SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 12
การกำากับภาพ

ขนาดภาพและมุมกล้อง
     ในหลักปฏิบัติแล้วมักใช้ 3 ขนาด คือ ขนาดภาพระยะไกล ระยะ
ปานกลางและระยะใกล้ เป็นขนาดเรียกกว้าง ๆ ทีเขียนไว้ในบท
                                            ่
ภาพยนตร์ ซึ่ง ใช้รปร่างของคนเป็นตัวกำาหนดขนาดของภาพ แต่
                  ู
อย่างไรก็ตาม เราสามารถแบ่งย่อยขนาดของภาพได้อีกและมีชื่อเรียก
ชัดเจนขึ้นดังนี้

1. ภาพระยะไกลมากหรือระยะไกลสุด (Extreme Long Shot / ELS)
      ได้แก่ ภาพที่ถายภายนอกสถานที่โล่งแจ้ง มักเน้นพื้นที่หรือ
                    ่
บริเวณที่กว้างใหญ่ไพศาล เมื่อเปรียบเทียบกับสัดส่วนของมนุษย์ที่มี
ขนาดเล็ก ภาพ ELS ส่วนใหญ่ใช้สำาหรับการเปิดฉากเพื่อบอกเวลา
และสถานที่ อาจเรียกว่า Establishing Shot ก็ได้ เป็นช็อตทีแสดงความ
                                                         ่
ยิ่งใหญ่ของฉากหลัง หรือแสดงแสนยานุภาพของตัวละครในหนัง
ประเภทสงครามหรือหนังประวัติศาสตร์ ส่วนช็อตทีใช้ตามหลังมักเป็น
                                                   ่
ภาพระยะไกล (LS) ในภาพยนตร์หลายเรื่องใช้ภาพระยะใกล้ (CU) เปิด
ฉากก่อนเพื่อเป็นการเน้นเรียก จุดสนใจหรือบีบอารมณ์คนดูให้สูงขึ้น
อย่างทันทีทันใด

2. ภาพระยะไกล (Long Shot /LS)

       ภาพระยะไกล เป็นภาพที่ค่อนข้างสับสนเพราะมีขนาดทีไม่ ่
แน่นอนตายตัว บางครั้งเรียกภาพกว้าง (Wide Shot) เวลาใช้อาจกิน
ความตั้งแต่ภาพระยะไกลมาก (ELS) ถึงภาพระยะไกล (LS) ซึ่งเป็นภาพ
ขนาดกว้างแต่สามารถเห็นรายละเอียดของฉากหลังและผูแสดงมาก้
ขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับภาพระยะไกลมาก หรือเรียกว่า Full Shot เป็น
ภาพกว้างเห็นผู้แสดงเต็มตัว ตั้งแต่ศีรษะจนถึงส่วนเท้า ภาพระยะไกล
(LS) บางครั้งนำาไปใช้เปรียบเทียบเหมือนกับขนาดภาพระหว่างหนังกับ
ละครที่คนดูมองเป็นเท่ากัน คือ สามารถเห็นแอ็คชั่นหรืออากัปกริยา
ของผู้แสดงเต็มตัวและชัดเจนพอ ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีว่าหนังของชาร์ลี
แชปลิน (Charlie Chaplin) มักใช้ขนาดภาพนี้กับภาพปานกลาง (MS)
ถ่ายทอดอารมณ์ตลกประสบความสำาเร็จในหนังเงียบของเขา

3. ภาพระยะไกลปานกลาง (Medium Long Shot / MLS)
     เป็นภาพที่เห็นรายละเอียดของผู้แสดงมากขึ้นตั้งแต่ศีรษะจนถึง
ขา หรือหัวเข่า ซึงบางครังก็เรียกว่า Knee Shot เป็นภาพที่เห็นตัวผู้
                 ่      ้
แสดงเคลื่อนไหวสัมพันธ์กับฉากหลังหรือเห็นเฟอร์นิเจอร์ในฉากนั้น

4. ภาพระยะปานกลาง (Medium Shot /MS)
       ภาพระยะปานกลาง เป็นขนาดที่มีความหลากหลายและมีชื่อ
เรียกได้หลายชื่อเช่นเดียวกัน แต่โดยปกติจะมีขนาดประมาณตั้งแต่
หนึ่งในสี่ถงสามในสี่ของร่างกาย บางครั้งเรียกว่า Mid Shot หรือ Waist
           ึ
Shot ก็ได้ เป็นช็อตที่ใช้มากสุดอันหนึ่งของภาพยนตร์ ภาพระยะปาน
กลางมักใช้เป็นฉากสนทนาและเห็นแอ็คชั่นของผู้แสดง นิยมใช้เชื่อม
เพื่อรักษาความต่อเนื่องของภาพระยะไกล (LS) กับภาพระยะใกล้ (CU)

5. ภาพระยะใกล้ปานกลาง (Medium Close-Up / MCU)
      เป็นภาพแคบ ครอบคลุมบริเวณตั้งแต่ศีรษะถึงไหล่ของผู้แสดง
ใช้สำาหรับในฉากสนทนาที่เห็นอารมณ์ความรู้สึกที่ใบหน้า ผู้แสดงรู้สึก
เด่นในเฟรม บางครั้งเรียกว่า Bust Shot มีขนาดเท่ารูปปันครึ่งตัว
                                                     ้

6. ภาพระยะใกล้ (Close-Up / CU)
       เป็นภาพที่เห็นบริเวณศีรษะและบริเวณใบหน้าของผู้แสดง มีราย
ละเอียดชัดเจนขึ้น เช่น ริ้วรอยบนใบหน้า นำ้าตา ส่วนใหญ่เน้นความ
รู้สึกของผู้แสดงที่สายตา แววตา เป็นช็อตที่นิ่งเงียบมากกว่าให้มบท
                                                              ี
สนทนา โดยกล้องนำาคนดูเข้าไปสำารวจตัวละครอย่างใกล้ชิด

7. ภาพระยะใกล้มาก (Extreme Close-Up /ECU หรือ XCU)
       เป็นภาพที่เน้นส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย เช่น ตา ปาก เท้า
มือ เป็นต้น ภาพจะถูกขยายใหญ่บนจอ เห็นรายละเอียดมาก เป็นการ
เพิ่มการเล่าเรื่องในหนังให้ได้อารมณ์มากขึ้น เช่น ในช็อตของหญิง
สาวเดินทางกลับบ้านคนเดียวในยามวิกาลบนถนน เราอาจใช้ภาพ
ECU ด้านหลังที่หูของเธอเพื่อเป็นการบอกว่าเธอได้ยินเสียงฝีเท้าแผ่ว
ๆ ทีกำาลังติดตามเธอ จากนั้นอาจใช้ภาพระยะนีที่ตาของเธอเพื่อแสดง
     ่                                          ้
ความหวาด กลัว เป็นช็อตที่เราคุ้นเคยกัน แต่อย่างไรก็ตาม เรา
สามารถใช้ได้ในความหมายอื่น ๆ โดยอาศัยแสงและมุมมองเพื่อหารูป
แบบการใช้ให้หลากหลายออกไป นอกจากนี้มีช็อตอื่น ๆ ทีเรียกโดย  ่
ใช้จำานวนของผู้แสดงเป็นหลัก เช่น Two Shot คือ มีผู้แสดง 2 คน อยู่ใน
เฟรมเดียวกัน ในยุโรปบางแห่งเรียก American Shot เพราะสมัยก่อน
นิยมใช้กันมากในฮอลลีวู้ด Three Shot คือ มีผู้แสดง 3 คน อยู่เฟรม
เดียวกัน และถ้าหากผู้แสดงมีมากกว่าจำานวนนี้ขึ้น เรียกว่า Group Shot
ขนาดทีใช้มักเป็นภาพปานกลาง ในช็อตที่เรียกโดยหน้าที่ของมันทีใช้
         ่                                                         ่
ขนาดภาพปานกลาง เช่น Re-establishing Shot เป็นช็อตทีใช้เตือนคนดู
                                                         ่
ว่ายังไม่ได้เปลี่ยนพื้นที่ (Space) หรือสถานที่ของฉากนั้น ยังคงอยูใน
                                                                 ่
ฉากเดียวกัน มักเป็นภาพที่ใช้ตามหลังภาพระยะใกล้ก่อนหน้าช็อตนี้
ส่วนภาพผ่านไหล่ หรือ Over-the-Shoulder เป็นภาพที่บอกหน้าที่ของมัน
อยู่ในตัวแล้ว คือใช้ถายผ่านไหล่ผู้แสดงคนหนึ่งเป็นพื้นหน้าไปรับผู้
                     ่
แสดงอีกคนหนึ่งเป็นพื้นหลัง ใช้ตัดสลับไปมา เมื่อผู้แสดงทั้งสองมีบท
สนทนาร่วมกันในฉากเดียวกัน

มุมกล้อง (Camera Angles)
        ในภาพยนตร์บนเทิงโดยทั่วไปการตั้งกล้องมิได้วางไว้แค่เฉพาะ
                       ั
ด้านหน้าตรงของผู้แสดงเท่านั้น แต่จะทำามุมกับผูแสดงหรือวัตถุตลอด
                                                     ้
ทั้งเรื่อง ยิ่งกล้องทำามุมกับผู้แสดงมากเท่าไร ก็ยิ่งสะดุดความสนใจ
มากขึ้นเท่านั้น และการใช้มุมกล้องต้องให้สอดคล้องกับการเล่าเรื่อง
ด้วยเหตุผลของการเปลี่ยนมุมกล้องให้หลากหลายเพื่อใช้ติดตามผู้
แสดง เปิดเผย/ ปิดบังเนื้อเรื่อง หรือตัวละคร เปลียนมุมมอง บอก
                                                   ่
สถานที่ เน้นอารมณ์หรืออื่น ๆ อีกมากมายที่ต้องการสื่อความหมาย
บางอย่างของแอ็คชั่นที่เกิดขึ้นในฉากนั้นของผู้กำากับ มุมกล้องเกิดขึ้น
จากการที่เราวางตำาแหน่งคนดูให้ทำามุมกับตัวละครหรือวัตถุ ทำาให้มอง
เห็นตัวละครในระดับองศาทีแตกต่างกัน จึงแบ่งมุมกล้องได้ 5 ระดับ
                              ่
คือ

1. มุมสายตานก (Bird's-eye view)

       มุมชนิดนี้มักเรียกทับศัพท์ทำาให้เข้าใจมากกว่า เป็นมุมถ่ายมา
จากด้านบนเหนือศีรษะ ทำามุมตั้งฉากเป็นแนวดิ่ง 90 องศากับผู้แสดง
เป็นมุมมองที่เราไม่คุ้นเคยในชีวิตประจำาวัน จึงเป็นมุมทีแปลก แทน
                                                         ่
สายตานกที่อยู่บนท้องฟ้าหรือผู้กำากับบางคน เช่น Alfred Hitchcock ใช้
แทนความหมายเป็นมุมของเทพเจ้าเบื้องบนที่ทรงอำานาจ มองลงมา
หาตัวละครที่ห้อยอยู่บนสะพาน ตึก หน้าผา เพิ่มความน่าหวาดเสียว
มากขึ้น มุมกล้องที่คล้ายกับมุม Bird's-eye view คือ aerial shot ซึ่งถ่ายมา
จากเฮลิคอปเตอร์หรือเครื่องบินบ้างก็เรียกว่า helicopter shot หรือ
airplane shot เป็นช็อตเคลื่อนไหวถ่ายมาจากด้านบนทังสิ้น้

2. มุมสูง (High-angle shot)
      คือมุมสูงกล้องอยู่ด้านบนหรือวางไว้บนเครน (crane) ถ่ายกดมาที่
ผู้แสดง แต่ไม่ตั้งฉากเท่า Bird's-eye view ประมาณ 45 องศา เป็นมุม
มองที่เห็นผู้แสดงหรือวัตถุอยู่ตำ่ากว่า ใช้แสดงแทนสายตามองไปเบื้อง
ล่างที่พื้น ถ้าใช้กับตัวละครจะให้ความรู้สึกตำ่าต้อย ไร้ศักดิ์ศรี ไม่มี
ความสำาคัญ หรือเพื่อเผยให้เห็นลักษณะภูมิประเทศหรือความกว้าง
ใหญ่ไพศาลของภูมิทัศน์เมื่อใช้กับภาพระยะไกล (LS)
3. มุมระดับสายตา (Eye-level shot)
      เป็นมุมที่มีความหมายตรงตามชื่อที่เรียก คือคนดูถูกวางไว้ใน
ระดับเดียวกับสายตาของตัวละครหรือระดับเดียวกับกล้องทีวางไว้บน่
ไหล่ของตากล้อง โดยผูแสดงไม่เหลือบสายตาเข้าไปในกล้องใน
                            ้
ระหว่างการถ่ายทำา มุมระดับสายตานีถึงแม้จะเป็นมุมที่เราใช้มองใน
                                       ้
ชีวิตประจำาวัน แต่ก็ถือว่าเป็นมุมที่สูงเล็กน้อย เพราะโดยปกติมักใช้
กล้องสูงระดับหน้าอก ซึ่งเรียกว่า a chest high camera angle หรือเป็นมุม
ปกติ (normal camera angle) ไม่ใช่มุมระดับสายตา ซึ่งเป็นมุมที่คนดูคุ้น
เคยกับการดูหนังบนจอใหญ่ทถ่ายดาราภาพยนตร์ให้ดูใหญ่เกินกว่า
                                ี่
ชีวิตจริง larger-than-life ในความหมายอื่นของมุมระดับสายตาในหนัง
คาวบอย (Western) หมายถึง เป็นมุมของลูกผู้ชาย (standing male adults)
จึงวางตำาแหน่งของผู้แสดงที่ดูสง่างาม แต่ผู้กำากับหญิงชาวฝรังเศสชื่อ
                                                               ่
Chantal Akerman เป็นคนรูปร่างค่อนข้างเตี้ย ใช้มุมกล้องระดับสายตา
เดียวกับเธอแทนความเป็น "ผู้หญิง" ในมุมมองของกล้องถ่ายทำาหนัง
ส่วนใหญ่ของเธอ ในขณะที่ Yasujiro Ozu ผู้กำากับชาวญี่ปุ่น ปฏิเสธที่จะ
ใช้กล้องทำามุมกับผู้แสดง แต่ใช้กล้องระดับสายตามีความสูงประมาณ
3-4 ฟุต สูงจากพื้นเป็นระดับเดียวกับรูปแบบการนั่งแบบญี่ปุ่นในบ้าน
ของตัวละคร Ozu ให้เหตุผลว่า "เขาต้องการให้ตัวละครนั้นมีความเท่า
เทียมกัน เป็นแค่คนธรรมดาคนหนึ่ง ไม่วาจะเป็นคนดีหรือเลว โดยจะ
                                           ่
ให้ตัวละครเปิดเผยตัวเอง ไม่ใช้มุมกล้องอธิบายให้รู้สึกอย่างใดอย่าง
หนึ่งโดยเป็นตัวกลาง ไม่มีอคติ เท่ากับเป็นการให้คนดูได้ตัดสินใจเอา
เองว่าตัวละครนั้นเป็นคนอย่างไรในหนัง"

