูปสรุปไดวาในองคกรจะมีผูที่
ทํางานในระดับปฏิบัติการ(ทํางานในระดับลาง) จํานวนมากและที่ระดับสูงขึ้น (ระดับยุทธวิธี) มีจํานวนผูทํางาน
นอยลงและที่ระดับกลยุทธจะมีจํานวนนอยที่สุด การตัดสินใจจะเกิดขึ้นจากระดับบนลงมาระดับลาง การ
ตัดสินใจของระดับลางจะขึ้นอยูกับการตัดสินใจของระดับที่สูงกวา ในขณะที่สานสนเทศที่ใชในการตัดสินใจจะ
เกิดขึ้นจากระดับลางขึ้นไปสูระดับบน โดยสาสนเทศระดับบนเกิดจากการสรุปขอมูลที่ไดจากระดับที่อยูต่ํากวา

        ระบบประมวลผลรายการ (Transaction Processing Systems)

          ระบบประมวลผลรายการ หมายถึง ระบบสารสนเทศที่ใชในการเปลี่ยนขอมูลดิบจากการปฏิบัติงานให
อยูในรูปแบบที่เครื่องจักรสามารถอานได, เก็บรายละเอียดรายการ, ประมวลผลรายการและสั่งพิมพ
รายละเอียดรายการ ออกมาได รายการ (Transaction) คือ การกระทําพื้นฐานที่เกิดขึ้นระหวางการ
ดําเนินการทางธุรกิจ เชน การขายสินคา การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินคาผานเครดิตการดและการสอบถาม
ขอมูลเกี่ยวกับสินคาคงคลัง จัดเปนรายการทั้งสิ้น ระบบประมวลผลรายการนิยมใชในการประมวลผลบัญชี,
การขาย, หรือประมวลผลขอมูลสินคาคงคลัง เนื่องจากขอมูลเหลานี้เปนที่ตองการของระบบสารสนเทศอื่นๆใน
องคกร รูปที่ 7 แสดงแนวคิดของระบบประมวลผลรายการ
เอกสารประกอบการเรียน วิชา วท0206 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ        12




                               รูปที่ 7 แนวคิดของระบบประมวลผลรายการ

           ในการดําเนินการของระบบประมวลผลรายการ ขอมูลถูกนําเขาไปยังคอมพิวเตอรของระบบ
สารสนเทศ โดยใชแปนพิมพหรืออุปกรณอื่นๆ ขอมูลจะถูกเก็บอยูในคอมพิวเตอรจนกระทั่งพรอมที่จะถูก
ประมวลผล หลังจากที่ขอมูลถูกปอนเขาไปแลว จะเกิดการประมวลผลเพื่อเปลี่ยนขอมูลเปนสารสนเทศที่มี
ประโยชนในการจัดการ โดยระบบประมวลผลรายการจะทําการบันทึกรายการลงในฐานขอมูลและผลิตเอกสาร
ที่เกี่ยวของกับรายการนั้นออกมา อาจอยูในรูปแบบของรายงาน, ตาราง, กราฟ,ภาพเคลื่อนไหว และเสียงฯลฯ
ขึ้นอยูกับความตองการของผูใชสารสนเทศนั้นๆ

        ระบบประมวลผลรายการสามารถแบงตามวิธีการประมวลผลขอมูล ไดแก

         1. ระบบการประมวลผลแบบกลุม (Batch Processing System) ขอมูลจากหลายๆรายการ จากผูใช
หลายๆ คน หรือจากชวงเวลาหลายๆ ชวง ถูกรวมเขาดวยกัน, นําเขา และประมวลผลเหมือนเปนกลุมเดียว
ตัวอยางเชน ยอดขายรายวันซึ่งถูกประมวลผลเพียงวันละหนึ่งครั้ง จะใชระบบการประมวลผลแบบกลุมนี้เมื่อ
ขอมูลไมจําเปนตองปรับปรุงทันที และเมื่อมีขอมูลจํานวนมากที่คลายกัน ตองถูกประมวลผลในครั้งเดียวกัน
         2. ระบบการประมวลผลแบบออนไลน (Online Processing System) รายการถูกประมวลผลเมื่อ
เกิดรายการนั้นขึ้น แบงออกเปน 2 ประเภทคือ

         2.1 การประมวลผลเชิงรายการ (Transactional Processing) ขอมูลถูกประมวลผล เมื่อปอน
ขอมูลเขาโดยไมตองเก็บไวประมวลผลในภายหลัง เชน ระบบเช็ครายการ            สินคาออกของรานขายของชํา
โดยระบบจะทําการออกใบเสร็จรับเงินที่แสดงรายการ              สินคาทันทีหลังจากรายการสินคาตางๆ ที่ซื้อ ถูก
ประมวลผล
         2.2 การประมวลผลแบบทันที (Real-time Processing) ใชในระบบควบคุม หรือ               ระบบที่
ตองการใหเกิดผลสะทอนกลับ เชนขบวนการควบคุมอุณหภูมิของหางสรรพ สิน การทํางานของการ
ประมวลผลแบบทันที สามารถไปมีผลกระทบกับตัวรายการ นั้นๆ เอง ถาผูใชหลายรายแขงขันกันเพื่อใช
ทรัพยากรเดียวกัน เชนที่นั่งบนเครื่องบิน หรือในชั้นเรียนพิเศษ
เอกสารประกอบการเรียน วิชา วท0206 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ      13

        ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
          ในการใชการประมวลผลรายการทําใหการประมวลผลการดําเนินการดานธุรกิจทําไดรวดเร็วขึ้นและ
ลด คาใชจายในการควบคุมงานลงได แตจะเห็นไดชัดวาขอมูลที่เก็บไดจากการประมวลผลรายการ สามารถ
ชวยใหผูบริหารนํามาใชในการตัดสินใจในการดําเนินงานไดดีขึ้น จึงจําเปนตองพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อชวย
สนับสนุนการทํางานดานการจัดการของผูบริหารขึ้นเรียกวาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
          ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหมายถึงกลุมของบุคคล, ขบวนการ,ซอฟตแวร, ฐานขอมูล และ
อุปกรณตางๆ ที่ถูกจัดการเพื่อใชในการจัดการสารสนเทศที่เกิดขึ้นเปนประจําใหแกผูบริหารหรือผูทําการ
ตัดสินใจ จุดประสงคหลักของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อยูที่การดําเนินการอยางมีประสิทธิภาพในดาน
การตลาด, การผลิต, การเงิน และสวนงานอื่นๆ โดยใชและจัดเก็บขอมูลลงในฐานขอมูล ดังรูปที่ 8




    รูปที่ 8 การใชขอมูลจากระบบการประมวลผลรายการของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการดานตางๆ

        ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการเปนระบบสารสนเทศที่ใชในการผลิตรายงานดานการจัดการ ซึ่งจะใช
ในการสนับสนุนการตัดสินใจในระดับปฏิบัติงาน, ระดับยุทธวิธี และระดับกลยุทธ โดยรายงานที่เกิดขึ้นมีหลาย
รูปแบบขึ้นอยูกับระดับของการจัดการในองคกร แบงออกเปน 3 ประเภทหลัก คือรายงานตามตารางเวลา
(Scheduled Report), รายงานกรณียกเวน (Exception Report) และรายงานตามคําขอ (Demand
Report)

        1. รายงานตามตารางเวลา แสดงขอมูลการดําเนินงานขององคกรที่เกิดขึ้นตาม ชวงเวลา อาจจะเปน
ชวงรายวัน, รายสัปดาห รายเดือน หรือรายป มีลักษณะคลายกับ ขอมูลตนฉบับที่ผานการประมวลผลมา
จากหนวยงานตางๆ แตเพิ่มการจัดกลุมขอมูล        และการสรุปขอมูลลงไป เพื่อชวยใหผูจัดการในระดับลาง
สามารถตัดสินใจในการ ดําเนินงานใหบรรลุวัตถุประสงคของผูจัดการระดับสูงกวาได ตัวอยางเชน ผูจัดการ
        ดานการผลิตตองการรายงานรายวันของสินคาที่มีตําหนิจากฝายการผลิตและรายงาน รายสัปดาห
ของจํานวนชั่วโมงการทํางานลวงเวลาที่เกิดขึ้นในสัปดาหนั้น
        2. รายงานกรณียกเวน เปนรายงานที่เกิดขึ้นตามเงื่อนไขบางอยาง ซึ่งมักจะไมปกติ       จึงจําเปน
จะตองมี รายงานออกมา โดยในรายงานจะมีขอมูลที่จําเปนตอผูจัดการใน         การตรวจสอบหาสาเหตุของ
เอกสารประกอบการเรียน วิชา วท0206 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ     14

ขอผิดพลาดที่เกิดขึ้นเทานั้น เชน ระบบสารสนเทศเพื่อ      การจัดการทําการผลิตรายงานกรณียกเวนเมื่อมี
การทํางานลวงเวลามากกวา 10% ของเวลาการทํางานรวมทั้งหมด เมื่อผูจัดการฝายผลิตไดรับรายงาน จะทํา
การหา สาเหตุที่มีการทํางานลวงเวลาเกินกวาที่กําหนด ซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากมีงานการ           ผลิตมากหรือ
เกิดจากการวางแผนงานไมดี ถาเกิดขึ้นจากการวางแผนไมดีแลวจะได ทําการปรับปรุงแกไขแผนงานตอไป
          3. รายงานตามคําขอ เกิดขึ้นตามคําขอของผูจัดการในหัวขอที่ตองการ ซึ่งรายงาน      อาจจะถูก
กําหนดมากอนแลว แตไมทําการผลิตออกมาหรืออาจเปนรายงานที่มีผลมา จากเหตุการณที่ไมเคยคาดคิด
มากอนใน รายงานอื่น หรือจากขอมูลภายนอก เชน ถาผูจัดการฝายผลิตเห็นการทํางานลวงเวลามากเกิน
กําหนดจากรายงานกรณียกเวน อาจจะทําการรองขอรายงานที่แสดงถึงสาเหตุที่เปนไปไดในการทําใหเกิด
การ ทํางานลวงเวลาเกินกําหนด อาจจะไดแกรายงานที่แสดงงานในดานการผลิตทั้งหมด , จํานวน
ชั่วโมงที่ตองการในการทํางานแตละงาน, และจํานวนการทํางานลวงเวลา           ของแตละงาน จะเห็นวา
รายงานนี้จะตองใชขอมูลที่รวบรวมอยูในฐานขอมูล เพื่อ นําเสนอขอมูลที่จําเปนตอผูจัดการตอไป

        ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ

          ในความเปนจริงแลวรายงานชนิดตางๆ ยังไมสามารถตอบคําถามที่เกิดขึ้นในขบวนการตัดสินใจได
อยางสมบูรณ เนื่องจากรายงานเหลานั้นยังไมสามาถนํามาใชไดทันตอเหตุการณและยังไมสามารถนํามา
ทดสอบเพื่อดูผลของการตัดสินใจไดอยางรวดเร็ว จึงจําเปนตองพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจขึ้นเพื่อชวย
ใหผูจัดการสามารถหาคําตอบของคําถามตางๆ เพื่อทําการตัดสินใจดวยการใชตัวแบบทางคณิตศาสตรหรือ
แผนภาพไดดีขึ้น ความหมายของระบบสนับสนุนการตัดสินใจคือ ระบบที่ใชคอมพิวเตอรเพื่อชวยผูตัดสินใจที่
ตองเผชิญกับปญหาที่มีโครงสรางระดับตางๆ โดยสามารถทดสอบผลการตัดสินใจในการแกปญหาดวยตัวแบบ
ขอมูลและทําการวิเคราะหผลที่เกิดขึ้นไดอยางรวดเร็ว
          ระบบสนับสนุนการตัดสินใจชวยในการตัดสินใจปญหาไดหลากหลายรูปแบบ สามารถชวยในการ
แกปญหาที่ซับซอน เชน ผูผลิตตองการหาพื้นที่ที่เหมาะสมในการสรางโรงงานผลิตแหงใหมหรือโรงงานน้ํามัน
ตองการเลือกสถานที่ที่เหมาะสมที่สุดในการขุดเจาะหาน้ํามัน ซึ่งจะเห็นวาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ทั่วไปไมสามารถแกปญหาเหลานี้ได แตระบบสนับสนุนการตัดสินใจสามารถชวยแนะนําทางเลือกในการปฏิบัติ
และชวยในการตัดสินใจเพื่อหาคําตอบของปญหาเหลานี้ได นอกจากนี้ระบบสนับสนุนการตัดสินใจยังเกี่ยวของ
กับการตัดสินใจการบริหารรูปแบบตางๆ ดังนั้นจึง จําเปนตองสามารถรองรับรูปแบบการตัดสินใจของผูใชที่
หลากหลายดวย
เอกสารประกอบการเรียน วิชา วท0206 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ      15




