SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 24
Database Systems Architecture
   การอธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างและส่วนประกอบหลักทีนำามา
                                                  ่
    ประกอบรวมกันเป็นระบบฐานข้อมูล
   Internal Level     External Schema
   Conceptual Level
   External Level
                         Conceptual
                          Schema


                       Internal Schema




                          Database
   มี Internal Schema ที่ใช้อธิบายโครงสร้างการจัดเก็บข้อมูล
    เชิงกายภาพ
   ผูใช้งานฐานข้อมูลไม่สามารถมองเห็นรายละเอียดของ
      ้
    โครงสร้างในระดับนีได้
                        ้
   ผูเข้าถึงข้อมูลในระดับนีได้มีเพียง ผูบริหารข้อมูล (Database
        ้                   ้            ้
    Administrators: DBA)
   เรียกอีกอย่างหนึงว่าโครงร่างข้อมูลแบบตรรกะ(Logical)
                     ่
   จัดเป็นโครงสร้างหลักของระบบที่เรียกว่า แบบจำาลองข้อมูล
    (Data Model)
   แสดงความสัมพันธ์ (relationship) ระหว่างข้อมูลเป็นหลัก
   การนำาเสนอข้อมูลจะแสดงในรูปของตารางหรือรีเลชั่น
   ผูเข้าถึงโครงสร้างข้อมูลในระดับนี้ได้แก่ ผู้บริหารข้อมูล (data
      ้
    administrators) หรือโปรแกรมเมอร์ (programmer) เท่านั้น
   เป็นมุมมองของผู้ใช้งานฐานข้อมูล (User)
   แบบจำาลองข้อมูล คือ เทคนิคทีนำามาใช้ในการจัดการโครงสร้าง
                                 ่
    และความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลในระบบ
   มีวัตถุประสงค์ในการนำาเสนอข้อมูลเพื่อให้เกิดความเข้าใจซึ่งกัน
    และกัน และส่งผลให้การออกแบบฐานข้อมูลเป็นไปได้งายขึ้น่
   แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
     แบบจำาลองเพื่อการนำาไปใช้ (Implementation Data
       Models)
     แบบจำาลองเชิงแนวคิด (Conceptual Data Models)
แบบจำาลองเพื่อการนำาไปใช้ (Implementation Data Models)
  เป็นแบบจำาลองที่อธิบายถึงโครงสร้างข้อมูลของฐานข้อมูลโดย
  แบ่งออกเป็น 5 ประเภทได้แก่
      1. แบบจำาลองฐานข้อมูลลำาดับชั้น*
      2. แบบจำาลองฐานข้อมูลเครือข่าย**
      3. แบบจำาลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์***
      4. แบบจำาลองฐานข้อมูลเชิงวัตถุ
      5. แบบจำาลองฐานข้อมูลแบบมัลติไดเมนชั่น
แบบจำาลองเชิงแนวคิด (Conceptual Data Models)
  แสดงลักษณะของข้อมูลโดยนำาเสนอในลักษณะแผนภาพหรือ
  ไดอะแกรมซึ่งประกอบไปด้วยเอ็นทิตต่างๆ และความสัมพันธ์
                                     ี้
  ระหว่างเอ็นทิตี้ในระบบ ตัวอย่างแบบจำาลองชนิดนีเช่น
                                                ้
  แผนภาพ E-R (Entity-Relationship Diagram)
   แบบจำาลองลำาดับชัน เป็นการจัดเก็บข้อมูลโดยมีการเชื่อมโยง
                         ้
    ข้อมูลเป็นโครงสร้างต้นไม้ ไฟล์ข้อมูลจัดไว้เป็นโครงสร้างแบบ
    บนลงล่าง (Top-Down) ข้อมูลแต่ละระดับจะมีความสัมพันธ์กัน
    แบบ parent กับ child โดย parent หนึ่งๆ สามารถมีได้หลาย
    child แต่ child หนึงจะมีได้เพียง parent เดียวเท่านั้น
                       ่

