SlideShare a Scribd company logo
1 of 132
Download to read offline
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ทาไมต้ องเรียนสั งคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
              สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ วตลอดเวลา กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สังคมศึกษา ศาสนา และ
วัฒนธรรม ช่วยให้ผเู ้ รี ยนมีความรู ้ ความเข้าใจ ว่ามนุษย์ดารงชีวตอย่างไร ทั้งในฐานะปัจเจกบุคคล และการ
                                                                 ิ
อยูร่วมกันในสังคม การปรับตัวตามสภาพแวดล้อม การจัดการทรัพยากรที่มีอยูอย่างจากัด นอกจากนี้ ยังช่วย
   ่                                                                           ่
ให้ผเู ้ รี ยนเข้าใจถึงการพัฒนา เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย กาลเวลา ตามเหตุปัจจัยต่างๆ ทาให้เกิดความเข้าใจใน
ตนเอง และผูอื่น มีความอดทน อดกลั้น ยอมรับในความแตกต่าง และมีคุณธรรม สามารถนาความรู้ไปปรับ
                   ้
ใช้ในการดาเนินชีวิต เป็ นพลเมืองดีของประเทศชาติ และสังคมโลก

เรียนรู้ อะไรในสั งคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
            กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมว่าด้วยการอยู่ร่วมกันในสังคม ที่มีความ
เชื่ อ มสั ม พัน ธ์ ก ัน และมี ค วามแตกต่ า งกัน อย่า งหลากหลาย เพื่ อ ช่ ว ยให้ ส ามารถปรั บ ตนเองกับ บริ บ ท
สภาพแวดล้อม เป็ นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู ้ ทักษะ คุณธรรม และค่านิ ยมที่เหมาะสม โดยได้
กาหนดสาระต่างๆไว้ ดังนี้
             ศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริ ยธรรม หลักธรรม
ของพระพุทธศาสนาหรื อศาสนาที่ตนนับถือ การนาหลักธรรมคาสอนไปปฏิบติในการพัฒนาตนเอง และการ  ั
อยู่ร่ ว มกัน อย่า งสั น ติ สุ ข เป็ นผูก ระท าความดี มี ค่ า นิ ย มที่ ดี ง าม พัฒ นาตนเองอยู่เ สมอ รวมทั้ง บ าเพ็ ญ
                                        ้
ประโยชน์ต่อสังคมและส่ วนรวม
             หน้ าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชี วิต ระบบการเมืองการปกครองในสังคมปั จจุบน                      ั
การปกครองระบอบประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ย ์ทรงเป็ นประมุข ลักษณะและความสาคัญ การเป็ น
พลเมื อ งดี ความแตกต่ า งและความหลากหลายทางวัฒ นธรรม ค่ า นิ ย ม ความเชื่ อ ปลู ก ฝั ง ค่ า นิ ย มด้า น
ประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ย ์ทรงเป็ นประมุข สิ ทธิ หน้าที่ เสรี ภาพการดาเนิ นชี วิตอย่างสันติสุขใน
สังคมไทยและสังคมโลก
             เศรษฐศาสตร์ การผลิ ต การแจกจ่าย และการบริ โภคสิ นค้าและบริ การ การบริ หารจัดการ
ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ การดารงชี วิตอย่างมี ดุลยภาพ และการนาหลักเศรษฐกิ จ
พอเพียงไปใช้ในชีวตประจาวัน
                         ิ
๒

           ประวัติศาสตร์ เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ พัฒนาการของ
มนุ ษยชาติ จากอดี ตถึ งปั จจุ บน ความสัม พันธ์ และเปลี่ ย นแปลงของเหตุ การณ์ ต่า งๆ ผลกระทบที่ เกิ ดจาก
                               ั
เหตุการณ์สาคัญในอดีต บุคคลสาคัญที่มีอิทธิ พลต่อการเปลี่ยนแปลงต่างๆในอดีต ความเป็ นมาของชาติไทย
วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย แหล่งอารยธรรมที่สาคัญของโลก
           ภูมิศาสตร์ ลักษณะของโลกทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพ แหล่งทรัพยากร และภูมิอากาศ
ของประเทศไทย และภูมิภาคต่างๆ ของโลก การใช้แผนที่และเครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ ความสัมพันธ์กนของ    ั
                                                     ั
สิ่ งต่างๆ ในระบบธรรมชาติ ความสัมพันธ์ของมนุ ษย์กบสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ และสิ่ งที่มนุ ษย์สร้าง
ขึ้น การนาเสนอข้อมูลภูมิสารสนเทศ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยงยืน
                                                                           ั่

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
มาตรฐาน ส ๑.๑       รู้ และเข้าใจประวัติ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรื อศาสนา
                    ที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมัน และปฏิบติตามหลักธรรม เพื่อ
                                                                    ่        ั
                    อยูร่วมกันอย่างสันติสุข
                         ่
มาตรฐาน ส ๑.๒       เข้าใจ ตระหนักและปฏิบติตนเป็ นศาสนิกชนที่ดี และธารงรักษาพระพุทธศาสนา
                                              ั
                    หรื อศาสนาที่ตนนับถือ

สาระที่ ๒ หน้ าทีพลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวตในสั งคม
                 ่                                 ิ
มาตรฐาน ส ๒.๑         เข้าใจและปฏิบติตนตามหน้าที่ของการเป็ นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และ
                                     ั
                      ธารงรั กษาประเพณี และวัฒนธรรมไทย ดารงชี วิตอยู่ร่วมกันในสั งคมไทย และ
                      สังคมโลกอย่างสันติสุข
มาตรฐาน ส ๒.๒         เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปั จจุบน ยึดมัน ศรัทธา และธารงรักษา
                                                                 ั        ่
                      ไว้ซ่ ึงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข
                                                                               ์

สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส.๓.๑       เข้าใจและสามารถบริ หารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริ โภคการใช้
                                    ่
                    ทรัพยากรที่มีอยูจากัดได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและคุมค่า รวมทั้งเข้าใจ
                                                                     ้
                    หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดารงชีวตอย่างมีดุลยภาพ
                                                                  ิ
มาตรฐาน ส.๓.๒      เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ
                   และความจาเป็ นของการร่ วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
๓

สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๑       เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้
                    วิธีการทางประวัติศาสตร์ มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็ นระบบ
มาตรฐาน ส ๔.๒       เข้าใจพัฒนาการของมนุ ษยชาติจากอดีตจนถึงปั จจุบน ในด้านความสัมพันธ์และ
                                                                      ั
                    การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ อย่างต่อเนื่ อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ
                    วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
มาตรฐาน ส ๔.๓       เข้ า ใจความเป็ นมาของชาติ ไ ทย วัฒ นธรรม ภู มิ ปั ญ ญาไทย มี ค วามรั ก
                    ความภูมิใจและธารงความเป็ นไทย

สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส ๕.๑            เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่ งซึ่ งมีผล ต่อกัน
                         และกันในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่ และเครื่ องมื อทางภู มิ ศาสตร์ ในการ
                         ค้นหาวิเคราะห์ สรุ ป และใช้ ขอมูลภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
                                                      ้
มาตรฐาน ส ๕.๒            เข้าใจปฏิสมพันธ์ระหว่างมนุ ษย์กบสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิด
                                    ั                    ั
                         การสร้างสรรค์วฒนธรรม มีจิตสานึก และมีส่วนร่ วมในการอนุ รักษ์ ทรัพยากร
                                        ั
                         และสิ่ งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยงยืน
                                                           ่ั

คุณภาพผู้เรียน
         จบชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓

            ได้เรี ยนรู ้เรื่ องเกี่ยวกับตนเองและผูที่อยูรอบข้าง ตลอดจนสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น ที่อยูอาศัย
                                                     ้ ่                                              ่
และเชื่องโยงประสบการณ์ไปสู่ โลกกว้าง
            ผูเ้ รี ย นได้รับการพัฒนาให้มี ทก ษะกระบวนการ และมี ขอมู ลที่ จาเป็ นต่ อการพัฒนาให้เป็ น
                                                   ั                     ้
ผูมีคุณธรรม จริ ยธรรม ประพฤติปฏิบติตามหลักคาสอนของศาสนาที่ตนนับถือ มีความเป็ นพลเมืองดี มี
   ้                                           ั
ความรับผิดชอบ การอยูร่วมกันและการทางานกับผูอื่น มีส่วนร่ วมในกิจกรรมของห้องเรี ยน และได้ฝึกหัด
                               ่                          ้
ในการตัดสิ นใจ
            ได้ศึ กษาเรื่ องราวเกี่ ยวกับตนเอง ครอบครั ว โรงเรี ยน และชุ มชนในลักษณะการบู รณาการ
ผูเ้ รี ยนได้เข้าใจแนวคิดเกี่ ยวกับปั จจุบนและอดี ต มีความรู ้ พ้ืนฐานทางเศรษฐกิ จได้ขอคิดเกี่ ยวกับรายรับ-
                                             ั                                        ้
รายจ่ายของครอบครัว เข้าใจถึงการเป็ นผูผลิต ผูบริ โภค รู ้จกการออมขั้นต้นและวิธีการเศรษฐกิจพอเพียง
                                                 ้    ้        ั
            ได้ รั บ การพัฒ นาแนวคิ ด พื้ น ฐานเกี่ ย วกั บ ศาสนา ศี ล ธรรม จริ ยธรรม หน้ า ที่ พ ลเมื อ ง
เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และภูมิปัญญา เพื่อเป็ นพื้นฐานในการทาความเข้าใจในขั้นที่สูงต่อไป
๔

         จบชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖

          ได้เรี ย นรู ้ เรื่ อ งของจัง หวัด ภาค และประทศของตนเอง ทั้ง เชิ ง ประวัติศ าสตร์ ลัก ษณะทาง
กายภาพ สังคม ประเพณี และวัฒนธรรม รวมทั้งการเมืองการปกครอง สภาพเศรษฐกิ จโดยเน้นความเป็ น
ประเทศไทย
          ได้รับการพัฒนาความรู้และความเข้าใจ ในเรื่ องศาสนา ศีลธรรม จริ ยธรรม ปฏิบติตนตามหลัก
                                                                                           ั
คาสอนของศาสนาที่ตนนับถือ รวมทั้งมีส่วนร่ วมศาสนพิธี และพิธีกรรมทางศาสนามากยิงขึ้น      ่
          ได้ศึ ก ษาและปฏิ บ ัติตนตามสถานภาพ บทบาท สิ ท ธิ ห น้า ที่ ใ นฐานะพลเมื องดี ข องท้องถิ่ น
จังหวัด ภาค และประเทศ รวมทั้งได้มีส่วนร่ วมในกิ จกรรมตามขนบธรรมเนี ยมประเพณี วัฒนธรรม ของ
ท้องถิ่นตนเองมากยิงขึ้น
                    ่
          ได้ศึกษาเปรี ยบเทียบเรื่ องราวของจังหวัดและภาคต่างๆของประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน
ได้รับการพัฒนาแนวคิดทางสังคมศาสตร์ เกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริ ยธรรม หน้าที่พลเมือง เศรษฐศาสตร์
ประวัติศาสตร์ และภูมิศาสตร์ เพื่อขยายประสบการณ์ไปสู่ การทาความเข้าใจ ในภูมิภาค ซี กโลกตะวันออก
และตะวันตกเกี่ยวกับศาสนา คุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยมความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม การ
ดาเนินชีวต การจัดระเบียบทางสังคม และการเปลี่ยนแปลงทางสังคมจากอดีตสู่ ปัจจุบน
          ิ                                                                       ั

         จบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓

          ได้เรี ย นรู ้ แ ละศึ ก ษาเกี่ ย วกับ ความเป็ นไปของโลก โดยการศึ ก ษาประเทศไทยเปรี ย บเที ย บ
กับประเทศในภูมิภาคต่างๆในโลก เพื่อพัฒนาแนวคิด เรื่ องการอยูร่วมกันอย่างสันติสุข
                                                                  ่
          ได้เรี ยนรู ้ และพัฒนาให้มีทกษะที่จาเป็ นต่อการเป็ นนักคิดอย่างมีวิจารณญาณได้รับการพัฒนา
                                              ั
แนวคิด และขยายประสบการณ์ เปรี ยบเทียบระหว่างประเทศไทยกับประเทศในภูมิภาคต่าง ๆ ในโลก ได้แก่
เอเชีย โอเชียเนีย แอฟริ กา ยุโรป อเมริ กาเหนื อ อเมริ กาใต้ ในด้านศาสนา คุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิ ยม ความ
เชื่ อ ขนบธรรมเนี ยม ประเพณี วัฒนธรรม การเมืองการปกครอง ประวัติศาสตร์ และภูมิศาสตร์ ด้วยวิธีการ
ทางประวัติศาสตร์ และสังคมศาสตร์
          ได้รับการพัฒนาแนวคิดและวิเคราะห์ เหตุก ารณ์ ในอนาคต สามารถนามาใช้เป็ นประโยชน์
ในการดาเนินชีวตและวางแผนการดาเนินงานได้อย่างเหมาะสม
                 ิ

         จบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๖

         ได้เรี ยนรู้และศึกษาความเป็ นไปของโลกอย่างกว้างขวางและลึกซึ้ งยิงขึ้น
                                                                          ่
         ได้รับการส่ งเสริ มสนับสนุ นให้พฒนาตนเองเป็ นพลเมืองที่ดี มีคุณธรรม จริ ยธรรม ปฏิบติตาม
                                             ั                                              ั
หลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถื อ รวมทั้งมีค่านิ ยมอันพึงประสงค์ สามารถอยู่ร่วมกับผูอื่นและอยูในสังคม
                                                                                ้        ่
ได้อย่างมีความสุ ข รวมทั้งมีศกยภาพเพื่อการศึกษาต่อในชั้นสู งตามความประสงค์ได้
                             ั
๕

          ได้เ รี ย นรู้ เ รื่ องภู มิ ปั ญ ญาไทย ความภู มิ ใ จในความเป็ นไทย ประวัติ ศ าสตร์ ข องชาติ ไ ทย
ยึดมันในวิถีชีวต และการปกครองระบอบประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข
     ่         ิ                                                               ์
          ได้รับ การส่ งเสริ มให้มี นิสั ยที่ ดีใ นการบริ โภค เลื อกและตัดสิ นใจบริ โภคได้อย่างเหมาะสม
มีจิตสานึ ก และมีส่วนร่ วมในการอนุ รักษ์ ประเพณี วฒนธรรมไทย และสิ่ งแวดล้อม มีความรักท้องถิ่ นและ
                                                            ั
ประเทศชาติ มุ่งทาประโยชน์ และสร้างสิ่ งที่ดีงามให้กบสังคม     ั
          เป็ นผูมีความรู้ความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ของตนเอง ชี้นาตนเองได้ และสามารถแสวงหา
                   ้
ความรู ้จากแหล่งการเรี ยนรู ้ต่างๆในสังคมได้ตลอดชีวต      ิ
๖

ตัวชี้วดและสาระการเรียนรู้ แกนกลาง
       ั
สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้ และเข้าใจประวัติ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรื อศาสนา
               ที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมันและปฏิบติตามหลักธรรม
                                                               ่       ั
               เพื่ออยูร่วมกันอย่างสันติสุข
                       ่
   ชั้น                  ตัวชี้วด
                                ั                        สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง
   ป.๑    ๑. บอกพุทธประวัติ หรื อประวัติของ     พุทธประวัติ
          ศาสดาที่ตนนับถือโดยสังเขป             ประสู ติ
                                                ตรัสรู้
                                                ปริ นิพพาน
          ๒. ชื่นชมและบอกแบบอย่างการดาเนิ น  สามเณรบัณฑิต
          ชีวตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก/
                ิ                               วัณณุปถชาดก
          เรื่ องเล่าและศาสนิกชนตัวอย่างตามที่  สุ วณณสามชาดก
                                                     ั
          กาหนด                                 พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูหว   ่ ั
                                                   ภูมิพลอดุลยเดช
                                                เจ้าพระยาสุ ธรรมมนตรี (หนูพร้อม)
          ๓. บอกความหมาย ความสาคัญ และ          พระรัตนตรัย
          เคารพพระรัตนตรัย ปฏิบติตามหลักธรรม
                                   ั              ศรัทธา พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
          โอวาท ๓ในพระพุทธศาสนา หรื อ           โอวาท ๓
          หลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามที่       ไม่ทาชัว  ่
          กาหนด                                      o เบญจศีล

                                                  ทาความดี
                                                     ° เบญจธรรม
                                                     ° สังคหวัตถุ ๔
                                                     ° กตัญญูกตเวทีต่อพ่อแม่ และ
                                                          ครอบครัว
                                                     ° มงคล ๓๘
                                                          - ทาตัวดี
                                                          - ว่าง่าย
                                                                    ่
                                                          - รับใช้พอแม่
๗

ชั้น                  ตัวชี้วด
                             ั                           สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง
                                                  ทาจิตให้บริ สุทธิ์ (บริ หารจิตและเจริ ญ
                                                     ปัญญา)
                                                พุทธศาสนสุ ภาษิต
                                                  อตฺ ตา หิ อตฺ ตโน นาโถ
                                                     ตนแลเป็ นที่พ่ ึงของตน
                                                  มาตา มิตฺต สเก ฆเร
                                                     มารดาเป็ นมิตรในเรื อนของตน
       ๔. เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา         ฝึ กสวดมนต์ และแผ่ เมตตา
       มีสติที่เป็ นพื้นฐานของสมาธิ ใน             รู้ความหมายและประโยชน์ของสติ
       พระพุทธศาสนา หรื อการพัฒนาจิตตาม            ฟังเพลงและร้องเพลงอย่างมีสติ
       แนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ                   เล่นและทางานอย่างมีสติ
        ตามที่กาหนด                                ฝึ กให้มีสติในการฟัง การอ่าน การคิด
                                                      การถามและการเขียน
ป.๒    ๑. บอกความสาคัญของพระพุทธศาสนา              พระพุทธศาสนาเป็ นเอกลักษณ์ของ
       หรื อศาสนาที่ตนนับถือ                          ชาติไทย
       ๒. สรุ ปพุทธประวัติต้ งแต่ประสู ติจนถึง
                             ั                  สรุ ปพุทธประวัติ
       การออกผนวชหรื อประวัติศาสดาที่ตนนับ         ประสู ติ
       ถือตามที่กาหนด                                   o เหตุการณ์หลังประสู ติ

                                                        o แรกนาขวัญ

                                                        o การศึกษา

                                                        o การอภิเษกสมรส

                                                        o เทวทูต ๔

                                                        o การออกผนวช

       ๓. ชื่นชมและบอกแบบอย่างการดาเนิ น           สามเณรราหุล
       ชีวตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก/
             ิ                                     วรุ ณชาดก
       เรื่ องเล่าและศาสนิกชนตัวอย่างตามที่        วานริ นทชาดก
       กาหนด                                       สมเด็จพระญาณสังวร (ศุข ไก่เถื่อน)
                                                   สมเด็จพระญาณสังวร
                                                      สมเด็จพระสังฆราช (เจริ ญ สุ วฑฺฒโน)
       ๔. บอกความหมาย ความสาคัญ และ             พระรั ตนตรั ย

       เคารพพระรัตนตรัย ปฏิบติตาม
                                ั                  ศรัทธา
๘

ชั้น                  ตัวชี้วด
                             ั                             สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง
       หลักธรรมโอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนา                โอวาท ๓
       หรื อหลักธรรมของศาสนาที่ตน                      ไม่ทาชัว ่
       นับถือตามที่กาหนด                                ° เบญจศีล
                                                       ทาความดี
                                                        ° เบญจธรรม
                                                        ° หิริ-โอตตัปปะ
                                                        ° สังคหวัตถุ ๔
                                                        ° ฆราวาสธรรม ๔
                                                        ° กตัญญูกตเวทีต่อครู อาจารย์ และ
                                                            โรงเรี ยน
                                                        ° มงคล ๓๘
                                                               - กตัญญู
                                                               - สงเคราะห์ญาติพี่นอง
                                                                                   ้
                                                       ทาจิตให้บริ สุทธิ์ (บริ หารจิตและ
                                                          เจริ ญปั ญญา)
                                                    พุทธศาสนสุ ภาษิต
                                                      นิมิตฺต สาธุรูปาน กตญฺ ญ กตเวทิตา
                                                        ความกตัญญ กตเวทีเป็ นเครื่ องหมาย
                                                        ของคนดี
                                                      พฺรหฺ มาติ มาตาปิ ตโร
                                                        มารดาบิดาเป็ นพรหมของบุตร
       ๕. ชื่นชมการทาความดีของตนเอง บุคคล             ตัวอย่างการกระทาความดีของตนเอง

       ในครอบครัวและในโรงเรี ยน ตามหลัก                 และบุคคลในครอบครัว และใน
       ศาสนา                                            โรงเรี ยน (ตามสาระในข้อ ๔)
       ๖. เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา               ฝึ กสวดมนต์ไหว้พระและแผ่เมตตา

       มีสติที่เป็ นพื้นฐานของสมาธิ ในพระพุทธ-        รู้ความหมายและประโยชน์ของสติและ
       ศาสนา หรื อการพัฒนาจิตตามแนวทาง                  สมาธิ
       ของศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่กาหนด                ฝึ กสมาธิ เบื้องต้น
                                                      ฝึ กสติเบื้องต้นด้วยกิจกรรมการ
                                                        เคลื่อนไหวอย่างมีสติ
                                                      ฝึ กให้มีสมาธิ ในการฟัง การอ่าน
                                                        การคิด การถาม และการเขียน
๙

ชั้น                 ตัวชี้วด
                            ั                             สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง
       ๗. บอกชื่อศาสนา ศาสดา และ                 ชื่อศาสนา ศาสดา และคัมภีร์ของศาสนา
       ความสาคัญของคัมภีร์ของศาสนาที่ตน           ต่ าง ๆ
       นับถือและศาสนาอื่นๆ                         พระพุทธศาสนา

                                                     o ศาสดา : พระพุทธเจ้า

                                                     o คัมภีร์ : พระไตรปิ ฎก

                                                   ศาสนาอิสลาม
                                                     o ศาสดา : มุฮมมัด
                                                                     ั
                                                     o คัมภีร์ : อัลกุรอาน

                                                   คริ สต์ศาสนา
                                                     o ศาสดา : พระเยซู

                                                     o คัมภีร์ : ไบเบิล

                                                   ศาสนาฮินดู
                                                     o    ศาสดา : ไม่มีศาสดา
                                                     o    คัมภีร์ : พระเวท พราหมณะ
                                                          อุปนิษท อารัณยกะ
                                                                  ั
ป.๓    ๑. อธิ บายความสาคัญของพระพุทธศาสนา          ความสัมพันธ์ของพระพุทธศาสนากับ
       หรื อศาสนาที่ตนนับถือ ในฐานะที่เป็ น            การดาเนิ นชีวตประจาวัน เช่น
                                                                       ิ
       รากฐานสาคัญของวัฒนธรรมไทย                       การสวดมนต์ การทาบุญ ใส่ บาตร
                                                       การแสดงความเคารพ การใช้ภาษา
                                                   พระพุทธศาสนามีอิทธิ พลต่อการ
                                                       สร้างสรรค์ผลงานทางวัฒนธรรมไทย
                                                       อันเกิดจากความศรัทธา เช่น วัด
                                                       ภาพวาด พระพุทธรู ป วรรณคดี
                                                       สถาปัตยกรรมไทย
       ๒. สรุ ปพุทธประวัติต้ งแต่การบาเพ็ญ
                             ั                     สรุ ปพุทธประวัติ (ทบทวน)
       เพียรจนถึงปริ นิพพาน หรื อประวัติของ        การบาเพ็ญเพียร
       ศาสดาที่ตนนับถือตามที่กาหนด                 ผจญมาร
                                                   ตรัสรู้
                                                   ปฐมเทศนา
                                                   ปริ นิพพาน
๑๐

ชั้น                    ตัวชี้วด
                               ั                           สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง
       ๓. ชื่นชมและบอกแบบอย่างการดาเนิ น              สามเณรสังกิจจะ
       ชีวตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก/
             ิ                                        อารามทูสกชาดก
       เรื่ องเล่าและศาสนิกชนตัวอย่าง ตามที่          มหาวาณิ ชชาดก
       กาหนด                                          สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺ มรสี )
                                                      สมเด็จพระเจ้าตากสิ นมหาราช
       ๔. บอกความหมาย ความสาคัญของ                    ความสาคัญของพระไตรปิ ฎก เช่น
       พระไตรปิ ฎก หรื อคัมภีร์ของศาสนาที่ตน           เป็ นแหล่งอ้างอิง ของหลักธรรมคาสอน
       นับถือ
       ๕. แสดงความเคารพพระรัตนตรัย และ          พระรัตนตรัย
       ปฏิบติตามหลักธรรมโอวาท ๓ ใน
            ั                                     ศรัทธา
       พระพุทธศาสนา หรื อหลักธรรมของ            โอวาท ๓
       ศาสนาที่ตนนับถือตามที่กาหนด                ไม่ทาชัว   ่
                                                    ° เบญจศีล
                                                  ทาความดี
                                                    ° เบญจธรรม
                                                    ° สติ-สัมปชัญญะ
                                                    ° สังคหวัตถุ ๔
                                                    ° ฆราวาสธรรม ๔
                                                    ° อัตถะ ๓ (อัตตัตถะ, ปรัตถะ,
                                                         อุภยัตถะ)
                                                    ° กตัญญูกตเวทีต่อชุมชน,
                                                         สิ่ งแวดล้อม
                                                    ° มงคล ๓๘
                                                         - รู้จกให้
                                                                ั
                                                         - พูดไพเราะ
                                                                  ่
                                                         - อยูในสิ่ งแวดล้อมที่ดี
                                                  ทาจิตให้บริ สุทธิ์ (บริ หารจิตและเจริ ญ
                                                     ปัญญา)
                                                พุทธศาสนสุ ภาษิต
                                                 ททมาโน ปิ โย โหติ
                                                      ้ ่
                                                    ผูให้ยอมเป็ นที่รัก
                                                 โมกฺโข กลฺ ยาณิ ยา สาธุ
                                                   เปล่งวาจาไพเราะให้สาเร็ จประโยชน์
๑๑