                          รูปที่ 9 สวนประกอบของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ

        รูปที่ 9 แสดงสวนประกอบที่จําเปนของระบบสนับสนุนการตัดสินใจไดแก กลุมของตัวแบบที่ใช
สนับสนุน ผูตัดสินใจหรือผูใช (Model base), กลุมของคาความจริงและสารสนเทศที่ชวยในการตัดสินใจ
(Database), และระบบและขบวนการที่ชวยใหผูตัดสินใจและผูใชอื่นๆ สามารถตอบโตกับระบบสนับสนุนการ
ตัดสินใจได (User Interface) จากรูปจะเห็นวาผูใชไมไดทําการใชตัวแบบโดยตรง แตจะใชงานผานซอฟตแวร
จัดการตัวแบบ (Model Management Software : MSS) และใชฐานขอมูลผานระบบจัดการฐานขอมูล
(Database Mangement System :DBMS)

        ระบบสารสนเทศเพื่อผูบริหาร

             ระบบสนับสนุนการตัดสินใจมีจุดประสงคเพื่อแกปญหาและตอบคําถามลักษณะ "อะไรจะเกิดขึ้นถา…"
หรือลักษณะตองทําอยางไรเพื่อใหบรรลุเปาหมายที่ตองการและคําถามในลักษณะมีความเสี่ยงเขามาเกี่ยวของ
ซึ่งผูที่ ตัดสินใจและตองการใชระบบนี้สวนมากมักจะเปนผูบริหารระดับกลางซึ่งจะตองเกี่ยวของับปญหาและ
การทํางานหลัก แตสารสนเทศที่ไดจากระบบสนับสนุนการตัดสินใจมักจะไมสามารถตอบสนองความตองการ
ของผูบริหารระดับสูงได
             เนื่องจากผูบริหารระดับสูงตองมองในระดับกวางขององคกรและผูบริหารมีเวลานอย ระบบสารสนเทศ
เพื่อ ผูบริหารจึงจําเปนตองใชงานงายและสารสนเทศที่ไดจากระบบจะตองอยูในรูปแบบที่เขาใจงาย
แหลงขอมูลที่ใชอาจจะมาจากแหลงขอมูลภายนอกและแหลงขอมูลภายในเชนระบบประมวลผลรายการหรือ
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ทําใหผูบริหารระดับสูงสามารถหาสาเหตุที่ทําใหเกิดผลลัพธตางๆได
             ระบบสารสนเทศเพื่อผูบริหารมีประสิทธิภาพและความสามารถในการจัดเก็บขอมูลสูงดวยการใช
เอกสารประกอบการเรียน วิชา วท0206 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ       16

เครื่อง เมนเฟรม ใชงานงายและมีความสามารถในการแสดงผลดวยรูปภาพไดดวยการใชเครื่องคอมพิวเตอร
สวนบุคคล โดยสารสนเทศถูกถายโอนจากเครื่องเมนเฟรมหรือฐานขอมูลขอมูลภายนอกเขามายังเครื่อง
คอมพิวเตอรสวนบุคคล และผูบริหารสามารถใชอุปกรณชี้ตําแหนงเชน เมาส เพื่อเลือกจากรายการของผลลัพธ
และรูปแบบการแสดงผลได เนื่องจากผูบริหารมักจะทําการคนหาขอมูลและตอบคําถามที่ตองการมากกวาการ
ปอนขอมูล ในระบบสารสนเทศเพื่อ ผูบริหารนี้จึงไมนิยมใชแปนพิมพ ผลลัพธที่ไดมักจะอยูในรูปแบบของ
แผนภาพหรือแผนภาพและตาราง ทําใหผูบริหารสามารถเขาใจแนวโนมและนําขอมูลที่ไดไปใชตัดสินปญหาได
ตรงตามความตองการ

        ระบบผูเชี่ยวชาญ

         ระบบผูเชี่ยวชาญไดรับความสําเร็จไดดวยการนําคุณสมบัติทางดานปญญาประดิษฐ (Artificial
Intelligence : AI) ซึ่งเปนระบบคอมพิวเตอรที่มีคุณลักษณะความฉลาดเหมือนกับมนุษย เขามาใชรวมดวย
ระบบผูเชี่ยวชาญชวยในการตัดสินใจไดโดยขบวนการทางคอมพิวเตอรที่ทําการรวบรวมเหตุผลทางตรรกะเขา
ดวยกัน ซึ่งระบบผูเชี่ยวชาญเรียกใชความรูเฉพาะดานหนึ่งๆ ไดจากฐานความรู (Knowledge Base) ขึ้นอยูกับ
คาความจริงของเหตุการณใดๆ ที่ตองการตัดสินใจ ผานกลไกในการสรุปขอมูลและใหเหตุผล เพื่อใหคําแนะนํา
พรอมทั้งมีคําอธิบายของคําแนะนําแกผูใชดวย โครงสรางของระบบผูเชี่ยวชาญแสดงดังรูปที่ 10




                                รูปที่ 10 โครงสรางของระบบผูเชี่ยวชาญ

          สวนประกอบที่จําเปนของฐานความรูคือ ฮิวริสติก (Heuristic) ซึ่งหมายถึงสวนของความรูภายใน
ขอบเขตของระบบผูเชี่ยวชาญในดานการตัดสินใจ ซึ่งไมมีรูปแบบตายตัว เชนการสํารวจน้ํามันหรือการประเมิน
ราคาหุน โดยฐานความรูจะถูกพัฒนาขึ้นโดยการนําความรูและความเชี่ยวชาญมาจากกลุมผูเชี่ยวชาญเฉพาะ
ดานที่ตองการ
          ระบบผูเชี่ยวชาญสามารถนําไปใชรวมกับระบบสารสนเทศในองคกรทุกประเภทไมวาจะเปนระบบการ
ประมวลผลรายการ, ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหรือในระบบสนับสนุนการตัดสินใจหรือจะใชเปน
เอกสารประกอบการเรียน วิชา วท0206 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ         17

เครื่องมือในการให คําแนะนําเดี่ยวๆ เลยก็ได ตัวอยางเชน การนําระบบผูเชี่ยวชาญมาใชรวมกับระบบ
ประมวลผลรายการสําหรับการสั่งซื้อสินคา ระบบผูเชี่ยวชาญอาจกําหนดราคาสั่งซื้อโดยการพิจารณาจากกลุม
ลูกคา, ปริมาณการสั่งซื้อและรายการสงเสริมการขายที่มีอยูทั้งหมดของสินคาที่ถูกสั่งซื้อนั้น เนื่องจากบริษัท
ตางๆมีรายการสงเสริมการขายที่แตกตางกัน มีทั้งแบบในระยะเวลาสั้นๆ, แบบที่ใหเฉพาะบางพื้นที่ฯลฯ ซึ่ง
เปนปญหาที่ไมงายนักสําหรับพนักงานรับสั่งสินคาที่จะสามารถจัดการแจงใหลูกคาทราบไดทันทีทางโทรศัพท
ความยุงยากของงานเหลานี้มีมากมายจึงมีการนําระบบผูเชี่ยวชาญเขามาชวย จัดการ แตในความเปนจริงแลว
ระบบผูเชี่ยวชาญมิไดเขามาแทนที่ผูเชี่ยวชาญระบบตัวจริง เพียงแตชวยใหผูตัดสินใจ ทําการตัดสินใจไดงายขึ้น
เทานั้น

ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

          ระบบที่นําเสนอขอมูลในรูปแบบที่ผูบริหารสามารถวิเคราะหขอมูลไดอยางมีประสิทธิภาพ เรียกวา
ระบบ สารสนเทศเพื่อการจัดการ ซึ่งขอมูลสวนที่นําเขาสวนมาก ไดแกขอมูลจากระบบประมวลผลรายการ ซึ่ง
ถูกนําเขาไปยังระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการขององคกรเพื่อผลิตรายงานตางๆ ออกมา ทําใหผูจัดการ
ตัดสินใจไดอยางมีประสิทธิผลมากขึ้น

        แนวคิดของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

           จุดประสงคหลักของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการคือ ชวยใหองคกรบรรลุวัตถุประสงคไดโดยชวย
ให ผูบริหารสามารถเห็นการดําเนินงานที่เกิดขึ้นในองคกร เพื่อที่จะควบคุม, จัดการและวางแผนไดอยางมี
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลหรือกลาวไดวา ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ชวยนําเสนอขอมูลของผูบริหาร
เพื่อใชในการตัดสินใจไดอยางมีประสิทธิภาพและชวยจัดการผลสะทอนกลับที่เกิดขึ้นในการดําเนินงานรายวัน
ได ตัวอยางเชนระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการดานการผลิต คือกลุมของระบบที่รวมกันเพื่อชวยใหผูบริหาร
สามารถตรวจสอบขบวนการผลิต เพื่อใหเกิดการใชวัตถุดิบในการผลิตที่มีอยูไดอยางคุมคามากที่สุด โดยการ
ตรวจสอบนี้ทําไดโดยดูจากรายงานสรุปที่ไดจากระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ รายงานเหลานี้สามารถไดมา
จากการกรองและการวิเคราะหรายละเอียดขอมูลที่อยูในฐานขอมูลการประมวลผลรายการและแสดงผลขอมูล
ที่ไดในรูปแบบที่มีความหมายหรือรูปแบบที่เขาใจไดงายตอ ผูบริหาร เพื่อใชในการตัดสินใจ รูปที่ 11 แสดง
บทบาทของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ที่มีตอการไหลของ สารสนเทศภายในองคกร สังเกตวารายการ
ทางธุรกิจสามารถเขามาในองคกรผานวิธีการทั่วไป, ผานทางอินเทอรเน็ต หรือผานทางเอ็กทราเน็ตที่ติดตอ
ลูกคาและแหลงผลิตเขากับระบบประมวลผลรายการของบริษัทก็ได
เอกสารประกอบการเรียน วิชา วท0206 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ       18




                               รูปที่ 11 แหลงสารสนเทศที่ใชในการจัดการ

          จากรูปที่ 11 แสดงใหเห็นวารายงานสรุปจากระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ เปนหนึ่งในแหลงขอมูล
สําหรับ ผูบริหาร ซึ่งจะเห็นวาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการสามารถใชไดในทุกๆ ระดับของการจัดการ ไมวา
จะเปนในระดับพนักงานไปจนกระทั่งถึงระดับองคกรก็ตาม
          ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการแตละระบบจะประกอบดวยกลุมของระบบยอย ซึ่งทําหนาที่ในการ
ดําเนินงานเฉพาะอยางภายในองคกร ดังนั้นระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการดานการเงินจะมีระบบยอยที่ทํา
การออกรายงานดานการเงิน, ระบบยอยที่ทําการวิเคราะหผลกําไรและขาดทุน, วิเคราะหคาใชจายและระบบ
ยอยที่ทําการใชและบริหารเงินทุน ระยอยตางๆ สามารถใชทรัพยากรดานฮารดแวร, ขอมูล และบุคคลรวมกัน
ได
          ถึงแมการใชระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการจะเพิ่มประสิทธิภาพการตัดสินใจใหกับผูบริหารได แต
บทบาทสําคัญที่ทําใหระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการสามารถเพิ่มประสิทธิผลใหกับองคกรไดก็คือ ชวยในการ
จัดการขอมูลที่ ถูกตองใหกับบุคคลที่ถูกตอง ในรูปแบบและเวลาที่เหมาะสม

        สวนที่นําเขาไปในระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

         ขอมูลที่เขาไปยังระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการมาจากแหลงขอมูลภายในและภายนอก แหลงขอมูล
ภายในที่สําคัญมาจากระบบการประมวลผลรายการ ซึ่งการทํางานหลักของระบบประมวลผลรายการไดแกการ
จัดเก็บขอมูล ผลลัพธที่ไดจากการดําเนินรายการทางธุรกิจ ซึ่งเมื่อเกิดรายการทางธุรกิจใดๆ ขึ้นระบบ
ประมวลผลรายการจะตอง ปรับปรุงขอมูลที่อยูในฐานขอมูลดวยเสมอ ตัวอยางเชน โปรแกรมการออกบิลชวย
เก็บฐานขอมูลของบัญชีรายรับ ซึ่งจะตองมีการปรับปรุงเพื่อใหบริหารทราบวาลูกคารายใดบางที่เปนหนี้บริษัท
เอกสารประกอบการเรียน วิชา วท0206 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ       19

