SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 85
Baixar para ler offline
ไคเซ็น (Kai Zen)
               สิริพงศ จึงถาวรรณ
    ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการจัดการ
 คณะวิศวกรรมศาสตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
    มหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร
E: KN19119@HOTMAIL.COM W: KN19119.HI5.COM
                                             1
หัวขอที่จะบรรยายวันนี้
•   ไคเซ็น (Kai-Zen)
•   หลักการพื้นฐานในการปรับปรุง
•   ขั้นตอนการทําไคเซ็นแบบงายๆ
•   กลุมไคเซ็น
•   การดําเนินกิจกรรมไคเซ็น
•   ตัวอยางการดําเนินงานกิจกรรมไคเซ็น


                                             2
ไคเซ็น (Kai-Zen)
• หนังสือ New Shorter Oxford English Dictionary ฉบับปรับปรุง
  ใหม ค.ศ. 1993 ไดบรรจุศัพท “Kaizen” ไวโดยอธิบายวา
• ไคเซ็น หมายถึง การปรับปรุงอยางตอเนื่อง สําหรับ
  (1) การปฏิบัติงานตางๆ
  (2) ประสิทธิภาพของบุคคล ฯลฯ
• ซึ่งในทางภาษาญี่ปุนไคเซ็น หมายถึง การปรับปรุงอยางตอเนื่องซึ่งจะ
  มีความหมายแฝงถึงการปรับปรุงที่ทุกคนมีสวนรวมเปนเจาของเรื่อง
  ทั้งระดับผูจัดการ ตลอดจนพนักงานทุกคน
                                                                   3
ความสําคัญในกระบวนการของ Kaizen
                                   ไค                    เซ็น
 • การใชความรูความสามารถของ
                                 เปลี่ยน             คิดเกียวกับ
                                                           ่
   พนักงานมาคิดปรับปรุงงานโดย
                                ดัดแปลง              ทําใหดีขึ้น
   ใชการลงทุนเพียงเล็กนอย     แยกสวน              ทําใหดีกวา


                                            ไคเซ็น
                                      เปลี่ยนแปลงใหดี
                                    ปรับปรุงอยางตอเนื่อง


“ทุกคนทําไคเซ็นโดยอัตโนมัติ โดยไมตองมีใครมาบังคับ”
                                                               4
ความแตกตางของ “ไคเซ็น” กับ “นวัตกรรม”
ผลการปรับปรุง




                            นวัตกรรม   ไคเซ็น
                                                            ระยะเวลา
นวัตกรรม มักจะทําใหเห็นถึงผล                   ไคเซ็น จะคอยเปนคอยไป
 ไดรวดเร็วในระยะเวลาอันสั้น                           ไมรีบรอน !     5
เราเกงกวาที่เราคิด
(We are faster than we think …)



                              6
คําถาม 5 นาที
• ที่บริษทของเรามีกิจกรรมการปรับปรุงอยางตอเนื่องใดที่ดําเนินการแลว
         ั
  บาง
• เราสามารถเห็นอะไรที่สามารถเปลี่ยนแปลงไดเพื่อปรับปรุงการ
  ปฏิบตงานของคุณบาง
        ัิ




                                                                    7
หลักการพื้นฐานในการปรับปรุง

• โยน ความคิดเดิมๆ ของเราในการทําสิ่งตางๆ ทิ้งไป
    คิดวิธการใหมทําอยางไร ไมใชคิดวามันจะทําไมไดเพราะอะไร
           ี
•
•   ปฏิเสธสถานะเดิม
•   เพียงแคมีผลดีขึ้นเล็กหนอยก็เริ่มลงมือไดเลย หากแกถูกจุด
    ไมใชเงินกอนใหญในการปรับปรุง
•
•   “ปญหา” คือโอกาสใหเราใชสมอง
•   ระดมความคิดกัน ความเห็นของคน 10 คน ยอมดีกวาคนๆ เดียว
•   ทําอยางจริงจัง และตอเนือง
                             ่                                    8
กระบวนการและการปฏิบัติการ