ชั้น                      ตัวชี้วด
                                 ั                     สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง
       ๖. เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา          ฝึ กสวดมนต์ ไหว้พระ สรรเสริ ญคุ ณ

       มีสติที่เป็ นพื้นฐานของสมาธิ ใน             พระรัตนตรัยและแผ่เมตตา
       พระพุทธศาสนา หรื อการพัฒนาจิต             รู้ความหมายและประโยชน์ของสติและ
       ตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ                สมาธิ
       ตามที่กาหนด                               รู้ประโยชน์ของการฝึ กสติ
                                                 ฝึ กสมาธิ เบื้องต้นด้วยการนับลมหายใจ
                                                 ฝึ กการยืน การเดิน การนัง และ
                                                                            ่
                                                   การนอน อย่างมีสติ
                                                 ฝึ กให้มีสมาธิ ในการฟั ง การอ่าน

                                                   การคิด การถาม และการเขียน
       ๗. บอกชื่อ ความสาคัญและปฏิบติตน
                                   ั             ชื่ อและความสาคัญของศาสนวัตถุ

       ได้อย่างเหมาะสมต่อศาสนวัตถุ                ศาสนสถานและ ศาสนบุคคล
       ศาสนสถาน และศาสนบุคคลของศาสนา               ในพระพุทธศาสนา ศาสนาอิสลาม
       อื่นๆ                                       คริ สต์ศาสนา ศาสนาฮินดู
                                                 การปฏิบติตนที่เหมาะสมต่อศาสนวัตถุ
                                                              ั
                                                  ศาสนสถานและศาสนบุคคลในศาสนา
                                                   อื่น ๆ
ป.๔    ๑. อธิ บายความสาคัญของพระพุทธศาสนา        พระพุทธศาสนา ในฐานะที่เป็ น
       หรื อศาสนาที่ตนนับถือ ในฐานะเป็ นศูนย์      เครื่ องยึดเหนี่ยวจิตใจ
       รวมจิตใจของศาสนิกชน                       เป็ นศูนย์รวมการทาความดี และพัฒนา
                                                   จิตใจ เช่น ฝึ กสมาธิ สวดมนต์
                                                   ศึกษาหลักธรรม
                                                 เป็ นที่ประกอบศาสนพิธี (การทอดกฐิน
                                                   การทอดผ้าป่ า การเวียนเทียน
                                                   การทาบุญ)
                                                 เป็ นแหล่งทากิจกรรมทางสังคม เช่น
                                                   การจัดประเพณี ทองถิ่น การเผยแพร่
                                                                       ้
                                                   ข้อมูลข่าวสารชุมชน และ
                                                   การส่ งเสริ มพัฒนาชุมชน
๑๒

ชั้น                  ตัวชี้วด ั                       สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง
       ๒. สรุ ปพุทธประวัติต้ งแต่บรรลุธรรม
                             ั                   สรุ ปพุทธประวัติ (ทบทวน)

       จนถึงประกาศธรรม หรื อประวัติศาสดาที่      ตรัสรู ้

       ตนนับถือตามที่กาหนด                       ประกาศธรรม ได้แก่

                                                  ° โปรดชฎิล
                                                  ° โปรดพระเจ้าพิมพิสาร
                                                  ° พระอัครสาวก
                                                  ° แสดงโอวาทปาฏิโมกข์
       ๓. เห็นคุณค่า และปฏิบติตนตาม
                                ั                พระอุรุเวลกัสสปะ
       แบบอย่างการดาเนินชี วตและข้อคิดจาก
                              ิ                  กุฏิทูสกชาดก
       ประวัติสาวก ชาดก/เรื่ องเล่าและ           มหาอุกกุสชาดก
       ศาสนิกชนตัวอย่าง ตามที่กาหนด              สมเด็จพระมหิ ตลาธิเบศร อดุลยเดช
                                                    วิกรม พระบรมราชชนก
                                                 สมเด็จพระศรี นคริ นทราบรมราชชนนี
       ๔. แสดงความเคารพ พระรัตนตรัย            พระรัตนตรัย

       ปฏิบติตามไตรสิ กขาและหลักธรรม
           ั                                       o ศรัทธา ๔

       โอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนา หรื อ             พระพุทธ
       หลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามที่          ° พุทธคุณ ๓
       กาหนด                                    พระธรรม
                                                  ° หลักกรรม
                                                พระสงฆ์
                                               ไตรสิ กขา

                                                ศีล สมาธิ ปัญญา
                                               โอวาท ๓

                                                ไม่ทาชัว
                                                        ่
                                                    o เบญจศีล

                                                    o ทุจริ ต ๓

                                                ทาความดี
                                                    o เบญจธรรม

                                                    o สุ จริ ต ๓

                                                    o พรหมวิหาร ๔
                                                    o กตัญญูกตเวทีต่อประเทศชาติ

                                                    o มงคล ๓๘

                                                           - เคารพ
                                                           - ถ่อมคน
                                                           - ทาความดีให้พร้อมไว้ก่อน
๑๓

ชั้น                   ตัวชี้วด
                              ั                          สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง
                                                  ทาจิตให้บริ สุทธิ์ (บริ หารจิตและเจริ ญปัญญา)
                                                พุทธศาสนสุ ภาษิต
                                                  สุ ขา สงฺ ฆสฺ ส สามคฺ คี
                                                    ความพร้อมเพรี ยงของหมู่ให้เกิดสุ ข
                                                  โลโกปตฺ ถมฺ ภิกา เมตฺ ตา
                                                   เมตตาธรรม ค้ าจุนโลก
       ๕. ชื่นชมการทาความดีของตนเอง บุคคล  ตัวอย่างการกระทาความดีของตนเอง
       ในครอบครัว โรงเรี ยนและชุมชนตาม            และบุคคลในครอบครัว ในโรงเรี ยน และ
       หลักศาสนา พร้อมทั้งบอกแนวปฏิบติใน  ั       ในชุมชน
       การดาเนินชีวต    ิ
       ๖. เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา          สวดมนต์ไหว้พระ สรรเสริ ญ

       มีสติที่เป็ นพื้นฐานของสมาธิ ใน             คุณพระรัตนตรัยและแผ่เมตตา
       พระพุทธศาสนา หรื อการพัฒนาจิต             รู ้ความหมายของสติสัมปชัญญะ สมาธิ

       ตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ                และปัญญา
       ตามที่กาหนด                               รู ้วธีปฏิบติของการบริ หารจิตและเจริ ญ
                                                       ิ      ั
                                                   ปัญญา
                                                 ฝึ กการยืน การเดิน การนัง และการนอน
                                                                               ่
                                                   อย่างมีสติ
                                                 ฝึ กการกาหนดรู ้ความรู ้สึก เมื่อตาเห็นรู ป

                                                   หูฟังเสี ยง จมูกดมกลิ่น ลิ้นลิ้มรส กาย
                                                   สัมผัสสิ่ งที่มากระทบ ใจรับรู้ธรรมารมณ์
                                                 ฝึ กให้มีสมาธิ ในการฟั ง การอ่าน การคิด

                                                   การถาม และการเขียน
       ๗. ปฏิบติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่  หลักธรรมเพื่อการอยูร่วมกันอย่าง
                 ั                                                          ่
       ตนนับถือ เพื่อการอยูร่วมกันเป็ นชาติได้
                             ่                     สมานฉันท์
       อย่างสมานฉันท์                             o เบญจศีล – เบญจธรรม

                                                  o ทุจริ ต ๓ – สุ จริ ต ๓

                                                  o พรหมวิหาร ๔

                                                  o มงคล ๓๘
๑๔

ชั้น                 ตัวชี้วด
                            ั                         สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง
                                                - เคารพ
                                                - ถ่อมตน
                                                - ทาความดีให้พร้อมไว้ก่อน
                                            o พุทธศาสนสุ ภาษิต : ความพร้ อม

                                                เพรี ยงของหมู่ให้เกิดสุ ข เมตตาธรรม
                                                ค้ าจุนโลก
                                            กตัญญูกตเวทีต่อประเทศชาติ
       ๘. อธิบายประวัติศาสดาของศาสนาอื่นๆ  ประวัติศาสดา
       โดยสังเขป                            o พระพุทธเจ้า

                                            o มุฮมมัด
                                                   ั
                                            o พระเยซู

ป.๕    ๑. วิเคราะห์ความสาคัญของ            มรดกทางวัฒนธรรมที่ได้รับจาก

       พระพุทธศาสนาหรื อศาสนาที่ตนนับถือ    พระพุทธศาสนา
       ในฐานะที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรมและ     o มรดกทางด้านรู ปธรรม เช่น

       หลักในการพัฒนาชาติไทย                   ศาสนสถาน โบราณวัตถุ
                                               สถาปัตยกรรม
                                            o มรดกทางด้านจิตใจ เช่น หลักธรรม

                                                 คาสั่งสอน ความเชื่อ และคุณธรรม
                                                 ต่าง ๆ
                                            การนาพระพุทธศาสนาไปใช้เป็ น
                                             แนวทางในการพัฒนาชาติไทย
                                            o พัฒนาด้านกายภาพ และสิ่ งแวดล้อม

                                               เช่น ภาวนา ๔ (กาย ศีล จิต
                                               ปัญญา) ไตรสิ กขา (ศีล สมาธิ ปัญญา)
                                               และอริ ยสัจสี่
                                            o พัฒนาจิตใจ เช่น หลักโอวาท ๓

                                               (ละความชัว ทาดี ทาจิตใจให้
                                                             ่
                                               บริ สุทธิ์ ) และการบริ หารจิตและเจริ ญ
                                               ปัญญา
๑๕

ชั้น                   ตัวชี้วดั                      สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง
       ๒. สรุ ปพุทธประวัติต้ งแต่เสด็จ
                             ั                 สรุ ปพุทธประวัติ (ทบทวน)
       กรุ งกบิลพัสดุจนถึงพุทธกิจสาคัญ
                     ์                         โปรดพระพุทธบิดา (เสด็จกรุ ง
       หรื อประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่       กบิลพัสดุ)    ์
       กาหนด                                   พุทธกิจสาคัญ ได้แก่ โลกัตถจริ ยา
                                                ญาตัตถจริ ยา และพุทธัตถจริ ยา
       ๓. เห็นคุณค่า และประพฤติตนตาม            พระโสณโกฬิวสะ    ิ
       แบบอย่างการดาเนินชี วตและข้อคิดจาก
                              ิ                 จูฬเสฏฐิชาดก
       ประวัติสาวก ชาดก/เรื่ องเล่าและ          วัณณาโรหชาดก
       ศาสนิกชนตัวอย่าง ตามที่กาหนด             สมเด็จพระสังฆราช (สา)
                                                อาจารย์เสถียร โพธินนทะ  ั
       ๔. อธิบายองค์ประกอบ และความสาคัญ       องค์ประกอบของพระไตรปิ ฎก

       ของพระไตรปิ ฎก หรื อคัมภีร์ของศาสนา       พระสุ ตตันตปิ ฎก
       ที่ตนนับถือ                               พระวินยปิ ฎก  ั
                                                 พระอภิธรรมปิ ฎก
                                              ความสาคัญของพระไตรปิ ฎก

       ๕. แสดงความเคารพพระรัตนตรัย            พระรั ตนตรั ย

       และปฏิบติตามไตรสิ กขาและหลักธรรม
                ั                                    o ศรัทธา ๔

       โอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนาหรื อ               พระพุทธ
       หลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ                   o พุทธจริ ยา ๓

       ตามที่กาหนด                               พระธรรม
                                                     o อริ ยสัจ ๔

                                                     o หลักกรรม

                                                 พระสงฆ์
                                              ไตรสิ กขา

                                                 ศีล สมาธิ ปัญญา
                                              โอวาท ๓

                                                 ไม่ทาชัว  ่
                                                     o เบญจศีล

                                                     o อบายมุข ๔
๑๖

ชั้น                 ตัวชี้วด
                            ั                           สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง
                                               ทาความดี
                                                     o เบญจธรรม