ฐานขอมูลที่ปรับปรุงแลวเหลานี้เปนแหลงกําเนิดขอมูลภายในพื้นฐาน เพื่อใชในระบบสารสนเทศเพื่อการ
จัดการ ชุดโปรแกรมทางดานพาณิชยอิเล็กทรอนิกสหรือขอมูลภายในจากสวนงานเฉพาะดานอื่นๆ ของบริษัทก็
สามารถนําเขาขอมูลที่สําคัญมาสูระบบไดเชนกัน แหลงขอมูล ภายนอกไดแก ลูกคา, แหลงผลิต, คูแขงและผู
ถือหุนซึ่งเปนเจาของขอมูลที่ยังไมผานการประมวลผลรายการ และแหลงขอมูลอื่นๆ หลายๆ บริษัทพยายามที่
จะนําเอ็กทราเน็ตเขามาใชเชื่อมโยงแหลงขอมูลภายนอกตางๆ เขาดวยกัน เพื่อสะดวกในการแลกเปลี่ยนขอมูล
และสารสนเทศ
           ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการใชขอมูลที่ไดมาจากแหลงกําเนิดเหลานี้และประมวลผลใหกลายเปน
สารสนเทศที่ผูบริหารสามารถนําไปใชได ซึ่งมักจะอยูในรูปแบบของรายงานนั่นเอง

        ผลลัพธของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

       ผลลัพธที่ไดจากระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการคือกลุมของรายงานซึ่งจะถูกสงไปใหกับผูบริหาร
รายงาน เหลานี้ไดแก

          1. รายงานตามตารางเวลา (Schedules Reports) เปนรายงานที่เกิดขึ้นตาม ชวงเวลา หรือตาม
ตารางเวลา เชนรายวัน รายสัปดาหหรือรายเดือน ตัวอยางเชนผูจัดการฝายผลิตตองการใชรายงานรายสัปดาห
เพื่อแสดงรายการคาใชจายดานคาแรงรวม เพื่อตรวจสอบและควบคุมคาใชจายของงานและแรงงาน รายงาน
ตามตารางเวลาสามารถชวยให ผูบริหารควบคุมเครดิตของลูกคา, ประสิทธิภาพของตัวแทนจําหนาย, ระดับ
สินคาคงคลังได
          2. รายงานแสดงสวนประกอบสําคัญ (Key Indicator Reports) สรุปการปฏิบัติงานที่วิกฤติของวัน
กอนหนาและยังคงมีอยูในตอนตนของแตละวันทํางาน รายงานเหลานี้ สามารถสรุประดับของสินคาคงคลัง,
งานในการผลิต, ปริมาณการขายฯลฯ ใชสําหรับผูจัดการและผูบริหารระดับสูงที่ตองการความรวดเร็ว ในการ
ดําเนินธุรกิจไดอยางถูกตอง
          3. รายงานตามคําขอ (Demand Reports) ใหขอมูลตามที่ผูจัดการรองขอ ตัวอยาง เชน เมื่อผูบริหาร
ระดับสูงตองการทราบการผลิตของสินคารายการหนึ่ง ก็จะทําการสรางรายงานตามความตองการนี้ออกมา
          4. รายงานกรณียกเวน (Exception Reports) เปนรายงานที่ถูกผลิตออกมาอยางอัตโนมัติ เมื่อมี
เหตุการณที่ไมปกติเกิดขึ้นหรือเมื่อตองการใชในการดําเนินการบริหาร
          5. รายงานแบบเจาะลึกรายละเอียด (Drill Down Report) ใหรายละเอียดขอมูลที่เกี่ยวกับ
สถานการณหนึ่งๆ
เอกสารประกอบการเรียน วิชา วท0206 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ   20




รูปที่ 12 รายงานที่เกิดจากระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
เอกสารประกอบการเรียน วิชา วท0206 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ      21

        คุณลักษณะของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

       รายงานแบบตางๆ ที่กลาวมาแลวขางตนชวยผูจัดการและผูบริหารระดับสูงในการตัดสินใจไดดีขึ้นและ
ทันเวลามากขึ้น โดยทั่วไประบบสารสนเทศเพื่อการจัดการมีหนาที่และคุณลักษณะ ดังนี้

            1. ผลิตรายงานในรูปแบบที่กําหนดและรูปแบบมาตรฐาน เชน รายงานตามตารางเวลาสําหรับควบคุม
สินคาคงคลัง อาจจะประกอบดวยสารสนเทศชนิดเดียวกัน อยูในตําแหนงเดียวกันในรายงาน เนื่องจาก
ผูจัดการคนละคน อาจใชรายงาน เดียวกันเพื่อจุดประสงคที่แตกตางกันได
            2. ผลิตรายงานในรูปแบบของเอกสารหรือไฟลอิเล็กทรอนิกส รายงานบางรายงานสามารถถูกพิมพลง
บนกระดาษ เรียกวาเปนรายงานฉบับตัวจริง (Hard-copy) สวนรายงานที่อยูในรูปเสมือนจริง (Soft-copy)
มักจะแสดงผลผานทางหนาจอคอมพิวเตอร โดยผูจัดการสามารถเรียกรายงานที่ตองการขึ้นมาแสดงบนหนาจอ
            โดยตรงได แตรายงานนั้นยังคงปรากฏในรูปแบบมาตรฐานเหมือนรายงานที่พิมพออกมาจริงๆ
            3. ใชขอมูลภายในที่เก็บอยูในระบบคอมพิวเตอร รายงานในระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ใช
แหลงขอมูลภายในที่อยูในฐานขอมูลคอมพิวเตอรและบางระบบใชแหลงขอมูลภายนอกเกี่ยวกับคูแขง, โลก
ธุรกิจฯลฯ แหลงขอมูล ภายนอกที่นิยมใช ไดแก แหลงขอมูลในอินเทอรเน็ตนั่นเอง
            4. ชวยใหผูใชสามารถสรางรายงานในรูปแบบที่ตองการได ในขณะที่นักวิเคราะหและนักเขียน
โปรแกรมทําการพัฒนาและการใชรายงานที่ซับซอนซึ่งตองการใชขอมูลจากหลายๆ แหลงได ผูใชทั่วไปก็
สามารถพัฒนาโปรแกรมอยางงายในการคนหาขอมูลที่ตองการและผลิตออกมาเปนรายงานไดดวยตนเอง
เชนกัน
            5. ตองการการรองขออยางเปนทางการจากผูใช เมื่อฝายสารสนเทศสวนบุคคล ตองการพัฒนาและนํา
รายงานไปใชจริง จําเปนจะตองมีการรองขออยางเปนทางการไปยังแผนกระบบสารสนเทศกอน สวนรายงานที่
ผูใชทั่วไปพัฒนาขึ้นเองไม จําเปนตองมีการรองขออยางเปนทางการ

        สวนประกอบของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

          สวนประกอบของระบบสารสนเทศมี 5 สวนหลักดังที่ไดกลาวมาแลวขางตนคือ ฮารดแวร, ซอฟตแวร,
ขอมูล, ขบวนการ และบุคลากร โดยแตละสวนมีความสัมพันธกัน ในการนําระบบสารสนเทศเขามาใชเพื่อการ
จัดการมักจะแบงสวนตามการทํางานหลัก ซึ่งอาจจะเห็นไดจากแผนผังองคกร ทําใหทราบไดวาองคกรนั้นๆ
แบงสวนการทํางานอยางไร สวนการทํางานหลักที่มักจะปรากฏใหเห็นในองคกรทั่วไปไดแก ฝายบัญชี, การเงิน
, การตลาด, บุคคล ฝายพัฒนาและวิจัย, ฝายกฎหมาย , ฝายระบบสารสนเทศ เปนตน
          ในแตละฝายก็จะมีระดับการจัดการตางๆ (กลยุทธ, ยุทธวิธี, และการดําเนินงาน) จึงเรียกการแบงการ
จัดการตามสวนการทํางานวาการแบงตามแนวตั้ง สวนการแบงตามระดับการจัดการเรียกวาการแบงตาม
แนวนอน แตละสวนการทํางานจะมีระบบยอยที่ทํางานเฉพาะดานของตนเอง แตอาจมีการใชขอมูลรวมกันได
รูปที่ 13 แสดงระบบ สารสนเทศที่รวมสวนการทํางานตางๆ ไวดวยกัน โดยแตละสวนสนับสนุนการทํางานที่
Mis_hrcc
Mis_hrcc
Mis_hrcc
Mis_hrcc
Mis_hrcc
Mis_hrcc
Mis_hrcc
Mis_hrcc
Mis_hrcc
Mis_hrcc
Mis_hrcc
Mis_hrcc
Mis_hrcc
Mis_hrcc
Mis_hrcc
Mis_hrcc
Mis_hrcc
Mis_hrcc
Mis_hrcc
Mis_hrcc
Mis_hrcc
Mis_hrcc
Mis_hrcc

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Week 5 scale_and_measurement
Week 5 scale_and_measurementWeek 5 scale_and_measurement
Week 5 scale_and_measurement
Sani Satjachaliao
 
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagram
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagramตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagram
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagram
rubtumproject.com
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
Sassygirl Sassyboy
 
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
Nattapon
 
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการบทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
Prakaywan Tumsangwan
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
Orapan Chamnan
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
Theerapat Nilchot
 
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
sunisa3112
 

Mais procurados (18)

Week 5 scale_and_measurement
Week 5 scale_and_measurementWeek 5 scale_and_measurement
Week 5 scale_and_measurement
 
Epi info unit08
Epi info unit08Epi info unit08
Epi info unit08
 
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูลแนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
 
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุตการออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagram
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagramตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagram
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagram
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
 
Data Mining
Data MiningData Mining
Data Mining
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
 
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
 
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการบทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
 
Data mining
Data   miningData   mining
Data mining
 
03 data preprocessing
03 data preprocessing03 data preprocessing
03 data preprocessing
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
 
M
MM
M
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
 

Semelhante a Mis_hrcc

Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
MyunDao
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
MyunDao
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
Theerapat Nilchot
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
Timmy Printhong
 
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ทรงไทย Songthai
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ทรงไทย Songthaiระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ทรงไทย Songthai
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ทรงไทย Songthai
New Evo'v
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
Tay Chaloeykrai
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
Yongyut Nintakan
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
Yongyut Nintakan
 
10 ระบบสารสนเทศ
10 ระบบสารสนเทศ10 ระบบสารสนเทศ
10 ระบบสารสนเทศ
teaw-sirinapa
 
Data infor 1
Data infor 1Data infor 1
Data infor 1
paween
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
Nattapon
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
jureeratlove
 
ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]
orathai
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 p
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 pหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 p
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 p
Wareerut Suwannalop
 

Semelhante a Mis_hrcc (20)

Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
Chapter 01
Chapter 01Chapter 01
Chapter 01
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ทรงไทย Songthai
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ทรงไทย Songthaiระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ทรงไทย Songthai
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ทรงไทย Songthai
 
Sallai pro
Sallai proSallai pro
Sallai pro
 
สัมนา1
สัมนา1สัมนา1
สัมนา1
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201 เลขที่22
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201 เลขที่22ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201 เลขที่22
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201 เลขที่22
 
10 ระบบสารสนเทศ
10 ระบบสารสนเทศ10 ระบบสารสนเทศ
10 ระบบสารสนเทศ
 
Data infor 1
Data infor 1Data infor 1
Data infor 1
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 p
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 pหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 p
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 p
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 

Mais de KruBeeKa

Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
KruBeeKa
 

Mais de KruBeeKa (19)

Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
 
ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21
 
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยโซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
 
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยโซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
 
13 the fourth generation of instructional system development model
13 the fourth generation of instructional system development model13 the fourth generation of instructional system development model
13 the fourth generation of instructional system development model
 
12 chapter33-games … and … learning
12 chapter33-games … and … learning12 chapter33-games … and … learning
12 chapter33-games … and … learning
 