 พนักงาน
เครื่องจักร
              กระบวนการผลิต/   ผลิตภัณฑ/บริการ
               การปฎิบัติการ
 วัตถุดิบ
 วิธีการ



                                                  9
ความสูญเปลา 7 ประการ
•   การผลิตมากเกินไป             มากกวาที่ลูกคาตองการ
•   สินคาคงคลัง                 การจัดเก็บสินคามากกวาขั้นต่ํา
•   การขนสง                     การเคลื่อนยายที่ไมจําเปน
•   การลาชา/รอคอย              รอคอยกระบวนการกอนหนา/ถัดไป
•   กระบวนการที่สูญเปลา         การออกแบบเครื่องมือ/ผลิตภัณฑไมดี
•   การเคลื่อนไหวที่ไรประโยชน          การเอื้อมหยิบ การเดิน การคนหา
•   ชิ้นงานที่มีขอบกพรอง/ของเสีย       งานที่ตองกลับมาทํา/แกไข/ทําลาย

                                                                     10
คําถาม 5 นาที
• ไคเซ็น คือ อะไร
• เรารับผิดชอบปฏิบติการใดบางในกระบวนการผลิต
                      ั
• เราทําอะไรที่เพิ่มคุณคาบาง




                                               11
ขั้นตอนการทําไคเซ็นแบบงายๆ
                   -ยกเลิก

          เลิก     - ลดความไมตอเนื่อง
                   - ตัดทิ้ง
                   - เอาออก


                   - ทําใหงายๆ

         รวม       - ทําพรอมๆ กัน
                   - ทําเปนมาตรฐาน
                   - การจัดการ
                   - รวมเขาดวยกัน


                   - ทางเลือก
        เปลี่ยน    - แลกเปลี่ยน
                   - แยกออก               12
เลิก
                               เอากระจกออก




   นํากระจกออกไปทําใหหยิบหนังสือไดงาย     13
รวม
                     ถอดหลอดออกไป




      ลดจํานวนหลอดไฟลง              14
เปลี่ยน
                                   นําเทปมาติด




    นําเทปมาติดทําใหรูทันวาแอรทํางานหรือไม   15
กิจกรรมเดิม + เทคโนโลยีเดิม =
      ผลที่คาดการณได

กิจกรรมใหม + เทคโนโลยีใหม =
   ผลที่แตกตางจากเดิมมาก
                                16
กลุมไคเซ็น
• เริ่มจากจัดตั้งทีมงาน
   – ผูปฏิบัติงานหนางาน
   – หัวหนางาน
   – ที่ปรึกษา
   – บุคคลอื่นๆ ที่เกี่ยวของ




                                          17
ประโยชนของไคเซ็น
•   กําจัดตนทุนแฝงที่เกิดจากความสูญเปลาทั้ง 7
•   ปรับปรุงการปฏิบัติการที่เพิ่มคุณคาในกระบวนการ
•   เกิดการเปลี่ยนแปลงทีละเล็กละนอย แตรวดเร็ว
•   ลดความสูญเปลา และความลาชา
•   แกปญหาดวยการมีสวนรวมระหวางกลุมไคเซ็น




                                                     18
คําถาม 5 นาที
• บริเวณใดที่ควรทําไคเซ็นเปนจุดแรก และควรมุงเนนเรื่องใด




                                                             19
การดําเนินงานกิจกรรมไคเซ็น
•   การเลือกพื้นที่
•   การเลือกปญหา
•   การเลือกผูนา
                ํ
•   การเลือกสมาชิก




                                            20
การเลือกพื้นที่
•   ควรเลือกพื้นทีท่จะเห็นผลการปรับปรุง
                    ี
•   แตตองไมเปนบริเวณที่ปญหายากที่จะแกไข
                             
•   เพื่อสอนหลายๆ สิ่งหลายๆ อยางกอน ทําบริเวณที่ยากขึ้นๆ
•   เต็มไปดวยงานระหวางทํา (WIP)
•   เปนกิจกรรมที่เกิดทั่วทั้งโรงงาน
•   เปนคอขวดอยางมีนัยสําคัญ หรือมีสิ่งกีดขวางการไหลของการผลิต
•   มีการหยุดผลิตใหญๆ บอยครั้ง
•   ดูรายละเอียดไดในตารางการเลือกพื้นที่ทํากิจกรรมไคเซ็น
                                                                  21
ตารางเลือกพืนที่การทํากิจกรรมไคเซ็น
            ้