4. มุมตำำา (Low-angle shot)
       คือมุมที่ตำ่ากว่าระดับสายตาของตัวละคร แล้วเงยกล้องขึ้น
ประมาณ 70 องศา ทำาให้เกิดผลทางด้านความลึกของซับเจ็คหรือตัว
ละคร มีลักษณะเป็นสามเหลี่ยมรูปทรงเรขาคณิตให้ความมั่นคง น่า
เกรงขาม ทรงพลังอำานาจ ความเป็นวีรบุรุษ เช่น ช็อตของคิงคองยักษ์
ตึกอาคาร สิ่งก่อสร้าง สัตว์
ประหลาด พระเอก เป็นต้น ในภาพยนตร์เรื่อง Citizen Kane (1941) ที่
ต้องการเน้นความรำ่ารวยของ Kane จึงใช้กล้องมุมตำ่าเพื่อให้เห็นพื้น
หลังที่เป็นเพดาน บอกถึงความโอ่อ่า มั่งคั่งของเจ้าของคฤหาสน์ การ
ถ่ายทำาต้องรื้อพื้นเอาบางส่วนของฉากออกเพื่อสามารถวางกล้องได้
มุมตำ่าตามทีต้องการ

5. มุมสายตาหนอน (Worm's-eye view)
     คือมุมที่ตรงข้ามกับมุมสายตานก (Bird's-eye view) กล้องเงยตั้ง
ฉาก 90 องศากับตัวละครหรือซับเจ็ค บอกตำาแหน่งของคนดูอยู่ตำ่าสุด
มองเห็นพื้นหลังเป็นเพดานหรือท้องฟ้า เห็นตัวละครมีลักษณะเด่น
เป็นมุมที่แปลกนอกเหนือจากชีวิตประจำาวันอีกมุมหนึ่ง ลักษณะของ
มุมนี้ เมื่อใช้กับซับเจ็คที่ตกลงมาจากที่สูงสู้พื้นดิน เคลื่อนบังเฟรม
อาจนำาไปใช้เป็นตัวเชื่อมระหว่างฉาก (transition) คล้ายการเฟดมืด
(Fade out)

6. มุมเอียง (Oblique angle shot)
      เป็นมุมที่มีเส้นระนาบ (Horizontal line) ของเฟรมไม่อยู่ในระดับ
สมดุล เอียงไปด้านใดด้านหนึ่งเข้าหาเส้นตั้งฉาก (Verticle line) ความ
หมายของมุมชนิดนี้คือ ความไม่สมดุลลาดเอียงของพื้นที่ บางสิ่งบาง
อย่างที่อยู่ในสภาพไม่ดี เช่น ในฉากชุลมุนโกลาหล แผ่นดินไหว ถ้า
ใช้แทนสายตาตัวละคร หมายถึงคนที่เมาเหล้า หกล้ม สับสน ให้ความ
รู้สึกที่ตึงเครียด มุมเอียงเป็นมุมที่ไม่ค่อยใช้บ่อยนัก ส่วนใหญ่ใช้ตาม
ความหมายที่อธิบายในภาพยนตร์และมีชื่อเรียกหลายอย่าง เช่น
Dutch angle, Tilted shot หรือ Canted shot เป็นต้น

นอกจากนี้ยังมีมุมกล้องอืำนทีำสำาคัญควรทราบดังนี้

1. มุมเฝ้ามอง (Objective Camera Angle)
      คือ มุมแอบมองหรือเฝ้ามองตัวละคร แอ็คชั่นและเหตุการณ์ที่
กำาลังเกิดขึ้นในหนัง เป็นมุมเดียวกับกล้องแต่มองไม่เห็นคนดู ซึ่งคนดู
จะอยู่หลังกล้องโดยผ่านสายตาของตากล้อง หรือบางทีเป็นการถ่าย
โดยคนแสดงไม่รู้ตัว เรียกว่า การแอบถ่าย (candid camera)

2. มุมแทนสายตา (Subjective Camera Angle)
      เป็นมุมมองส่วนตัว หรือเรียกว่า มุมแทนสายตา ซึงเป็นการนำาพา
                                                     ่
คนดูเข้ามามีส่วนร่วมในภาพด้วย เช่น ผู้แสดงมองมาที่กล้อง ซึงจะให้
                                                              ่
ความรู้สึกเหมือนมองไปที่คนดูหรือพูดกับกล้อง เช่น การอ่านข่าว การ
รายงานข่าวในทีวี เป็นต้น ลักษณะของมุมกล้องชนิดนี้ เป็นความ
สัมพันธ์กันระหว่างสายตาต่อสายตา (eye-to-eye relationship)มุมแทน
สายตา แบ่งเป็น
      2.1 แทนสายตาคนดู เป็นการกำาหนดตำาแหน่งคนดูให้เป็นส่วน
หนึ่งของฉากนั้น เช่น คนดูถูกพาให้เข้าชมโบราณสถาน พาทียว คนดู่
จะได้เห็นเหตุการณ์ของแต่ละฉาก หรือกล้องอาจถูกทิ้งมาจากที่สูง
แทนสายตามาจากที่สูง แทนคนดูตกลงมาจากที่สูง ภาพแทนสายตา
ของนักบิน รถแข่ง พายเรือ ดำานำ้า สกี รถไฟเหาะตีลังกา
      2.2 กล้องแทนสายตาตัวละคร เป็นการเปลี่ยนสายตาของคนดู
จากการเฝ้าแอบมองมาเป็นแทนสายตาในทันที ซึ่งคนดูก็ได้เห็นร่วม
กันดับตัวละครหรือผู้แสดง เช่น ตัวละครมองออกไปนอกกรอบภาพ
จากนั้นภาพตัดไปเป็นมุมแทนสายตาของตัวละคร การแพนช็อตหรือ
traveling shot ในภาพยนตร์สารคดีส่วนใหญ่ กล้องมักทำาหน้าที่แทน
สายตาของคนดู

3. มุมมองใกล้ชิด (Point-of-view Camera Angles)
       มุมมองใกล้ชิดนี้มักเรียกง่าย ๆ ว่า มุมพีโอวี (POV) เป็นมุมกึ่ง
ระหว่าง มุม objective และมุม subjective แต่อย่างไรก็ตาม เราก็ถือว่า
เป็นมุม objective หรือมุมแอบมอง และส่วนใหญ่ขนาดภาพที่ใช้มักเป็น
ภาพระยะใกล้กับระยะปานกลาง เพื่อให้สามารถมองเห็นภาพ
แสดงออกของใบหน้าตัวละคร เห็นรายละเอียดชัดเจน การใช้มุมพีโอวี
นี้ อาจใช้สำาหรับกรณีที่ต้องการให้คนดูเข้าไปมีส่วนในเหตุการณ์ด้วย
นอกจากนี้การใช้มุมพีโอวี ยังมักตามหลังช็อตผ่านไหล่ หรือ over-the-
shoulder (OS) คือเมื่อผู้แสดงคนหนึ่งจะเห็นด้านหลังเป็นพื้นหน้า และ
ใบหน้าของผู้แสดงอีกคนหนึ่งอยู่พื้นหลังหรืออาจใช้ก่อนมุมแทน
สายตาของนัก แสดง เป็นต้น การใช้มุมกล้องต้องคำานึงถึงพื้นที่
(space) และมุมมอง (viewpoint) ซึ่งตำาหน่งของกล้องเป็นตัว กำาหนด
พื้นที่วาจะมีขอบเขตเพียงใดจากที่ซึ่งคนดูมองเห็นเหตุการณ์ ซึ่งต้อง
        ่
สัมพันธ์กันทังหมด ทังขนาดภาพ มุมมอง และความสูงของกล้องการ
              ้        ้
เคลื่อนกล้องภาพยนตร์มีความแตกต่างจากภาพนิ่ง 2 ประการ คือ

      นอกจากสามารถถ่ายภาพเคลื่อนไหวได้แล้ว ยังสามารถ
เคลื่อนที่ไปได้ด้วยการเคลื่อนกล้องในขณะถ่ายทำา แม้มีความยุงยาก
                                                            ่
ซับซ้อนและเสียเวลามาก กว่าการตั้งกล้องถ่ายนิง ๆ (Static Shot) แต่
                                              ่
ทำาให้หนังมีความโดดเด่นทางด้านอารมณ์สูง จุดประสงค์หลักของการ
เคลื่อนกล้อง คือ ติดตามผู้แสดง เป็นการเชื่อมกันระหว่างสองความ
คิด และยังเป็นการสร้างอารมณ์ที่ทรงพลัง ถ้าหากใช้การเคลื่อนไหว
กล้องแทนมุมมองของผู้แสดง

การเคลืำอนไหวกล้อง มี 4 ลักษณะ คือ
1. การแพน (Panning)
      การแพนเป็นการเคลื่อนไหวกล้องที่ง่ายที่สุด คือ เฉพาะที่ตัว
กล้อง จำากัดอยู่บนขาตั้งที่อยู่กับที่ กล้องมิได้เคลื่อนย้ายออกไปจาก
ตำาแหน่งเดิม ซึ่งแตกต่างไปจากการเคลื่อนกล้องในลักษณะอื่น และ
ไม่ต้องเตรียมการมาก หรือต้องใช้อุปกรณ์ที่มนำ้าหนักเหมือนกับการ
                                                ี
แทรค (Tracking) หรือการทรัค (trucking) และ การเครน (Craning) การ
แพนเป็นการเคลื่อนกล้องในแนวนอนจากซ้ายไปขวา หรือจากขวาไป
ซ้ายได้มากถึง 360 องศา และเช่นเดียวกัน กล้องอาจแพนในแนวดิ่ง
หรือที่เรียกว่า การทิลท์ (Tilting) กล้องจะทำามุมสูงและมุมตำ่ากับซับเจ็ค
ได้ 45 องศา หรือเงยสูงได้ถึง 90 องศา การแพนกล้อง ครอบคลุม
บริเวณพื้นทีโล่งกว้าง มักใช้กับช็อตเปิดเรื่องหรือ Establishing shot เป็น
              ่
ลักษณะการแพนช้า ๆ ครอบคลุมพื้นที่ เช่น ทิวทัศน์ ท้องทุ่ง ทะเล
ทราย ซึ่งแสดงถึงความกว้างใหญ่ไพศาลของอาณาบริเวณของพื้นทีที่               ่
ใหญ่เกินกว่าเฟรมจะครอบคลุม ส่วนการแพนในแนวตั้งหรือการทิลท์
(Tilting) ทำามุมตำ่า (tilt down) หรือทำามุมสูง (tilt up) ให้ความรู้สึกของ
ความสูง เช่นการทิลท์ขึ้นไปที่อาคาร หรือตึกระฟ้าที่สูง ให้ความรู้สึก
สูงตระหง่านของตัวอาคาร หากทิลท์ลงมาก็อาจให้ความรู้สึก
หวาดเสียวในความสูงได้ โดยทั่วไปการแพนกล้องเพื่อให้ติดตามแอ็
คชั่นได้ทงในบริเวณที่คับแคบจำากัด หรือบริเวณที่กว้างใหญ่กว่าเฟรม
           ั้
จะครอบคลุมได้ เพื่อเป็นการรักษาซับเจ็คให้อยู่ในกรอบภาพที่เหมาะ
สมและสมดุล เช่น ในฉากที่ตัวแสดงเคลื่อนที่ไปมา ซึ่งยังคงอยู่ใน
กรอบภาพ ไปหลุดไปจากกรอบ การแพนแม้จะไม่ทำาให้เปอร์สเปคตีฟ
ของภาพเปลี่ยนไปเหมือนการแทรค การเครน หรือการใช้ hand-held
ก็ตาม แต่การแพนก็สามารถครอบคลุมพื้นที่ได้รวดเร็วกว่าการเคลื่อน
กล้องลักษณะอื่น เช่น การแทรคและการเครน ซึ่งทังสองประการหลัง้
นี้กล้องต้องเคลื่อนออกจากตำาแหน่งเดิมและต้องใช้คนช่วย เช่น การ
แพนจากซับเจ็คหนึ่งไปยังอีกซับเจ็คหนึ่ง ซึ่งอยู่หางกันหลายสิบเมตร
                                                         ่
การแพนอาจใช้เวลาเพียงไม่กี่วินาที ในขณะที่การแทรคต้องใช้เวลาที่
นานกว่าจึงสามารถครอบคลุมพื้นที่ได้เท่ากัน และยังต้องใช้คนและ
อุปกรณ์ต่าง ๆ อีกมากมายในการทำางาน

การแพนและการทิลท์จึงใช้ในกรณี
1. เพื่อครอบคลุมพื้นทีที่มีขนาดใหญ่ ไม่สามารถมองเห็นได้ทวใน
                      ่                                 ั่
เฟรมเดียว หรือ fixed frame
2. ใช้ติดตามแอ็คชั่นของผู้แสดง
3. ให้เชื่อมจุดสนใจของภาพ
4. ให้ความหมายของการเชื่อมระหว่างจุดสนใจของภาพตั้งแต่ 2 จุดขึ้น
ไป