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
 
10 chapter29-e-learning and instructional design
10 chapter29-e-learning and instructional design10 chapter29-e-learning and instructional design
10 chapter29-e-learning and instructional design
 
09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences
 
08 chapter2-characteristics of instructional design models
08 chapter2-characteristics of instructional design models08 chapter2-characteristics of instructional design models
08 chapter2-characteristics of instructional design models
 
07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final exam
 
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
 
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
 
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ปการโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
 

Mis_hrcc

  • 1. เอกสารประกอบการเรียน วิชา วท0206 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 1 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ระบบสารสนเทศ ขอมูล, สารสนเทศ และการจัดการ ขอมูล (Data) หมายถึงคาความจริง ซึ่งแสดงถึงความเปนจริงที่ปรากฏขึ้น เชน ชื่อพนักงานและ จํานวนชั่วโมงการทํางานในหนึ่งสัปดาห, จํานวนสินคาที่อยูในคลังสินคา เปนตน ขอมูลมีหลายประเภท เชน ขอมูลตัวเลข ขอมูล ตัวอักษร ขอมูลรูปภาพ ขอมูลเสียงและขอมูลภาพเคลื่อนไหว ซึ่งขอมูลชนิดตางๆ เหลานี้ ใชในการนําเสนอคาความจริงตางๆ โดยคาความจริงที่ถูกนํามาจัดการและปรับแตงเพื่อใหมีความหมายแลว จะเปลี่ยนเปนสารสนเทศ สารสนเทศ (Information) หมายถึงกลุมขอมูลที่ถูกจัดการตามกฎหรือ ถูกกําหนดความสัมพันธให เพื่อใหขอมูลเหลานั้นเกิดประโยชนหรือมีความหมายเพิ่มมากขึ้น ประเภทของสารสนเทศขึ้นอยูกับ ความสัมพันธระหวางขอมูลที่มีอยู ตัวอยางเชน จํานวนยอดขายของตัวแทนจําหนายแตละคนในเดือนมกราคม จัดเปนขอมูล เมื่อนํามาประมวลผลรวมกันทําใหไดยอดขายรายเดือนของเดือนมกราคม ทําใหผูบริหารสามารถ นํายอดขายรายเดือนมาพิจารณาวายอดขายเปนไปตามวัตถุประสงคขององคกรหรือไมไดงายขึ้น ยอดขายราย เดือนนี้จึงจัดเปนสารสนเทศ หรือตัวอยาง เชน ตัวเลข 1.1, 1.5, และ 1.6 จัดเปนขอมูลตัวเลข เนื่องจากเปน คาความจริงซึ่งยังไมสามารถแปลความหมายใดๆ ไดแตขอมูลเหลานี้จัดเปนสารสนเทศเมื่ออยูใน สภาพแวดลอมที่บงบอกความหมายของขอมูลไดมากขึ้น เชน เมื่อกลาววา ตัวเลขเหลานี้คือยอดขาย ประจําเดือนมกราคม กุมภาพันธและมีนาคม โดยมีหนวยเปนหลักลาน จะทําใหตัวเลขทั้ง 3 มี ความหมาย เกิดขึ้น หรืออาจกลาวไดวายอดขายเฉลี่ยระหวางเดือนมกราคมถึงมีนาคมมีคาเทากับ 1.4 ลาน จัดเปน สารสนเทศที่เกิดขึ้นจากขอมูลตัวเลขทั้ง 3 ขบวนการ (Process) หมายถึงการแปลงขอมูลใหเปลี่ยนเปนสารสนเทศหรือกลาวไดวา ขบวนการคือ กลุมของงานที่สัมพันธกัน เพื่อทําใหเกิดผลลัพธตามที่ตองการ รูปที่ 1 แสดงขบวนการแปลงขอมูลเปน สารสนเทศ รูปที่ 1 ขบวนการแปลงขอมูลเปนสารสนเทศ
  • 2. เอกสารประกอบการเรียน วิชา วท0206 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 2 การจัดการ (Management) หมายถึงการบริหารอยางมีระบบ ซึ่งประกอบดวยการกําหนด เปาหมายและ ทิศทางขององคกรและการปฏิบัติเพื่อใหบรรลุเปาหมายนั้น ซึ่งจะตองมีการวางแผน การจัดการ การกําหนดทิศทางและการควบคุมเพื่อใหเกิดการใชทรัพยากรไดอยางเหมาะสม แนวคิดของระบบและการทําตัวแบบ ระบบ (System) หมายถึงกลุมสวนประกอบหรือระบบยอยตางๆที่มีการทํางานรวมกัน เพื่อให ประสบผลสําเร็จตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว โดยสวนประกอบและความสัมพันธระหวางสวนประกอบตางๆ ใน ระบบ จะเปนตัวกําหนดวาระบบจะสามารถทํางานไดอยางไร เพื่อใหผลลัพธที่ไดเปนไปตามวัตถุประสงคที่ ตองการ โดยระบบแตละระบบถูกจํากัดดวยขอบเขต (System Boundary) ซึ่งจะเปนตัวแยกระบบนั้นๆ ออก จากสิ่งแวดลอม ดังแสดงความสัมพันธของสวนตางๆในระบบดังรูปที่ 2 รูปที่ 2 ความสัมพันธของสวนตางๆ ในระบบ ประเภทของระบบ ระบบสามารถแบงเปนประเภทตางๆไดหลายกลุม ดังนี้ 1. ระบบอยางงาย(Simple) และระบบที่ซับซอน (Complex) - ระบบอยางงาย (Simple) หมายถึง ระบบที่มีสวนประกอบนอยและความสัมพันธ หรือการ โตตอบระหวางสวนประกอบตางๆ ไมซับซอน ตรงไปตรงมา - ระบบที่ซับซอน (Complex) หมายถึง ระบบที่มีสวนประกอบมากหลายสวน แตละ สวนมี ความสัมพันธและมีความเกี่ยวของกันคอนขางมาก
  • 3. เอกสารประกอบการเรียน วิชา วท0206 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 3 2. ระบบเปด(Open) และระบบปด (Close) - ระบบเปด (Open) คือ ระบบที่มีการโตตอบกับสิ่งแวดลอม - ระบบปด (Close) คือ ระบบที่ไมมีการโตตอบกับสิ่งแวดลอม 3. ระบบคงที่ (Static) และระบบเคลื่อนไหว (Dynamic) - ระบบคงที่ (Static) คือ ระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงนอยมากเมื่อเวลาผานไป - ระบบเคลื่อนไหว (Dynamic) คือ ระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและมีการ เปลี่ยนแปลง อยางคงที่ตลอดเวลา 4. ระบบที่ปรับเปลี่ยนได (Adaptive) และระบบที่ปรับเปลี่ยนไมได (Nonadaptive) - ระบบที่ปรับเปลี่ยนได (Adaptive) คือระบบที่สามารถเปลี่ยนแปลงเพื่อตอบโตกับ สิ่งแวดลอมที่ เปลี่ยนไปได - ระบบที่ปรับเปลี่ยนไมได (Nonadaptive) คือระบบที่ไมสามารถเปลี่ยนแปลง เพื่อ ตอบโตกับ สิ่งแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไปได 5. ระบบถาวร (Permanent) และระบบชั่วคราว (Temporary) - ระบบถาวร(Permanent) คือระบบที่มีอยูในชวงระยะเวลายาวนาน - ระบบชั่วคราว(Temporary) คือระบบที่มีอยูเพียงชวงระยะเวลาสั้นๆ ประสิทธิภาพของระบบ ประสิทธิภาพของระบบสามารถวัดไดหลายทาง ไดแก ประสิทธิภาพ (Efficiency) คือการวัดสิ่งที่ถูกผลิตออกมา หารดวยสิ่งที่ถูกใชไป สามารถแบงชวงจาก 0 ถึง 100% ตัวอยางเชน ประสิทธิภาพของเครื่องมอเตอรเครื่องหนึ่งคือพลังงานที่ผลิตออกมา (ในรูปของงาน ที่ทําเสร็จ) หารดวยไดพลังงานที่ใชไป (ในรูปของไฟฟาหรือเชื้อเพลิง) เครื่องมอเตอรบางเครื่องมีประสิทธิภาพ 50% หรือนอยกวา เนื่องจากพลังงานสูญเสียไปในการเสียดทาน และกําเนิดความรอน ประสิทธิผล (Effectiveness) คือการวัดระดับการประสบผลสําเร็จตามเปาหมายของระบบ สามารถคํานวณได ดวยการ หารสิ่งที่ไดรับจากการประสบผลสําเร็จจริง ดวยเปาหมายรวม เชน บริษัทหนึ่งมีเปาหมายในการลด ชิ้นสวนที่เสียหาย 100 หนวย เมื่อนําระบบการควบคุมใหมมาใชอาจจะชวยใหบรรลุเปาหมายนี้ได ถาระบบ ควบคุมใหมนี้สามารถลดจํานวนชิ้นสวนที่เสียหายไดเพียง 85 หนวย ดังนั้นระดับของประสิทธิผลของระบบ ควบคุมนี้จะเทากับ 85%
  • 4. เอกสารประกอบการเรียน วิชา วท0206 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 4 การทําตัวแบบของระบบ ในโลกแหงความเปนจริงคอนขางซับซอนและมีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา ดังนั้นเมื่อตองการ ทดสอบความสัมพันธแบบตางๆ และสังเกตผลที่เกิดขึ้น จึงจําเปนตองใชตัวแบบของระบบนั้นๆ แทนที่จะ ทดลองกับระบบจริง ตัวแบบ (Model) คือตัวแทนซึ่งเปนแนวคิดหรือเปนการประมาณเพื่อใชในการแสดงการ ทํางานของระบบจริง ตัวแบบสามารถชวยสามารถสังเกตและเกิดความเขาใจตอผลลัพธอาจเกิดขึ้นภายใต สถานการณในโลกแหงความเปนจริงได ตัวแบบมีหลายชนิด ไดแก 1. TC = (V)(X)+FC โดยที่ TC = คาใชจายรวม V = คาใชจายผันแปรตอหนวย X = จํานวนหนวยที่ถูกผลิต FC = คาใชจายคงที่ ในการสรางตัวแบบแบบใดๆ จะตองพยายามทําใหตัวแบบนั้นๆสามารถเปนตัวแทนระบบจริงไดมากที่สุด เทาที่จะเปนไปได เพื่อใหไดทางแกปญหาของระบบที่ถูกตองมากที่สุด ความหมายและบทบาทของระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ (Information System หรือ IS) คือระบบแบบเฉพาะเจาะจงชนิดหนึ่ง ซึ่งอาจ กลาวไดวาเปนกลุมของสวนประกอบพื้นฐานตางๆ ที่ทํางานเกี่ยวของกันในการเก็บ (นําเขา), จัดการ (ประมวลผล) และเผยแพร(แสดงผล) ขอมูลและสารสนเทศและสนับสนุนกลไกลของผลสะทอนกลับ เพื่อให บรรลุตามวัตถุประสงค