                                      22
คําถาม 5 นาที
• พื้นที่ 3 แหงในโรงงานของเราที่เปนจุดเริ่มที่ดในการทําไคเซ็นคือที่
                                                 ี
  ใดบาง
• จากตารางการเลือกพื้นที่การทํากิจกรรมไคเซ็นควรเริมจากพื้นที่ใดจาก
                                                     ่
  ทัง 3 นี้กอน ทําไม
    ้




                                                                    23
การเลือกปญหาเพื่อการปรับปรุง
• เมื่อเลือกพื้นที่แลว จะตองมาตัดสินใจวาจะมุงเนนที่ปญหาใด
• กําหนดพื้นที่ ปญหา ระยะเวลา เปาหมาย และทีมงาน




                                                                  24
5 ขั้นตอนหลัก ในการคนพบความสูญเปลา
1. มองไปยัง 3 สิ่งที่เปนจริง
    – โรงงาน
    – ความจริง
    – งานระหวางทํา
2. ถามวา “อะไร”
    – ถามวาการปฎิบัติการนี้เกี่ยวกับอะไร
3. ถามวา “ทําไม”
    – ถามวาทําไมการปฎิบัติการนี้จึงมีความสําคัญ
                                                   25
5 ขั้นตอนหลัก ในการคนพบความสูญเปลา
4. ทุกอยางที่ไมใช “งาน” คือ “ความสูญเปลา”
    – คนพบวาอะไรคือหนาที่ที่จําเปนตองปฏิบัติจริงๆ
    – บงชี้งานที่ไมสงผลตอหนาที่ คือ “ความสูญเปลา”
5. ถามวา “ทําไม” อีก 5 ครั้ง เพื่อหาสาเหตุรากเหงา
    – เพื่อหาความสูญเปลาที่แทจริง




                       แผนงานเพื่อการปรับปรุง             26
คําถาม 5 นาที
• ความสูญเปลา 3 ประการ ที่เรารับผิดชอบคืออะไร
• ความสูญเปลา 3 ประการ ทีอยูในสายการผลิตของเราคืออะไร
                                ่
• เราสามารถนึกถึงความคิดใหมๆ ในการปรับปรุงสําหรับแตละ
  ความสูญเปลาที่ไดบงชี้ขางตนซึงเราตองการหารือกับเพื่อนรวมงานได
                                 ่
  ไหม



                                                                        27
การทํา 5ส
•   เปนเครื่องมือที่สมบูรณแบบในการนําพนักงานมาทํางานรวมกันเปนทีม
•   เปดโอกาสใหพนักงานมุงเนนการปรับปรุงพื้นที่งานของตนกอน
•   เปนขันตอนแรกในการสรางโรงงานที่ควบคุมดวยสายตา (Visual Factor)
          ้
•   ถาไดคะแนนจากตารางประเมิน 5ส ต่ํากวา 70 ก็ควรเริ่มทํา 5ส กอน




                                                                28
ตารางประเมิน 5ส




                  29
การเลือกผูนําทีม
• เปนผูเลือกสมาชิกในทีมที่เหลือ
• ชวยเตรียมการทํากิจกรรม สราง กําหนดเครื่องมืออุปกรณ ติดตามผล
• ดูแลทีมใหทํางานไดตามเปาหมาย




                                                              30
รายการความรับผิดชอบของผูนําทีม




                                  31
การเลือกสมาชิก
• ควรมีสมาชิก 6-12 คน
• มี 2 คน มาจากภายในพื้นที่
• ที่เหลือมาจากพื้นที่อื่นๆ และทํางานที่แตกตางกัน เชน ชางซอมบํารุง
  พนักงานผลิต หัวหนางาน พนักงานบุคคล ผูประสานงาน
• ทําใหไดแนวคิดใหมๆ
• เกิดการปรับปรุงจากลูกคาภายใน