                                                     o บุญกิริยาวัตถุ ๓

                                                     o อคติ ๔

                                                     o อิทธิ บาท ๔

                                                     o กตัญญูกตเวทีต่อพระพุทธศาสนา

                                                     o มงคล ๓๘

                                                           - ใฝ่ รู้ ใฝ่ เรี ยน
                                                           - การงานไม่อากูล
                                                           - อดทน
                                               ทาจิตให้บริ สุทธิ์ (บริ หารจิตและเจริ ญ
                                                  ปัญญา)
                                             พุทธศาสนสุ ภาษิต
                                               วิริเยน ทุกฺขมจฺเจติ
                                                  คนจะล่วงทุกข์ได้เพราะความเพียร
                                               ปญฺ ญา โลกสฺ มิ ปชฺ โชโต
                                                  ปั ญญา คือ แสงสว่างในโลก
       ๖. เห็นคุณค่าและสวดมนต์แผ่เมตตา         สวดมนต์ไหว้พระ สรรเสริ ญ
       มีสติที่เป็ นพื้นฐานของสมาธิ ใน          คุณพระรัตนตรัยและแผ่เมตตา
       พระพุทธศาสนา หรื อการพัฒนาจิตตาม        รู้ความหมายของสติสัมปชัญญะ
       แนวทางของศาสนาที่ตนนับถือตามที่            สมาธิและปัญญา
       กาหนด                                   รู้วธีปฏิบติและประโยชน์ของ
                                                      ิ       ั
                                                  การบริ หารจิตและเจริ ญปั ญญา
                                               ฝึ กการยืน การเดิน การนัง และ   ่
                                                  การนอน อย่างมีสติ
                                               ฝึ กการกาหนดรู ้ความรู ้สึก เมื่อตา
                                                  เห็นรู ป หูฟังเสี ยง จมูกดมกลิ่น ลิ้น
                                                  ลิ้มรส กายสัมผัสสิ่ งที่มากระทบใจ
                                                  รับรู้ธรรมารมณ์
                                               ฝึ กให้มีสมาธิ ในการฟัง การอ่าน
                                                  การคิด การถามและการเขียน
๑๗

ชั้น                   ตัวชี้วด
                              ั                           สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง
       ๗. ปฏิบติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่
                ั                                       โอวาท ๓ (ตามสาระการเรี ยนรู้ขอ ๕)
                                                                                      ้
       ตนนับถือ เพื่อการพัฒนาตนเองและ
       สิ่ งแวดล้อม
ป.๖    ๑. วิเคราะห์ความสาคัญของพระพุทธ-                พระพุทธศาสนาในฐานะเป็ นศาสนา
       ศาสนาในฐานะเป็ นศาสนาประจาชาติ                   ประจาชาติ เช่น เป็ นเอกลักษณ์ของ
       หรื อความสาคัญของศาสนาที่ตนนับถือ                ชาติไทย เป็ นรากฐานทางวัฒนธรรม
                                                        ไทย เป็ นศูนย์รวมจิตใจ เป็ นมรดก
                                                        ทางวัฒนธรรมไทย และเป็ นหลัก
                                                        ในการพัฒนาชาติไทย
       ๒. สรุ ปพุทธประวัติต้ งแต่ปลงอายุสังขาร
                             ั                        สรุ ปพุทธประวัติ (ทบทวน)
       จนถึงสังเวชนียสถาน หรื อประวัติศาสดา           ปลงอายุสังขาร
       ที่ตนนับถือตามที่กาหนด                         ปัจฉิมสาวก
                                                      ปริ นิพพาน
                                                      การถวายพระเพลิง
                                                      แจกพระบรมสารี ริกธาตุ
                                                      สังเวชนียสถาน ๔
       ๓. เห็นคุณค่าและประพฤติตนตาม                   พระราธะ
       แบบอย่างการดาเนินชี วตและข้อคิดจาก
                              ิ                       ทีฆีติโกสลชาดก
       ประวัติสาวก ชาดก/เรื่ องเล่า และ               สัพพทาฐิชาดก
       ศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กาหนด                    พ่อขุนรามคาแหงมหาราช
                                                      สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรม-
                                                        พระปรมานุชิตชิโนรส
       ๔. วิเคราะห์ความสาคัญและเคารพ                พระรัตนตรัย
                                                          o ศรัทธา ๔
       พระรัตนตรัย ปฏิบติตามไตรสิ กขาและ
                        ั                             พระพุทธ
                                                         o พุทธกิจ ๕
       หลักธรรมโอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนา
                                                      พระธรรม
       หรื อหลักธรรมของศาสนาที่ตน                        o อริ ยสัจ ๔
                                                         o หลักกรรม
       นับถือตามที่กาหนด                              พระสงฆ์
                                                    ไตรสิ กขา
                                                      ศีล สมาธิ ปัญญา
                                                    โอวาท ๓
                                                      ไม่ทาชัว่
                                                          o เบญจศีล

                                                          o อบายมุข ๖

                                                          o อกุศลมูล ๓
๑๘

ชั้น                    ตัวชี้วด
                               ั                                สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง
                                                           ทาความดี
                                                               o เบญจธรรม

                                                               o กุศลมูล ๓

                                                               o พละ ๔

                                                               o คารวะ ๖

                                                               o กตัญญูกตเวทีต่อพระมหากษัตริ ย ์

                                                               o มงคล ๓๘
                                                                   - มีวนย
                                                                        ิ ั
                                                                   - การงานไม่มีโทษ
                                                                   - ไม่ประมาทในธรรม
                                                          ทาจิตให้บริ สุทธิ์ (บริ หารจิตและเจริ ญ
                                                             ปัญญา)
                                                         พุทธศาสนสุ ภาษิต
                                                          สจฺเจน กิตฺตึ ปปฺโปติ
                                                           คนจะได้เกียรติดวยสัจจะ
                                                                            ้
                                                          ยถาวาที ตถาการี
                                                             พูดเช่นไร ทาเช่นนั้น

       ๕. ชื่นชมการทาความดีของบุคคลใน                     ตัวอย่างการกระทาความดีของบุคคล
       ประเทศตามหลักศาสนา พร้อมทั้งบอก                     ในประเทศ
       แนวปฏิบติในการดาเนินชีวต
                 ั               ิ
       ๖. เห็นคุณค่าและสวดมนต์แผ่เมตตา และ                สวดมนต์ไหว้พระ สรรเสริ ญ
       บริ หารจิตเจริ ญปั ญญา มีสติท่ีเป็ นพื้นฐาน         คุณพระรัตนตรัยและแผ่เมตตา
       ของสมาธิในพระพุทธศาสนา หรื อการ                    รู้ความหมายของสติสัมปชัญญะ
       พัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนา                           สมาธิและปัญญา
       ที่ตนนับถือ ตามที่กาหนด                            รู้วธีปฏิบติและประโยชน์ของ
                                                               ิ     ั
                                                           การบริ หารจิตและเจริ ญปั ญญา
                                                          ฝึ กการยืน การเดิน การนัง และ
                                                                                      ่
                                                           การนอนอย่างมีสติ
                                                          ฝึ กการกาหนดรู ้ความรู ้สึกเมื่อตาเห็น
                                                           รู ป หูฟังเสี ยง จมูกดมกลิ่น ลิ้นลิ้มรส
                                                           กายสัมผัสสิ่ งที่มากระทบ ใจรับรู ้
                                                           ธรรมารมณ์
๑๙

ชั้น                 ตัวชี้วด
                            ั                        สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง
                                              ฝึ กให้มีสมาธิ ในการฟั ง การอ่าน

                                                 การคิด การถาม และการเขียน
       ๗. ปฏิบติตนตามหลักธรรมของศาสนา
                 ั                            หลักธรรม : อริ ยสัจ ๔ หลักกรรม

       ที่ตนนับถือ เพื่อแก้ปัญหาอบายมุขและ    โอวาท ๓ : เบญจศีล – เบญจธรรม

       สิ่ งเสพติด                               อบายมุข ๖ อกุศลมูล ๓ กุศลมูล ๓
       ๘. อธิบายหลักธรรมสาคัญของศาสนา  หลักธรรมสาคัญของศาสนาต่ าง ๆ
       อื่นๆ โดยสังเขป                        พระพุทธศาสนา : อริ ยสัจ ๔ โอวาท

                                                 ๓ ฯลฯ
                                              ศาสนาอิสลาม : หลักศรัทธา

                                                 หลักปฏิบติ หลักจริ ยธรรม
                                                           ั
                                              คริ สต์ศาสนา : บัญญัติ ๑๐ ประการ

       ๙. อธิบายลักษณะสาคัญของศาสนพิธี  ศาสนพิธีของศาสนาต่ าง ๆ
       พิธีกรรมของศาสนาอื่นๆ และปฏิบติตน  ั   พระพุทธศาสนา

       ได้อย่างเหมาะสมเมื่อต้องเข้าร่ วมพิธี   o ศาสนพิธีที่เป็ นพุทธบัญญัติ เช่น

                                                 บรรพชา อุปสมบท
                                               o ศาสนพิธีที่เกี่ยวเนื่ องกับ

                                                 พระพุทธศาสนา เช่น ทาบุญพิธีเนื่อง
                                                 ในวันสาคัญทางศาสนา
                                               o ศาสนาอิสลาม เช่น การละหมาด

                                                 การถือศีลอด การบาเพ็ญฮัจญ์ ฯลฯ
                                               o คริ สต์ศาสนา เช่ น ศีลล้างบาป

                                                 ศีลอภัยบาป ศีลกาลัง ศีลมหาสนิท
                                                 ฯลฯ
                                               o ศาสนาฮินดู เช่น พิธีศราทธ์ พิธีบูชา

                                                 เทวดา
ม.๑    ๑. อธิ บายการเผยแผ่พระพุทธศาสนา        การสังคายนา
       หรื อศาสนาที่ตนนับถือสู่ ประเทศไทย     การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่
                                                ประเทศไทย
๒๐

ชั้น                  ตัวชี้วด
                             ั                             สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง
       ๒. วิเคราะห์ความสาคัญของ                    ความสาคัญของพระพุทธศาสนาต่ อ
       พระพุทธศาสนา หรื อศาสนาที่ตนนับถือ            สั งคมไทยในฐานะเป็ น
       ที่มีต่อสภาพแวดล้อมในสังคมไทย                 ศาสนาประจาชาติ
       รวมทั้งการพัฒนาตนและครอบครัว                  สถาบันหลักของสังคมไทย
                                                     สภาพแวดล้อมที่กว้างขวาง และ
                                                         ครอบคลุมสังคมไทย
                                                     การพัฒนาตนและครอบครัว
       ๓. วิเคราะห์พทธประวัติต้ งแต่ประสู ติ
                    ุ           ั                    สรุ ปและวิเคราะห์ พุทธประวัติ
                                                          ประสู ติ
       จนถึงบาเพ็ญทุกรกิริยา หรื อประวัติ
                                                          เทวทูต ๔
       ศาสดาที่ตนนับถือตามที่กาหนด                        การแสวงหาความรู ้

                                                          การบาเพ็ญทุกรกิริยา

       ๔. วิเคราะห์และประพฤติตนตาม                 พุทธสาวก พุทธสาวิกา
       แบบอย่างการดาเนินชี วตและข้อคิดจาก
                              ิ                      พระมหากัสสปะ
       ประวัติสาวก ชาดก/เรื่ องเล่า และศาสนิก        พระอุบาลี
       ชนตัวอย่างตามที่กาหนด                         อนาถบิณฑิกะ
                                                     นางวิสาขา
                                                   ชาดก
                                                     อัมพชาดก
                                                     ติตติรชาดก
       ๕. อธิบายพุทธคุณ และข้อธรรมสาคัญ            พระรัตนตรัย
       ในกรอบอริ ยสัจ ๔ หรื อหลักธรรมของ              พุทธคุณ ๙
                                                   อริยสั จ ๔
       ศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่กาหนด เห็น              ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้)
       คุณค่าและนาไปพัฒนาแก้ปัญหาของ                      o ขันธ์ ๕
                                                                 - ธาตุ ๔
       ตนเองและครอบครัว                               สมุทย (ธรรมที่ควรละ)
                                                              ั
                                                          o หลักกรรม
                                                                - ความหมายและคุณค่า
                                                          o อบายมุข ๖

                                                      นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ)
                                                          o สุ ข ๒ (กายิก, เจตสิ ก)

                                                          o คิหิสุข
๒๑

ชั้น                  ตัวชี้วด
                             ั                             สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง
                                                      มรรค (ธรรมที่ควรเจริ ญ)
                                                         o ไตรสิ กขา