                           Database system



                   Section 1            Section 2




               Stu_A       Stu_B    Stu_C           Stu_D
ข้อดี
 มีรูปแบบโครงสร้างที่เข้าใจง่าย
 โครงสร้างซับซ้อนน้อย เหมาะกับข้อมูลทีมีความสัมพันธ์แบบ
                                       ่
   one-to-many
 ข้อมูลมีความคงสภาพ (Data Integrity)
ข้อเสีย
 ยากต่อการนำาไปพัฒนาเป็นแอปพลิเคชัน
 โครงสร้างข้อมูลมีความยืดหยุ่นตำ่า
 ไม่รองรับความสัมพันธ์แบบ many-to-many
 ข้อมูลมีความซำ้าซ้อน
   แบบจำาลองฐานข้อมูลเครือข่ายมีเป้าหมายเพื่อลดความซำ้าซ้อน
    ของข้อมูลที่เกิดขึ้นในแบบจำาลองลำาดับชั้น ด้วยการยอมให้เกิด
    ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลในแบบ many-to-many ได้โดย
    child สามารถมี parent ได้มากกว่า 1 parent แบบจำาลองเครือ
    ข่ายมีพื้นฐานมาจากทฤษฎีเซต (Set theory)

                          Registration



             Database system         Web admin




            Stu_A      Stu_B      Stu_A          Stu_C
ข้อดี
 สนับสนุนความสัมพันธ์แบบ many-to-many
 การเข้าถึงข้อมูลมีความยืดหยุ่นสูงลดความซำ้าซ้อนบางส่วน
ข้อเสีย
 ระบบมีความซับซ้อน ยากต่อการนำาไปใช้
 โครงสร้างไม่มีอิสระจากข้อมูล
  แบบจำาลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์เป็นการนำาเสนอข้อมูลในลักษณะ
   ตาราง(Table) โดยตารางหนึงจะประกอบด้วยแถวและคอลัมน์
                                ่
   ข้อมูลที่จัดเก็บอยู่ในตารางสามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์กับตารา
   งอืนๆ ได้ ไม่ว่าจะเป็นความสัมพันธ์แบบ one-to-many หรือแบบ
      ่
   many-to-many ในปัจจุบันแบบจำาลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์เป็น
   แบบจำาลองที่มีความแพร่หลายและนิยมใช้กันมากทีสุดในปัจจุบัน
                                                  ่
ข้อดี
 มีความเป็นอิสระในโครงสร้าง
 ลดความซำ้าซ้อนของข้อมูลได้เป็นส่วนใหญ่
 ใช้ชุดคำาสั่ง SQL ในการจัดการกับฐานข้อมูล
 โครงสร้างมีความยืดหยุ่น
ข้อเสีย
 ค่าใช้จ่ายในระบบค่อนข้างสูง
   พื้นฐานการสร้างแบบจำาลองข้อมูล (Data models) ในแบบจำาลอง
    เชิงสัมพันธ์ ประกอบด้วย
   เอ็นทิตี้ (Entity)
     กลุมของข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับบุคคล สิ่งของ สถานที่ หรือ
         ่
      เหตุการณ์ เช่น เอ็นทิตี้พนักงาน
   แอททริบิวต์ (Attributes)
     คุณสมบัติของเอ็นทิตี้ เช่น เอ็นทิตี้พนักงานประกอบไปด้วย
      แอททริบิวต์ ชื่อพนักงาน, เพศ, แผนก, ทีอยู, เบอร์โทร เป็นต้น
                                            ่ ่
   ความสัมพันธ์ (Relationship)
     เป็นความสัมพันธ์ระหว่างเอ็นทิตี้ เช่นความสัมพันธ์ระหว่าง
      เอ็นทิตี้พนักงาน กับเอ็นทิตี้สินค้า
Relation: Employee
ความหมายของฟิลด์
                   รหัสพนักงาน          ชื่อ      นามสกุล         แผนก       ตำาแหน่ง
ชือฟิลด์
  ่                 Emp_ID       Firstname      Lastname          Dep        Position
                   Em1002        ชิดชัย        ละไมสม             ผลิต     ผู้จัดการแผนก
                   Em1003        ตุลา          ไพบูลย์รุ่งเรือง   จัดซือ
                                                                       ้   ผู้จัดการแผนก