      ความสำาคัญของการแพนกล้องไม่ได้ขึ้นอยู่กับพื้นที่และความเร็ว
ของการแพนเท่านั้น หากแต่ต้องอาศัยเลนส์ในการรับภาพเพื่อให้เกิด
ความรู้สึกพลังของการเคลื่อนไหวอีกด้วย การเลือกใช้เลนส์ที่มีความ
ยาวโฟกัสยาวจะช่วยเพิ่มการรับความรู้สึกทีรวดเร็วของซับเจ็คที่พุ่ง
                                          ่
ผ่านบริเวณหน้าจอรับภาพ เพราะเลนส์ที่มีความยาวโฟกัสยาวรับภาพ
ได้เพียงบางส่วนของภาพที่รบด้วยเลนส์มุมกว้าง ดังนั้นการแพนกล้อง
                          ั
ระยะสั้น ๆ จึงสามารถให้ความรู้สึกเหมือนว่าแพนกล้องได้ไกลมากกว่า
ใช้เลนส์มุมกว้างแพน เป็นต้นผู้กำากับอย่างเช่น Akira Kurosawa ใช้
เลนส์ที่มีความยาวโฟกัสยาวในภาพยนตร์ของเขาหลายเรื่อง
เนื่องจากการใช้เลนส์ชนิดนี้จับแอ็คชั่น ทำาให้บริเวณตั้งแต่พื้นหน้า
(Foreground) พื้นกลาง (Middle Ground) และพื้นหลัง (Background) มี
ความแตกต่างกันของการเคลื่อวไหวและความลึกของภาพเลนส์ที่มี
ความยาวโฟกัสยาว เช่น เทเลโฟโต้ จะแยกซับเจ็คและพิ่มความรู้สึก
รวดเร็ว เช่น ในฉากที่พวกนักรบหรือซามูไรวิ่งหรือควบม้าผ่านต้นไม้ใน
ป่าก็จะทำาให้ส่วนที่เป็นพื้นหลังมีแสงพร่ามัวและเข้ม ขณะที่พื้นหน้า
เช่น ต้นไม้ บังหน้าเฟรม ทำาให้ภาพกระพริบเป็นจังหวะขณะแพนกล้อง
ซึ่งเน้นให้เห็นการเคลื่อนไหวที่ทรงพลัง การใช้เลนส์ทมีความยาว
                                                       ี่
โฟกัสยาวสำาหรับการถ่ายในลักษณะที่มีการแพนกล้องเช่นนี้ ต้อง
อาศัยคนที่มีความชำานาญในการใช้กล้อง โดยเฉพาะอย่างยิงการแพน  ่
อย่างรวดเร็วในสภาวะแสงที่ตำ่า ซึ่งทำายาก การแพนเป็นการนำาสายตา
คนดูจากจุดหนึ่งไปสู่อีกจุดหนึ่ง หรือเป็นการเปลียนจุดสนใจ โดย
                                                 ่
อาศัยการแพนกล้องและทิศทางการเคลื่อนที่ของซับเจ็คเป็นหลัก เช่น
ในฉากบาร์ กล้องเปิดช็อตทีบริกรชายถือถาดเครื่องดื่มจากเคาน์เตอร์
                              ่
บาร์ กล้องแพนตามจากซ้ายมาขวาแล้วหยุดที่นางเอกนั่งอยูโดดเดี่ยว ่
เป็นภาพปานกลาง ส่วนบริกรเดินหลุดเฟรมออกไป และอีกตัวอย่าง
หนึ่งเป็นการย้ายจากจุดสนใจหนึ่งมาสู่อีกจุดหนึ่ง โดยอาศัยการ
เคลื่อนไหวของกล้องและซับเจ็คเป็นหลัก เช่น ในตัวอย่างเดียวกัน
เมื่อกล้องแพนตามบริกรชายถือถาดจากเคาน์เตอร์บาร์มารับที่ใบหน้า
ของพระเอกที่เดินสวนมาจากทิศทางตรงข้ามของกล้อง ปล่อยให้บริ
กรชายเดินหลุดเฟรมไปเช่นเดียวกัน แล้วแพนต่อเนื่องติดตามแอ็คชั่
นของพระเอกจนถึงโต๊ะที่วาง ซึ่งบริกรชายเป็นเพียงซับเจ็คตัวนำาจุด
                            ่
สนใจเกี่ยวกับ แอ็คชั่นใด ๆ ของท้องเรื่องหรือในฉากเต้นรำาในห้อง
โถง กล้องอาจแพนจับคู่เต้นรำาจากคู่หนึ่งไปอีกคู่หนึ่ง เป็นจังหวะ
ทำาให้ได้อารมณ์ของความรื่นเริง ซึ่งการแพนกล้องนอกจากจะสามารถ
อธิบายสถานการณ์ของฉากและเรื่องได้แล้ว ยังทำาหน้าที่คล้ายกับตัว
ละครตัวหนึ่งอีกด้วย อัตราความเร็วของการแพนกล้อง ให้ความหมาย
และความรู้สึกได้ เช่น การแพนอย่างช้า ๆ (slow panning) ให้ความรู้สึก
สบาย ๆ เชื่องช้าหรือเหนื่อยหน่ายได้ ส่วนการแพนอย่างรวดเร็ว (swish
pan) ทำาให้ภาพพร่ามัวไม่คมชัด ให้ความหมายของการเปลียนแปลงที่
                                                          ่
รวดเร็วของกาลเวลาหรือการกลายร่าง เป็นต้น

2. การแทรค (Tracking)
      การแทรคเป็นการเคลื่อนกล้องจากตำาแหน่งหนึ่งไปยังอีก
ตำาแหน่งหนึ่ง ใช้ในการติดตามผู้แสดงหรือสำารวจตรวจตราพื้นที่
(space) ในเนื้อเรื่อง หรืออาจเป็นช็อตที่มีซับเจ็คเดียว หรือซีเค
วนส์ช็อตทีมีความซับซ้อนที่ต้องการบอกเรื่องราวมากมายพร้อมกับ
           ่
ต้องเปลี่ยนสถานทีและองค์ประกอบของภาพที่อยู่ในช็อตที่มีการ
                      ่
เคลื่อนไหวไปพร้อมกันในเวลาเดียวกันการแทรคมักติดตั้งกล้องทียาน            ่
พาหนะ เช่น รถยนต์ ใช้ในการติดตามผู้แสดง เช่นในฉากไล่ลากัน            ่
(chase sequence) หรือใช้ติดตั้งบนดอลลี่ทั้งประเภทล้อและรางส่วนการ
เคลื่อนกล้องเข้าหาผู้แสดงหรือออกจากผู้แสดง เรียกว่าการดอลลี่ คือ
dolly in และ dolly out แต่ในปัจจุบันความหมายระหว่าง dolly กับ track
นั้นใช้ปะปนกัน ดังเช่นผู้กำากับบางคนเรียกการเคลื่อนกล้องที่ใช้ยาน
พาหนะพาไป เช่น รถยนต์ รถจักรยาน เป็นดอลลี่ช็อต หรือ
แทรคกิ้งช็อต (tracking shot หรือ traveling shot) ทั้งสิ้น ทังนี้เพื่อง่ายต่อ
                                                            ้
ความเข้าใจของทีมงาน แทรคกิ้งช็อต เป็นการเคลื่อนกล้องที่มี
ลักษณะพิเศษ ได้เปรียบกว่าการเคลื่อนกล้องที่อยู่กับที่ กล่าวคือ เรา
สามารถถ่ายแอ็คชั่นและพื้นที่ของฉากให้เห็นรายละเอียดได้มากกว่า
และยังเป็นช็อตที่รักษาอารมณ์ของคนดูได้ยาวนานอีกด้วย เช่น ใน
ฉากตลาดทีทีคนเดินซื้อของมากมาย หากใช้กล้องอยู่ในตำาแหน่ง
              ่
ท่ามกลางผู้คนเป็นการเข้าไปอยู่ในแอ็คชั่น (in the action) กล้องทำา
หน้าที่คล้ายเป็นส่วนหนึ่งของแอ็คชั่น แต่ถ้าตั้งกล้องอยู่ด้านนอก
ตลาดเห็นเดินไปมา เป็นการเฝ้าสังเกตแอ็คชั่นโดยรวม ดังนั้น ข้อได้
เปรียบของการแทรคกิ้งช็อต คือ ทำาให้เราสามารถพากล้องไหลเข้าไป
อยู่ในเหตุการณ์และออกมานอกเหตุการณ์ หรือแอ็คชั่นได้ในขณะ
เดียวกัน อันเป็นปัจจัยสำาคัญในการกำาหนดภาพ ใช้เป็นโครงสร้างของ
เนื้อเรื่องได้หลากหลายมากขึ้น และนอกจากนี้แทรคกิ้งช็อตยังเป็นตัว
ดึงเวลาของช็อตให้ยาวนานขึ้น เป็นการรักษาอารมณ์ของคนดูให้ต่อ
เนื่อง ทำาให้เราสามารถเน้นหรือเปลียนอารมณ์คนดูได้ภายในช็อต
                                     ่
เดียวกัน ต่างจากการตั้งกล้องอยู่กับที่โดยใช้การแพน หรือการเปลี่ยน
ภาพจากขนาดใกล้เป็นไกล หรือจากไกลเป็นใกล้ ซึ่งเป็นเพียงการ
เพิ่มหรือลดความสำาคัญของซับเจ็คในช็อตเท่านั้น และยังไม่สามารถ
ดึงเวลาของช็อตให้ยาวนานขึ้นพร้อมกับรักษาจุดสนใจของภาพไปใน
ขณะเดียวกันด้วยการแทรคกล้องต้องมีการวางแผนการทำางาน ซึ่ง
อาศัยหลักสองประการคือ หนึ่ง ความสัมพันธ์ของกล้องที่เคลื่อนกับ
แอ็คชั่น และสอง คือระยะห่างระหว่างกล้องกับซับเจ็ค ทังสองประการ  ้
นี้ เป็นหนึ่งในหลายวิธีการของการ "แตก" ช็อตของแต่ละซีนในบท
ภาพยนตร์ กล่าวคือ การกำาหนดช็อตของแต่ละฉากที่มีการเคลื่อนไหว
นั้น ต้องถามตัวเองอยู่เสมอว่า ฉากนั้นมีมุมมองอย่างไร และอารมณ์ที่
เหมาะสมระหว่างคนดูกับผู้แสดงว่าจะอยู่ห่างกันเท่าไร ซึงเราพอจะมี   ่
ภาพเคลื่อนไหวอยู่ในหัวบ้างแล้วหลังจากได้อ่านบทครั้งแรก ดังนั้น
การวางแผนนี้ จะช่วยให้เราสามารถเน้นสิ่งสำาคัญที่ต้องการนำาเสนอใน
ช็อตนั้นได้ดังที่เราจินตนาการไว้ นอก จากนี้ยังช่วยให้เราสามารถถ่าย
ครอบคลุมฉากที่มบทสนทนาและแอ็คชั่นที่ซับซัอนให้งายขึ้นการ
                    ี                                         ่
แทรคกล้องเป็นการเผยให้เห็นซับเจ็คหรือแอ็คชั่นและสถานที่อย่างช้า
ๆ โดยเน้นเฉพาะจุดสนใจในฉากนั้น ๆ และนอกจากนี้ภายในช็อต
เดียวกันกล้องยังสามารถเปลียนขนาดภาพจากใกล้ (close-up) เปิดให้
                            ่
เห็นมุมกว้างขึ้น หรือขณะเดียวกัน จากภาพขนาดไกล กล้องค่อย ๆ
เน้นให้เห็นรายละเอียดใกล้ขึ้น แต่ในทางปฏิบัติกล้องสามารถแทรค
ได้อย่างอิสระ ไม่ว่าทางตรง แนวโค้ง เลี้ยวทำามุมเป็นวงกลม เดินหน้า
และถอยหลัง ผ่านประตูหน้าต่าง ตลอดจนเปลี่ยนความเร็วของแทรค
ภายในช็อตก็ย่อมทำาได้เช่นเดียวกัน

ตัวอย่างของการแทรคกล้อง
1. การแทรคกล้องให้มีความเร็วเท่ากับการเคลื่อนที่ของซับเจ็คการ
แทรคกล้องวิธีนี้นิยมใช้กัน เรามักเห็นและคุ้นเคยในหนังส่วนใหญ่ที่ใช้
ติดตามผู้แสดงหลักประมาณ 2-3 คน ด้วยความเร็วเท่ากัน โดยรักษา
ระยะห่างระหว่างกล้องและซับเจ็คเท่ากัน ส่วนตำาแหน่งกล้องสามารถ
วางไว้ด้านหน้า ด้านหลัง หรือคู่ขนานเยื้องด้านหน้าหรือด้านหลังก็ ได้
โดยใช้ขนาดภาพเต็มตัวปานกลาง หรือภาพใกล้ตามความเหมาะสม
เช่น ในฉากที่ใช้กันบ่อย ๆ คือฉากสนทนากันในรถ ในเรือ บนหลังม้า
หรือในยานพาหนะอื่น ๆ โดยเฉพาะอย่างยิงในฉากแอ็คชั่น หรือ chase
                                            ่
sequence จะได้ผลมากเมื่อติดตั้งกล้องไว้ที่กระโปรงรถหรือด้านข้าง
ประตูรถให้เคลื่อนพร้อมกับซับเจ็คที่วิ่งเคลื่อนไปอย่างรวดเร็ว