  • 5. เอกสารประกอบการเรียน วิชา วท0206 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 5 สวนประกอบของระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศประกอบดวย สวนหลักดังรูปที่ 3 รูปที่ 3 สวนประกอบของระบบสารสนเทศ 1. สวนที่นําเขา (Inputs) ไดแกการรวบรวมและการจัดเตรียมขอมูลดิบ สวนที่นําเขานี้สามารถมีได หลายรูปแบบไมวาจะเปนการโทรเขาเพื่อขอขอมูลในระบบสอบถามเบอรโทรศัพท ขอมูลที่ลูกคากรอกในใบ สอบถามการใหบริการของรานคาฯลฯ ขึ้นอยูกับสวนแสดงผลที่ตองการ สวนที่นําเขานี้อาจเปนขบวนการที่ทํา ดวยตัวเองหรือเปนแบบอัตโนมัติก็ได เชนการอานขอมูลรายชื่อสินคาและรายราคาโดยเครื่องอาน บารโคดของ หางสรรพสินคา จัดเปนสวนที่นําเขาแบบอัตโนมัติ 2. การประมวลผล (Processing) เกี่ยวของกับการเปลี่ยนและการแปลงขอมูลใหอยูในรูปของสวน แสดงผลที่มีประโยชน ตัวอยางของการประมวลผลไดแกการคํานวณ การเปรียบเทียบ การเลือกทางเลือกใน การปฏิบัติงานและการเก็บขอมูลไวใชในอนาคต โดยการประมวลผลสามารถทําไดดวยตนเองหรือสามารถใช คอมพิวเตอรเขามาชวยก็ได ตัวอยางเชน ระบบคิดเงินเดือนพนักงาน สามารถคิดไดจากการนําจํานวน ชั่วโมง การทํางานของพนักงานคูณเขากับอัตราคาจางเพื่อใหไดยอดเงินรวมที่ตองจายรวม ถาชั่วโมงการทํางานราย สัปดาหมากกวา 40 ชั่วโมงอาจมีการคิดเงินลวงเวลาให โดยเพิ่มเขาไปกับเงินรวม จากนั้นอาจจะทําการหัก ภาษีพนักงาน โดยการนําเงินรวมมาคิดภาษีและนําเงินรวมมาลบดวยภาษีที่คํานวณได จะทําใหไดเงินสุทธิที่ ตองจายใหกับพนักงาน 3. สวนที่แสดงผล (Outputs) เกี่ยวของกับการผลิตสารสนเทศที่มีประโยชน มักจะอยูในรูปของ เอกสาร หรือรายงานหรืออาจะเปนเช็คที่จายใหกับพนักงาน รายงานที่นําเสนอผูบริหารและสารสนเทศที่ถูก ผลิตออกมาใหกับผูถือหุน ธนาคาร หรือกลุมอื่นๆ โดยสวนแสดงผลของระบบหนึ่งอาจใชเปนสวนที่นําเขาเพื่อ ควบคุมระบบหรืออุปกรณอื่นๆ ก็ได เชนในขบวนการผลิตเฟอรนิเจอร พนักงานขาย ลูกคา และ นักออกแบบ เฟอรนิเจอรอาจจะทําการออกแบบเฟอรนิเจอรซ้ําแลวซ้ําเลา เพื่อใหตรงตามความตองการของลูกคา โดย อาจจะใชซอฟตแวรหรือฮารดแวรคอมพิวเตอรเขามาชวยในการออกแบบนี้ดวย จนกระทั่งไดตนแบบที่ตรง ความตองการมากที่สุด จึงสงแบบนั้นไปทําการผลิต จะเห็นวาแบบเฟอรนิเจอรที่ไดจากการออกแบบแตละครั้ง จะเปนสวนที่ถูกนําไปปรับปรุงการออกแบบในครั้งตอๆ ไป จนกระทั่งไดแบบ สุดทายออกมา อาจอยูในรูปของ สิ่งพิมพที่ออกมาจากเครื่องพิมพหรือแสดงอยูบนหนาจอคอมพิวเตอรที่เปนอุปกรณแสดงผลตัวหนึ่งหรืออาจจะ อยูในรูปของรายงานและเอกสารที่เขียนดวยมือก็ได
  • 6. เอกสารประกอบการเรียน วิชา วท0206 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 6 4. ผลสะทอนกลับ (Feedback) คือสวนแสดงผลที่ใชในการทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงตอสวนที่ นําเขาหรือสวนประมวลผล เชน ความผิดพลาดหรือปญหาที่เกิดขึ้น อาจจําเปนตองแกไขขอมูลนําเขาหรือทํา การเปลี่ยนแปลงการประมวลผลเพื่อใหไดสวนแสดงผลที่ถูกตอง ตัวอยางเชน ระบบการจายเงินเดือนพนักงาน ถาทําการปอนชั่วโมงการทํางานรายสัปดาหเปน 400 แทนที่จะเปน 40 ชั่วโมง ถาทําการกําหนดใหระบบ ตรวจสอบคาชั่วโมงการทํางานใหอยูในชวง 0-100 ชั่วโมง ดังนั้นเมื่อพบขอมูลนี้เปน 400 ชั่วโมง ระบบจะทํา การสงผลสะทอนกลับออกมา อาจจะอยูในรูปของรายงานความผิดพลาด ซึ่งสามารถนําไปใชในการตรวจสอบ และแกไขจํานวนชั่วโมงการทํางานที่นําเขามาคํานวณใหถูกตองได ตัวอยาง เชน ระบบลางรถอัตโนมัติ ระบบสารสนเทศประกอบดวย สวนหลักดังรูปที่ 3 สวนที่นําเขา คือ รถที่สกปรก น้ํา และน้ํายาตางๆ ที่ใชในการลางรถ เวลาและพลังงานถูกใชในการ ปฏิบัติการลางรถ ทักษะไดแกความสามารถเฉพาะอยางจะถูกนํามาใชในการฉีดสเปรย ขัดโฟม และเปาแหง ความรูถูกนํามาใชในการกําหนดขั้นตอนการทํางานของการลางรถใหทํางานไปตามขั้นตอนที่ถูกตอง การประมวลผล ประกอบดวย ขั้นที่หนึ่ง การเลือกประเภทการลางรถที่ตองการ เชน ลางอยางเดียว ลางและขัดเงา ลางและขัดเงาและเปาแหงฯลฯ และขั้นตอไปทําการนํารถเขาไปในเครื่องลางรถ (สังเกตวาใน สวนนี้จะเกิดกลไกของผลสะทอนกลับขึ้น ไดแกการประเมินผลของเจาของรถที่มีตอขบวนการลางรถที่กําลัง เกิดขึ้น) จากนั้นของฉีดของเหลวจะฉีดน้ํา สบูเหลว หรือครีมขัดเงาไปที่รถ ขึ้นอยูกับตัวเลือกที่เลือกไวใน ตอนตน สวนที่แสดงผล คือรถที่สะอาดแลว จากตัวอยาง จะเห็นวาสวนประกอบอิสระตางๆ ในระบบลางรถอัตโนมัติ เชนเครื่องฉีดของเหลว แปลงสําหรับ ทางโฟม และเครื่องเปาแหง ทํางานโตตอบกัน เพื่อใหรถสะอาดนั่นเอง ระบบสารสนเทศที่ใชคอมพิวเตอร (Computer-Based Information Systems : CBIS) ระบบสารสนเทศที่ใชคอมพิวเตอรประกอบดวย ฮารดแวร (Hardware), ซอฟตแวร (Software), ขอมูล(Data), บุคคล (People), ขบวนการ (Procedure) และการสื่อสารขอมูล (Telecommunication) ซึ่ง ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทําการรวบรวม, จัดการ จัดเก็บและประมวลผลขอมูลใหเปนสารสนเทศ รูปที่ 4 แสดง สวนประกอบของระบบ สารสนเทศที่ใชคอมพิวเตอร
  • 7. เอกสารประกอบการเรียน วิชา วท0206 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 7 รูปที่ 4 สวนประกอบของสารสนเทศที่ใชคอมพิวเตอร 1. ฮารดแวร คืออุปกรณทางกายภาพ ที่ใชในการรวบรวม การนําเขา และการจัดเก็บ ขอมูล, ประมวลผล ขอมูลใหเปนสารสนเทศ และแสดงสารสนเทศที่เปนผลลัพธ ออกมา 2. ซอฟตแวร ประกอบดวยกลุมของโปรแกรมที่ใชในการปฏิบัติงานรวมกับฮารดแวร และใชในการ ประมวลผลขอมูลเปนสารสนเทศ 3. ขอมูล ในสวนนี้หมายถึงขอมูลและสารสนเทศที่ถูกเก็บอยูในฐานขอมูล โดย ฐานขอมูล (Database) หมายถึงกลุมของคาความจริงและสารสนเทศที่มีความ เกี่ยวของกันนั่นเอง 4. บุคคล หมายถึงบุคคลที่ใชงานและปฏิบัติงานรวมกับระบบสารสนเทศ 5. ขบวนการ หมายถึงกลุมของคําสั่งหรือกฎ ที่แนะนําวิธีการปฏิบัติงานกับ คอมพิวเตอรในระบบ สารสนเทศ ซึ่งอาจไดแกการแนะนําการควบคุมการเขาใชงาน คอมพิวเตอร, วิธีการสํารองสารสนเทศในระบบ และวิธีจัดการกับปญหาที่อาจเกิดขึ้น ได 6. การสื่อสารขอมูล หมายถึงการสงสัญญาณอิเล็กทรอนิกสเพื่อติดตอสื่อสาร และ ชวยให องคกรสามารถเชื่อมระบบคอมพิวเตอรเขากับระบบเครือขาย (Network) ที่มี ประสิทธิภาพได โดยเครือขาย ใชในการเชื่อมตอคอมพิวเตอรและอุปกรณ คอมพิวเตอรไวดวยกัน อาจจะเปนภายในอาคารเดียวกัน ใน ประเทศเดียวกัน หรือทั่ว โลก เพื่อใหสามารถสื่อสารขอมูลอิเล็กทรอนิกสได
  • 8. เอกสารประกอบการเรียน วิชา วท0206 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 8 ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหาร ระบบสารสนเทศที่มีการจัดการกับสารสนเทศและสนับสนุนการตัดสินใจของผูบริหารใหเกิด ประสิทธิผล เรียกวาระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหาร โดยเนนเรื่องการสนับสนุนการตัดสินใจในระดับ การจัดการระดับตางๆ ไมเนนที่การประมวลขอมูลที่ไดจากการดําเนินการทางธุรกิจและเนนที่โครงรางของ ระบบควรจะถูกใชในการ จัดการการใชงานระบบสารสนเทศ รูปที่ 5 แสดงความสัมพันธระหวางระบบ สารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารและระดับของการจัดการ รูปที่ 5 ความสัมพันธระหวางระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหาร และระดับของการจัดการ บทบาทของการจัดการในองคกร ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ สนับสนุนบทบาทในการจัดการของผูบริหาร ดังนี้ 1.การวางแผน (Plan) หมายถึง การกําหนดเปาหมาย และกลยุทธในการบริหารองคกร 2. การจัดการ (Organize) หมายถึง การจัดสรรทรัพยากรที่ตองการนํามาใชในองคกร 3. การเปนผูนํา (Lead) หมายถึง การกระตุนพนักงาน เพื่อใหปฏิบัติการใหบรรลุเปาหมาย 4. การควบคุม (Control) หมายถึง การควบคุมดูแล เพื่อใหเกิดความกาวหนาไปยังเปาหมายที่วางไว จากบทบาทในการจัดการตางๆ ที่ไดกลาวมาแลวขางตน สารสนเทศจึงเปนสวนที่สําคัญมากในการที่ ผูบริหารจะดําเนินงานเหลานี้ใหสําเร็จ เชน สารสนเทศเกี่ยวกับการขาย, การผลิตและการเงิน เพื่อที่จะนํา ขอมูลเหลานี้มาใช ควบคุมการปฏิบัติงานรายวันขององคกร การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการจะตอง เปนไปตามการจัดองคกรและกลยุทธขององคกรนั้นๆ
  • 9. เอกสารประกอบการเรียน วิชา วท0206 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 9 ผูจัดการตองเปนผูกระทําและจัดการพฤติกรรมขององคกรเพื่อใหบรรลุเปาหมาย เชนการควบคุม องคกรใหดีขึ้น ไมวาจะเปนการนําระบบคอมพิวเตอรเขามาชวยในการทํางานหรือจะเปนการตวรจสอบวา บุคคลที่ไดรับมอบหมายงานไปนั้นสามารถปฏิบัติงานตามที่ตองการไดหรือไม โดยอาจกําหนดใหมีการฝกอบรม พนักงานกอนเริ่มปฏิบัติงานนั้นๆ ผูจัดการตางๆ ตองการสารสนเทศที่แตกตางกัน เพื่อที่จะนําไปใชในการ ทํางานของตน ดังนั้นในสวนตอไปจะอธิบายถึงความตองการของสารสนเทศของการจัดการในระดับตางๆ