 แถว(Tuples)       Em1004        ธรรมดา        งามดีพร้อม         จัดซือ
                                                                       ้   พนักงาน
                   Em1005        สวยพร้อม      การุณสรร           ขาย      ผู้จัดการแผนก
                   Em1006        เจตนา         พิทักษ์ทรัพย์      ขาย      พนักงาน
คีย์ (key) หมายถึง (คอลัมน์, ฟิลด์, แอตทริบิวต์) ซึ่งจะมีคาไม่ซำ้า
                                                          ่
   กันในแต่ละแถว (unique) ทำาให้สามารถใช้คอลัมน์เหล่านี้ระบุ
   ถึง (แถว, เรคอร์ด, ทัพเพิล) แต่ละแถวได้
   กลุมของแอตทริบิวต์ที่ใช้ระบุถึงความเป็นเอกลักษณ์ในแต่ละ
       ่
    ทัพเพิลของรีเลชั่นนันๆ ซึ่งแอตทริบิวต์เหล่านั้นอาจไม่มีโอกาส
                        ้
    มีค่าซำ้ากันเลยในแต่ละแถว
     รหัสพนักงาน          ชื่อ      นามสกุล         แผนก        ตำาแหน่ง
       Emp_ID      Firstname      Lastname          Dep         Position
     Em1002        ชิดชัย        ละไมสม             ผลิต      ผู้จัดการแผนก
     Em1003        ตุลา          ไพบูลย์รุ่งเรือง   จัดซื้อ   ผู้จัดการแผนก
     Em1004        ธรรมดา        งามดีพร้อม         จัดซื้อ   พนักงาน
     Em1005        สวยพร้อม      การุณสรร            ขาย      ผู้จัดการแผนก
     Em1006        เจตนา         พิทักษ์ทรัพย์       ขาย      พนักงาน
   Employee (Emp_ID, Firstname, Lastname, Dep,
    Position)

   Emp_ID
   Emp_ID,   Firstname             Super key
   Emp_ID,   Lastname
   Emp_ID,   Dep
   Emp_ID,   Position
        รหัสพนักงาน          ชื่อ           นามสกุล         แผนก        ตำาแหน่ง
         Emp_ID       Firstname           Lastname          Dep         Position
        Em1002        ชิดชัย             ละไมสม             ผลิต      ผู้จัดการแผนก
        Em1003        ตุลา               ไพบูลย์รุ่งเรือง   จัดซื้อ   ผู้จัดการแผนก
        Em1004        ธรรมดา             งามดีพร้อม         จัดซื้อ   พนักงาน
        Em1005        สวยพร้อม           การุณสรร            ขาย      ผู้จัดการแผนก
       superkey ที่มีคอลัมน์เดียว มีขนาดเล็กที่สุด และไม่มีบางส่วน
        ของคีย์มีความเป็น unique subset

        Employee (Emp_ID, Firstname, Lastname, Dep,
         Position)

        Emp_ID
        Emp_ID,   Firstname
        Emp_ID,   Lastname
        Emp_ID,   Dep
        Emp_ID,   Position
คือ Candidate key ที่ถูกคัดเลือกให้เป็นคีย์หลัก ทีสามารถนำาไป
                                                  ่
   ใช้เพื่อการอ้างอิงความเป็น unique ของแต่ละ Tuple โดย
   คุณสมบัติของ Primary key มีดงนี้
                                  ั
 ต้องไม่บรรจุข้อมูลว่างเปล่า (Null)
 ต้องมีค่าที่ไม่ซำ้ากันในแต่ละแถว (Unique)
 Primary key จะถูกเปลียนแปลงค่าไม่ได้
                           ่
โดยใน 1 relation หรือ 1 Entity จะมี Primary key ได้เพียง 1
   ตัวเท่านั้น
     รหัสพนักงาน          ชื่อ      นามสกุล         แผนก        ตำาแหน่ง
      Emp_ID       Firstname      Lastname          Dep         Position
    Em1002         ชิดชัย        ละไมสม             ผลิต      ผู้จัดการแผนก
    Em1003         ตุลา          ไพบูลย์รุ่งเรือง   จัดซื้อ   ผู้จัดการแผนก
    Em1004         ธรรมดา        งามดีพร้อม         จัดซื้อ   พนักงาน
   คีย์นอก (FK) เป็นคีย์ทสามารถใช้อ้างอิงร่วมกับ คีย์หลัก (PK)
                          ี่
    ของอีกรีเลชันหนึงได้ โดยมีเป้าหมายที่จะเชื่อมโยงเพื่อสร้าง
                     ่
    ความสัมพันธ์ระหว่าง 2 รีเลชั่น ให้สามารถอ้างถึงค่าในคอลัมน์
    อื่นๆ ได้
       รหัสพนักงาน          ชื่อ      นามสกุล         แผนก        ตำาแหน่ง
        Emp_ID       Firstname      Lastname          Dep         Position
       Em1002        ชิดชัย        ละไมสม             ผลิต      ผู้จัดการแผนก
       Em1003        ตุลา          ไพบูลย์รุ่งเรือง   จัดซื้อ   ผู้จัดการแผนก
       Em1004        ธรรมดา        งามดีพร้อม         จัดซื้อ   พนักงาน
       Em1005        สวยพร้อม      การุณสรร            ขาย      ผู้จัดการแผนก
       Em1006        เจตนา         พิทักษ์ทรัพย์       ขาย      พนักงาน
Relation: Employees