                                                                     32
การเลือกสมาชิก

  จะตองประกอบดวยบุคคลในลักษณะตาง ๆ ดังตอไปนี้
  ① บุคคลที่มจรรยาบรรณสูง
              ี

              สิ่งที่ทําใหพวกเราซึ่งเปนผูผลิตสิงของมีความสุข
                                                  ่
              คือ การที่ลูกคาซื้อชิ้นงานที่
จรรยาบรรณ     พวกเราตังใจทําขึ้นมาเอาไปใช
                          ้
              ความตังใจในการทํางานถูกถายทอด
                        ้
              ไปถึงลูกคา

                                                                  33
การเลือกสมาชิก
   ② คนที่รูจักการควบคุมการสั่งซื้อและควบคุมการสงมอบ คือ
     บุคคลที่ทํางานเปน

สวนที่ไดสัมผัสกับลูกคา คือ
สวนการสงมอบสินคา ไดรับคําสั่งซื้อจากลูกคาคนไหน ?
วันนี้จะตองสงมอบอะไร ?
สิ่งที่ทําใหสามารถรับรูโดยการมองดู คือ
                        
กระดานควบคุมการสั่งซื้อ และ
กระดานควบคุมการสงมอบ
ตอนเชาเมื่อมาถึงโรงงานและมองดูกระดานดังกลาว
ก็สามารถเปรียบเทียบกับงานของตนเองได
                                                              34
                                                             34
การเลือกสมาชิก

   ③ คนที่รูจก “สโตร” (Store) และ “ตูเย็น” (Reizouko)
              ั

ในการปฏิรูปการผลิต สถานที่ที่ผูผลิตสินคา
และผูซื้อสินคาเปนผูควบคุมดูแล เรียกวา
“สโตร” (Store)
 และสถานที่ท่ผูใชชิ้นงานควบคุมดูแลเรียกวา
                ี
“ตูเย็น” (Reizouko)
   
ในโรงงานจะไมมีพื้นที่ที่ใชวางสิ่งของอื่น
ใดนอกเหนือจากพื้นที่ 2 สวนนี้
                                                           35
การเลือกสมาชิก

  ④ คนที่รูจักและเขาใจเรื่องการควบคุมโดยการกําหนดเวลา
   และการควบคุมโดยการกําหนดปริมาณ

สําหรับการจัดเตรียม จะตองคิดวาจะไปเอาสินคา
ครั้งละปริมาณเทาไร ? ทําอยางไรจึงจะทําให
งานคางในไลนลดนอยลง ? และจํานวนเทียวใน่
การขนสงลดนอยลง ? แลวลองปฏิบัตดู  ิ


                                                          36
การเลือกสมาชิก

   ⑤ คนที่สามารถนําแตละขั้นตอนเขามาใกลกันได

เปนการลดระยะทางระหวางกระบวนการและกระบวนการ
,พนักงานและพนักงาน ,สิ่งของและสิ่งของ
ใหลดลงมากทีสุดเพื่อใหสามารถใชพื้นที่ใหเปน
            ่
ประโยชนมากที่สด
               ุ




                                                  37
การเลือกสมาชิก

  ⑥ คนที่ไมมองขามความสูญเปลา 3 ประการหลัก


ในการปฏิรูปการผลิต ความสูญเปลาหลักๆ
แบงออกไดเปน 3 ประเภทดวยกัน คือ
ความสูญเปลาจากการหยุดคาง
ความสูญเปลาจากการขนสง
ความสูญเปลาจากการเคลื่อนไหว


                                               38
การเลือกสมาชิก

    ⑦ คนที่มจดมุงหมายที่จะพัฒนาตนเองเปนชางผูชํานาญการ
            ีุ

คนที่พยายามใหสามารถทํางานไดเบ็ดเสร็จ
ในคนคนเดียว และคนที่มีเวลา
และมีใจเปดกวางรับสิงตางๆนั่นแหละ
                     ่
คือแบบอยางของผูผลิตในอุตสาหกรรม
แหงอนาคต