  • 10. เอกสารประกอบการเรียน วิชา วท0206 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 10 ระดับของการจัดการและการดําเนินการ ระดับของการจัดการ (Levels of Management) การทําความเขาใจระบบสารสนเทศแบบตางๆ ภายในองคกร และทราบวาระบบตางๆ สามารถ รองรับความตองการของการบริหารไดอยางไร จําเปนตองทําความเขาใจกับระดับของการจัดการระดับตางๆ ขององคกรกอน ซึ่งระดับของการจัดการแบงออกเปนระดับกลยุทธ (Strategic), ระดับยุทธวิธี (Tactical), และระดับปฏิบัติการ(Operation) ดังแสดงในรูปที่ 6 รูปที่ 6 ระดับของการจัดการ การปฏิบัติงานในระดับปฏิบัติการ (Operational) ไดแกการปฏิบัติงานในระดับที่ต่ําที่สุด ผูควบคุมการทํางานในระดับนี้ ตองการรายละเอียดสารสนเทศ ที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน ตามขบวนการผลิตของบริษัทในแตละวัน การควบคุมการปฏิบัติการในระดับนี้ จะตองพิจารณาหาวิธีที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยขบวนการตัดสินใจในระดับนี้ตองการสารสนเทศ เกี่ยวกับ งานที่จะตองปฏิบัติ, ทรัพยากรที่มีอยู ความรวมมือที่ตองการจากสวนปฏิบัติงานอื่นๆ ภายในองคกร, มาตรฐานและงบประมาณที่สามารถใชได, และผลสะทอนกลับที่ใชในการประเมินผลลัพธ หนาที่ของผูจัดการในระดับปฏิบัติการ ไดแก ทําการตัดสินใจจากขอมูลที่ถูกเก็บไว, กําหนดหนาที่ใน การทํางาน, และตรวจสอบการขนสงใหเปนไปตามนโยบายหรือกฎที่ผูจัดการระดับยุทธวิธีกําหนดไว โดย สารสนเทศที่ใชในการจัดการระดับนี้จะตองมีรายละเอียดมาก, มีความแมนยําสูงและเกิดขึ้นมาจากการทํางาน ที่เกิดขึ้นเปนประจําและประกอบดวยรายการขอมูลรายวันที่แสดงถึงการผลิต, การขายและการเงินในแตละวัน การปฏิบัติงานในระดับยุทธวิธี (Tactical) การควบคุมการจัดการในระดับยุทธวิธีจะเกี่ยวกับการจัดหาและการใชทรัพยากรที่มีอยูอยางมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคของการจัดการระดับสูง ผูจัดการในระดับนี้ทําหนาที่
  • 11. เอกสารประกอบการเรียน วิชา วท0206 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 11 ในการวางแผนงานสําหรับหนวยปฏิบัติงานระดับลาง เชน ศูนยกลางการขายและการผลิต เพื่อใหบรรลุ วัตถุประสงคขององคกร ผูจัดการระดับกลางนี้ตองการรายงานสรุปจากการปฏิบัติงานของบริษัท เพื่อใชในการ ตัดสินใจเชิงยุทธวิธี เพื่อที่จะปฏิบัติตามนโยบายการตัดสินใจที่ถูกกําหนดมาจากระดับบนหรือระดับกลยุทธ ของบริษัท สิ่งสําคัญที่ผูจัดการในระดับปฏิบัติการและระดับยุทธวิธีตองการใชในการตัดสินใจไดแก รายงานสรุป ที่ เหมาะสมกับความตองการ โดยสารสนเทศในระดับนี้จะเปนสารสนเทศที่เกิดขึ้นในระยะยาวมากขึ้น เชน สารสนเทศเกี่ยวกับสถานภาพทางการเงินของบริษัท สามารถนํามาใชในการทํานายสถานการณที่จะเกิดขึ้นใน อนาคตไดแมนยํามากขึ้น การปฏิบัติงานในระดับกลยุทธ (Strategic) การจัดการเชิงกลยุทธเกี่ยวของกับการกําหนดวัตถุประสงคขององคกร โดยหนวยงานตางๆ จะตอง ปฏิบัติตามกลยุทธที่กําหนด เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคขององคกร ผูจัดการระดับกลยุทธจะทําการกําหนด นโยบายและตัดสินใจดานการเงิน, ดานบุคลากร, ดานสารสนเทศและดานแหลงเงินทุนที่ตองการ เพื่อใหบรรลุ วัตถุประสงคขององคกร การตัดสินใจที่เกิดขึ้นจะเกี่ยวกับการกําหนดทิศทางขององคกร รวมทั้งการผลิตสินคา ใหม, ลงทุนในตลาดใหมและการใชเทคโนโลยีในการผลิตใหมๆ จากรูปที่ 5 แสดงสัดสวนระหวางจํานวนบุคคลภายในองคกร ที่ทําการตัดสินใจในระดับการจัดการ ระดับตางๆ และแสดงความสัมพันธระหวางการตัดสินใจในทั้ง 3 ระดับ จากรูปสรุปไดวาในองคกรจะมีผูที่ ทํางานในระดับปฏิบัติการ(ทํางานในระดับลาง) จํานวนมากและที่ระดับสูงขึ้น (ระดับยุทธวิธี) มีจํานวนผูทํางาน นอยลงและที่ระดับกลยุทธจะมีจํานวนนอยที่สุด การตัดสินใจจะเกิดขึ้นจากระดับบนลงมาระดับลาง การ ตัดสินใจของระดับลางจะขึ้นอยูกับการตัดสินใจของระดับที่สูงกวา ในขณะที่สานสนเทศที่ใชในการตัดสินใจจะ เกิดขึ้นจากระดับลางขึ้นไปสูระดับบน โดยสาสนเทศระดับบนเกิดจากการสรุปขอมูลที่ไดจากระดับที่อยูต่ํากวา ระบบประมวลผลรายการ (Transaction Processing Systems) ระบบประมวลผลรายการ หมายถึง ระบบสารสนเทศที่ใชในการเปลี่ยนขอมูลดิบจากการปฏิบัติงานให อยูในรูปแบบที่เครื่องจักรสามารถอานได, เก็บรายละเอียดรายการ, ประมวลผลรายการและสั่งพิมพ รายละเอียดรายการ ออกมาได รายการ (Transaction) คือ การกระทําพื้นฐานที่เกิดขึ้นระหวางการ ดําเนินการทางธุรกิจ เชน การขายสินคา การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินคาผานเครดิตการดและการสอบถาม ขอมูลเกี่ยวกับสินคาคงคลัง จัดเปนรายการทั้งสิ้น ระบบประมวลผลรายการนิยมใชในการประมวลผลบัญชี, การขาย, หรือประมวลผลขอมูลสินคาคงคลัง เนื่องจากขอมูลเหลานี้เปนที่ตองการของระบบสารสนเทศอื่นๆใน องคกร รูปที่ 7 แสดงแนวคิดของระบบประมวลผลรายการ
  • 12. เอกสารประกอบการเรียน วิชา วท0206 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 12 รูปที่ 7 แนวคิดของระบบประมวลผลรายการ ในการดําเนินการของระบบประมวลผลรายการ ขอมูลถูกนําเขาไปยังคอมพิวเตอรของระบบ สารสนเทศ โดยใชแปนพิมพหรืออุปกรณอื่นๆ ขอมูลจะถูกเก็บอยูในคอมพิวเตอรจนกระทั่งพรอมที่จะถูก ประมวลผล หลังจากที่ขอมูลถูกปอนเขาไปแลว จะเกิดการประมวลผลเพื่อเปลี่ยนขอมูลเปนสารสนเทศที่มี ประโยชนในการจัดการ โดยระบบประมวลผลรายการจะทําการบันทึกรายการลงในฐานขอมูลและผลิตเอกสาร ที่เกี่ยวของกับรายการนั้นออกมา อาจอยูในรูปแบบของรายงาน, ตาราง, กราฟ,ภาพเคลื่อนไหว และเสียงฯลฯ ขึ้นอยูกับความตองการของผูใชสารสนเทศนั้นๆ ระบบประมวลผลรายการสามารถแบงตามวิธีการประมวลผลขอมูล ไดแก 1. ระบบการประมวลผลแบบกลุม (Batch Processing System) ขอมูลจากหลายๆรายการ จากผูใช หลายๆ คน หรือจากชวงเวลาหลายๆ ชวง ถูกรวมเขาดวยกัน, นําเขา และประมวลผลเหมือนเปนกลุมเดียว ตัวอยางเชน ยอดขายรายวันซึ่งถูกประมวลผลเพียงวันละหนึ่งครั้ง จะใชระบบการประมวลผลแบบกลุมนี้เมื่อ ขอมูลไมจําเปนตองปรับปรุงทันที และเมื่อมีขอมูลจํานวนมากที่คลายกัน ตองถูกประมวลผลในครั้งเดียวกัน 2. ระบบการประมวลผลแบบออนไลน (Online Processing System) รายการถูกประมวลผลเมื่อ เกิดรายการนั้นขึ้น แบงออกเปน 2 ประเภทคือ 2.1 การประมวลผลเชิงรายการ (Transactional Processing) ขอมูลถูกประมวลผล เมื่อปอน ขอมูลเขาโดยไมตองเก็บไวประมวลผลในภายหลัง เชน ระบบเช็ครายการ สินคาออกของรานขายของชํา โดยระบบจะทําการออกใบเสร็จรับเงินที่แสดงรายการ สินคาทันทีหลังจากรายการสินคาตางๆ ที่ซื้อ ถูก ประมวลผล 2.2 การประมวลผลแบบทันที (Real-time Processing) ใชในระบบควบคุม หรือ ระบบที่ ตองการใหเกิดผลสะทอนกลับ เชนขบวนการควบคุมอุณหภูมิของหางสรรพ สิน การทํางานของการ ประมวลผลแบบทันที สามารถไปมีผลกระทบกับตัวรายการ นั้นๆ เอง ถาผูใชหลายรายแขงขันกันเพื่อใช ทรัพยากรเดียวกัน เชนที่นั่งบนเครื่องบิน หรือในชั้นเรียนพิเศษ
  • 13. เอกสารประกอบการเรียน วิชา วท0206 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 13 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ในการใชการประมวลผลรายการทําใหการประมวลผลการดําเนินการดานธุรกิจทําไดรวดเร็วขึ้นและ ลด คาใชจายในการควบคุมงานลงได แตจะเห็นไดชัดวาขอมูลที่เก็บไดจากการประมวลผลรายการ สามารถ ชวยใหผูบริหารนํามาใชในการตัดสินใจในการดําเนินงานไดดีขึ้น จึงจําเปนตองพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อชวย สนับสนุนการทํางานดานการจัดการของผูบริหารขึ้นเรียกวาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหมายถึงกลุมของบุคคล, ขบวนการ,ซอฟตแวร, ฐานขอมูล และ อุปกรณตางๆ ที่ถูกจัดการเพื่อใชในการจัดการสารสนเทศที่เกิดขึ้นเปนประจําใหแกผูบริหารหรือผูทําการ ตัดสินใจ จุดประสงคหลักของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ อยูที่การดําเนินการอยางมีประสิทธิภาพในดาน การตลาด, การผลิต, การเงิน และสวนงานอื่นๆ โดยใชและจัดเก็บขอมูลลงในฐานขอมูล ดังรูปที่ 8 รูปที่ 8 การใชขอมูลจากระบบการประมวลผลรายการของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการดานตางๆ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการเปนระบบสารสนเทศที่ใชในการผลิตรายงานดานการจัดการ ซึ่งจะใช ในการสนับสนุนการตัดสินใจในระดับปฏิบัติงาน, ระดับยุทธวิธี และระดับกลยุทธ โดยรายงานที่เกิดขึ้นมีหลาย รูปแบบขึ้นอยูกับระดับของการจัดการในองคกร แบงออกเปน 3 ประเภทหลัก คือรายงานตามตารางเวลา (Scheduled Report), รายงานกรณียกเวน (Exception Report) และรายงานตามคําขอ (Demand Report) 1. รายงานตามตารางเวลา แสดงขอมูลการดําเนินงานขององคกรที่เกิดขึ้นตาม ชวงเวลา อาจจะเปน ชวงรายวัน, รายสัปดาห รายเดือน หรือรายป มีลักษณะคลายกับ ขอมูลตนฉบับที่ผานการประมวลผลมา จากหนวยงานตางๆ แตเพิ่มการจัดกลุมขอมูล และการสรุปขอมูลลงไป เพื่อชวยใหผูจัดการในระดับลาง สามารถตัดสินใจในการ ดําเนินงานใหบรรลุวัตถุประสงคของผูจัดการระดับสูงกวาได ตัวอยางเชน ผูจัดการ ดานการผลิตตองการรายงานรายวันของสินคาที่มีตําหนิจากฝายการผลิตและรายงาน รายสัปดาห ของจํานวนชั่วโมงการทํางานลวงเวลาที่เกิดขึ้นในสัปดาหนั้น 2. รายงานกรณียกเวน เปนรายงานที่เกิดขึ้นตามเงื่อนไขบางอยาง ซึ่งมักจะไมปกติ จึงจําเปน จะตองมี รายงานออกมา โดยในรายงานจะมีขอมูลที่จําเปนตอผูจัดการใน การตรวจสอบหาสาเหตุของ