   Relation: Department
กำาหนด Entity ทีเกียวข้อง
                ่ ่
 ข้อมูลพนักงาน
 ข้อมูลลูกค้า
 ข้อมูลหนังสือ


Relation Schema
พนักงาน: Employees
Employees (em_code, em_firstname, em_lastname, em_sex, em_address,
em_tel, dep, level)
ลูกค้า: Customers
Customers (cs_code, cs_firstname, cs_lastname, cs_sex, cs_address, cs_tel)

หนังสือ : Books
Books (B_code, title, Author, ISBN, Pub, Year, Lang, Price, Cate, Stock)
   กิจกรรมกลุ่ม...ให้นักศึกษาออกแบบระบบงานในรูป
    แบบของ Relation Schema พร้อมทั้งระบุ Primary
    key
   ระบบโรงแรม
   ระบบลงทะเบียนฝึกอบรม
   ระบบห้องสมุดโรงเรียน
   ระบบร้านค้าปลีก
   ระบบบ้านเช่า
   ระบบลงทะเบียนเรียนของมหาวิทยาลัย
   ระบบร้านเช่าหนังสือ
   ระบบจองตั๋วภาพยนตร์
   ระบบขนส่ง (รถทัวร์)
   ระบบร้านขายเทป CD’ DVD’

Mais conteúdo relacionado

Destaque

เทคนิคการขอตำแหน่งทางวิชาการ
เทคนิคการขอตำแหน่งทางวิชาการเทคนิคการขอตำแหน่งทางวิชาการ
เทคนิคการขอตำแหน่งทางวิชาการPrachyanun Nilsook
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลNithiwan Rungrangsri
 
ระบบยืม คืนหนังสือห้องสมุด
ระบบยืม   คืนหนังสือห้องสมุดระบบยืม   คืนหนังสือห้องสมุด
ระบบยืม คืนหนังสือห้องสมุดRanyanee
 
ระบบจัดการหอพัก
ระบบจัดการหอพักระบบจัดการหอพัก
ระบบจัดการหอพักmeaw_concon
 
Best practices in Moodle Course Design
Best practices in Moodle Course DesignBest practices in Moodle Course Design
Best practices in Moodle Course DesignMichelle Moore
 
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่Visiene Lssbh
 

Destaque (8)

Database
DatabaseDatabase
Database
 
เทคนิคการขอตำแหน่งทางวิชาการ
เทคนิคการขอตำแหน่งทางวิชาการเทคนิคการขอตำแหน่งทางวิชาการ
เทคนิคการขอตำแหน่งทางวิชาการ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
ระบบยืม คืนหนังสือห้องสมุด
ระบบยืม   คืนหนังสือห้องสมุดระบบยืม   คืนหนังสือห้องสมุด
ระบบยืม คืนหนังสือห้องสมุด
 
ระบบจัดการหอพัก
ระบบจัดการหอพักระบบจัดการหอพัก
ระบบจัดการหอพัก
 
Best practices in Moodle Course Design
Best practices in Moodle Course DesignBest practices in Moodle Course Design
Best practices in Moodle Course Design
 