                                                            39
วลีตองหาม !
•   “ทําเองซิ”
•   “เราไมสามารถทําใหตนทุนต่ํากวานี้ได” (แตอยากไดเงินเดือนเพิม)
                                                                   ่
•   “นี่ก็ดีพอแลว”
•   “ยุงเกินไปที่จะทํามัน”
•   “ฉันทําไมได”
•   “มันเปนความรับผิดชอบของคุณไมใชของฉัน”
•   “เราทําไดโดยที่ไมตองเปลียนแปลง”
                               ่

                                                                        40
การฝกอบรมทีม
• รวมหลักการกิจกรรมไคเซ็น (ที่เรากําลังอบรมอยูนี้ละ)
• ภาพรวมของกิจกรรมไคเซ็น ทําอะไรบาง
• ผลที่จะไดรับกับเรา และบริษัท




                                                        41
คําถาม 5 นาที
• คุณสมบัติใดมี่เราคิดวาเหมาะสมที่จะเปนสมาชิกทีม
• ผูรวมงานของเรา มีใครเหมาะสมทีจะเปนผูนําทีม
                                  ่




                                                     42
ในประเทศญี่ปุน การเพิ่มประสิทธิภาพใหกับกิจกรรมไคเซ็น
โดยการเชื่อมโยงเขากับไคเซ็นชีท (Kaizen sheet)




                                                         43
ตัวอยางการดําเนินงานกิจกรรมไคเซ็น




                                     44
สิ่งนี้คือ อะไร




นอตตัวผู    นอตตัวเมีย      แหวน


                                      45
กอนทําไคเซ็น
• หยิบแหวนยาก เมื่อวางบนโตะ




                                     46
หลังทําไคเซ็นแบบที่ 1
• ใชโตะงานที่มีความโคงมน มาชวยใหหยิบแหวนไดงายขึ้น

         โตะงานที่มีความโคงมน




                                                           47
หลังทําไคเซ็นแบบที่ 2
• วางฟองน้ําหนา 10 ซม. ชวยทําใหหยิบแหวนไดงายขึ้น




                                       ฟองน้ําหนา 10 ซม.
                                                           48
กอนทําไคเซ็น
• เวลาจะหาสิ่งของก็ตองกมแลวอานรายชื่อแตละลินชัก
                                                ้


                                           ปวดหลังจัง




                                                        49
หลังทําไคเซ็นแบบที่ 1
• ยกลิ้นชักขึ้นเพื่อใหอานไดงายขึ้น แตก็จะมีปญหาอื่นตามมาอีก

                                               เอื้อมไมถึง
              อยูไหน ?




                                                                    50
หลังทําไคเซ็นแบบที่ 2
• เอาชื่ออุปกรณตางๆ แปะไวที่บอรดบนกําแพงดวย


           เจอแลว




                                                   51
กอนทําไคเซ็น
• เมื่อเชิญธงจะเกิดเสียงดังขึ้น                เสียงดัง
                                                   ดวย
                                   เอี๊ยด..

                                              ฝดจัง




                                                          52
หลังทําไคเซ็น
• นําน้ํามันใสถุงแลวดึงขึ้นไป เพื่อใหน้ํามันชวยหลอลื่น



                                                     น้ํามัน

     ถุงน้ํามัน


                                                               53
กอนทําไคเซ็น
• เมื่อหลอดไฟฟาขาด การเปลี่ยนหลอดทําไดยุงยากมาก


       เมื่อย เมื่อไรจะเสร็จ




                                       ใสหลอดยาก
                                                     54
หลังทําไคเซ็นแบบที่ 1
• นําเสามาชวยในการค้ํายัน แตก็ยังเกะกะ




                                           อุย!