  • 14. เอกสารประกอบการเรียน วิชา วท0206 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 14 ขอผิดพลาดที่เกิดขึ้นเทานั้น เชน ระบบสารสนเทศเพื่อ การจัดการทําการผลิตรายงานกรณียกเวนเมื่อมี การทํางานลวงเวลามากกวา 10% ของเวลาการทํางานรวมทั้งหมด เมื่อผูจัดการฝายผลิตไดรับรายงาน จะทํา การหา สาเหตุที่มีการทํางานลวงเวลาเกินกวาที่กําหนด ซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากมีงานการ ผลิตมากหรือ เกิดจากการวางแผนงานไมดี ถาเกิดขึ้นจากการวางแผนไมดีแลวจะได ทําการปรับปรุงแกไขแผนงานตอไป 3. รายงานตามคําขอ เกิดขึ้นตามคําขอของผูจัดการในหัวขอที่ตองการ ซึ่งรายงาน อาจจะถูก กําหนดมากอนแลว แตไมทําการผลิตออกมาหรืออาจเปนรายงานที่มีผลมา จากเหตุการณที่ไมเคยคาดคิด มากอนใน รายงานอื่น หรือจากขอมูลภายนอก เชน ถาผูจัดการฝายผลิตเห็นการทํางานลวงเวลามากเกิน กําหนดจากรายงานกรณียกเวน อาจจะทําการรองขอรายงานที่แสดงถึงสาเหตุที่เปนไปไดในการทําใหเกิด การ ทํางานลวงเวลาเกินกําหนด อาจจะไดแกรายงานที่แสดงงานในดานการผลิตทั้งหมด , จํานวน ชั่วโมงที่ตองการในการทํางานแตละงาน, และจํานวนการทํางานลวงเวลา ของแตละงาน จะเห็นวา รายงานนี้จะตองใชขอมูลที่รวบรวมอยูในฐานขอมูล เพื่อ นําเสนอขอมูลที่จําเปนตอผูจัดการตอไป ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ในความเปนจริงแลวรายงานชนิดตางๆ ยังไมสามารถตอบคําถามที่เกิดขึ้นในขบวนการตัดสินใจได อยางสมบูรณ เนื่องจากรายงานเหลานั้นยังไมสามาถนํามาใชไดทันตอเหตุการณและยังไมสามารถนํามา ทดสอบเพื่อดูผลของการตัดสินใจไดอยางรวดเร็ว จึงจําเปนตองพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจขึ้นเพื่อชวย ใหผูจัดการสามารถหาคําตอบของคําถามตางๆ เพื่อทําการตัดสินใจดวยการใชตัวแบบทางคณิตศาสตรหรือ แผนภาพไดดีขึ้น ความหมายของระบบสนับสนุนการตัดสินใจคือ ระบบที่ใชคอมพิวเตอรเพื่อชวยผูตัดสินใจที่ ตองเผชิญกับปญหาที่มีโครงสรางระดับตางๆ โดยสามารถทดสอบผลการตัดสินใจในการแกปญหาดวยตัวแบบ ขอมูลและทําการวิเคราะหผลที่เกิดขึ้นไดอยางรวดเร็ว ระบบสนับสนุนการตัดสินใจชวยในการตัดสินใจปญหาไดหลากหลายรูปแบบ สามารถชวยในการ แกปญหาที่ซับซอน เชน ผูผลิตตองการหาพื้นที่ที่เหมาะสมในการสรางโรงงานผลิตแหงใหมหรือโรงงานน้ํามัน ตองการเลือกสถานที่ที่เหมาะสมที่สุดในการขุดเจาะหาน้ํามัน ซึ่งจะเห็นวาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ทั่วไปไมสามารถแกปญหาเหลานี้ได แตระบบสนับสนุนการตัดสินใจสามารถชวยแนะนําทางเลือกในการปฏิบัติ และชวยในการตัดสินใจเพื่อหาคําตอบของปญหาเหลานี้ได นอกจากนี้ระบบสนับสนุนการตัดสินใจยังเกี่ยวของ กับการตัดสินใจการบริหารรูปแบบตางๆ ดังนั้นจึง จําเปนตองสามารถรองรับรูปแบบการตัดสินใจของผูใชที่ หลากหลายดวย
  • 15. เอกสารประกอบการเรียน วิชา วท0206 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 15 รูปที่ 9 สวนประกอบของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ รูปที่ 9 แสดงสวนประกอบที่จําเปนของระบบสนับสนุนการตัดสินใจไดแก กลุมของตัวแบบที่ใช สนับสนุน ผูตัดสินใจหรือผูใช (Model base), กลุมของคาความจริงและสารสนเทศที่ชวยในการตัดสินใจ (Database), และระบบและขบวนการที่ชวยใหผูตัดสินใจและผูใชอื่นๆ สามารถตอบโตกับระบบสนับสนุนการ ตัดสินใจได (User Interface) จากรูปจะเห็นวาผูใชไมไดทําการใชตัวแบบโดยตรง แตจะใชงานผานซอฟตแวร จัดการตัวแบบ (Model Management Software : MSS) และใชฐานขอมูลผานระบบจัดการฐานขอมูล (Database Mangement System :DBMS) ระบบสารสนเทศเพื่อผูบริหาร ระบบสนับสนุนการตัดสินใจมีจุดประสงคเพื่อแกปญหาและตอบคําถามลักษณะ "อะไรจะเกิดขึ้นถา…" หรือลักษณะตองทําอยางไรเพื่อใหบรรลุเปาหมายที่ตองการและคําถามในลักษณะมีความเสี่ยงเขามาเกี่ยวของ ซึ่งผูที่ ตัดสินใจและตองการใชระบบนี้สวนมากมักจะเปนผูบริหารระดับกลางซึ่งจะตองเกี่ยวของับปญหาและ การทํางานหลัก แตสารสนเทศที่ไดจากระบบสนับสนุนการตัดสินใจมักจะไมสามารถตอบสนองความตองการ ของผูบริหารระดับสูงได เนื่องจากผูบริหารระดับสูงตองมองในระดับกวางขององคกรและผูบริหารมีเวลานอย ระบบสารสนเทศ เพื่อ ผูบริหารจึงจําเปนตองใชงานงายและสารสนเทศที่ไดจากระบบจะตองอยูในรูปแบบที่เขาใจงาย แหลงขอมูลที่ใชอาจจะมาจากแหลงขอมูลภายนอกและแหลงขอมูลภายในเชนระบบประมวลผลรายการหรือ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ทําใหผูบริหารระดับสูงสามารถหาสาเหตุที่ทําใหเกิดผลลัพธตางๆได ระบบสารสนเทศเพื่อผูบริหารมีประสิทธิภาพและความสามารถในการจัดเก็บขอมูลสูงดวยการใช
  • 16. เอกสารประกอบการเรียน วิชา วท0206 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 16 เครื่อง เมนเฟรม ใชงานงายและมีความสามารถในการแสดงผลดวยรูปภาพไดดวยการใชเครื่องคอมพิวเตอร สวนบุคคล โดยสารสนเทศถูกถายโอนจากเครื่องเมนเฟรมหรือฐานขอมูลขอมูลภายนอกเขามายังเครื่อง คอมพิวเตอรสวนบุคคล และผูบริหารสามารถใชอุปกรณชี้ตําแหนงเชน เมาส เพื่อเลือกจากรายการของผลลัพธ และรูปแบบการแสดงผลได เนื่องจากผูบริหารมักจะทําการคนหาขอมูลและตอบคําถามที่ตองการมากกวาการ ปอนขอมูล ในระบบสารสนเทศเพื่อ ผูบริหารนี้จึงไมนิยมใชแปนพิมพ ผลลัพธที่ไดมักจะอยูในรูปแบบของ แผนภาพหรือแผนภาพและตาราง ทําใหผูบริหารสามารถเขาใจแนวโนมและนําขอมูลที่ไดไปใชตัดสินปญหาได ตรงตามความตองการ ระบบผูเชี่ยวชาญ ระบบผูเชี่ยวชาญไดรับความสําเร็จไดดวยการนําคุณสมบัติทางดานปญญาประดิษฐ (Artificial Intelligence : AI) ซึ่งเปนระบบคอมพิวเตอรที่มีคุณลักษณะความฉลาดเหมือนกับมนุษย เขามาใชรวมดวย ระบบผูเชี่ยวชาญชวยในการตัดสินใจไดโดยขบวนการทางคอมพิวเตอรที่ทําการรวบรวมเหตุผลทางตรรกะเขา ดวยกัน ซึ่งระบบผูเชี่ยวชาญเรียกใชความรูเฉพาะดานหนึ่งๆ ไดจากฐานความรู (Knowledge Base) ขึ้นอยูกับ คาความจริงของเหตุการณใดๆ ที่ตองการตัดสินใจ ผานกลไกในการสรุปขอมูลและใหเหตุผล เพื่อใหคําแนะนํา พรอมทั้งมีคําอธิบายของคําแนะนําแกผูใชดวย โครงสรางของระบบผูเชี่ยวชาญแสดงดังรูปที่ 10 รูปที่ 10 โครงสรางของระบบผูเชี่ยวชาญ สวนประกอบที่จําเปนของฐานความรูคือ ฮิวริสติก (Heuristic) ซึ่งหมายถึงสวนของความรูภายใน ขอบเขตของระบบผูเชี่ยวชาญในดานการตัดสินใจ ซึ่งไมมีรูปแบบตายตัว เชนการสํารวจน้ํามันหรือการประเมิน ราคาหุน โดยฐานความรูจะถูกพัฒนาขึ้นโดยการนําความรูและความเชี่ยวชาญมาจากกลุมผูเชี่ยวชาญเฉพาะ ดานที่ตองการ ระบบผูเชี่ยวชาญสามารถนําไปใชรวมกับระบบสารสนเทศในองคกรทุกประเภทไมวาจะเปนระบบการ ประมวลผลรายการ, ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหรือในระบบสนับสนุนการตัดสินใจหรือจะใชเปน
  • 17. เอกสารประกอบการเรียน วิชา วท0206 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 17 เครื่องมือในการให คําแนะนําเดี่ยวๆ เลยก็ได ตัวอยางเชน การนําระบบผูเชี่ยวชาญมาใชรวมกับระบบ ประมวลผลรายการสําหรับการสั่งซื้อสินคา ระบบผูเชี่ยวชาญอาจกําหนดราคาสั่งซื้อโดยการพิจารณาจากกลุม ลูกคา, ปริมาณการสั่งซื้อและรายการสงเสริมการขายที่มีอยูทั้งหมดของสินคาที่ถูกสั่งซื้อนั้น เนื่องจากบริษัท ตางๆมีรายการสงเสริมการขายที่แตกตางกัน มีทั้งแบบในระยะเวลาสั้นๆ, แบบที่ใหเฉพาะบางพื้นที่ฯลฯ ซึ่ง เปนปญหาที่ไมงายนักสําหรับพนักงานรับสั่งสินคาที่จะสามารถจัดการแจงใหลูกคาทราบไดทันทีทางโทรศัพท ความยุงยากของงานเหลานี้มีมากมายจึงมีการนําระบบผูเชี่ยวชาญเขามาชวย จัดการ แตในความเปนจริงแลว ระบบผูเชี่ยวชาญมิไดเขามาแทนที่ผูเชี่ยวชาญระบบตัวจริง เพียงแตชวยใหผูตัดสินใจ ทําการตัดสินใจไดงายขึ้น เทานั้น ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ระบบที่นําเสนอขอมูลในรูปแบบที่ผูบริหารสามารถวิเคราะหขอมูลไดอยางมีประสิทธิภาพ เรียกวา ระบบ สารสนเทศเพื่อการจัดการ ซึ่งขอมูลสวนที่นําเขาสวนมาก ไดแกขอมูลจากระบบประมวลผลรายการ ซึ่ง ถูกนําเขาไปยังระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการขององคกรเพื่อผลิตรายงานตางๆ ออกมา ทําใหผูจัดการ ตัดสินใจไดอยางมีประสิทธิผลมากขึ้น แนวคิดของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ จุดประสงคหลักของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการคือ ชวยใหองคกรบรรลุวัตถุประสงคไดโดยชวย ให ผูบริหารสามารถเห็นการดําเนินงานที่เกิดขึ้นในองคกร เพื่อที่จะควบคุม, จัดการและวางแผนไดอยางมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลหรือกลาวไดวา ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ชวยนําเสนอขอมูลของผูบริหาร เพื่อใชในการตัดสินใจไดอยางมีประสิทธิภาพและชวยจัดการผลสะทอนกลับที่เกิดขึ้นในการดําเนินงานรายวัน ได ตัวอยางเชนระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการดานการผลิต คือกลุมของระบบที่รวมกันเพื่อชวยใหผูบริหาร สามารถตรวจสอบขบวนการผลิต เพื่อใหเกิดการใชวัตถุดิบในการผลิตที่มีอยูไดอยางคุมคามากที่สุด โดยการ ตรวจสอบนี้ทําไดโดยดูจากรายงานสรุปที่ไดจากระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ รายงานเหลานี้สามารถไดมา จากการกรองและการวิเคราะหรายละเอียดขอมูลที่อยูในฐานขอมูลการประมวลผลรายการและแสดงผลขอมูล ที่ไดในรูปแบบที่มีความหมายหรือรูปแบบที่เขาใจไดงายตอ ผูบริหาร เพื่อใชในการตัดสินใจ รูปที่ 11 แสดง บทบาทของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ที่มีตอการไหลของ สารสนเทศภายในองคกร สังเกตวารายการ ทางธุรกิจสามารถเขามาในองคกรผานวิธีการทั่วไป, ผานทางอินเทอรเน็ต หรือผานทางเอ็กทราเน็ตที่ติดตอ ลูกคาและแหลงผลิตเขากับระบบประมวลผลรายการของบริษัทก็ได