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
 
Best Ways of Using Moodle
Best Ways of Using MoodleBest Ways of Using Moodle
Best Ways of Using Moodle
 

Semelhante a Database architecture

เขียนโปรแกรมด้วยไพธอน
เขียนโปรแกรมด้วยไพธอนเขียนโปรแกรมด้วยไพธอน
เขียนโปรแกรมด้วยไพธอนNuchy Suchanuch
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลOrapan Chamnan
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
Dc282 interaction
Dc282 interactionDc282 interaction
Dc282 interactionajpeerawich
 
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007Orasa Deethung
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึมwaradakhantee
 

Semelhante a Database architecture (14)

เขียนโปรแกรมด้วยไพธอน
เขียนโปรแกรมด้วยไพธอนเขียนโปรแกรมด้วยไพธอน
เขียนโปรแกรมด้วยไพธอน
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
Excel
ExcelExcel
Excel
 
Entity Relationship
Entity RelationshipEntity Relationship
Entity Relationship
 
Unit 3 er model
Unit 3 er modelUnit 3 er model
Unit 3 er model
 
Dc282 interaction
Dc282 interactionDc282 interaction
Dc282 interaction
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม
 
53011213084
5301121308453011213084
53011213084
 
นางสาวธนพร เฟื่องขจร
นางสาวธนพร เฟื่องขจรนางสาวธนพร เฟื่องขจร
นางสาวธนพร เฟื่องขจร
 

Mais de Nittaya Intarat (20)

Normalization
NormalizationNormalization
Normalization
 
Normalization
NormalizationNormalization
Normalization
 
Local area network
Local area networkLocal area network
Local area network
 
Computer network
Computer networkComputer network
Computer network
 
E r diagram
E r diagramE r diagram
E r diagram
 
Protocol
ProtocolProtocol
Protocol
 
Data tranmission
Data tranmissionData tranmission
Data tranmission
 
Network equipment
Network equipmentNetwork equipment
Network equipment
 
Network equipment
Network equipmentNetwork equipment
Network equipment
 
Media
MediaMedia
Media
 
Data management pub
Data management pubData management pub
Data management pub
 
Data management
Data managementData management
Data management
 
Data management
Data managementData management
Data management
 
Data communication
Data communicationData communication
Data communication
 
Opac exam
Opac examOpac exam
Opac exam
 
Ch5 database system
Ch5 database systemCh5 database system
Ch5 database system
 
Ch4 communication and network
Ch4 communication and networkCh4 communication and network
Ch4 communication and network
 
Ch3 information technology
Ch3 information  technologyCh3 information  technology
Ch3 information technology
 
Ch3 in fo re_source
Ch3 in fo re_sourceCh3 in fo re_source
Ch3 in fo re_source
 
Information sources 1
Information  sources 1Information  sources 1
Information sources 1
 