2. การแทรคกล้องให้มีความเร็วไวหรือช้ากว่าการเคลื่อนที่ของซับเจ็ค
        การแทรคกล้องลักษณะนี้คล้ายกับประการแรก แต่มีข้อแตกต่าง
อยู่ที่กล้องมีความเร็วไม่เท่ากับซับเจ็ค โดยซับเจ็คเคลื่อนที่เข้าหา
กล้องหรือซับเจ็คถูกปล่อยทิ้งไว้ด้านหลังขณะที่กล้องแทรคเลยหน้า
ไป วิธีนี้จะช่วยให้ตากล้องสามารถปล่อยให้ซับเจ็คเข้าออกเฟรมได้ใน
ขณะที่กล้องกำาลังแทรคอยู่ เช่น ในฉากวิ่งแข่ง เราสามารถแทรก
กล้องให้เร็วกว่านักวิง แล้วผ่านเลยขึ้นหน้าไปโดยที่ไม่ตัด ถ้าหากใช้
                     ่
ในฉากแอ็คชั่นจะให้ความรู้สึกตื่นเต้นมากกว่าการแทรคธรรมดาที่คู่
ขนานกับซับเจ็ค เพราะภาพจะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอด เวลาภาย
ในช็อตเดียวกันตั้งแต่แอ็คชั่นของซับเจ็ค ระยะของเปอร์สเปคตีฟ
ทั้งหมดจะมีพลังความเคลื่อนไหวที่กำาลังผ่านเฟรมของกล้องไป
เท่ากับเป็นการตรึงความเร้าใจของคนดูมากกว่าการแทรคที่มีความเร็ว
เท่ากับการเคลื่อนที่ของซับเจ็ค
 3. การแทรคเข้าหาหรือออกจากซับเจ็ค

     นอกจากการแทรคกล้องทีมีการเคลื่อนที่ของซับเจ็คด้วยแล้ว ยัง
                          ่
มีการแทรคเข้าหาหรือออกจากซับเจ็คด้วย การแทรคกล้องชนิดนี้มัก
เรียกว่า การดอลลี่เข้า (dolly in) และดอลลี่ออก (dolly out) ผลจากการ
เคลื่อนกล้องลักษณะนี้ ทำาให้เกิดการเน้นและการลดความสำาคัญของ
ซับเจ็คในภาพ เช่น        การดอลลี่เข้าไปที่ใบหน้าของตังแสดงใช้
สำาหรับเน้นความรู้สึกบางอย่างของตัวละครในช่วงขณะ หนึ่ง เช่น ใน
ฉากหนึ่งที่พระเอกแอบรักหลงใหลในนางเอกในห้องเรียน กล้องค่อย
ๆ ดอลลี่เข้าหาพระเอกเป็นภาพขนาดใกล้ที่กำาลังแอบมองนางเอกอยู่
อย่างเงียบ ๆ เป็นต้น ในทางตรงกันข้าม การดอลลี่ออกจากซับเจ็ค
นอกจากหมายถึงลดความสำาคัญของซับเจ็คแล้ว ยังหมายถึงการจาก
ไปหรือการทิ้งให้อยู่ข้างหลังอย่างโดดเดี่ยวได้อีกด้วย เราพบเห็น
ตัวอย่างในหนังบ่อยมากในฉากชานชาลา สถานีรถไฟที่คู่รักต้อง
พลัดพรากจากกัน หรือแม่ต้องพลัดพรากจากลูก โดยให้กล้องติดอยู่
บนรถไฟ ค่อย ๆ แล่นออกไป ตัวละครที่อยู่บนชานชาลาต้องถูกทิงให้    ้
โดดเดี่ยวอยู่ตามลำาพัง

การแทรคกล้องหมุนรอบซับเจ็ค
       การแทรคกล้องลักษณะนี้อาจเรียกว่าการดอลลี่รอบตัวซับเจ็ค
ซึ่งต้องอาศัยรางดอลลี่โค้งเป็นวงกลม โดยมีผแสดงอยู่ตรงกลาง
                                              ู้
ตัวอย่างฉากที่พบมาได้แก่ ฉากเต้นรำา โต๊ะสนุ๊ก และโต๊ะประชุมทีมีคน
                                                             ่
นั่งรอบ ๆ เป็นต้น ซึงเมื่อกล้องดอลลี่ช้า ๆ ของโต๊ะประชุมในฉาก อาจ
                    ่
ช่วยเผยให้เห็นใบหน้าของตัวละครทีละตัวสร้างความน่าสนใจใน
ภาพยนตร์ได้มาก

การเครน (Craning)
      การเครน คือ การถ่ายภาพที่กล้องตั้งอยูบนแขนของดอลลี่ขนาด
                                                ่
ใหญ่ เรียกว่า cherry picker หรือ crane truck สามารถเคลื่อนที่ได้หลาย
ทิศทาง ทังแนวนอนและแนวตั้ง โดยเคลื่อนกล้องให้สูงขึ้น เห็นเป็น
            ้
ภาพมุมกว้างต่อเนื่องกัน หรือลดให้กล้องตำ่าลงรับแอ็คชั่น ภาพที่ได้
จากการเครนกล้องให้ความรู้สึกที่สง่าผ่าเผย ตรึงความสนใจของคนดู
ทำาให้ลืมซับเจ็คไปชั่วขณะ เพราะความตะลึงในมุมมองทีแปลกและ  ่
ระยะภาพที่กำาลังเปลียนไป ในภาพยนตร์ประเภท Epic ของฮอลลีวู้ด
                       ่
มักใช้เป็น establishing shot เป็นการเปิดฉากแรกเริ่มเพื่อเน้นความรู้สึก
ยิ่งใหญ่ที่อยู่เบื้องหน้าและแสดงลักษณะแวดล้อมของภูมิทัศน์ไปใน
เวลาเดียวกัน และถ้าหากเคลื่อนกล้องผ่านเข้าในพื้นที่ (space) ยิ่ง
ทำาให้เกิดความรู้สึกทะลุมิติของความลึกอีกด้วย การใช้เครนช็อตมัก
เสียเวลาในการถ่ายทำา ดังนั้นควรมีการวางแผนและเตรียมการอย่าง
ระมัดระวัง บางครั้งต้องมีการใช้หุ่นจำาลองของฉากเพื่อวางแผนการ
เครนและการเคลื่อนที่ของกล้อง ปัจจุบันมีการใช้คอมพิวเตอร์ช่วย
ออกแบบฉาก สามารถหมุนและมองเห็นได้ทุกมุม ทั้งสูงและตำ่า ช่วย
เป็นแนวทางให้มองเห็นภาพการเครนก่อนลงมือถ่ายทำาได้เป็นอย่างดี

การถือกล้องถ่าย (Handheld Camera)
      การถือกล้องถ่ายภาพเป็นการเคลื่อนที่กล้องที่ทำาให้ภาพไหวอยู่
ตลอดเวลา ลักษณะเป็นการถ่าย ภาพที่ไม่เป็นแบบแผนเหมือนการ
เคลื่อนกล้องแบบอื่น ๆ ซึงให้ความรู้สึกว่าคนดูอยู่ ณ ที่นั้น หรือมีส่วน
                           ่
ร่วมในเหตุการณ์นั้น โดยใช้กล้องถ่ายทอดความสับสนอลหม่าน
ฉุกเฉิน รวดเร็วของแอ็คชั่น แต่อย่างไรก็ตาม การถือกล้องถ่ายภาพ
หากใช้ไม่ถูกกาละเทศะ อาจเป็นตัวทำาลายภาพยนตร์ได้การถ่ายภาพ
ด้วยวิธีนี้เป็นที่นิยมกันมาช้านาน และใช้กันมากในภาพยนตร์สารคดี
และภาพยนตร์ทดลอง จนกระทั่งนำามาใช้ในภาพยนตร์บันเทิงด้วย
กล่าวคือ ในปีทศวรรษที่ 1950 ได้มีการพัฒนาเครื่องมืออุปกรณ์ตลอด
จนเครื่องบันทึกเสียงสำาหรับการถ่ายทำาภาพยนตร์สารคดีมีนำ้าหนักเบา
สามารถเคลื่อนย้ายกองถ่ายไปสะดวกเกือบทุกสถานที่และสภาวะ
แวดล้อม ส่วนภาพยนตร์ทดลองที่ดี ๆ หลายเรื่องก็ใช้การถือกล้องถ่าย
ภาพเพื่อเป็นการหลีกหนีความจำาเจ และการถ่ายทำารูปแบบดั้งเดิม
ตายตัว แสวงหาความแปลกใหม่และถูกนำามาใช้ในภาพยนตร์บันเทิง
เพราะให้ภาพของความรู้สึก สด ในการจับแอ็คชั่                 นที่เกิดขึ้น
เช่น ในฉากระเบิดหรือเครื่องบินทิงระเบิด เห็น
                                   ้
ไฟลุกควันฟุ้งกระจายไปทั่วทั้งภาพที่ฝูงชน
วิ่งหนีสับสนอลหม่าน เพื่อให้เกิดความสมจริง
และเห็นอันตรายทีกำาลังเกิดขึ้น
                      ่
------------------------------------------------------------

ทีำมาของข้อมูล :
หนังสือ "นักสร้าง สร้างหนัง หนังสั้น" หน้า 213-                229



ครูรัฐนภา รัชชะจิตติ
ผู้สอน

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Montagem e edição no cinema
Montagem e edição no cinemaMontagem e edição no cinema
Montagem e edição no cinemaBianca Pasetto
 
Oficina Editais ProAC (Formatação de projetos culturais para os editais ProAc...
Oficina Editais ProAC (Formatação de projetos culturais para os editais ProAc...Oficina Editais ProAC (Formatação de projetos culturais para os editais ProAc...
Oficina Editais ProAC (Formatação de projetos culturais para os editais ProAc...Cultura e Mercado
 
Film Editing Master
Film Editing MasterFilm Editing Master
Film Editing MasterGuy Stanley
 
Multi-Cam Techniques
Multi-Cam TechniquesMulti-Cam Techniques
Multi-Cam Techniquesdinu077
 
Introduction to film editing
Introduction to film editingIntroduction to film editing
Introduction to film editinglaneford
 
Location recce template 2014
Location recce template 2014Location recce template 2014
Location recce template 2014mollyturrell
 
What's in a Film? An Introduction to Filmmaking Techniques
What's in a Film? An Introduction to Filmmaking TechniquesWhat's in a Film? An Introduction to Filmmaking Techniques
What's in a Film? An Introduction to Filmmaking Techniques6500jmk4
 
Linguagem cinematográfica
Linguagem cinematográficaLinguagem cinematográfica
Linguagem cinematográficaVenelouis Polar
 
Conventions of Jazz, Folk and Acoustic
Conventions of Jazz, Folk and AcousticConventions of Jazz, Folk and Acoustic
Conventions of Jazz, Folk and Acousticericah55
 
Teoria Super Básica de Tipografia
Teoria Super Básica de TipografiaTeoria Super Básica de Tipografia
Teoria Super Básica de TipografiaFábio Gonçalves
 
The Art of Editing #2 Jan 24
The Art of Editing #2 Jan 24The Art of Editing #2 Jan 24
The Art of Editing #2 Jan 24Shannon Walsh
 
Beyoncé Music Video Analysis
Beyoncé Music Video AnalysisBeyoncé Music Video Analysis
Beyoncé Music Video Analysisklaudiagil
 
3.2 - Controls & Constraints.pptx
3.2 - Controls & Constraints.pptx3.2 - Controls & Constraints.pptx
3.2 - Controls & Constraints.pptxJamesDixon10403
 
Lacey's repertoire of elements
Lacey's repertoire of elementsLacey's repertoire of elements
Lacey's repertoire of elementskelseykiki
 
Destruction Masking in Frostbite 2 using Volume Distance Fields
Destruction Masking in Frostbite 2 using Volume Distance FieldsDestruction Masking in Frostbite 2 using Volume Distance Fields
Destruction Masking in Frostbite 2 using Volume Distance FieldsElectronic Arts / DICE
 
Five Rendering Ideas from Battlefield 3 & Need For Speed: The Run
Five Rendering Ideas from Battlefield 3 & Need For Speed: The RunFive Rendering Ideas from Battlefield 3 & Need For Speed: The Run
Five Rendering Ideas from Battlefield 3 & Need For Speed: The RunElectronic Arts / DICE
 

Mais procurados (20)

Montagem e edição no cinema
Montagem e edição no cinemaMontagem e edição no cinema
Montagem e edição no cinema
 
Equipa tecnica
Equipa tecnicaEquipa tecnica
Equipa tecnica
 
Oficina Editais ProAC (Formatação de projetos culturais para os editais ProAc...
Oficina Editais ProAC (Formatação de projetos culturais para os editais ProAc...Oficina Editais ProAC (Formatação de projetos culturais para os editais ProAc...
Oficina Editais ProAC (Formatação de projetos culturais para os editais ProAc...
 