                                                         o กรรมฐาน ๒

                                                         o ปธาน ๔

                                                         o โกศล ๓

                                                         o มงคล ๓๘

                                                               -ไม่คบคนพาล
                                                               - คบบัณฑิต
                                                               - บูชาผูควรบูชา
                                                                       ้
                                                  พุทธศาสนสุ ภาษิต
                                                      ย เว เสวติ ตาทิโส
                                                         คบคนเช่นใดเป็ นคนเช่นนั้น
                                                      อตฺ ตนา โจทยตฺ ตาน
                                                         จงเตือนตน ด้วยตน
                                                      นิสมฺ ม กรณ เสยฺโย
                                                         ใคร่ ครวญก่อนทาจึงดี
                                                      ทุราวาสา ฆรา ทุกฺขา
                                                         เรื อนที่ครองไม่ดีนาทุกข์มาให้
       ๖. เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิต เพื่อการ  โยนิโสมนสิ การ
       เรี ยนรู้และการดาเนินชีวิต ด้วยวิธีคิดแบบ     วิธีคิดแบบคุณค่าแท้ – คุณค่าเทียม
       โยนิโสมนสิ การคือวิธีคิดแบบคุณค่าแท้ –        วิธีคิดแบบคุณ - โทษและทางออก
       คุณค่าเทียม และวิธีคิดแบบคุณ – โทษ
       และทางออก หรื อการพัฒนาจิตตาม
       แนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ
       ๗. สวดมนต์ แผ่เมตตา บริ หารจิตและ          สวดมนต์แปล และแผ่เมตตา
       เจริ ญปั ญญาด้วยอานาปานสติ หรื อตาม  วิธีปฏิบติและประโยชน์ของการบริ หารจิต
                                                             ั
       แนวทางของศาสนาที่ตนับถือตามที่              และเจริ ญปัญญา การฝึ กบริ หารจิตและ
       กาหนด                                       เจริ ญปั ญญาตามหลักสติปัฎฐานเน้น
                                                   อานาปานสติ
                                                  นาวิธีการบริ หารจิตและเจริ ญปัญญาไปใช้
                                                   ในชีวตประจาวัน
                                                         ิ
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา

More Related Content

What's hot

หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองIct Krutao
 
กิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคมกิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคมkruarada
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2hadradchai7515
 
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาแนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาOppo Optioniez
 
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งบทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งpentanino
 
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมวิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมkrusuparat01
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+494+dltvsocp6+T1 p4 6-u01-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+494+dltvsocp6+T1 p4 6-u01-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+494+dltvsocp6+T1 p4 6-u01-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+494+dltvsocp6+T1 p4 6-u01-socPrachoom Rangkasikorn
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 

What's hot (19)

สังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลายสังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลาย
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
 
กิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคมกิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
 
หน่วยที่๙
หน่วยที่๙หน่วยที่๙
หน่วยที่๙
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
 
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาแนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
 
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งบทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
 
หน่วยที่๑๐
หน่วยที่๑๐หน่วยที่๑๐
หน่วยที่๑๐
 
หน่วยที่๓
หน่วยที่๓หน่วยที่๓
หน่วยที่๓
 
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมวิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
 
หน่วยที่๗
หน่วยที่๗หน่วยที่๗
หน่วยที่๗
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
 
หน่วยที่๖
หน่วยที่๖หน่วยที่๖
หน่วยที่๖
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+494+dltvsocp6+T1 p4 6-u01-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+494+dltvsocp6+T1 p4 6-u01-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+494+dltvsocp6+T1 p4 6-u01-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+494+dltvsocp6+T1 p4 6-u01-soc
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 

Similar to มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา

วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์nang_phy29
 
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชาคำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านPlam Preeya
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านPlam Preeya
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านNattayaporn Dangjun
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...freelance
 
โครงสร้าง
โครงสร้างโครงสร้าง
โครงสร้างSumontira Niyama
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูรหลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูรRayoon Singchlad
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์supanyasaengpet
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนNattayaporn Dokbua
 
สถาบันพัฒนาเยาวชนสืบสานภูมิปัญญาอีสาน
สถาบันพัฒนาเยาวชนสืบสานภูมิปัญญาอีสานสถาบันพัฒนาเยาวชนสืบสานภูมิปัญญาอีสาน
สถาบันพัฒนาเยาวชนสืบสานภูมิปัญญาอีสานYouthubon Ubon
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงIFon Lapthavon
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงsukhom
 

Similar to มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา (20)

บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์
 
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชาคำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
 
โครงสร้าง
โครงสร้างโครงสร้าง
โครงสร้าง
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูรหลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
B2
B2B2
B2
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
สถาบันพัฒนาเยาวชนสืบสานภูมิปัญญาอีสาน
สถาบันพัฒนาเยาวชนสืบสานภูมิปัญญาอีสานสถาบันพัฒนาเยาวชนสืบสานภูมิปัญญาอีสาน
สถาบันพัฒนาเยาวชนสืบสานภูมิปัญญาอีสาน
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 

More from korakate

P72808851751
P72808851751P72808851751
P72808851751korakate
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArt
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArtหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArt
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArtkorakate
 
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญา
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญานิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญา
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญาkorakate
 
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกล
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกลแจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกล
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกลkorakate
 
Social Media Data
Social Media DataSocial Media Data
Social Media Datakorakate
 
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์korakate
 
Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02korakate
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01korakate
 
Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01korakate
 
จำนวนครู
จำนวนครูจำนวนครู
จำนวนครูkorakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1korakate
 
จะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีจะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีkorakate
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์korakate
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์korakate
 
0 syllabus
0 syllabus0 syllabus
0 syllabuskorakate
 

More from korakate (20)

P72808851751
P72808851751P72808851751
P72808851751
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArt
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArtหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArt
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArt
 
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญา
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญานิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญา
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญา
 
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกล
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกลแจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกล
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกล
 
Social Media Data
Social Media DataSocial Media Data
Social Media Data
 
Buriram1
Buriram1Buriram1
Buriram1
 
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01
 
Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01
 
จำนวนครู
จำนวนครูจำนวนครู
จำนวนครู
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
 
จะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีจะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดี
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
 