                                                   55
หลังทําไคเซ็นแบบที่ 2
• ออกแบบอุปกรณเพื่อชวยใหยึดฝากลองแทน


                                            แขนจับ

                                            ยืดได

        มุมชวยยึด
                                ทําดวยยางทําใหฝด   56
กอนทําไคเซ็น
• เมื่อดูดน้ําออกจากถังมักจะมีน้ําเหลืออยูบางสวน

        ตองเหลือน้ํา
        อยูทุกที




                                                     57
หลังทําไคเซ็น
• ตัวทอตัวที เขาไปที่ปลายหัวดูด ทําใหดูดน้ําไดหมดถัง

                                             สะดวกขึ้นเยอะเลย




                                                                58
กอนทําไคเซ็น
• ชางมักจะหานอตไมเจอจึงตองนํานอตของรถคันอืนมาใส
                                               ่


                                               นอตหายอีกแลว




                                                                59
หลังทําไคเซ็น
• ทาสีเดียวกันเพื่อใหรูวานอตนั้นเปนของรถคันไหน

                       ทาสีเดียวกัน




                                                      60
กอนทําไคเซ็น
• เวลาเปลี่ยนหลอดไส นํามือเขาไปยากลําบาก


                 อืม...




                                             61
หลังทําไคเซ็น
• ชวยทอยางมาชวยในการถอดหลอดไส
                                          ตั้งแตมี
                 เครื่องมือ
                                         เครื่องมือ
                                      ทํางานงายขึ้น




                                                       62
การนําทอยางไปใชในการทํางานอื่นๆ
• เมื่อนําทอยางไปจับหัวจุกลมทําใหถอดจุกลมงาย และหัวจุกลมไมหาย

                                            นําทอยางมา
        ถอดจุกลมที่ไร                      ชวยจับหัวจุกลม
        หายทุกที




                                                                  63
กอนทําไคเซ็น
• ในฤดูหนาว คนงานจะตองใสถุงมือเพื่อใหมืออุน แตจะทําใหทํางาน
                                             
  ยากขึ้น




                                                                   64
หลังทําไคเซ็นแบบที่ 1
• ทําการตัดถุงมือออกไปบางสวน เชน นิ้วโปง นิ้วชี้ เพื่อชวยใหทํางาน
  งายขึ้น




                                                                     65
กอนทําไคเซ็น
   • เธอมักจะลืมใสถานไฟฉายใหครบ
         ตรวจสอบ
                       แอบหลับ ?         แคครั้งเดียวเอง
หามลืมอีกนะ




                                                        66
ลองมาดูกันวาเกิดอะไรขึ้น
  • จัดถานไฟฉายชุดละ 10 กอน เพื่อบรรจุลงในกลอง

                                            เหลือถาน



                                                        ไมรูวากลอง
                                                        ไหนไมมีถาน

                        มี 1 กลองที่ไมมีถาน
กลอง 10 กลอง                                                           67
หลังทําไคเซ็นแบบที่ 2
• ชางน้ําหนักวาใสถานไฟครบหรือไม

   แผนกบรรจุ                                     แผนกตรวจสอบ
                                น้ําหนักไมถึง
                                50 กรัม
                                                    ถานหายไป




                                                                68
กอนทําไคเซ็น
• กอนออกจากที่ทํางาน มักจะกังวลวาลืมปดเครื่องใชไฟฟาหรือยัง

                                       ปดเครื่อง ?
ปดเครื่อง ?


                        คงปด
                        หมดแลว


                                                                  69
หลังทําไคเซ็นแบบที่ 1
• ทํารายการตรวจสอบกอนกลับ
         รายการ
         เครื่องถายเอกสาร
         คอมพิวเตอร
         กาตมน้ํา




                                             70
หลังทําไคเซ็นแบบที่ 2
• ทํารายการไวที่พวงกุญแจเลย



   จะไดไมลืม




                                   คอม น้ํา
                                     กาต
                                      พิวเ
                                         ม
                                         
                                           ตอร
                                              
                                                  71
กอนทําไคเซ็น
• ไมรูวาเปด/ปดวาลวอยู




                                     ปด
                                   เ
                                               ปด
                                                     72
หลังทําไคเซ็น
• เปลี่ยนวาลวใหมเปนชิ้นกานหมุน