Database architecture

  • 2. การอธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างและส่วนประกอบหลักทีนำามา ่ ประกอบรวมกันเป็นระบบฐานข้อมูล
  • 3. Internal Level External Schema  Conceptual Level  External Level Conceptual Schema Internal Schema Database
  • 4. มี Internal Schema ที่ใช้อธิบายโครงสร้างการจัดเก็บข้อมูล เชิงกายภาพ  ผูใช้งานฐานข้อมูลไม่สามารถมองเห็นรายละเอียดของ ้ โครงสร้างในระดับนีได้ ้  ผูเข้าถึงข้อมูลในระดับนีได้มีเพียง ผูบริหารข้อมูล (Database ้ ้ ้ Administrators: DBA)
  • 5. เรียกอีกอย่างหนึงว่าโครงร่างข้อมูลแบบตรรกะ(Logical) ่  จัดเป็นโครงสร้างหลักของระบบที่เรียกว่า แบบจำาลองข้อมูล (Data Model)  แสดงความสัมพันธ์ (relationship) ระหว่างข้อมูลเป็นหลัก  การนำาเสนอข้อมูลจะแสดงในรูปของตารางหรือรีเลชั่น  ผูเข้าถึงโครงสร้างข้อมูลในระดับนี้ได้แก่ ผู้บริหารข้อมูล (data ้ administrators) หรือโปรแกรมเมอร์ (programmer) เท่านั้น
  • 6. เป็นมุมมองของผู้ใช้งานฐานข้อมูล (User)
  • 7. แบบจำาลองข้อมูล คือ เทคนิคทีนำามาใช้ในการจัดการโครงสร้าง ่ และความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลในระบบ  มีวัตถุประสงค์ในการนำาเสนอข้อมูลเพื่อให้เกิดความเข้าใจซึ่งกัน และกัน และส่งผลให้การออกแบบฐานข้อมูลเป็นไปได้งายขึ้น่  แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ  แบบจำาลองเพื่อการนำาไปใช้ (Implementation Data Models)  แบบจำาลองเชิงแนวคิด (Conceptual Data Models)
  • 8. แบบจำาลองเพื่อการนำาไปใช้ (Implementation Data Models) เป็นแบบจำาลองที่อธิบายถึงโครงสร้างข้อมูลของฐานข้อมูลโดย แบ่งออกเป็น 5 ประเภทได้แก่ 1. แบบจำาลองฐานข้อมูลลำาดับชั้น* 2. แบบจำาลองฐานข้อมูลเครือข่าย** 3. แบบจำาลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์*** 4. แบบจำาลองฐานข้อมูลเชิงวัตถุ 5. แบบจำาลองฐานข้อมูลแบบมัลติไดเมนชั่น แบบจำาลองเชิงแนวคิด (Conceptual Data Models) แสดงลักษณะของข้อมูลโดยนำาเสนอในลักษณะแผนภาพหรือ ไดอะแกรมซึ่งประกอบไปด้วยเอ็นทิตต่างๆ และความสัมพันธ์ ี้ ระหว่างเอ็นทิตี้ในระบบ ตัวอย่างแบบจำาลองชนิดนีเช่น ้ แผนภาพ E-R (Entity-Relationship Diagram)
  • 9. แบบจำาลองลำาดับชัน เป็นการจัดเก็บข้อมูลโดยมีการเชื่อมโยง ้ ข้อมูลเป็นโครงสร้างต้นไม้ ไฟล์ข้อมูลจัดไว้เป็นโครงสร้างแบบ บนลงล่าง (Top-Down) ข้อมูลแต่ละระดับจะมีความสัมพันธ์กัน แบบ parent กับ child โดย parent หนึ่งๆ สามารถมีได้หลาย child แต่ child หนึงจะมีได้เพียง parent เดียวเท่านั้น ่ Database system Section 1 Section 2 Stu_A Stu_B Stu_C Stu_D
  • 10. ข้อดี  มีรูปแบบโครงสร้างที่เข้าใจง่าย  โครงสร้างซับซ้อนน้อย เหมาะกับข้อมูลทีมีความสัมพันธ์แบบ ่ one-to-many  ข้อมูลมีความคงสภาพ (Data Integrity) ข้อเสีย  ยากต่อการนำาไปพัฒนาเป็นแอปพลิเคชัน  โครงสร้างข้อมูลมีความยืดหยุ่นตำ่า  ไม่รองรับความสัมพันธ์แบบ many-to-many  ข้อมูลมีความซำ้าซ้อน