0 syllabus
0 syllabus0 syllabus
0 syllabus
 
Inkscape
InkscapeInkscape
Inkscape
 

มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา

  • 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ทาไมต้ องเรียนสั งคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ วตลอดเวลา กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม ช่วยให้ผเู ้ รี ยนมีความรู ้ ความเข้าใจ ว่ามนุษย์ดารงชีวตอย่างไร ทั้งในฐานะปัจเจกบุคคล และการ ิ อยูร่วมกันในสังคม การปรับตัวตามสภาพแวดล้อม การจัดการทรัพยากรที่มีอยูอย่างจากัด นอกจากนี้ ยังช่วย ่ ่ ให้ผเู ้ รี ยนเข้าใจถึงการพัฒนา เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย กาลเวลา ตามเหตุปัจจัยต่างๆ ทาให้เกิดความเข้าใจใน ตนเอง และผูอื่น มีความอดทน อดกลั้น ยอมรับในความแตกต่าง และมีคุณธรรม สามารถนาความรู้ไปปรับ ้ ใช้ในการดาเนินชีวิต เป็ นพลเมืองดีของประเทศชาติ และสังคมโลก เรียนรู้ อะไรในสั งคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมว่าด้วยการอยู่ร่วมกันในสังคม ที่มีความ เชื่ อ มสั ม พัน ธ์ ก ัน และมี ค วามแตกต่ า งกัน อย่า งหลากหลาย เพื่ อ ช่ ว ยให้ ส ามารถปรั บ ตนเองกับ บริ บ ท สภาพแวดล้อม เป็ นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู ้ ทักษะ คุณธรรม และค่านิ ยมที่เหมาะสม โดยได้ กาหนดสาระต่างๆไว้ ดังนี้  ศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริ ยธรรม หลักธรรม ของพระพุทธศาสนาหรื อศาสนาที่ตนนับถือ การนาหลักธรรมคาสอนไปปฏิบติในการพัฒนาตนเอง และการ ั อยู่ร่ ว มกัน อย่า งสั น ติ สุ ข เป็ นผูก ระท าความดี มี ค่ า นิ ย มที่ ดี ง าม พัฒ นาตนเองอยู่เ สมอ รวมทั้ง บ าเพ็ ญ ้ ประโยชน์ต่อสังคมและส่ วนรวม  หน้ าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชี วิต ระบบการเมืองการปกครองในสังคมปั จจุบน ั การปกครองระบอบประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ย ์ทรงเป็ นประมุข ลักษณะและความสาคัญ การเป็ น พลเมื อ งดี ความแตกต่ า งและความหลากหลายทางวัฒ นธรรม ค่ า นิ ย ม ความเชื่ อ ปลู ก ฝั ง ค่ า นิ ย มด้า น ประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ย ์ทรงเป็ นประมุข สิ ทธิ หน้าที่ เสรี ภาพการดาเนิ นชี วิตอย่างสันติสุขใน สังคมไทยและสังคมโลก  เศรษฐศาสตร์ การผลิ ต การแจกจ่าย และการบริ โภคสิ นค้าและบริ การ การบริ หารจัดการ ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ การดารงชี วิตอย่างมี ดุลยภาพ และการนาหลักเศรษฐกิ จ พอเพียงไปใช้ในชีวตประจาวัน ิ
  • 2.  ประวัติศาสตร์ เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ พัฒนาการของ มนุ ษยชาติ จากอดี ตถึ งปั จจุ บน ความสัม พันธ์ และเปลี่ ย นแปลงของเหตุ การณ์ ต่า งๆ ผลกระทบที่ เกิ ดจาก ั เหตุการณ์สาคัญในอดีต บุคคลสาคัญที่มีอิทธิ พลต่อการเปลี่ยนแปลงต่างๆในอดีต ความเป็ นมาของชาติไทย วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย แหล่งอารยธรรมที่สาคัญของโลก  ภูมิศาสตร์ ลักษณะของโลกทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพ แหล่งทรัพยากร และภูมิอากาศ ของประเทศไทย และภูมิภาคต่างๆ ของโลก การใช้แผนที่และเครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ ความสัมพันธ์กนของ ั ั สิ่ งต่างๆ ในระบบธรรมชาติ ความสัมพันธ์ของมนุ ษย์กบสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ และสิ่ งที่มนุ ษย์สร้าง ขึ้น การนาเสนอข้อมูลภูมิสารสนเทศ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยงยืน ั่ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้ และเข้าใจประวัติ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรื อศาสนา ที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมัน และปฏิบติตามหลักธรรม เพื่อ ่ ั อยูร่วมกันอย่างสันติสุข ่ มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบติตนเป็ นศาสนิกชนที่ดี และธารงรักษาพระพุทธศาสนา ั หรื อศาสนาที่ตนนับถือ สาระที่ ๒ หน้ าทีพลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวตในสั งคม ่ ิ มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบติตนตามหน้าที่ของการเป็ นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และ ั ธารงรั กษาประเพณี และวัฒนธรรมไทย ดารงชี วิตอยู่ร่วมกันในสั งคมไทย และ สังคมโลกอย่างสันติสุข มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปั จจุบน ยึดมัน ศรัทธา และธารงรักษา ั ่ ไว้ซ่ ึงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข ์ สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส.๓.๑ เข้าใจและสามารถบริ หารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริ โภคการใช้ ่ ทรัพยากรที่มีอยูจากัดได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและคุมค่า รวมทั้งเข้าใจ ้ หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดารงชีวตอย่างมีดุลยภาพ ิ มาตรฐาน ส.๓.๒ เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และความจาเป็ นของการร่ วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
  • 3. ๓ สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์ มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้ วิธีการทางประวัติศาสตร์ มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็ นระบบ มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุ ษยชาติจากอดีตจนถึงปั จจุบน ในด้านความสัมพันธ์และ ั การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ อย่างต่อเนื่ อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้ า ใจความเป็ นมาของชาติ ไ ทย วัฒ นธรรม ภู มิ ปั ญ ญาไทย มี ค วามรั ก ความภูมิใจและธารงความเป็ นไทย สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์ มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่ งซึ่ งมีผล ต่อกัน และกันในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่ และเครื่ องมื อทางภู มิ ศาสตร์ ในการ ค้นหาวิเคราะห์ สรุ ป และใช้ ขอมูลภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ้ มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสมพันธ์ระหว่างมนุ ษย์กบสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิด ั ั การสร้างสรรค์วฒนธรรม มีจิตสานึก และมีส่วนร่ วมในการอนุ รักษ์ ทรัพยากร ั และสิ่ งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยงยืน ่ั คุณภาพผู้เรียน จบชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓  ได้เรี ยนรู ้เรื่ องเกี่ยวกับตนเองและผูที่อยูรอบข้าง ตลอดจนสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น ที่อยูอาศัย ้ ่ ่ และเชื่องโยงประสบการณ์ไปสู่ โลกกว้าง  ผูเ้ รี ย นได้รับการพัฒนาให้มี ทก ษะกระบวนการ และมี ขอมู ลที่ จาเป็ นต่ อการพัฒนาให้เป็ น ั ้ ผูมีคุณธรรม จริ ยธรรม ประพฤติปฏิบติตามหลักคาสอนของศาสนาที่ตนนับถือ มีความเป็ นพลเมืองดี มี ้ ั ความรับผิดชอบ การอยูร่วมกันและการทางานกับผูอื่น มีส่วนร่ วมในกิจกรรมของห้องเรี ยน และได้ฝึกหัด ่ ้ ในการตัดสิ นใจ  ได้ศึ กษาเรื่ องราวเกี่ ยวกับตนเอง ครอบครั ว โรงเรี ยน และชุ มชนในลักษณะการบู รณาการ ผูเ้ รี ยนได้เข้าใจแนวคิดเกี่ ยวกับปั จจุบนและอดี ต มีความรู ้ พ้ืนฐานทางเศรษฐกิ จได้ขอคิดเกี่ ยวกับรายรับ- ั ้ รายจ่ายของครอบครัว เข้าใจถึงการเป็ นผูผลิต ผูบริ โภค รู ้จกการออมขั้นต้นและวิธีการเศรษฐกิจพอเพียง ้ ้ ั  ได้ รั บ การพัฒ นาแนวคิ ด พื้ น ฐานเกี่ ย วกั บ ศาสนา ศี ล ธรรม จริ ยธรรม หน้ า ที่ พ ลเมื อ ง เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และภูมิปัญญา เพื่อเป็ นพื้นฐานในการทาความเข้าใจในขั้นที่สูงต่อไป
  • 4. จบชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖  ได้เรี ย นรู ้ เรื่ อ งของจัง หวัด ภาค และประทศของตนเอง ทั้ง เชิ ง ประวัติศ าสตร์ ลัก ษณะทาง กายภาพ สังคม ประเพณี และวัฒนธรรม รวมทั้งการเมืองการปกครอง สภาพเศรษฐกิ จโดยเน้นความเป็ น ประเทศไทย  ได้รับการพัฒนาความรู้และความเข้าใจ ในเรื่ องศาสนา ศีลธรรม จริ ยธรรม ปฏิบติตนตามหลัก ั คาสอนของศาสนาที่ตนนับถือ รวมทั้งมีส่วนร่ วมศาสนพิธี และพิธีกรรมทางศาสนามากยิงขึ้น ่  ได้ศึ ก ษาและปฏิ บ ัติตนตามสถานภาพ บทบาท สิ ท ธิ ห น้า ที่ ใ นฐานะพลเมื องดี ข องท้องถิ่ น จังหวัด ภาค และประเทศ รวมทั้งได้มีส่วนร่ วมในกิ จกรรมตามขนบธรรมเนี ยมประเพณี วัฒนธรรม ของ ท้องถิ่นตนเองมากยิงขึ้น ่  ได้ศึกษาเปรี ยบเทียบเรื่ องราวของจังหวัดและภาคต่างๆของประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน ได้รับการพัฒนาแนวคิดทางสังคมศาสตร์ เกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริ ยธรรม หน้าที่พลเมือง เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และภูมิศาสตร์ เพื่อขยายประสบการณ์ไปสู่ การทาความเข้าใจ ในภูมิภาค ซี กโลกตะวันออก และตะวันตกเกี่ยวกับศาสนา คุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยมความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม การ ดาเนินชีวต การจัดระเบียบทางสังคม และการเปลี่ยนแปลงทางสังคมจากอดีตสู่ ปัจจุบน ิ ั จบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓  ได้เรี ย นรู ้ แ ละศึ ก ษาเกี่ ย วกับ ความเป็ นไปของโลก โดยการศึ ก ษาประเทศไทยเปรี ย บเที ย บ กับประเทศในภูมิภาคต่างๆในโลก เพื่อพัฒนาแนวคิด เรื่ องการอยูร่วมกันอย่างสันติสุข ่  ได้เรี ยนรู ้ และพัฒนาให้มีทกษะที่จาเป็ นต่อการเป็ นนักคิดอย่างมีวิจารณญาณได้รับการพัฒนา ั แนวคิด และขยายประสบการณ์ เปรี ยบเทียบระหว่างประเทศไทยกับประเทศในภูมิภาคต่าง ๆ ในโลก ได้แก่ เอเชีย โอเชียเนีย แอฟริ กา ยุโรป อเมริ กาเหนื อ อเมริ กาใต้ ในด้านศาสนา คุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิ ยม ความ เชื่ อ ขนบธรรมเนี ยม ประเพณี วัฒนธรรม การเมืองการปกครอง ประวัติศาสตร์ และภูมิศาสตร์ ด้วยวิธีการ ทางประวัติศาสตร์ และสังคมศาสตร์  ได้รับการพัฒนาแนวคิดและวิเคราะห์ เหตุก ารณ์ ในอนาคต สามารถนามาใช้เป็ นประโยชน์ ในการดาเนินชีวตและวางแผนการดาเนินงานได้อย่างเหมาะสม ิ จบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๖  ได้เรี ยนรู้และศึกษาความเป็ นไปของโลกอย่างกว้างขวางและลึกซึ้ งยิงขึ้น ่  ได้รับการส่ งเสริ มสนับสนุ นให้พฒนาตนเองเป็ นพลเมืองที่ดี มีคุณธรรม จริ ยธรรม ปฏิบติตาม ั ั หลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถื อ รวมทั้งมีค่านิ ยมอันพึงประสงค์ สามารถอยู่ร่วมกับผูอื่นและอยูในสังคม ้ ่ ได้อย่างมีความสุ ข รวมทั้งมีศกยภาพเพื่อการศึกษาต่อในชั้นสู งตามความประสงค์ได้ ั