Film Editing Master
Film Editing MasterFilm Editing Master
Film Editing Master
 
Cinematography | Film Production
Cinematography | Film ProductionCinematography | Film Production
Cinematography | Film Production
 
Multi-Cam Techniques
Multi-Cam TechniquesMulti-Cam Techniques
Multi-Cam Techniques
 
Introduction to film editing
Introduction to film editingIntroduction to film editing
Introduction to film editing
 
Location recce template 2014
Location recce template 2014Location recce template 2014
Location recce template 2014
 
What's in a Film? An Introduction to Filmmaking Techniques
What's in a Film? An Introduction to Filmmaking TechniquesWhat's in a Film? An Introduction to Filmmaking Techniques
What's in a Film? An Introduction to Filmmaking Techniques
 
Linguagem cinematográfica
Linguagem cinematográficaLinguagem cinematográfica
Linguagem cinematográfica
 
Conventions of Jazz, Folk and Acoustic
Conventions of Jazz, Folk and AcousticConventions of Jazz, Folk and Acoustic
Conventions of Jazz, Folk and Acoustic
 
Teoria Super Básica de Tipografia
Teoria Super Básica de TipografiaTeoria Super Básica de Tipografia
Teoria Super Básica de Tipografia
 
Production management ppt
Production management  pptProduction management  ppt
Production management ppt
 
The Art of Editing #2 Jan 24
The Art of Editing #2 Jan 24The Art of Editing #2 Jan 24
The Art of Editing #2 Jan 24
 
Escala de planos
Escala de planosEscala de planos
Escala de planos
 
Beyoncé Music Video Analysis
Beyoncé Music Video AnalysisBeyoncé Music Video Analysis
Beyoncé Music Video Analysis
 
3.2 - Controls & Constraints.pptx
3.2 - Controls & Constraints.pptx3.2 - Controls & Constraints.pptx
3.2 - Controls & Constraints.pptx
 
Lacey's repertoire of elements
Lacey's repertoire of elementsLacey's repertoire of elements
Lacey's repertoire of elements
 
Destruction Masking in Frostbite 2 using Volume Distance Fields
Destruction Masking in Frostbite 2 using Volume Distance FieldsDestruction Masking in Frostbite 2 using Volume Distance Fields
Destruction Masking in Frostbite 2 using Volume Distance Fields
 
Five Rendering Ideas from Battlefield 3 & Need For Speed: The Run
Five Rendering Ideas from Battlefield 3 & Need For Speed: The RunFive Rendering Ideas from Battlefield 3 & Need For Speed: The Run
Five Rendering Ideas from Battlefield 3 & Need For Speed: The Run
 

Destaque

Production of Horror Poster
Production of Horror PosterProduction of Horror Poster
Production of Horror Postershaunliddle
 
1.3 แนวภาพยนตร์
1.3 แนวภาพยนตร์1.3 แนวภาพยนตร์
1.3 แนวภาพยนตร์Pipit Sitthisak
 
ภาพยนตร์เบื้องต้น
ภาพยนตร์เบื้องต้นภาพยนตร์เบื้องต้น
ภาพยนตร์เบื้องต้นWorapon Masee
 
ขั้นตอนการเขียนบทภาพยนตร์
ขั้นตอนการเขียนบทภาพยนตร์ขั้นตอนการเขียนบทภาพยนตร์
ขั้นตอนการเขียนบทภาพยนตร์Tuf Rio
 
Conventional camera shots in horror movie trailers
Conventional camera shots in horror movie trailersConventional camera shots in horror movie trailers
Conventional camera shots in horror movie trailersMatt Davey
 
การทำ Storyboard
การทำ  Storyboardการทำ  Storyboard
การทำ StoryboardKrongkaew kumpet
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นchaiwat vichianchai
 
Camera shots and angles for a horror and thriller film
Camera shots and angles for a horror and thriller filmCamera shots and angles for a horror and thriller film
Camera shots and angles for a horror and thriller filmbilliewilson_
 
Storytelling 101
Storytelling 101Storytelling 101
Storytelling 101Ethos3
 

Destaque (13)

Production of Horror Poster
Production of Horror PosterProduction of Horror Poster
Production of Horror Poster
 
Ad 2559
Ad 2559Ad 2559
Ad 2559
 
1.3 แนวภาพยนตร์
1.3 แนวภาพยนตร์1.3 แนวภาพยนตร์
1.3 แนวภาพยนตร์
 
ภาพยนตร์เบื้องต้น
ภาพยนตร์เบื้องต้นภาพยนตร์เบื้องต้น
ภาพยนตร์เบื้องต้น
 
ขั้นตอนการเขียนบทภาพยนตร์
ขั้นตอนการเขียนบทภาพยนตร์ขั้นตอนการเขียนบทภาพยนตร์
ขั้นตอนการเขียนบทภาพยนตร์
 
การเขียนบทหนังสั้น
การเขียนบทหนังสั้นการเขียนบทหนังสั้น
การเขียนบทหนังสั้น
 
Conventional camera shots in horror movie trailers
Conventional camera shots in horror movie trailersConventional camera shots in horror movie trailers
Conventional camera shots in horror movie trailers
 
การทำ Storyboard
การทำ  Storyboardการทำ  Storyboard
การทำ Storyboard
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
 
Camera shots and angles for a horror and thriller film
Camera shots and angles for a horror and thriller filmCamera shots and angles for a horror and thriller film
Camera shots and angles for a horror and thriller film
 
Digital Storytelling
Digital StorytellingDigital Storytelling
Digital Storytelling
 
Storytelling 101
Storytelling 101Storytelling 101
Storytelling 101
 
5 Storytelling Lessons From Superhero Stories
5 Storytelling Lessons From Superhero Stories5 Storytelling Lessons From Superhero Stories
5 Storytelling Lessons From Superhero Stories
 

Semelhante a การกำกับภาพ

Semelhante a การกำกับภาพ (6)

003 ใบความรู้ที่3.9-มุมกล้องสุดสวย
003 ใบความรู้ที่3.9-มุมกล้องสุดสวย003 ใบความรู้ที่3.9-มุมกล้องสุดสวย
003 ใบความรู้ที่3.9-มุมกล้องสุดสวย
 
การตัดต่อภาพยนตร์ มุมกล้อง
การตัดต่อภาพยนตร์  มุมกล้องการตัดต่อภาพยนตร์  มุมกล้อง
การตัดต่อภาพยนตร์ มุมกล้อง
 
ใบความรู้บัญญัติการถ่ายทำ ๑๐ ประการ
ใบความรู้บัญญัติการถ่ายทำ ๑๐ ประการใบความรู้บัญญัติการถ่ายทำ ๑๐ ประการ
ใบความรู้บัญญัติการถ่ายทำ ๑๐ ประการ
 
กล้องสองตา2
กล้องสองตา2กล้องสองตา2
กล้องสองตา2
 
Macro phography
Macro phographyMacro phography
Macro phography
 
10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล
10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล
10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล
 

Mais de kruart2010

เลโอนาร์โด
เลโอนาร์โดเลโอนาร์โด
เลโอนาร์โดkruart2010
 
ข้อสอบการอ่านม.๖
ข้อสอบการอ่านม.๖ข้อสอบการอ่านม.๖
ข้อสอบการอ่านม.๖kruart2010
 
คำถามแฟ้มประวัติ
คำถามแฟ้มประวัติคำถามแฟ้มประวัติ
คำถามแฟ้มประวัติkruart2010
 
กรุวัดราชบูรณะ
กรุวัดราชบูรณะกรุวัดราชบูรณะ
กรุวัดราชบูรณะkruart2010
 

Mais de kruart2010 (6)