  • 11. แบบจำาลองฐานข้อมูลเครือข่ายมีเป้าหมายเพื่อลดความซำ้าซ้อน ของข้อมูลที่เกิดขึ้นในแบบจำาลองลำาดับชั้น ด้วยการยอมให้เกิด ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลในแบบ many-to-many ได้โดย child สามารถมี parent ได้มากกว่า 1 parent แบบจำาลองเครือ ข่ายมีพื้นฐานมาจากทฤษฎีเซต (Set theory) Registration Database system Web admin Stu_A Stu_B Stu_A Stu_C
  • 12. ข้อดี  สนับสนุนความสัมพันธ์แบบ many-to-many  การเข้าถึงข้อมูลมีความยืดหยุ่นสูงลดความซำ้าซ้อนบางส่วน ข้อเสีย  ระบบมีความซับซ้อน ยากต่อการนำาไปใช้  โครงสร้างไม่มีอิสระจากข้อมูล
  • 13.  แบบจำาลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์เป็นการนำาเสนอข้อมูลในลักษณะ ตาราง(Table) โดยตารางหนึงจะประกอบด้วยแถวและคอลัมน์ ่ ข้อมูลที่จัดเก็บอยู่ในตารางสามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์กับตารา งอืนๆ ได้ ไม่ว่าจะเป็นความสัมพันธ์แบบ one-to-many หรือแบบ ่ many-to-many ในปัจจุบันแบบจำาลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์เป็น แบบจำาลองที่มีความแพร่หลายและนิยมใช้กันมากทีสุดในปัจจุบัน ่ ข้อดี  มีความเป็นอิสระในโครงสร้าง  ลดความซำ้าซ้อนของข้อมูลได้เป็นส่วนใหญ่  ใช้ชุดคำาสั่ง SQL ในการจัดการกับฐานข้อมูล  โครงสร้างมีความยืดหยุ่น ข้อเสีย  ค่าใช้จ่ายในระบบค่อนข้างสูง
  • 14. พื้นฐานการสร้างแบบจำาลองข้อมูล (Data models) ในแบบจำาลอง เชิงสัมพันธ์ ประกอบด้วย  เอ็นทิตี้ (Entity)  กลุมของข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับบุคคล สิ่งของ สถานที่ หรือ ่ เหตุการณ์ เช่น เอ็นทิตี้พนักงาน  แอททริบิวต์ (Attributes)  คุณสมบัติของเอ็นทิตี้ เช่น เอ็นทิตี้พนักงานประกอบไปด้วย แอททริบิวต์ ชื่อพนักงาน, เพศ, แผนก, ทีอยู, เบอร์โทร เป็นต้น ่ ่  ความสัมพันธ์ (Relationship)  เป็นความสัมพันธ์ระหว่างเอ็นทิตี้ เช่นความสัมพันธ์ระหว่าง เอ็นทิตี้พนักงาน กับเอ็นทิตี้สินค้า
  • 15. Relation: Employee ความหมายของฟิลด์ รหัสพนักงาน ชื่อ นามสกุล แผนก ตำาแหน่ง ชือฟิลด์ ่ Emp_ID Firstname Lastname Dep Position Em1002 ชิดชัย ละไมสม ผลิต ผู้จัดการแผนก Em1003 ตุลา ไพบูลย์รุ่งเรือง จัดซือ ้ ผู้จัดการแผนก แถว(Tuples) Em1004 ธรรมดา งามดีพร้อม จัดซือ ้ พนักงาน Em1005 สวยพร้อม การุณสรร ขาย ผู้จัดการแผนก Em1006 เจตนา พิทักษ์ทรัพย์ ขาย พนักงาน
  • 16. คีย์ (key) หมายถึง (คอลัมน์, ฟิลด์, แอตทริบิวต์) ซึ่งจะมีคาไม่ซำ้า ่ กันในแต่ละแถว (unique) ทำาให้สามารถใช้คอลัมน์เหล่านี้ระบุ ถึง (แถว, เรคอร์ด, ทัพเพิล) แต่ละแถวได้
  • 17. กลุมของแอตทริบิวต์ที่ใช้ระบุถึงความเป็นเอกลักษณ์ในแต่ละ ่ ทัพเพิลของรีเลชั่นนันๆ ซึ่งแอตทริบิวต์เหล่านั้นอาจไม่มีโอกาส ้ มีค่าซำ้ากันเลยในแต่ละแถว รหัสพนักงาน ชื่อ นามสกุล แผนก ตำาแหน่ง Emp_ID Firstname Lastname Dep Position Em1002 ชิดชัย ละไมสม ผลิต ผู้จัดการแผนก Em1003 ตุลา ไพบูลย์รุ่งเรือง จัดซื้อ ผู้จัดการแผนก Em1004 ธรรมดา งามดีพร้อม จัดซื้อ พนักงาน Em1005 สวยพร้อม การุณสรร ขาย ผู้จัดการแผนก Em1006 เจตนา พิทักษ์ทรัพย์ ขาย พนักงาน