  • 18. เอกสารประกอบการเรียน วิชา วท0206 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 18 รูปที่ 11 แหลงสารสนเทศที่ใชในการจัดการ จากรูปที่ 11 แสดงใหเห็นวารายงานสรุปจากระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ เปนหนึ่งในแหลงขอมูล สําหรับ ผูบริหาร ซึ่งจะเห็นวาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการสามารถใชไดในทุกๆ ระดับของการจัดการ ไมวา จะเปนในระดับพนักงานไปจนกระทั่งถึงระดับองคกรก็ตาม ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการแตละระบบจะประกอบดวยกลุมของระบบยอย ซึ่งทําหนาที่ในการ ดําเนินงานเฉพาะอยางภายในองคกร ดังนั้นระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการดานการเงินจะมีระบบยอยที่ทํา การออกรายงานดานการเงิน, ระบบยอยที่ทําการวิเคราะหผลกําไรและขาดทุน, วิเคราะหคาใชจายและระบบ ยอยที่ทําการใชและบริหารเงินทุน ระยอยตางๆ สามารถใชทรัพยากรดานฮารดแวร, ขอมูล และบุคคลรวมกัน ได ถึงแมการใชระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการจะเพิ่มประสิทธิภาพการตัดสินใจใหกับผูบริหารได แต บทบาทสําคัญที่ทําใหระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการสามารถเพิ่มประสิทธิผลใหกับองคกรไดก็คือ ชวยในการ จัดการขอมูลที่ ถูกตองใหกับบุคคลที่ถูกตอง ในรูปแบบและเวลาที่เหมาะสม สวนที่นําเขาไปในระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ขอมูลที่เขาไปยังระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการมาจากแหลงขอมูลภายในและภายนอก แหลงขอมูล ภายในที่สําคัญมาจากระบบการประมวลผลรายการ ซึ่งการทํางานหลักของระบบประมวลผลรายการไดแกการ จัดเก็บขอมูล ผลลัพธที่ไดจากการดําเนินรายการทางธุรกิจ ซึ่งเมื่อเกิดรายการทางธุรกิจใดๆ ขึ้นระบบ ประมวลผลรายการจะตอง ปรับปรุงขอมูลที่อยูในฐานขอมูลดวยเสมอ ตัวอยางเชน โปรแกรมการออกบิลชวย เก็บฐานขอมูลของบัญชีรายรับ ซึ่งจะตองมีการปรับปรุงเพื่อใหบริหารทราบวาลูกคารายใดบางที่เปนหนี้บริษัท
  • 19. เอกสารประกอบการเรียน วิชา วท0206 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 19 ฐานขอมูลที่ปรับปรุงแลวเหลานี้เปนแหลงกําเนิดขอมูลภายในพื้นฐาน เพื่อใชในระบบสารสนเทศเพื่อการ จัดการ ชุดโปรแกรมทางดานพาณิชยอิเล็กทรอนิกสหรือขอมูลภายในจากสวนงานเฉพาะดานอื่นๆ ของบริษัทก็ สามารถนําเขาขอมูลที่สําคัญมาสูระบบไดเชนกัน แหลงขอมูล ภายนอกไดแก ลูกคา, แหลงผลิต, คูแขงและผู ถือหุนซึ่งเปนเจาของขอมูลที่ยังไมผานการประมวลผลรายการ และแหลงขอมูลอื่นๆ หลายๆ บริษัทพยายามที่ จะนําเอ็กทราเน็ตเขามาใชเชื่อมโยงแหลงขอมูลภายนอกตางๆ เขาดวยกัน เพื่อสะดวกในการแลกเปลี่ยนขอมูล และสารสนเทศ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการใชขอมูลที่ไดมาจากแหลงกําเนิดเหลานี้และประมวลผลใหกลายเปน สารสนเทศที่ผูบริหารสามารถนําไปใชได ซึ่งมักจะอยูในรูปแบบของรายงานนั่นเอง ผลลัพธของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ผลลัพธที่ไดจากระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการคือกลุมของรายงานซึ่งจะถูกสงไปใหกับผูบริหาร รายงาน เหลานี้ไดแก 1. รายงานตามตารางเวลา (Schedules Reports) เปนรายงานที่เกิดขึ้นตาม ชวงเวลา หรือตาม ตารางเวลา เชนรายวัน รายสัปดาหหรือรายเดือน ตัวอยางเชนผูจัดการฝายผลิตตองการใชรายงานรายสัปดาห เพื่อแสดงรายการคาใชจายดานคาแรงรวม เพื่อตรวจสอบและควบคุมคาใชจายของงานและแรงงาน รายงาน ตามตารางเวลาสามารถชวยให ผูบริหารควบคุมเครดิตของลูกคา, ประสิทธิภาพของตัวแทนจําหนาย, ระดับ สินคาคงคลังได 2. รายงานแสดงสวนประกอบสําคัญ (Key Indicator Reports) สรุปการปฏิบัติงานที่วิกฤติของวัน กอนหนาและยังคงมีอยูในตอนตนของแตละวันทํางาน รายงานเหลานี้ สามารถสรุประดับของสินคาคงคลัง, งานในการผลิต, ปริมาณการขายฯลฯ ใชสําหรับผูจัดการและผูบริหารระดับสูงที่ตองการความรวดเร็ว ในการ ดําเนินธุรกิจไดอยางถูกตอง 3. รายงานตามคําขอ (Demand Reports) ใหขอมูลตามที่ผูจัดการรองขอ ตัวอยาง เชน เมื่อผูบริหาร ระดับสูงตองการทราบการผลิตของสินคารายการหนึ่ง ก็จะทําการสรางรายงานตามความตองการนี้ออกมา 4. รายงานกรณียกเวน (Exception Reports) เปนรายงานที่ถูกผลิตออกมาอยางอัตโนมัติ เมื่อมี เหตุการณที่ไมปกติเกิดขึ้นหรือเมื่อตองการใชในการดําเนินการบริหาร 5. รายงานแบบเจาะลึกรายละเอียด (Drill Down Report) ใหรายละเอียดขอมูลที่เกี่ยวกับ สถานการณหนึ่งๆ
  • 20. เอกสารประกอบการเรียน วิชา วท0206 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 20 รูปที่ 12 รายงานที่เกิดจากระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
  • 21. เอกสารประกอบการเรียน วิชา วท0206 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 21 คุณลักษณะของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ รายงานแบบตางๆ ที่กลาวมาแลวขางตนชวยผูจัดการและผูบริหารระดับสูงในการตัดสินใจไดดีขึ้นและ ทันเวลามากขึ้น โดยทั่วไประบบสารสนเทศเพื่อการจัดการมีหนาที่และคุณลักษณะ ดังนี้ 1. ผลิตรายงานในรูปแบบที่กําหนดและรูปแบบมาตรฐาน เชน รายงานตามตารางเวลาสําหรับควบคุม สินคาคงคลัง อาจจะประกอบดวยสารสนเทศชนิดเดียวกัน อยูในตําแหนงเดียวกันในรายงาน เนื่องจาก ผูจัดการคนละคน อาจใชรายงาน เดียวกันเพื่อจุดประสงคที่แตกตางกันได 2. ผลิตรายงานในรูปแบบของเอกสารหรือไฟลอิเล็กทรอนิกส รายงานบางรายงานสามารถถูกพิมพลง บนกระดาษ เรียกวาเปนรายงานฉบับตัวจริง (Hard-copy) สวนรายงานที่อยูในรูปเสมือนจริง (Soft-copy) มักจะแสดงผลผานทางหนาจอคอมพิวเตอร โดยผูจัดการสามารถเรียกรายงานที่ตองการขึ้นมาแสดงบนหนาจอ โดยตรงได แตรายงานนั้นยังคงปรากฏในรูปแบบมาตรฐานเหมือนรายงานที่พิมพออกมาจริงๆ 3. ใชขอมูลภายในที่เก็บอยูในระบบคอมพิวเตอร รายงานในระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ใช แหลงขอมูลภายในที่อยูในฐานขอมูลคอมพิวเตอรและบางระบบใชแหลงขอมูลภายนอกเกี่ยวกับคูแขง, โลก ธุรกิจฯลฯ แหลงขอมูล ภายนอกที่นิยมใช ไดแก แหลงขอมูลในอินเทอรเน็ตนั่นเอง 4. ชวยใหผูใชสามารถสรางรายงานในรูปแบบที่ตองการได ในขณะที่นักวิเคราะหและนักเขียน โปรแกรมทําการพัฒนาและการใชรายงานที่ซับซอนซึ่งตองการใชขอมูลจากหลายๆ แหลงได ผูใชทั่วไปก็ สามารถพัฒนาโปรแกรมอยางงายในการคนหาขอมูลที่ตองการและผลิตออกมาเปนรายงานไดดวยตนเอง เชนกัน 5. ตองการการรองขออยางเปนทางการจากผูใช เมื่อฝายสารสนเทศสวนบุคคล ตองการพัฒนาและนํา รายงานไปใชจริง จําเปนจะตองมีการรองขออยางเปนทางการไปยังแผนกระบบสารสนเทศกอน สวนรายงานที่ ผูใชทั่วไปพัฒนาขึ้นเองไม จําเปนตองมีการรองขออยางเปนทางการ สวนประกอบของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ สวนประกอบของระบบสารสนเทศมี 5 สวนหลักดังที่ไดกลาวมาแลวขางตนคือ ฮารดแวร, ซอฟตแวร, ขอมูล, ขบวนการ และบุคลากร โดยแตละสวนมีความสัมพันธกัน ในการนําระบบสารสนเทศเขามาใชเพื่อการ จัดการมักจะแบงสวนตามการทํางานหลัก ซึ่งอาจจะเห็นไดจากแผนผังองคกร ทําใหทราบไดวาองคกรนั้นๆ แบงสวนการทํางานอยางไร สวนการทํางานหลักที่มักจะปรากฏใหเห็นในองคกรทั่วไปไดแก ฝายบัญชี, การเงิน , การตลาด, บุคคล ฝายพัฒนาและวิจัย, ฝายกฎหมาย , ฝายระบบสารสนเทศ เปนตน ในแตละฝายก็จะมีระดับการจัดการตางๆ (กลยุทธ, ยุทธวิธี, และการดําเนินงาน) จึงเรียกการแบงการ จัดการตามสวนการทํางานวาการแบงตามแนวตั้ง สวนการแบงตามระดับการจัดการเรียกวาการแบงตาม แนวนอน แตละสวนการทํางานจะมีระบบยอยที่ทํางานเฉพาะดานของตนเอง แตอาจมีการใชขอมูลรวมกันได รูปที่ 13 แสดงระบบ สารสนเทศที่รวมสวนการทํางานตางๆ ไวดวยกัน โดยแตละสวนสนับสนุนการทํางานที่