เลโอนาร์โด
เลโอนาร์โดเลโอนาร์โด
เลโอนาร์โด
 
ข้อสอบการอ่านม.๖
ข้อสอบการอ่านม.๖ข้อสอบการอ่านม.๖
ข้อสอบการอ่านม.๖
 
คำถามแฟ้มประวัติ
คำถามแฟ้มประวัติคำถามแฟ้มประวัติ
คำถามแฟ้มประวัติ
 
กรุวัดราชบูรณะ
กรุวัดราชบูรณะกรุวัดราชบูรณะ
กรุวัดราชบูรณะ
 
Pop up
Pop upPop up
Pop up
 
Pop up
Pop upPop up
Pop up
 

การกำกับภาพ

  • 1. การกำากับภาพ ขนาดภาพและมุมกล้อง ในหลักปฏิบัติแล้วมักใช้ 3 ขนาด คือ ขนาดภาพระยะไกล ระยะ ปานกลางและระยะใกล้ เป็นขนาดเรียกกว้าง ๆ ทีเขียนไว้ในบท ่ ภาพยนตร์ ซึ่ง ใช้รปร่างของคนเป็นตัวกำาหนดขนาดของภาพ แต่ ู อย่างไรก็ตาม เราสามารถแบ่งย่อยขนาดของภาพได้อีกและมีชื่อเรียก ชัดเจนขึ้นดังนี้ 1. ภาพระยะไกลมากหรือระยะไกลสุด (Extreme Long Shot / ELS) ได้แก่ ภาพที่ถายภายนอกสถานที่โล่งแจ้ง มักเน้นพื้นที่หรือ ่ บริเวณที่กว้างใหญ่ไพศาล เมื่อเปรียบเทียบกับสัดส่วนของมนุษย์ที่มี ขนาดเล็ก ภาพ ELS ส่วนใหญ่ใช้สำาหรับการเปิดฉากเพื่อบอกเวลา และสถานที่ อาจเรียกว่า Establishing Shot ก็ได้ เป็นช็อตทีแสดงความ ่ ยิ่งใหญ่ของฉากหลัง หรือแสดงแสนยานุภาพของตัวละครในหนัง ประเภทสงครามหรือหนังประวัติศาสตร์ ส่วนช็อตทีใช้ตามหลังมักเป็น ่ ภาพระยะไกล (LS) ในภาพยนตร์หลายเรื่องใช้ภาพระยะใกล้ (CU) เปิด ฉากก่อนเพื่อเป็นการเน้นเรียก จุดสนใจหรือบีบอารมณ์คนดูให้สูงขึ้น อย่างทันทีทันใด 2. ภาพระยะไกล (Long Shot /LS) ภาพระยะไกล เป็นภาพที่ค่อนข้างสับสนเพราะมีขนาดทีไม่ ่ แน่นอนตายตัว บางครั้งเรียกภาพกว้าง (Wide Shot) เวลาใช้อาจกิน ความตั้งแต่ภาพระยะไกลมาก (ELS) ถึงภาพระยะไกล (LS) ซึ่งเป็นภาพ ขนาดกว้างแต่สามารถเห็นรายละเอียดของฉากหลังและผูแสดงมาก้ ขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับภาพระยะไกลมาก หรือเรียกว่า Full Shot เป็น ภาพกว้างเห็นผู้แสดงเต็มตัว ตั้งแต่ศีรษะจนถึงส่วนเท้า ภาพระยะไกล (LS) บางครั้งนำาไปใช้เปรียบเทียบเหมือนกับขนาดภาพระหว่างหนังกับ ละครที่คนดูมองเป็นเท่ากัน คือ สามารถเห็นแอ็คชั่นหรืออากัปกริยา ของผู้แสดงเต็มตัวและชัดเจนพอ ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีว่าหนังของชาร์ลี แชปลิน (Charlie Chaplin) มักใช้ขนาดภาพนี้กับภาพปานกลาง (MS) ถ่ายทอดอารมณ์ตลกประสบความสำาเร็จในหนังเงียบของเขา 3. ภาพระยะไกลปานกลาง (Medium Long Shot / MLS) เป็นภาพที่เห็นรายละเอียดของผู้แสดงมากขึ้นตั้งแต่ศีรษะจนถึง
  • 2. ขา หรือหัวเข่า ซึงบางครังก็เรียกว่า Knee Shot เป็นภาพที่เห็นตัวผู้ ่ ้ แสดงเคลื่อนไหวสัมพันธ์กับฉากหลังหรือเห็นเฟอร์นิเจอร์ในฉากนั้น 4. ภาพระยะปานกลาง (Medium Shot /MS) ภาพระยะปานกลาง เป็นขนาดที่มีความหลากหลายและมีชื่อ เรียกได้หลายชื่อเช่นเดียวกัน แต่โดยปกติจะมีขนาดประมาณตั้งแต่ หนึ่งในสี่ถงสามในสี่ของร่างกาย บางครั้งเรียกว่า Mid Shot หรือ Waist ึ Shot ก็ได้ เป็นช็อตที่ใช้มากสุดอันหนึ่งของภาพยนตร์ ภาพระยะปาน กลางมักใช้เป็นฉากสนทนาและเห็นแอ็คชั่นของผู้แสดง นิยมใช้เชื่อม เพื่อรักษาความต่อเนื่องของภาพระยะไกล (LS) กับภาพระยะใกล้ (CU) 5. ภาพระยะใกล้ปานกลาง (Medium Close-Up / MCU) เป็นภาพแคบ ครอบคลุมบริเวณตั้งแต่ศีรษะถึงไหล่ของผู้แสดง ใช้สำาหรับในฉากสนทนาที่เห็นอารมณ์ความรู้สึกที่ใบหน้า ผู้แสดงรู้สึก เด่นในเฟรม บางครั้งเรียกว่า Bust Shot มีขนาดเท่ารูปปันครึ่งตัว ้ 6. ภาพระยะใกล้ (Close-Up / CU) เป็นภาพที่เห็นบริเวณศีรษะและบริเวณใบหน้าของผู้แสดง มีราย ละเอียดชัดเจนขึ้น เช่น ริ้วรอยบนใบหน้า นำ้าตา ส่วนใหญ่เน้นความ รู้สึกของผู้แสดงที่สายตา แววตา เป็นช็อตที่นิ่งเงียบมากกว่าให้มบท ี สนทนา โดยกล้องนำาคนดูเข้าไปสำารวจตัวละครอย่างใกล้ชิด 7. ภาพระยะใกล้มาก (Extreme Close-Up /ECU หรือ XCU) เป็นภาพที่เน้นส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย เช่น ตา ปาก เท้า มือ เป็นต้น ภาพจะถูกขยายใหญ่บนจอ เห็นรายละเอียดมาก เป็นการ เพิ่มการเล่าเรื่องในหนังให้ได้อารมณ์มากขึ้น เช่น ในช็อตของหญิง สาวเดินทางกลับบ้านคนเดียวในยามวิกาลบนถนน เราอาจใช้ภาพ ECU ด้านหลังที่หูของเธอเพื่อเป็นการบอกว่าเธอได้ยินเสียงฝีเท้าแผ่ว ๆ ทีกำาลังติดตามเธอ จากนั้นอาจใช้ภาพระยะนีที่ตาของเธอเพื่อแสดง ่ ้ ความหวาด กลัว เป็นช็อตที่เราคุ้นเคยกัน แต่อย่างไรก็ตาม เรา สามารถใช้ได้ในความหมายอื่น ๆ โดยอาศัยแสงและมุมมองเพื่อหารูป แบบการใช้ให้หลากหลายออกไป นอกจากนี้มีช็อตอื่น ๆ ทีเรียกโดย ่ ใช้จำานวนของผู้แสดงเป็นหลัก เช่น Two Shot คือ มีผู้แสดง 2 คน อยู่ใน เฟรมเดียวกัน ในยุโรปบางแห่งเรียก American Shot เพราะสมัยก่อน นิยมใช้กันมากในฮอลลีวู้ด Three Shot คือ มีผู้แสดง 3 คน อยู่เฟรม เดียวกัน และถ้าหากผู้แสดงมีมากกว่าจำานวนนี้ขึ้น เรียกว่า Group Shot ขนาดทีใช้มักเป็นภาพปานกลาง ในช็อตที่เรียกโดยหน้าที่ของมันทีใช้ ่ ่ ขนาดภาพปานกลาง เช่น Re-establishing Shot เป็นช็อตทีใช้เตือนคนดู ่ ว่ายังไม่ได้เปลี่ยนพื้นที่ (Space) หรือสถานที่ของฉากนั้น ยังคงอยูใน ่
  • 3. ฉากเดียวกัน มักเป็นภาพที่ใช้ตามหลังภาพระยะใกล้ก่อนหน้าช็อตนี้ ส่วนภาพผ่านไหล่ หรือ Over-the-Shoulder เป็นภาพที่บอกหน้าที่ของมัน อยู่ในตัวแล้ว คือใช้ถายผ่านไหล่ผู้แสดงคนหนึ่งเป็นพื้นหน้าไปรับผู้ ่ แสดงอีกคนหนึ่งเป็นพื้นหลัง ใช้ตัดสลับไปมา เมื่อผู้แสดงทั้งสองมีบท สนทนาร่วมกันในฉากเดียวกัน มุมกล้อง (Camera Angles) ในภาพยนตร์บนเทิงโดยทั่วไปการตั้งกล้องมิได้วางไว้แค่เฉพาะ ั ด้านหน้าตรงของผู้แสดงเท่านั้น แต่จะทำามุมกับผูแสดงหรือวัตถุตลอด ้ ทั้งเรื่อง ยิ่งกล้องทำามุมกับผู้แสดงมากเท่าไร ก็ยิ่งสะดุดความสนใจ มากขึ้นเท่านั้น และการใช้มุมกล้องต้องให้สอดคล้องกับการเล่าเรื่อง ด้วยเหตุผลของการเปลี่ยนมุมกล้องให้หลากหลายเพื่อใช้ติดตามผู้ แสดง เปิดเผย/ ปิดบังเนื้อเรื่อง หรือตัวละคร เปลียนมุมมอง บอก ่ สถานที่ เน้นอารมณ์หรืออื่น ๆ อีกมากมายที่ต้องการสื่อความหมาย บางอย่างของแอ็คชั่นที่เกิดขึ้นในฉากนั้นของผู้กำากับ มุมกล้องเกิดขึ้น จากการที่เราวางตำาแหน่งคนดูให้ทำามุมกับตัวละครหรือวัตถุ ทำาให้มอง เห็นตัวละครในระดับองศาทีแตกต่างกัน จึงแบ่งมุมกล้องได้ 5 ระดับ ่ คือ 1. มุมสายตานก (Bird's-eye view) มุมชนิดนี้มักเรียกทับศัพท์ทำาให้เข้าใจมากกว่า เป็นมุมถ่ายมา จากด้านบนเหนือศีรษะ ทำามุมตั้งฉากเป็นแนวดิ่ง 90 องศากับผู้แสดง เป็นมุมมองที่เราไม่คุ้นเคยในชีวิตประจำาวัน จึงเป็นมุมทีแปลก แทน ่ สายตานกที่อยู่บนท้องฟ้าหรือผู้กำากับบางคน เช่น Alfred Hitchcock ใช้ แทนความหมายเป็นมุมของเทพเจ้าเบื้องบนที่ทรงอำานาจ มองลงมา หาตัวละครที่ห้อยอยู่บนสะพาน ตึก หน้าผา เพิ่มความน่าหวาดเสียว มากขึ้น มุมกล้องที่คล้ายกับมุม Bird's-eye view คือ aerial shot ซึ่งถ่ายมา จากเฮลิคอปเตอร์หรือเครื่องบินบ้างก็เรียกว่า helicopter shot หรือ airplane shot เป็นช็อตเคลื่อนไหวถ่ายมาจากด้านบนทังสิ้น้ 2. มุมสูง (High-angle shot) คือมุมสูงกล้องอยู่ด้านบนหรือวางไว้บนเครน (crane) ถ่ายกดมาที่ ผู้แสดง แต่ไม่ตั้งฉากเท่า Bird's-eye view ประมาณ 45 องศา เป็นมุม มองที่เห็นผู้แสดงหรือวัตถุอยู่ตำ่ากว่า ใช้แสดงแทนสายตามองไปเบื้อง ล่างที่พื้น ถ้าใช้กับตัวละครจะให้ความรู้สึกตำ่าต้อย ไร้ศักดิ์ศรี ไม่มี ความสำาคัญ หรือเพื่อเผยให้เห็นลักษณะภูมิประเทศหรือความกว้าง ใหญ่ไพศาลของภูมิทัศน์เมื่อใช้กับภาพระยะไกล (LS)
  • 4. 3. มุมระดับสายตา (Eye-level shot) เป็นมุมที่มีความหมายตรงตามชื่อที่เรียก คือคนดูถูกวางไว้ใน ระดับเดียวกับสายตาของตัวละครหรือระดับเดียวกับกล้องทีวางไว้บน่ ไหล่ของตากล้อง โดยผูแสดงไม่เหลือบสายตาเข้าไปในกล้องใน ้ ระหว่างการถ่ายทำา มุมระดับสายตานีถึงแม้จะเป็นมุมที่เราใช้มองใน ้ ชีวิตประจำาวัน แต่ก็ถือว่าเป็นมุมที่สูงเล็กน้อย เพราะโดยปกติมักใช้ กล้องสูงระดับหน้าอก ซึ่งเรียกว่า a chest high camera angle หรือเป็นมุม ปกติ (normal camera angle) ไม่ใช่มุมระดับสายตา ซึ่งเป็นมุมที่คนดูคุ้น เคยกับการดูหนังบนจอใหญ่ทถ่ายดาราภาพยนตร์ให้ดูใหญ่เกินกว่า ี่ ชีวิตจริง larger-than-life ในความหมายอื่นของมุมระดับสายตาในหนัง คาวบอย (Western) หมายถึง เป็นมุมของลูกผู้ชาย (standing male adults) จึงวางตำาแหน่งของผู้แสดงที่ดูสง่างาม แต่ผู้กำากับหญิงชาวฝรังเศสชื่อ ่ Chantal Akerman เป็นคนรูปร่างค่อนข้างเตี้ย ใช้มุมกล้องระดับสายตา เดียวกับเธอแทนความเป็น "ผู้หญิง" ในมุมมองของกล้องถ่ายทำาหนัง ส่วนใหญ่ของเธอ ในขณะที่ Yasujiro Ozu ผู้กำากับชาวญี่ปุ่น ปฏิเสธที่จะ ใช้กล้องทำามุมกับผู้แสดง แต่ใช้กล้องระดับสายตามีความสูงประมาณ 3-4 ฟุต สูงจากพื้นเป็นระดับเดียวกับรูปแบบการนั่งแบบญี่ปุ่นในบ้าน ของตัวละคร Ozu ให้เหตุผลว่า "เขาต้องการให้ตัวละครนั้นมีความเท่า เทียมกัน เป็นแค่คนธรรมดาคนหนึ่ง ไม่วาจะเป็นคนดีหรือเลว โดยจะ ่ ให้ตัวละครเปิดเผยตัวเอง ไม่ใช้มุมกล้องอธิบายให้รู้สึกอย่างใดอย่าง หนึ่งโดยเป็นตัวกลาง ไม่มีอคติ เท่ากับเป็นการให้คนดูได้ตัดสินใจเอา เองว่าตัวละครนั้นเป็นคนอย่างไรในหนัง" 4. มุมตำำา (Low-angle shot) คือมุมที่ตำ่ากว่าระดับสายตาของตัวละคร แล้วเงยกล้องขึ้น ประมาณ 70 องศา ทำาให้เกิดผลทางด้านความลึกของซับเจ็คหรือตัว ละคร มีลักษณะเป็นสามเหลี่ยมรูปทรงเรขาคณิตให้ความมั่นคง น่า เกรงขาม ทรงพลังอำานาจ ความเป็นวีรบุรุษ เช่น ช็อตของคิงคองยักษ์ ตึกอาคาร สิ่งก่อสร้าง สัตว์ ประหลาด พระเอก เป็นต้น ในภาพยนตร์เรื่อง Citizen Kane (1941) ที่ ต้องการเน้นความรำ่ารวยของ Kane จึงใช้กล้องมุมตำ่าเพื่อให้เห็นพื้น หลังที่เป็นเพดาน บอกถึงความโอ่อ่า มั่งคั่งของเจ้าของคฤหาสน์ การ ถ่ายทำาต้องรื้อพื้นเอาบางส่วนของฉากออกเพื่อสามารถวางกล้องได้ มุมตำ่าตามทีต้องการ 5. มุมสายตาหนอน (Worm's-eye view) คือมุมที่ตรงข้ามกับมุมสายตานก (Bird's-eye view) กล้องเงยตั้ง ฉาก 90 องศากับตัวละครหรือซับเจ็ค บอกตำาแหน่งของคนดูอยู่ตำ่าสุด