  • 18. Employee (Emp_ID, Firstname, Lastname, Dep, Position)  Emp_ID  Emp_ID, Firstname Super key  Emp_ID, Lastname  Emp_ID, Dep  Emp_ID, Position รหัสพนักงาน ชื่อ นามสกุล แผนก ตำาแหน่ง Emp_ID Firstname Lastname Dep Position Em1002 ชิดชัย ละไมสม ผลิต ผู้จัดการแผนก Em1003 ตุลา ไพบูลย์รุ่งเรือง จัดซื้อ ผู้จัดการแผนก Em1004 ธรรมดา งามดีพร้อม จัดซื้อ พนักงาน Em1005 สวยพร้อม การุณสรร ขาย ผู้จัดการแผนก
  • 19. superkey ที่มีคอลัมน์เดียว มีขนาดเล็กที่สุด และไม่มีบางส่วน ของคีย์มีความเป็น unique subset  Employee (Emp_ID, Firstname, Lastname, Dep, Position)  Emp_ID  Emp_ID, Firstname  Emp_ID, Lastname  Emp_ID, Dep  Emp_ID, Position
  • 20. คือ Candidate key ที่ถูกคัดเลือกให้เป็นคีย์หลัก ทีสามารถนำาไป ่ ใช้เพื่อการอ้างอิงความเป็น unique ของแต่ละ Tuple โดย คุณสมบัติของ Primary key มีดงนี้ ั  ต้องไม่บรรจุข้อมูลว่างเปล่า (Null)  ต้องมีค่าที่ไม่ซำ้ากันในแต่ละแถว (Unique)  Primary key จะถูกเปลียนแปลงค่าไม่ได้ ่ โดยใน 1 relation หรือ 1 Entity จะมี Primary key ได้เพียง 1 ตัวเท่านั้น รหัสพนักงาน ชื่อ นามสกุล แผนก ตำาแหน่ง Emp_ID Firstname Lastname Dep Position Em1002 ชิดชัย ละไมสม ผลิต ผู้จัดการแผนก Em1003 ตุลา ไพบูลย์รุ่งเรือง จัดซื้อ ผู้จัดการแผนก Em1004 ธรรมดา งามดีพร้อม จัดซื้อ พนักงาน
  • 21. คีย์นอก (FK) เป็นคีย์ทสามารถใช้อ้างอิงร่วมกับ คีย์หลัก (PK) ี่ ของอีกรีเลชันหนึงได้ โดยมีเป้าหมายที่จะเชื่อมโยงเพื่อสร้าง ่ ความสัมพันธ์ระหว่าง 2 รีเลชั่น ให้สามารถอ้างถึงค่าในคอลัมน์ อื่นๆ ได้ รหัสพนักงาน ชื่อ นามสกุล แผนก ตำาแหน่ง Emp_ID Firstname Lastname Dep Position Em1002 ชิดชัย ละไมสม ผลิต ผู้จัดการแผนก Em1003 ตุลา ไพบูลย์รุ่งเรือง จัดซื้อ ผู้จัดการแผนก Em1004 ธรรมดา งามดีพร้อม จัดซื้อ พนักงาน Em1005 สวยพร้อม การุณสรร ขาย ผู้จัดการแผนก Em1006 เจตนา พิทักษ์ทรัพย์ ขาย พนักงาน
  • 22. Relation: Employees Relation: Department
  • 23. กำาหนด Entity ทีเกียวข้อง ่ ่  ข้อมูลพนักงาน  ข้อมูลลูกค้า  ข้อมูลหนังสือ Relation Schema พนักงาน: Employees Employees (em_code, em_firstname, em_lastname, em_sex, em_address, em_tel, dep, level) ลูกค้า: Customers Customers (cs_code, cs_firstname, cs_lastname, cs_sex, cs_address, cs_tel) หนังสือ : Books Books (B_code, title, Author, ISBN, Pub, Year, Lang, Price, Cate, Stock)
  • 24. กิจกรรมกลุ่ม...ให้นักศึกษาออกแบบระบบงานในรูป แบบของ Relation Schema พร้อมทั้งระบุ Primary key  ระบบโรงแรม  ระบบลงทะเบียนฝึกอบรม  ระบบห้องสมุดโรงเรียน  ระบบร้านค้าปลีก  ระบบบ้านเช่า  ระบบลงทะเบียนเรียนของมหาวิทยาลัย  ระบบร้านเช่าหนังสือ  ระบบจองตั๋วภาพยนตร์  ระบบขนส่ง (รถทัวร์)  ระบบร้านขายเทป CD’ DVD’