  • 5.  ได้เ รี ย นรู้ เ รื่ องภู มิ ปั ญ ญาไทย ความภู มิ ใ จในความเป็ นไทย ประวัติ ศ าสตร์ ข องชาติ ไ ทย ยึดมันในวิถีชีวต และการปกครองระบอบประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข ่ ิ ์  ได้รับ การส่ งเสริ มให้มี นิสั ยที่ ดีใ นการบริ โภค เลื อกและตัดสิ นใจบริ โภคได้อย่างเหมาะสม มีจิตสานึ ก และมีส่วนร่ วมในการอนุ รักษ์ ประเพณี วฒนธรรมไทย และสิ่ งแวดล้อม มีความรักท้องถิ่ นและ ั ประเทศชาติ มุ่งทาประโยชน์ และสร้างสิ่ งที่ดีงามให้กบสังคม ั  เป็ นผูมีความรู้ความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ของตนเอง ชี้นาตนเองได้ และสามารถแสวงหา ้ ความรู ้จากแหล่งการเรี ยนรู ้ต่างๆในสังคมได้ตลอดชีวต ิ
  • 6. ๖ ตัวชี้วดและสาระการเรียนรู้ แกนกลาง ั สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้ และเข้าใจประวัติ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรื อศาสนา ที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมันและปฏิบติตามหลักธรรม ่ ั เพื่ออยูร่วมกันอย่างสันติสุข ่ ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง ป.๑ ๑. บอกพุทธประวัติ หรื อประวัติของ  พุทธประวัติ ศาสดาที่ตนนับถือโดยสังเขป  ประสู ติ  ตรัสรู้  ปริ นิพพาน ๒. ชื่นชมและบอกแบบอย่างการดาเนิ น  สามเณรบัณฑิต ชีวตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก/ ิ  วัณณุปถชาดก เรื่ องเล่าและศาสนิกชนตัวอย่างตามที่  สุ วณณสามชาดก ั กาหนด  พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูหว ่ ั ภูมิพลอดุลยเดช  เจ้าพระยาสุ ธรรมมนตรี (หนูพร้อม) ๓. บอกความหมาย ความสาคัญ และ  พระรัตนตรัย เคารพพระรัตนตรัย ปฏิบติตามหลักธรรม ั  ศรัทธา พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ โอวาท ๓ในพระพุทธศาสนา หรื อ  โอวาท ๓ หลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามที่  ไม่ทาชัว ่ กาหนด o เบญจศีล  ทาความดี ° เบญจธรรม ° สังคหวัตถุ ๔ ° กตัญญูกตเวทีต่อพ่อแม่ และ ครอบครัว ° มงคล ๓๘ - ทาตัวดี - ว่าง่าย ่ - รับใช้พอแม่
  • 7. ๗ ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง  ทาจิตให้บริ สุทธิ์ (บริ หารจิตและเจริ ญ ปัญญา)  พุทธศาสนสุ ภาษิต  อตฺ ตา หิ อตฺ ตโน นาโถ ตนแลเป็ นที่พ่ ึงของตน  มาตา มิตฺต สเก ฆเร มารดาเป็ นมิตรในเรื อนของตน ๔. เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา  ฝึ กสวดมนต์ และแผ่ เมตตา มีสติที่เป็ นพื้นฐานของสมาธิ ใน  รู้ความหมายและประโยชน์ของสติ พระพุทธศาสนา หรื อการพัฒนาจิตตาม  ฟังเพลงและร้องเพลงอย่างมีสติ แนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ  เล่นและทางานอย่างมีสติ ตามที่กาหนด  ฝึ กให้มีสติในการฟัง การอ่าน การคิด การถามและการเขียน ป.๒ ๑. บอกความสาคัญของพระพุทธศาสนา  พระพุทธศาสนาเป็ นเอกลักษณ์ของ หรื อศาสนาที่ตนนับถือ ชาติไทย ๒. สรุ ปพุทธประวัติต้ งแต่ประสู ติจนถึง ั  สรุ ปพุทธประวัติ การออกผนวชหรื อประวัติศาสดาที่ตนนับ  ประสู ติ ถือตามที่กาหนด o เหตุการณ์หลังประสู ติ o แรกนาขวัญ o การศึกษา o การอภิเษกสมรส o เทวทูต ๔ o การออกผนวช ๓. ชื่นชมและบอกแบบอย่างการดาเนิ น  สามเณรราหุล ชีวตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก/ ิ  วรุ ณชาดก เรื่ องเล่าและศาสนิกชนตัวอย่างตามที่  วานริ นทชาดก กาหนด  สมเด็จพระญาณสังวร (ศุข ไก่เถื่อน)  สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริ ญ สุ วฑฺฒโน) ๔. บอกความหมาย ความสาคัญ และ  พระรั ตนตรั ย เคารพพระรัตนตรัย ปฏิบติตาม ั  ศรัทธา
  • 8. ๘ ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง หลักธรรมโอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนา  โอวาท ๓ หรื อหลักธรรมของศาสนาที่ตน  ไม่ทาชัว ่ นับถือตามที่กาหนด ° เบญจศีล  ทาความดี ° เบญจธรรม ° หิริ-โอตตัปปะ ° สังคหวัตถุ ๔ ° ฆราวาสธรรม ๔ ° กตัญญูกตเวทีต่อครู อาจารย์ และ โรงเรี ยน ° มงคล ๓๘ - กตัญญู - สงเคราะห์ญาติพี่นอง ้  ทาจิตให้บริ สุทธิ์ (บริ หารจิตและ เจริ ญปั ญญา)  พุทธศาสนสุ ภาษิต  นิมิตฺต สาธุรูปาน กตญฺ ญ กตเวทิตา ความกตัญญ กตเวทีเป็ นเครื่ องหมาย ของคนดี  พฺรหฺ มาติ มาตาปิ ตโร มารดาบิดาเป็ นพรหมของบุตร ๕. ชื่นชมการทาความดีของตนเอง บุคคล  ตัวอย่างการกระทาความดีของตนเอง ในครอบครัวและในโรงเรี ยน ตามหลัก และบุคคลในครอบครัว และใน ศาสนา โรงเรี ยน (ตามสาระในข้อ ๔) ๖. เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา  ฝึ กสวดมนต์ไหว้พระและแผ่เมตตา มีสติที่เป็ นพื้นฐานของสมาธิ ในพระพุทธ-  รู้ความหมายและประโยชน์ของสติและ ศาสนา หรื อการพัฒนาจิตตามแนวทาง สมาธิ ของศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่กาหนด  ฝึ กสมาธิ เบื้องต้น  ฝึ กสติเบื้องต้นด้วยกิจกรรมการ เคลื่อนไหวอย่างมีสติ  ฝึ กให้มีสมาธิ ในการฟัง การอ่าน การคิด การถาม และการเขียน
  • 9. ๙ ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง ๗. บอกชื่อศาสนา ศาสดา และ  ชื่อศาสนา ศาสดา และคัมภีร์ของศาสนา ความสาคัญของคัมภีร์ของศาสนาที่ตน ต่ าง ๆ นับถือและศาสนาอื่นๆ  พระพุทธศาสนา o ศาสดา : พระพุทธเจ้า o คัมภีร์ : พระไตรปิ ฎก  ศาสนาอิสลาม o ศาสดา : มุฮมมัด ั o คัมภีร์ : อัลกุรอาน  คริ สต์ศาสนา o ศาสดา : พระเยซู o คัมภีร์ : ไบเบิล  ศาสนาฮินดู o ศาสดา : ไม่มีศาสดา o คัมภีร์ : พระเวท พราหมณะ อุปนิษท อารัณยกะ ั ป.๓ ๑. อธิ บายความสาคัญของพระพุทธศาสนา  ความสัมพันธ์ของพระพุทธศาสนากับ หรื อศาสนาที่ตนนับถือ ในฐานะที่เป็ น การดาเนิ นชีวตประจาวัน เช่น ิ รากฐานสาคัญของวัฒนธรรมไทย การสวดมนต์ การทาบุญ ใส่ บาตร การแสดงความเคารพ การใช้ภาษา  พระพุทธศาสนามีอิทธิ พลต่อการ สร้างสรรค์ผลงานทางวัฒนธรรมไทย อันเกิดจากความศรัทธา เช่น วัด ภาพวาด พระพุทธรู ป วรรณคดี สถาปัตยกรรมไทย ๒. สรุ ปพุทธประวัติต้ งแต่การบาเพ็ญ ั  สรุ ปพุทธประวัติ (ทบทวน) เพียรจนถึงปริ นิพพาน หรื อประวัติของ  การบาเพ็ญเพียร ศาสดาที่ตนนับถือตามที่กาหนด  ผจญมาร  ตรัสรู้  ปฐมเทศนา  ปริ นิพพาน
  • 10. ๑๐ ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง ๓. ชื่นชมและบอกแบบอย่างการดาเนิ น  สามเณรสังกิจจะ ชีวตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก/ ิ  อารามทูสกชาดก เรื่ องเล่าและศาสนิกชนตัวอย่าง ตามที่  มหาวาณิ ชชาดก กาหนด  สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺ มรสี )  สมเด็จพระเจ้าตากสิ นมหาราช ๔. บอกความหมาย ความสาคัญของ  ความสาคัญของพระไตรปิ ฎก เช่น พระไตรปิ ฎก หรื อคัมภีร์ของศาสนาที่ตน เป็ นแหล่งอ้างอิง ของหลักธรรมคาสอน นับถือ ๕. แสดงความเคารพพระรัตนตรัย และ  พระรัตนตรัย ปฏิบติตามหลักธรรมโอวาท ๓ ใน ั  ศรัทธา พระพุทธศาสนา หรื อหลักธรรมของ  โอวาท ๓ ศาสนาที่ตนนับถือตามที่กาหนด  ไม่ทาชัว ่ ° เบญจศีล  ทาความดี ° เบญจธรรม ° สติ-สัมปชัญญะ ° สังคหวัตถุ ๔ ° ฆราวาสธรรม ๔ ° อัตถะ ๓ (อัตตัตถะ, ปรัตถะ, อุภยัตถะ) ° กตัญญูกตเวทีต่อชุมชน, สิ่ งแวดล้อม ° มงคล ๓๘ - รู้จกให้ ั - พูดไพเราะ ่ - อยูในสิ่ งแวดล้อมที่ดี  ทาจิตให้บริ สุทธิ์ (บริ หารจิตและเจริ ญ ปัญญา)  พุทธศาสนสุ ภาษิต  ททมาโน ปิ โย โหติ ้ ่ ผูให้ยอมเป็ นที่รัก  โมกฺโข กลฺ ยาณิ ยา สาธุ เปล่งวาจาไพเราะให้สาเร็ จประโยชน์
  • 11. ๑๑ ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง ๖. เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา  ฝึ กสวดมนต์ ไหว้พระ สรรเสริ ญคุ ณ มีสติที่เป็ นพื้นฐานของสมาธิ ใน พระรัตนตรัยและแผ่เมตตา พระพุทธศาสนา หรื อการพัฒนาจิต  รู้ความหมายและประโยชน์ของสติและ ตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ สมาธิ ตามที่กาหนด  รู้ประโยชน์ของการฝึ กสติ  ฝึ กสมาธิ เบื้องต้นด้วยการนับลมหายใจ  ฝึ กการยืน การเดิน การนัง และ ่ การนอน อย่างมีสติ  ฝึ กให้มีสมาธิ ในการฟั ง การอ่าน การคิด การถาม และการเขียน ๗. บอกชื่อ ความสาคัญและปฏิบติตน ั  ชื่ อและความสาคัญของศาสนวัตถุ ได้อย่างเหมาะสมต่อศาสนวัตถุ ศาสนสถานและ ศาสนบุคคล ศาสนสถาน และศาสนบุคคลของศาสนา ในพระพุทธศาสนา ศาสนาอิสลาม อื่นๆ คริ สต์ศาสนา ศาสนาฮินดู  การปฏิบติตนที่เหมาะสมต่อศาสนวัตถุ ั ศาสนสถานและศาสนบุคคลในศาสนา อื่น ๆ ป.๔ ๑. อธิ บายความสาคัญของพระพุทธศาสนา  พระพุทธศาสนา ในฐานะที่เป็ น หรื อศาสนาที่ตนนับถือ ในฐานะเป็ นศูนย์ เครื่ องยึดเหนี่ยวจิตใจ รวมจิตใจของศาสนิกชน  เป็ นศูนย์รวมการทาความดี และพัฒนา จิตใจ เช่น ฝึ กสมาธิ สวดมนต์ ศึกษาหลักธรรม  เป็ นที่ประกอบศาสนพิธี (การทอดกฐิน การทอดผ้าป่ า การเวียนเทียน การทาบุญ)  เป็ นแหล่งทากิจกรรมทางสังคม เช่น การจัดประเพณี ทองถิ่น การเผยแพร่ ้ ข้อมูลข่าวสารชุมชน และ การส่ งเสริ มพัฒนาชุมชน
  • 12. ๑๒ ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง ๒. สรุ ปพุทธประวัติต้ งแต่บรรลุธรรม ั  สรุ ปพุทธประวัติ (ทบทวน) จนถึงประกาศธรรม หรื อประวัติศาสดาที่  ตรัสรู ้ ตนนับถือตามที่กาหนด  ประกาศธรรม ได้แก่ ° โปรดชฎิล ° โปรดพระเจ้าพิมพิสาร ° พระอัครสาวก ° แสดงโอวาทปาฏิโมกข์ ๓. เห็นคุณค่า และปฏิบติตนตาม ั  พระอุรุเวลกัสสปะ แบบอย่างการดาเนินชี วตและข้อคิดจาก ิ  กุฏิทูสกชาดก ประวัติสาวก ชาดก/เรื่ องเล่าและ  มหาอุกกุสชาดก ศาสนิกชนตัวอย่าง ตามที่กาหนด  สมเด็จพระมหิ ตลาธิเบศร อดุลยเดช วิกรม พระบรมราชชนก  สมเด็จพระศรี นคริ นทราบรมราชชนนี ๔. แสดงความเคารพ พระรัตนตรัย  พระรัตนตรัย ปฏิบติตามไตรสิ กขาและหลักธรรม ั o ศรัทธา ๔ โอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนา หรื อ  พระพุทธ หลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามที่ ° พุทธคุณ ๓ กาหนด  พระธรรม ° หลักกรรม  พระสงฆ์  ไตรสิ กขา  ศีล สมาธิ ปัญญา  โอวาท ๓  ไม่ทาชัว ่ o เบญจศีล o ทุจริ ต ๓  ทาความดี o เบญจธรรม o สุ จริ ต ๓ o พรหมวิหาร ๔ o กตัญญูกตเวทีต่อประเทศชาติ o มงคล ๓๘ - เคารพ - ถ่อมคน - ทาความดีให้พร้อมไว้ก่อน
  • 13. ๑๓ ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง  ทาจิตให้บริ สุทธิ์ (บริ หารจิตและเจริ ญปัญญา)  พุทธศาสนสุ ภาษิต  สุ ขา สงฺ ฆสฺ ส สามคฺ คี ความพร้อมเพรี ยงของหมู่ให้เกิดสุ ข  โลโกปตฺ ถมฺ ภิกา เมตฺ ตา เมตตาธรรม ค้ าจุนโลก ๕. ชื่นชมการทาความดีของตนเอง บุคคล  ตัวอย่างการกระทาความดีของตนเอง ในครอบครัว โรงเรี ยนและชุมชนตาม และบุคคลในครอบครัว ในโรงเรี ยน และ หลักศาสนา พร้อมทั้งบอกแนวปฏิบติใน ั ในชุมชน การดาเนินชีวต ิ ๖. เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา  สวดมนต์ไหว้พระ สรรเสริ ญ มีสติที่เป็ นพื้นฐานของสมาธิ ใน คุณพระรัตนตรัยและแผ่เมตตา พระพุทธศาสนา หรื อการพัฒนาจิต  รู ้ความหมายของสติสัมปชัญญะ สมาธิ ตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ และปัญญา ตามที่กาหนด  รู ้วธีปฏิบติของการบริ หารจิตและเจริ ญ ิ ั ปัญญา  ฝึ กการยืน การเดิน การนัง และการนอน ่ อย่างมีสติ  ฝึ กการกาหนดรู ้ความรู ้สึก เมื่อตาเห็นรู ป หูฟังเสี ยง จมูกดมกลิ่น ลิ้นลิ้มรส กาย สัมผัสสิ่ งที่มากระทบ ใจรับรู้ธรรมารมณ์  ฝึ กให้มีสมาธิ ในการฟั ง การอ่าน การคิด การถาม และการเขียน ๗. ปฏิบติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่  หลักธรรมเพื่อการอยูร่วมกันอย่าง ั ่ ตนนับถือ เพื่อการอยูร่วมกันเป็ นชาติได้ ่ สมานฉันท์ อย่างสมานฉันท์ o เบญจศีล – เบญจธรรม o ทุจริ ต ๓ – สุ จริ ต ๓ o พรหมวิหาร ๔ o มงคล ๓๘