  • 5. มองเห็นพื้นหลังเป็นเพดานหรือท้องฟ้า เห็นตัวละครมีลักษณะเด่น เป็นมุมที่แปลกนอกเหนือจากชีวิตประจำาวันอีกมุมหนึ่ง ลักษณะของ มุมนี้ เมื่อใช้กับซับเจ็คที่ตกลงมาจากที่สูงสู้พื้นดิน เคลื่อนบังเฟรม อาจนำาไปใช้เป็นตัวเชื่อมระหว่างฉาก (transition) คล้ายการเฟดมืด (Fade out) 6. มุมเอียง (Oblique angle shot) เป็นมุมที่มีเส้นระนาบ (Horizontal line) ของเฟรมไม่อยู่ในระดับ สมดุล เอียงไปด้านใดด้านหนึ่งเข้าหาเส้นตั้งฉาก (Verticle line) ความ หมายของมุมชนิดนี้คือ ความไม่สมดุลลาดเอียงของพื้นที่ บางสิ่งบาง อย่างที่อยู่ในสภาพไม่ดี เช่น ในฉากชุลมุนโกลาหล แผ่นดินไหว ถ้า ใช้แทนสายตาตัวละคร หมายถึงคนที่เมาเหล้า หกล้ม สับสน ให้ความ รู้สึกที่ตึงเครียด มุมเอียงเป็นมุมที่ไม่ค่อยใช้บ่อยนัก ส่วนใหญ่ใช้ตาม ความหมายที่อธิบายในภาพยนตร์และมีชื่อเรียกหลายอย่าง เช่น Dutch angle, Tilted shot หรือ Canted shot เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีมุมกล้องอืำนทีำสำาคัญควรทราบดังนี้ 1. มุมเฝ้ามอง (Objective Camera Angle) คือ มุมแอบมองหรือเฝ้ามองตัวละคร แอ็คชั่นและเหตุการณ์ที่ กำาลังเกิดขึ้นในหนัง เป็นมุมเดียวกับกล้องแต่มองไม่เห็นคนดู ซึ่งคนดู จะอยู่หลังกล้องโดยผ่านสายตาของตากล้อง หรือบางทีเป็นการถ่าย โดยคนแสดงไม่รู้ตัว เรียกว่า การแอบถ่าย (candid camera) 2. มุมแทนสายตา (Subjective Camera Angle) เป็นมุมมองส่วนตัว หรือเรียกว่า มุมแทนสายตา ซึงเป็นการนำาพา ่ คนดูเข้ามามีส่วนร่วมในภาพด้วย เช่น ผู้แสดงมองมาที่กล้อง ซึงจะให้ ่ ความรู้สึกเหมือนมองไปที่คนดูหรือพูดกับกล้อง เช่น การอ่านข่าว การ รายงานข่าวในทีวี เป็นต้น ลักษณะของมุมกล้องชนิดนี้ เป็นความ สัมพันธ์กันระหว่างสายตาต่อสายตา (eye-to-eye relationship)มุมแทน สายตา แบ่งเป็น 2.1 แทนสายตาคนดู เป็นการกำาหนดตำาแหน่งคนดูให้เป็นส่วน หนึ่งของฉากนั้น เช่น คนดูถูกพาให้เข้าชมโบราณสถาน พาทียว คนดู่ จะได้เห็นเหตุการณ์ของแต่ละฉาก หรือกล้องอาจถูกทิ้งมาจากที่สูง แทนสายตามาจากที่สูง แทนคนดูตกลงมาจากที่สูง ภาพแทนสายตา ของนักบิน รถแข่ง พายเรือ ดำานำ้า สกี รถไฟเหาะตีลังกา 2.2 กล้องแทนสายตาตัวละคร เป็นการเปลี่ยนสายตาของคนดู จากการเฝ้าแอบมองมาเป็นแทนสายตาในทันที ซึ่งคนดูก็ได้เห็นร่วม กันดับตัวละครหรือผู้แสดง เช่น ตัวละครมองออกไปนอกกรอบภาพ
  • 6. จากนั้นภาพตัดไปเป็นมุมแทนสายตาของตัวละคร การแพนช็อตหรือ traveling shot ในภาพยนตร์สารคดีส่วนใหญ่ กล้องมักทำาหน้าที่แทน สายตาของคนดู 3. มุมมองใกล้ชิด (Point-of-view Camera Angles) มุมมองใกล้ชิดนี้มักเรียกง่าย ๆ ว่า มุมพีโอวี (POV) เป็นมุมกึ่ง ระหว่าง มุม objective และมุม subjective แต่อย่างไรก็ตาม เราก็ถือว่า เป็นมุม objective หรือมุมแอบมอง และส่วนใหญ่ขนาดภาพที่ใช้มักเป็น ภาพระยะใกล้กับระยะปานกลาง เพื่อให้สามารถมองเห็นภาพ แสดงออกของใบหน้าตัวละคร เห็นรายละเอียดชัดเจน การใช้มุมพีโอวี นี้ อาจใช้สำาหรับกรณีที่ต้องการให้คนดูเข้าไปมีส่วนในเหตุการณ์ด้วย นอกจากนี้การใช้มุมพีโอวี ยังมักตามหลังช็อตผ่านไหล่ หรือ over-the- shoulder (OS) คือเมื่อผู้แสดงคนหนึ่งจะเห็นด้านหลังเป็นพื้นหน้า และ ใบหน้าของผู้แสดงอีกคนหนึ่งอยู่พื้นหลังหรืออาจใช้ก่อนมุมแทน สายตาของนัก แสดง เป็นต้น การใช้มุมกล้องต้องคำานึงถึงพื้นที่ (space) และมุมมอง (viewpoint) ซึ่งตำาหน่งของกล้องเป็นตัว กำาหนด พื้นที่วาจะมีขอบเขตเพียงใดจากที่ซึ่งคนดูมองเห็นเหตุการณ์ ซึ่งต้อง ่ สัมพันธ์กันทังหมด ทังขนาดภาพ มุมมอง และความสูงของกล้องการ ้ ้ เคลื่อนกล้องภาพยนตร์มีความแตกต่างจากภาพนิ่ง 2 ประการ คือ นอกจากสามารถถ่ายภาพเคลื่อนไหวได้แล้ว ยังสามารถ เคลื่อนที่ไปได้ด้วยการเคลื่อนกล้องในขณะถ่ายทำา แม้มีความยุงยาก ่ ซับซ้อนและเสียเวลามาก กว่าการตั้งกล้องถ่ายนิง ๆ (Static Shot) แต่ ่ ทำาให้หนังมีความโดดเด่นทางด้านอารมณ์สูง จุดประสงค์หลักของการ เคลื่อนกล้อง คือ ติดตามผู้แสดง เป็นการเชื่อมกันระหว่างสองความ คิด และยังเป็นการสร้างอารมณ์ที่ทรงพลัง ถ้าหากใช้การเคลื่อนไหว กล้องแทนมุมมองของผู้แสดง การเคลืำอนไหวกล้อง มี 4 ลักษณะ คือ 1. การแพน (Panning) การแพนเป็นการเคลื่อนไหวกล้องที่ง่ายที่สุด คือ เฉพาะที่ตัว กล้อง จำากัดอยู่บนขาตั้งที่อยู่กับที่ กล้องมิได้เคลื่อนย้ายออกไปจาก ตำาแหน่งเดิม ซึ่งแตกต่างไปจากการเคลื่อนกล้องในลักษณะอื่น และ ไม่ต้องเตรียมการมาก หรือต้องใช้อุปกรณ์ที่มนำ้าหนักเหมือนกับการ ี แทรค (Tracking) หรือการทรัค (trucking) และ การเครน (Craning) การ แพนเป็นการเคลื่อนกล้องในแนวนอนจากซ้ายไปขวา หรือจากขวาไป ซ้ายได้มากถึง 360 องศา และเช่นเดียวกัน กล้องอาจแพนในแนวดิ่ง หรือที่เรียกว่า การทิลท์ (Tilting) กล้องจะทำามุมสูงและมุมตำ่ากับซับเจ็ค
  • 7. ได้ 45 องศา หรือเงยสูงได้ถึง 90 องศา การแพนกล้อง ครอบคลุม บริเวณพื้นทีโล่งกว้าง มักใช้กับช็อตเปิดเรื่องหรือ Establishing shot เป็น ่ ลักษณะการแพนช้า ๆ ครอบคลุมพื้นที่ เช่น ทิวทัศน์ ท้องทุ่ง ทะเล ทราย ซึ่งแสดงถึงความกว้างใหญ่ไพศาลของอาณาบริเวณของพื้นทีที่ ่ ใหญ่เกินกว่าเฟรมจะครอบคลุม ส่วนการแพนในแนวตั้งหรือการทิลท์ (Tilting) ทำามุมตำ่า (tilt down) หรือทำามุมสูง (tilt up) ให้ความรู้สึกของ ความสูง เช่นการทิลท์ขึ้นไปที่อาคาร หรือตึกระฟ้าที่สูง ให้ความรู้สึก สูงตระหง่านของตัวอาคาร หากทิลท์ลงมาก็อาจให้ความรู้สึก หวาดเสียวในความสูงได้ โดยทั่วไปการแพนกล้องเพื่อให้ติดตามแอ็ คชั่นได้ทงในบริเวณที่คับแคบจำากัด หรือบริเวณที่กว้างใหญ่กว่าเฟรม ั้ จะครอบคลุมได้ เพื่อเป็นการรักษาซับเจ็คให้อยู่ในกรอบภาพที่เหมาะ สมและสมดุล เช่น ในฉากที่ตัวแสดงเคลื่อนที่ไปมา ซึ่งยังคงอยู่ใน กรอบภาพ ไปหลุดไปจากกรอบ การแพนแม้จะไม่ทำาให้เปอร์สเปคตีฟ ของภาพเปลี่ยนไปเหมือนการแทรค การเครน หรือการใช้ hand-held ก็ตาม แต่การแพนก็สามารถครอบคลุมพื้นที่ได้รวดเร็วกว่าการเคลื่อน กล้องลักษณะอื่น เช่น การแทรคและการเครน ซึ่งทังสองประการหลัง้ นี้กล้องต้องเคลื่อนออกจากตำาแหน่งเดิมและต้องใช้คนช่วย เช่น การ แพนจากซับเจ็คหนึ่งไปยังอีกซับเจ็คหนึ่ง ซึ่งอยู่หางกันหลายสิบเมตร ่ การแพนอาจใช้เวลาเพียงไม่กี่วินาที ในขณะที่การแทรคต้องใช้เวลาที่ นานกว่าจึงสามารถครอบคลุมพื้นที่ได้เท่ากัน และยังต้องใช้คนและ อุปกรณ์ต่าง ๆ อีกมากมายในการทำางาน การแพนและการทิลท์จึงใช้ในกรณี 1. เพื่อครอบคลุมพื้นทีที่มีขนาดใหญ่ ไม่สามารถมองเห็นได้ทวใน ่ ั่ เฟรมเดียว หรือ fixed frame 2. ใช้ติดตามแอ็คชั่นของผู้แสดง 3. ให้เชื่อมจุดสนใจของภาพ 4. ให้ความหมายของการเชื่อมระหว่างจุดสนใจของภาพตั้งแต่ 2 จุดขึ้น ไป ความสำาคัญของการแพนกล้องไม่ได้ขึ้นอยู่กับพื้นที่และความเร็ว ของการแพนเท่านั้น หากแต่ต้องอาศัยเลนส์ในการรับภาพเพื่อให้เกิด ความรู้สึกพลังของการเคลื่อนไหวอีกด้วย การเลือกใช้เลนส์ที่มีความ ยาวโฟกัสยาวจะช่วยเพิ่มการรับความรู้สึกทีรวดเร็วของซับเจ็คที่พุ่ง ่ ผ่านบริเวณหน้าจอรับภาพ เพราะเลนส์ที่มีความยาวโฟกัสยาวรับภาพ ได้เพียงบางส่วนของภาพที่รบด้วยเลนส์มุมกว้าง ดังนั้นการแพนกล้อง ั ระยะสั้น ๆ จึงสามารถให้ความรู้สึกเหมือนว่าแพนกล้องได้ไกลมากกว่า ใช้เลนส์มุมกว้างแพน เป็นต้นผู้กำากับอย่างเช่น Akira Kurosawa ใช้
  • 8. เลนส์ที่มีความยาวโฟกัสยาวในภาพยนตร์ของเขาหลายเรื่อง เนื่องจากการใช้เลนส์ชนิดนี้จับแอ็คชั่น ทำาให้บริเวณตั้งแต่พื้นหน้า (Foreground) พื้นกลาง (Middle Ground) และพื้นหลัง (Background) มี ความแตกต่างกันของการเคลื่อวไหวและความลึกของภาพเลนส์ที่มี ความยาวโฟกัสยาว เช่น เทเลโฟโต้ จะแยกซับเจ็คและพิ่มความรู้สึก รวดเร็ว เช่น ในฉากที่พวกนักรบหรือซามูไรวิ่งหรือควบม้าผ่านต้นไม้ใน ป่าก็จะทำาให้ส่วนที่เป็นพื้นหลังมีแสงพร่ามัวและเข้ม ขณะที่พื้นหน้า เช่น ต้นไม้ บังหน้าเฟรม ทำาให้ภาพกระพริบเป็นจังหวะขณะแพนกล้อง ซึ่งเน้นให้เห็นการเคลื่อนไหวที่ทรงพลัง การใช้เลนส์ทมีความยาว ี่ โฟกัสยาวสำาหรับการถ่ายในลักษณะที่มีการแพนกล้องเช่นนี้ ต้อง อาศัยคนที่มีความชำานาญในการใช้กล้อง โดยเฉพาะอย่างยิงการแพน ่ อย่างรวดเร็วในสภาวะแสงที่ตำ่า ซึ่งทำายาก การแพนเป็นการนำาสายตา คนดูจากจุดหนึ่งไปสู่อีกจุดหนึ่ง หรือเป็นการเปลียนจุดสนใจ โดย ่ อาศัยการแพนกล้องและทิศทางการเคลื่อนที่ของซับเจ็คเป็นหลัก เช่น ในฉากบาร์ กล้องเปิดช็อตทีบริกรชายถือถาดเครื่องดื่มจากเคาน์เตอร์ ่ บาร์ กล้องแพนตามจากซ้ายมาขวาแล้วหยุดที่นางเอกนั่งอยูโดดเดี่ยว ่ เป็นภาพปานกลาง ส่วนบริกรเดินหลุดเฟรมออกไป และอีกตัวอย่าง หนึ่งเป็นการย้ายจากจุดสนใจหนึ่งมาสู่อีกจุดหนึ่ง โดยอาศัยการ เคลื่อนไหวของกล้องและซับเจ็คเป็นหลัก เช่น ในตัวอย่างเดียวกัน เมื่อกล้องแพนตามบริกรชายถือถาดจากเคาน์เตอร์บาร์มารับที่ใบหน้า ของพระเอกที่เดินสวนมาจากทิศทางตรงข้ามของกล้อง ปล่อยให้บริ กรชายเดินหลุดเฟรมไปเช่นเดียวกัน แล้วแพนต่อเนื่องติดตามแอ็คชั่ นของพระเอกจนถึงโต๊ะที่วาง ซึ่งบริกรชายเป็นเพียงซับเจ็คตัวนำาจุด ่ สนใจเกี่ยวกับ แอ็คชั่นใด ๆ ของท้องเรื่องหรือในฉากเต้นรำาในห้อง โถง กล้องอาจแพนจับคู่เต้นรำาจากคู่หนึ่งไปอีกคู่หนึ่ง เป็นจังหวะ ทำาให้ได้อารมณ์ของความรื่นเริง ซึ่งการแพนกล้องนอกจากจะสามารถ อธิบายสถานการณ์ของฉากและเรื่องได้แล้ว ยังทำาหน้าที่คล้ายกับตัว ละครตัวหนึ่งอีกด้วย อัตราความเร็วของการแพนกล้อง ให้ความหมาย และความรู้สึกได้ เช่น การแพนอย่างช้า ๆ (slow panning) ให้ความรู้สึก สบาย ๆ เชื่องช้าหรือเหนื่อยหน่ายได้ ส่วนการแพนอย่างรวดเร็ว (swish pan) ทำาให้ภาพพร่ามัวไม่คมชัด ให้ความหมายของการเปลียนแปลงที่ ่ รวดเร็วของกาลเวลาหรือการกลายร่าง เป็นต้น 2. การแทรค (Tracking) การแทรคเป็นการเคลื่อนกล้องจากตำาแหน่งหนึ่งไปยังอีก ตำาแหน่งหนึ่ง ใช้ในการติดตามผู้แสดงหรือสำารวจตรวจตราพื้นที่ (space) ในเนื้อเรื่อง หรืออาจเป็นช็อตที่มีซับเจ็คเดียว หรือซีเค วนส์ช็อตทีมีความซับซ้อนที่ต้องการบอกเรื่องราวมากมายพร้อมกับ ่
  • 9. ต้องเปลี่ยนสถานทีและองค์ประกอบของภาพที่อยู่ในช็อตที่มีการ ่ เคลื่อนไหวไปพร้อมกันในเวลาเดียวกันการแทรคมักติดตั้งกล้องทียาน ่ พาหนะ เช่น รถยนต์ ใช้ในการติดตามผู้แสดง เช่นในฉากไล่ลากัน ่ (chase sequence) หรือใช้ติดตั้งบนดอลลี่ทั้งประเภทล้อและรางส่วนการ เคลื่อนกล้องเข้าหาผู้แสดงหรือออกจากผู้แสดง เรียกว่าการดอลลี่ คือ dolly in และ dolly out แต่ในปัจจุบันความหมายระหว่าง dolly กับ track นั้นใช้ปะปนกัน ดังเช่นผู้กำากับบางคนเรียกการเคลื่อนกล้องที่ใช้ยาน พาหนะพาไป เช่น รถยนต์ รถจักรยาน เป็นดอลลี่ช็อต หรือ แทรคกิ้งช็อต (tracking shot หรือ traveling shot) ทั้งสิ้น ทังนี้เพื่อง่ายต่อ ้ ความเข้าใจของทีมงาน แทรคกิ้งช็อต เป็นการเคลื่อนกล้องที่มี ลักษณะพิเศษ ได้เปรียบกว่าการเคลื่อนกล้องที่อยู่กับที่ กล่าวคือ เรา สามารถถ่ายแอ็คชั่นและพื้นที่ของฉากให้เห็นรายละเอียดได้มากกว่า และยังเป็นช็อตที่รักษาอารมณ์ของคนดูได้ยาวนานอีกด้วย เช่น ใน ฉากตลาดทีทีคนเดินซื้อของมากมาย หากใช้กล้องอยู่ในตำาแหน่ง ่ ท่ามกลางผู้คนเป็นการเข้าไปอยู่ในแอ็คชั่น (in the action) กล้องทำา หน้าที่คล้ายเป็นส่วนหนึ่งของแอ็คชั่น แต่ถ้าตั้งกล้องอยู่ด้านนอก ตลาดเห็นเดินไปมา เป็นการเฝ้าสังเกตแอ็คชั่นโดยรวม ดังนั้น ข้อได้ เปรียบของการแทรคกิ้งช็อต คือ ทำาให้เราสามารถพากล้องไหลเข้าไป อยู่ในเหตุการณ์และออกมานอกเหตุการณ์ หรือแอ็คชั่นได้ในขณะ เดียวกัน อันเป็นปัจจัยสำาคัญในการกำาหนดภาพ ใช้เป็นโครงสร้างของ เนื้อเรื่องได้หลากหลายมากขึ้น และนอกจากนี้แทรคกิ้งช็อตยังเป็นตัว ดึงเวลาของช็อตให้ยาวนานขึ้น เป็นการรักษาอารมณ์ของคนดูให้ต่อ เนื่อง ทำาให้เราสามารถเน้นหรือเปลียนอารมณ์คนดูได้ภายในช็อต ่ เดียวกัน ต่างจากการตั้งกล้องอยู่กับที่โดยใช้การแพน หรือการเปลี่ยน ภาพจากขนาดใกล้เป็นไกล หรือจากไกลเป็นใกล้ ซึ่งเป็นเพียงการ เพิ่มหรือลดความสำาคัญของซับเจ็คในช็อตเท่านั้น และยังไม่สามารถ ดึงเวลาของช็อตให้ยาวนานขึ้นพร้อมกับรักษาจุดสนใจของภาพไปใน ขณะเดียวกันด้วยการแทรคกล้องต้องมีการวางแผนการทำางาน ซึ่ง อาศัยหลักสองประการคือ หนึ่ง ความสัมพันธ์ของกล้องที่เคลื่อนกับ แอ็คชั่น และสอง คือระยะห่างระหว่างกล้องกับซับเจ็ค ทังสองประการ ้ นี้ เป็นหนึ่งในหลายวิธีการของการ "แตก" ช็อตของแต่ละซีนในบท ภาพยนตร์ กล่าวคือ การกำาหนดช็อตของแต่ละฉากที่มีการเคลื่อนไหว นั้น ต้องถามตัวเองอยู่เสมอว่า ฉากนั้นมีมุมมองอย่างไร และอารมณ์ที่ เหมาะสมระหว่างคนดูกับผู้แสดงว่าจะอยู่ห่างกันเท่าไร ซึงเราพอจะมี ่ ภาพเคลื่อนไหวอยู่ในหัวบ้างแล้วหลังจากได้อ่านบทครั้งแรก ดังนั้น การวางแผนนี้ จะช่วยให้เราสามารถเน้นสิ่งสำาคัญที่ต้องการนำาเสนอใน ช็อตนั้นได้ดังที่เราจินตนาการไว้ นอก จากนี้ยังช่วยให้เราสามารถถ่าย ครอบคลุมฉากที่มบทสนทนาและแอ็คชั่นที่ซับซัอนให้งายขึ้นการ ี ่
  • 10. แทรคกล้องเป็นการเผยให้เห็นซับเจ็คหรือแอ็คชั่นและสถานที่อย่างช้า ๆ โดยเน้นเฉพาะจุดสนใจในฉากนั้น ๆ และนอกจากนี้ภายในช็อต เดียวกันกล้องยังสามารถเปลียนขนาดภาพจากใกล้ (close-up) เปิดให้ ่ เห็นมุมกว้างขึ้น หรือขณะเดียวกัน จากภาพขนาดไกล กล้องค่อย ๆ เน้นให้เห็นรายละเอียดใกล้ขึ้น แต่ในทางปฏิบัติกล้องสามารถแทรค ได้อย่างอิสระ ไม่ว่าทางตรง แนวโค้ง เลี้ยวทำามุมเป็นวงกลม เดินหน้า และถอยหลัง ผ่านประตูหน้าต่าง ตลอดจนเปลี่ยนความเร็วของแทรค ภายในช็อตก็ย่อมทำาได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างของการแทรคกล้อง 1. การแทรคกล้องให้มีความเร็วเท่ากับการเคลื่อนที่ของซับเจ็คการ แทรคกล้องวิธีนี้นิยมใช้กัน เรามักเห็นและคุ้นเคยในหนังส่วนใหญ่ที่ใช้ ติดตามผู้แสดงหลักประมาณ 2-3 คน ด้วยความเร็วเท่ากัน โดยรักษา ระยะห่างระหว่างกล้องและซับเจ็คเท่ากัน ส่วนตำาแหน่งกล้องสามารถ วางไว้ด้านหน้า ด้านหลัง หรือคู่ขนานเยื้องด้านหน้าหรือด้านหลังก็ ได้ โดยใช้ขนาดภาพเต็มตัวปานกลาง หรือภาพใกล้ตามความเหมาะสม เช่น ในฉากที่ใช้กันบ่อย ๆ คือฉากสนทนากันในรถ ในเรือ บนหลังม้า หรือในยานพาหนะอื่น ๆ โดยเฉพาะอย่างยิงในฉากแอ็คชั่น หรือ chase ่ sequence จะได้ผลมากเมื่อติดตั้งกล้องไว้ที่กระโปรงรถหรือด้านข้าง ประตูรถให้เคลื่อนพร้อมกับซับเจ็คที่วิ่งเคลื่อนไปอย่างรวดเร็ว 2. การแทรคกล้องให้มีความเร็วไวหรือช้ากว่าการเคลื่อนที่ของซับเจ็ค การแทรคกล้องลักษณะนี้คล้ายกับประการแรก แต่มีข้อแตกต่าง อยู่ที่กล้องมีความเร็วไม่เท่ากับซับเจ็ค โดยซับเจ็คเคลื่อนที่เข้าหา กล้องหรือซับเจ็คถูกปล่อยทิ้งไว้ด้านหลังขณะที่กล้องแทรคเลยหน้า ไป วิธีนี้จะช่วยให้ตากล้องสามารถปล่อยให้ซับเจ็คเข้าออกเฟรมได้ใน ขณะที่กล้องกำาลังแทรคอยู่ เช่น ในฉากวิ่งแข่ง เราสามารถแทรก กล้องให้เร็วกว่านักวิง แล้วผ่านเลยขึ้นหน้าไปโดยที่ไม่ตัด ถ้าหากใช้ ่ ในฉากแอ็คชั่นจะให้ความรู้สึกตื่นเต้นมากกว่าการแทรคธรรมดาที่คู่ ขนานกับซับเจ็ค เพราะภาพจะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอด เวลาภาย ในช็อตเดียวกันตั้งแต่แอ็คชั่นของซับเจ็ค ระยะของเปอร์สเปคตีฟ ทั้งหมดจะมีพลังความเคลื่อนไหวที่กำาลังผ่านเฟรมของกล้องไป เท่ากับเป็นการตรึงความเร้าใจของคนดูมากกว่าการแทรคที่มีความเร็ว เท่ากับการเคลื่อนที่ของซับเจ็ค 3. การแทรคเข้าหาหรือออกจากซับเจ็ค นอกจากการแทรคกล้องทีมีการเคลื่อนที่ของซับเจ็คด้วยแล้ว ยัง ่ มีการแทรคเข้าหาหรือออกจากซับเจ็คด้วย การแทรคกล้องชนิดนี้มัก
  • 11. เรียกว่า การดอลลี่เข้า (dolly in) และดอลลี่ออก (dolly out) ผลจากการ เคลื่อนกล้องลักษณะนี้ ทำาให้เกิดการเน้นและการลดความสำาคัญของ ซับเจ็คในภาพ เช่น การดอลลี่เข้าไปที่ใบหน้าของตังแสดงใช้ สำาหรับเน้นความรู้สึกบางอย่างของตัวละครในช่วงขณะ หนึ่ง เช่น ใน ฉากหนึ่งที่พระเอกแอบรักหลงใหลในนางเอกในห้องเรียน กล้องค่อย ๆ ดอลลี่เข้าหาพระเอกเป็นภาพขนาดใกล้ที่กำาลังแอบมองนางเอกอยู่ อย่างเงียบ ๆ เป็นต้น ในทางตรงกันข้าม การดอลลี่ออกจากซับเจ็ค นอกจากหมายถึงลดความสำาคัญของซับเจ็คแล้ว ยังหมายถึงการจาก ไปหรือการทิ้งให้อยู่ข้างหลังอย่างโดดเดี่ยวได้อีกด้วย เราพบเห็น ตัวอย่างในหนังบ่อยมากในฉากชานชาลา สถานีรถไฟที่คู่รักต้อง พลัดพรากจากกัน หรือแม่ต้องพลัดพรากจากลูก โดยให้กล้องติดอยู่ บนรถไฟ ค่อย ๆ แล่นออกไป ตัวละครที่อยู่บนชานชาลาต้องถูกทิงให้ ้ โดดเดี่ยวอยู่ตามลำาพัง การแทรคกล้องหมุนรอบซับเจ็ค การแทรคกล้องลักษณะนี้อาจเรียกว่าการดอลลี่รอบตัวซับเจ็ค ซึ่งต้องอาศัยรางดอลลี่โค้งเป็นวงกลม โดยมีผแสดงอยู่ตรงกลาง ู้ ตัวอย่างฉากที่พบมาได้แก่ ฉากเต้นรำา โต๊ะสนุ๊ก และโต๊ะประชุมทีมีคน ่ นั่งรอบ ๆ เป็นต้น ซึงเมื่อกล้องดอลลี่ช้า ๆ ของโต๊ะประชุมในฉาก อาจ ่ ช่วยเผยให้เห็นใบหน้าของตัวละครทีละตัวสร้างความน่าสนใจใน ภาพยนตร์ได้มาก การเครน (Craning) การเครน คือ การถ่ายภาพที่กล้องตั้งอยูบนแขนของดอลลี่ขนาด ่ ใหญ่ เรียกว่า cherry picker หรือ crane truck สามารถเคลื่อนที่ได้หลาย ทิศทาง ทังแนวนอนและแนวตั้ง โดยเคลื่อนกล้องให้สูงขึ้น เห็นเป็น ้ ภาพมุมกว้างต่อเนื่องกัน หรือลดให้กล้องตำ่าลงรับแอ็คชั่น ภาพที่ได้ จากการเครนกล้องให้ความรู้สึกที่สง่าผ่าเผย ตรึงความสนใจของคนดู ทำาให้ลืมซับเจ็คไปชั่วขณะ เพราะความตะลึงในมุมมองทีแปลกและ ่ ระยะภาพที่กำาลังเปลียนไป ในภาพยนตร์ประเภท Epic ของฮอลลีวู้ด ่ มักใช้เป็น establishing shot เป็นการเปิดฉากแรกเริ่มเพื่อเน้นความรู้สึก ยิ่งใหญ่ที่อยู่เบื้องหน้าและแสดงลักษณะแวดล้อมของภูมิทัศน์ไปใน เวลาเดียวกัน และถ้าหากเคลื่อนกล้องผ่านเข้าในพื้นที่ (space) ยิ่ง ทำาให้เกิดความรู้สึกทะลุมิติของความลึกอีกด้วย การใช้เครนช็อตมัก เสียเวลาในการถ่ายทำา ดังนั้นควรมีการวางแผนและเตรียมการอย่าง ระมัดระวัง บางครั้งต้องมีการใช้หุ่นจำาลองของฉากเพื่อวางแผนการ เครนและการเคลื่อนที่ของกล้อง ปัจจุบันมีการใช้คอมพิวเตอร์ช่วย
  • 12. ออกแบบฉาก สามารถหมุนและมองเห็นได้ทุกมุม ทั้งสูงและตำ่า ช่วย เป็นแนวทางให้มองเห็นภาพการเครนก่อนลงมือถ่ายทำาได้เป็นอย่างดี การถือกล้องถ่าย (Handheld Camera) การถือกล้องถ่ายภาพเป็นการเคลื่อนที่กล้องที่ทำาให้ภาพไหวอยู่ ตลอดเวลา ลักษณะเป็นการถ่าย ภาพที่ไม่เป็นแบบแผนเหมือนการ เคลื่อนกล้องแบบอื่น ๆ ซึงให้ความรู้สึกว่าคนดูอยู่ ณ ที่นั้น หรือมีส่วน ่ ร่วมในเหตุการณ์นั้น โดยใช้กล้องถ่ายทอดความสับสนอลหม่าน ฉุกเฉิน รวดเร็วของแอ็คชั่น แต่อย่างไรก็ตาม การถือกล้องถ่ายภาพ หากใช้ไม่ถูกกาละเทศะ อาจเป็นตัวทำาลายภาพยนตร์ได้การถ่ายภาพ ด้วยวิธีนี้เป็นที่นิยมกันมาช้านาน และใช้กันมากในภาพยนตร์สารคดี และภาพยนตร์ทดลอง จนกระทั่งนำามาใช้ในภาพยนตร์บันเทิงด้วย กล่าวคือ ในปีทศวรรษที่ 1950 ได้มีการพัฒนาเครื่องมืออุปกรณ์ตลอด จนเครื่องบันทึกเสียงสำาหรับการถ่ายทำาภาพยนตร์สารคดีมีนำ้าหนักเบา สามารถเคลื่อนย้ายกองถ่ายไปสะดวกเกือบทุกสถานที่และสภาวะ แวดล้อม ส่วนภาพยนตร์ทดลองที่ดี ๆ หลายเรื่องก็ใช้การถือกล้องถ่าย ภาพเพื่อเป็นการหลีกหนีความจำาเจ และการถ่ายทำารูปแบบดั้งเดิม ตายตัว แสวงหาความแปลกใหม่และถูกนำามาใช้ในภาพยนตร์บันเทิง เพราะให้ภาพของความรู้สึก สด ในการจับแอ็คชั่ นที่เกิดขึ้น เช่น ในฉากระเบิดหรือเครื่องบินทิงระเบิด เห็น ้ ไฟลุกควันฟุ้งกระจายไปทั่วทั้งภาพที่ฝูงชน วิ่งหนีสับสนอลหม่าน เพื่อให้เกิดความสมจริง และเห็นอันตรายทีกำาลังเกิดขึ้น ่ ------------------------------------------------------------ ทีำมาของข้อมูล : หนังสือ "นักสร้าง สร้างหนัง หนังสั้น" หน้า 213- 229 ครูรัฐนภา รัชชะจิตติ ผู้สอน