  • 14. ๑๔ ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง - เคารพ - ถ่อมตน - ทาความดีให้พร้อมไว้ก่อน o พุทธศาสนสุ ภาษิต : ความพร้ อม เพรี ยงของหมู่ให้เกิดสุ ข เมตตาธรรม ค้ าจุนโลก  กตัญญูกตเวทีต่อประเทศชาติ ๘. อธิบายประวัติศาสดาของศาสนาอื่นๆ  ประวัติศาสดา โดยสังเขป o พระพุทธเจ้า o มุฮมมัด ั o พระเยซู ป.๕ ๑. วิเคราะห์ความสาคัญของ  มรดกทางวัฒนธรรมที่ได้รับจาก พระพุทธศาสนาหรื อศาสนาที่ตนนับถือ พระพุทธศาสนา ในฐานะที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรมและ o มรดกทางด้านรู ปธรรม เช่น หลักในการพัฒนาชาติไทย ศาสนสถาน โบราณวัตถุ สถาปัตยกรรม o มรดกทางด้านจิตใจ เช่น หลักธรรม คาสั่งสอน ความเชื่อ และคุณธรรม ต่าง ๆ  การนาพระพุทธศาสนาไปใช้เป็ น แนวทางในการพัฒนาชาติไทย o พัฒนาด้านกายภาพ และสิ่ งแวดล้อม เช่น ภาวนา ๔ (กาย ศีล จิต ปัญญา) ไตรสิ กขา (ศีล สมาธิ ปัญญา) และอริ ยสัจสี่ o พัฒนาจิตใจ เช่น หลักโอวาท ๓ (ละความชัว ทาดี ทาจิตใจให้ ่ บริ สุทธิ์ ) และการบริ หารจิตและเจริ ญ ปัญญา
  • 15. ๑๕ ชั้น ตัวชี้วดั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง ๒. สรุ ปพุทธประวัติต้ งแต่เสด็จ ั  สรุ ปพุทธประวัติ (ทบทวน) กรุ งกบิลพัสดุจนถึงพุทธกิจสาคัญ ์  โปรดพระพุทธบิดา (เสด็จกรุ ง หรื อประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่ กบิลพัสดุ) ์ กาหนด  พุทธกิจสาคัญ ได้แก่ โลกัตถจริ ยา ญาตัตถจริ ยา และพุทธัตถจริ ยา ๓. เห็นคุณค่า และประพฤติตนตาม  พระโสณโกฬิวสะ ิ แบบอย่างการดาเนินชี วตและข้อคิดจาก ิ  จูฬเสฏฐิชาดก ประวัติสาวก ชาดก/เรื่ องเล่าและ  วัณณาโรหชาดก ศาสนิกชนตัวอย่าง ตามที่กาหนด  สมเด็จพระสังฆราช (สา)  อาจารย์เสถียร โพธินนทะ ั ๔. อธิบายองค์ประกอบ และความสาคัญ  องค์ประกอบของพระไตรปิ ฎก ของพระไตรปิ ฎก หรื อคัมภีร์ของศาสนา  พระสุ ตตันตปิ ฎก ที่ตนนับถือ  พระวินยปิ ฎก ั  พระอภิธรรมปิ ฎก  ความสาคัญของพระไตรปิ ฎก ๕. แสดงความเคารพพระรัตนตรัย  พระรั ตนตรั ย และปฏิบติตามไตรสิ กขาและหลักธรรม ั o ศรัทธา ๔ โอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนาหรื อ  พระพุทธ หลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ o พุทธจริ ยา ๓ ตามที่กาหนด  พระธรรม o อริ ยสัจ ๔ o หลักกรรม  พระสงฆ์  ไตรสิ กขา  ศีล สมาธิ ปัญญา  โอวาท ๓  ไม่ทาชัว ่ o เบญจศีล o อบายมุข ๔
  • 16. ๑๖ ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง  ทาความดี o เบญจธรรม o บุญกิริยาวัตถุ ๓ o อคติ ๔ o อิทธิ บาท ๔ o กตัญญูกตเวทีต่อพระพุทธศาสนา o มงคล ๓๘ - ใฝ่ รู้ ใฝ่ เรี ยน - การงานไม่อากูล - อดทน  ทาจิตให้บริ สุทธิ์ (บริ หารจิตและเจริ ญ ปัญญา)  พุทธศาสนสุ ภาษิต  วิริเยน ทุกฺขมจฺเจติ คนจะล่วงทุกข์ได้เพราะความเพียร  ปญฺ ญา โลกสฺ มิ ปชฺ โชโต ปั ญญา คือ แสงสว่างในโลก ๖. เห็นคุณค่าและสวดมนต์แผ่เมตตา  สวดมนต์ไหว้พระ สรรเสริ ญ มีสติที่เป็ นพื้นฐานของสมาธิ ใน คุณพระรัตนตรัยและแผ่เมตตา พระพุทธศาสนา หรื อการพัฒนาจิตตาม  รู้ความหมายของสติสัมปชัญญะ แนวทางของศาสนาที่ตนนับถือตามที่ สมาธิและปัญญา กาหนด  รู้วธีปฏิบติและประโยชน์ของ ิ ั การบริ หารจิตและเจริ ญปั ญญา  ฝึ กการยืน การเดิน การนัง และ ่ การนอน อย่างมีสติ  ฝึ กการกาหนดรู ้ความรู ้สึก เมื่อตา เห็นรู ป หูฟังเสี ยง จมูกดมกลิ่น ลิ้น ลิ้มรส กายสัมผัสสิ่ งที่มากระทบใจ รับรู้ธรรมารมณ์  ฝึ กให้มีสมาธิ ในการฟัง การอ่าน การคิด การถามและการเขียน
  • 17. ๑๗ ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง ๗. ปฏิบติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ ั  โอวาท ๓ (ตามสาระการเรี ยนรู้ขอ ๕) ้ ตนนับถือ เพื่อการพัฒนาตนเองและ สิ่ งแวดล้อม ป.๖ ๑. วิเคราะห์ความสาคัญของพระพุทธ-  พระพุทธศาสนาในฐานะเป็ นศาสนา ศาสนาในฐานะเป็ นศาสนาประจาชาติ ประจาชาติ เช่น เป็ นเอกลักษณ์ของ หรื อความสาคัญของศาสนาที่ตนนับถือ ชาติไทย เป็ นรากฐานทางวัฒนธรรม ไทย เป็ นศูนย์รวมจิตใจ เป็ นมรดก ทางวัฒนธรรมไทย และเป็ นหลัก ในการพัฒนาชาติไทย ๒. สรุ ปพุทธประวัติต้ งแต่ปลงอายุสังขาร ั  สรุ ปพุทธประวัติ (ทบทวน) จนถึงสังเวชนียสถาน หรื อประวัติศาสดา  ปลงอายุสังขาร ที่ตนนับถือตามที่กาหนด  ปัจฉิมสาวก  ปริ นิพพาน  การถวายพระเพลิง  แจกพระบรมสารี ริกธาตุ  สังเวชนียสถาน ๔ ๓. เห็นคุณค่าและประพฤติตนตาม  พระราธะ แบบอย่างการดาเนินชี วตและข้อคิดจาก ิ  ทีฆีติโกสลชาดก ประวัติสาวก ชาดก/เรื่ องเล่า และ  สัพพทาฐิชาดก ศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กาหนด  พ่อขุนรามคาแหงมหาราช  สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรม- พระปรมานุชิตชิโนรส ๔. วิเคราะห์ความสาคัญและเคารพ  พระรัตนตรัย o ศรัทธา ๔ พระรัตนตรัย ปฏิบติตามไตรสิ กขาและ ั  พระพุทธ o พุทธกิจ ๕ หลักธรรมโอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนา  พระธรรม หรื อหลักธรรมของศาสนาที่ตน o อริ ยสัจ ๔ o หลักกรรม นับถือตามที่กาหนด  พระสงฆ์  ไตรสิ กขา  ศีล สมาธิ ปัญญา  โอวาท ๓  ไม่ทาชัว่ o เบญจศีล o อบายมุข ๖ o อกุศลมูล ๓
  • 18. ๑๘ ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง  ทาความดี o เบญจธรรม o กุศลมูล ๓ o พละ ๔ o คารวะ ๖ o กตัญญูกตเวทีต่อพระมหากษัตริ ย ์ o มงคล ๓๘ - มีวนย ิ ั - การงานไม่มีโทษ - ไม่ประมาทในธรรม  ทาจิตให้บริ สุทธิ์ (บริ หารจิตและเจริ ญ ปัญญา)  พุทธศาสนสุ ภาษิต  สจฺเจน กิตฺตึ ปปฺโปติ คนจะได้เกียรติดวยสัจจะ ้  ยถาวาที ตถาการี พูดเช่นไร ทาเช่นนั้น ๕. ชื่นชมการทาความดีของบุคคลใน  ตัวอย่างการกระทาความดีของบุคคล ประเทศตามหลักศาสนา พร้อมทั้งบอก ในประเทศ แนวปฏิบติในการดาเนินชีวต ั ิ ๖. เห็นคุณค่าและสวดมนต์แผ่เมตตา และ  สวดมนต์ไหว้พระ สรรเสริ ญ บริ หารจิตเจริ ญปั ญญา มีสติท่ีเป็ นพื้นฐาน คุณพระรัตนตรัยและแผ่เมตตา ของสมาธิในพระพุทธศาสนา หรื อการ  รู้ความหมายของสติสัมปชัญญะ พัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนา สมาธิและปัญญา ที่ตนนับถือ ตามที่กาหนด  รู้วธีปฏิบติและประโยชน์ของ ิ ั การบริ หารจิตและเจริ ญปั ญญา  ฝึ กการยืน การเดิน การนัง และ ่ การนอนอย่างมีสติ  ฝึ กการกาหนดรู ้ความรู ้สึกเมื่อตาเห็น รู ป หูฟังเสี ยง จมูกดมกลิ่น ลิ้นลิ้มรส กายสัมผัสสิ่ งที่มากระทบ ใจรับรู ้ ธรรมารมณ์
  • 19. ๑๙ ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง  ฝึ กให้มีสมาธิ ในการฟั ง การอ่าน การคิด การถาม และการเขียน ๗. ปฏิบติตนตามหลักธรรมของศาสนา ั  หลักธรรม : อริ ยสัจ ๔ หลักกรรม ที่ตนนับถือ เพื่อแก้ปัญหาอบายมุขและ  โอวาท ๓ : เบญจศีล – เบญจธรรม สิ่ งเสพติด อบายมุข ๖ อกุศลมูล ๓ กุศลมูล ๓ ๘. อธิบายหลักธรรมสาคัญของศาสนา  หลักธรรมสาคัญของศาสนาต่ าง ๆ อื่นๆ โดยสังเขป  พระพุทธศาสนา : อริ ยสัจ ๔ โอวาท ๓ ฯลฯ  ศาสนาอิสลาม : หลักศรัทธา หลักปฏิบติ หลักจริ ยธรรม ั  คริ สต์ศาสนา : บัญญัติ ๑๐ ประการ ๙. อธิบายลักษณะสาคัญของศาสนพิธี  ศาสนพิธีของศาสนาต่ าง ๆ พิธีกรรมของศาสนาอื่นๆ และปฏิบติตน ั  พระพุทธศาสนา ได้อย่างเหมาะสมเมื่อต้องเข้าร่ วมพิธี o ศาสนพิธีที่เป็ นพุทธบัญญัติ เช่น บรรพชา อุปสมบท o ศาสนพิธีที่เกี่ยวเนื่ องกับ พระพุทธศาสนา เช่น ทาบุญพิธีเนื่อง ในวันสาคัญทางศาสนา o ศาสนาอิสลาม เช่น การละหมาด การถือศีลอด การบาเพ็ญฮัจญ์ ฯลฯ o คริ สต์ศาสนา เช่ น ศีลล้างบาป ศีลอภัยบาป ศีลกาลัง ศีลมหาสนิท ฯลฯ o ศาสนาฮินดู เช่น พิธีศราทธ์ พิธีบูชา เทวดา ม.๑ ๑. อธิ บายการเผยแผ่พระพุทธศาสนา  การสังคายนา หรื อศาสนาที่ตนนับถือสู่ ประเทศไทย  การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ ประเทศไทย
  • 20. ๒๐ ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง ๒. วิเคราะห์ความสาคัญของ  ความสาคัญของพระพุทธศาสนาต่ อ พระพุทธศาสนา หรื อศาสนาที่ตนนับถือ สั งคมไทยในฐานะเป็ น ที่มีต่อสภาพแวดล้อมในสังคมไทย  ศาสนาประจาชาติ รวมทั้งการพัฒนาตนและครอบครัว  สถาบันหลักของสังคมไทย  สภาพแวดล้อมที่กว้างขวาง และ ครอบคลุมสังคมไทย  การพัฒนาตนและครอบครัว ๓. วิเคราะห์พทธประวัติต้ งแต่ประสู ติ ุ ั  สรุ ปและวิเคราะห์ พุทธประวัติ  ประสู ติ จนถึงบาเพ็ญทุกรกิริยา หรื อประวัติ  เทวทูต ๔ ศาสดาที่ตนนับถือตามที่กาหนด  การแสวงหาความรู ้  การบาเพ็ญทุกรกิริยา ๔. วิเคราะห์และประพฤติตนตาม  พุทธสาวก พุทธสาวิกา แบบอย่างการดาเนินชี วตและข้อคิดจาก ิ  พระมหากัสสปะ ประวัติสาวก ชาดก/เรื่ องเล่า และศาสนิก  พระอุบาลี ชนตัวอย่างตามที่กาหนด  อนาถบิณฑิกะ  นางวิสาขา  ชาดก  อัมพชาดก  ติตติรชาดก ๕. อธิบายพุทธคุณ และข้อธรรมสาคัญ  พระรัตนตรัย ในกรอบอริ ยสัจ ๔ หรื อหลักธรรมของ  พุทธคุณ ๙  อริยสั จ ๔ ศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่กาหนด เห็น  ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้) คุณค่าและนาไปพัฒนาแก้ปัญหาของ o ขันธ์ ๕ - ธาตุ ๔ ตนเองและครอบครัว  สมุทย (ธรรมที่ควรละ) ั o หลักกรรม - ความหมายและคุณค่า o อบายมุข ๖  นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ) o สุ ข ๒ (กายิก, เจตสิ ก) o คิหิสุข
  • 21. ๒๑ ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง  มรรค (ธรรมที่ควรเจริ ญ) o ไตรสิ กขา o กรรมฐาน ๒ o ปธาน ๔ o โกศล ๓ o มงคล ๓๘ -ไม่คบคนพาล - คบบัณฑิต - บูชาผูควรบูชา ้  พุทธศาสนสุ ภาษิต  ย เว เสวติ ตาทิโส คบคนเช่นใดเป็ นคนเช่นนั้น  อตฺ ตนา โจทยตฺ ตาน จงเตือนตน ด้วยตน  นิสมฺ ม กรณ เสยฺโย ใคร่ ครวญก่อนทาจึงดี  ทุราวาสา ฆรา ทุกฺขา เรื อนที่ครองไม่ดีนาทุกข์มาให้ ๖. เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิต เพื่อการ  โยนิโสมนสิ การ เรี ยนรู้และการดาเนินชีวิต ด้วยวิธีคิดแบบ  วิธีคิดแบบคุณค่าแท้ – คุณค่าเทียม โยนิโสมนสิ การคือวิธีคิดแบบคุณค่าแท้ –  วิธีคิดแบบคุณ - โทษและทางออก คุณค่าเทียม และวิธีคิดแบบคุณ – โทษ และทางออก หรื อการพัฒนาจิตตาม แนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ ๗. สวดมนต์ แผ่เมตตา บริ หารจิตและ  สวดมนต์แปล และแผ่เมตตา เจริ ญปั ญญาด้วยอานาปานสติ หรื อตาม  วิธีปฏิบติและประโยชน์ของการบริ หารจิต ั แนวทางของศาสนาที่ตนับถือตามที่ และเจริ ญปัญญา การฝึ กบริ หารจิตและ กาหนด เจริ ญปั ญญาตามหลักสติปัฎฐานเน้น อานาปานสติ  นาวิธีการบริ หารจิตและเจริ ญปัญญาไปใช้ ในชีวตประจาวัน ิ