    เปด/ปดก็รูทันที




                                     เปด   ปด   73
กอนทําไคเซ็น
• ตัดกระดาษจากแกนกระดาษไดยาก ทั้งยังเสียหายบอย




                                                   74
หลังทําไคเซ็น
• ทําแกนใหกระดาษหมุนไดอิสระในอากาศในแนวนอน




                                               75
กอนทําไคเซ็น
• เวลากดชิ้นงานอาจเกิดอันตราย อีกทั้งยังเสียเวลาในการหยิบวาง
  ชิ้นงาน




                    ชิ้นงาน

                                                               76
หลังทําไคเซ็น
• โตะปอนชิ้นงานใหมเปนทรงกลมเหมือนจานหมุน




 ปอนงานไดตอเนือง
                 ่
 และเสียเวลานอยลง


                                               หยิบ/ปอนงาน   77
กอนทําไคเซ็น
• ไมรูวาปดกระจกหรือยัง ?




                                         78
หลังทําไคเซ็น
 • ทาสีที่ตัวล็อกกระจก
                                         แดง “ปด”
เขียว “เปด”




                                                 79
กอนทําไคเซ็น
• ยากที่จะใสสมลงในตะขาย (ทําได 1 ลูก/นาที)

                                         ชวยดวย




                                                    80
หลังทําไคเซ็นแบบที่ 1
• ทํางาน 2 คน (ทําได 5 ลูก/นาที)




                                           81
หลังทําไคเซ็นแบบที่ 2
• นําแกนกระดาษมาใส (ทําได 5 ลูก/นาที)




                                          82
คําถาม 5 นาที
• พวกเราคิดวาไคเซ็นงายไหม
• พวกเราสงสัยอะไรเกี่ยวกับไคเซ็นอีกบาง




                                          83
Workshop
•   ใหพวกเราจัดตั้งทีมงานไคเซ็น
•   เลือกพื้นที่กิจกรรม
•   ประเมิน 5ส
•   เลือกปญหา
•   เลือกหัวหนาทีม
•   เลือกสมาชิกเพิ่มเติม
•   ลงมือทําไคเซ็นกันเลย

                                      84
บรรณานุกรม
• บุญเสริม วันทนาศุภมาต, ไคเซ็น (Kaizen for the shopfloor), อี.
  ไอ. สแควร, กรุงเทพมหานคร, 2550
• Seiichi FUJITA, Kaizen, Japan, 2009.




                                                                  85

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการบทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการVorawut Wongumpornpinit
 
เถ้าแก่น้อย บ่าย
เถ้าแก่น้อย บ่ายเถ้าแก่น้อย บ่าย
เถ้าแก่น้อย บ่ายsutaphat neamhom
 
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวมสมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวมguestefb2bbf
 
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 newบทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 newRungnapa Rungnapa
 
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา (FISH BONE)
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา (FISH BONE)การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา (FISH BONE)
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา (FISH BONE)Sasipa YAisong
 
2014 10-isots16949-training-tyk
2014 10-isots16949-training-tyk2014 10-isots16949-training-tyk
2014 10-isots16949-training-tykSirisin Thaburai
 
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
แนวข้อสอบการวางแผน แผนงาน โครงการ
แนวข้อสอบการวางแผน  แผนงาน โครงการแนวข้อสอบการวางแผน  แผนงาน โครงการ
แนวข้อสอบการวางแผน แผนงาน โครงการประพันธ์ เวารัมย์
 
แผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Planแผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Planinnoobecgoth
 
คู่มือไคเซ็น บริษัท โตโยต้า ลีสซิ่ง ประเทศไทย
คู่มือไคเซ็น บริษัท โตโยต้า ลีสซิ่ง ประเทศไทยคู่มือไคเซ็น บริษัท โตโยต้า ลีสซิ่ง ประเทศไทย
คู่มือไคเซ็น บริษัท โตโยต้า ลีสซิ่ง ประเทศไทยKrukit Phutana
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิต และการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืน
บทที่ 1การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืนบทที่ 1การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืน
บทที่ 1 การจัดการการผลิต และการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืนคนป่า เถื่อนๆ
 
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าการรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การจัดการคุณภาพ(Quality management)
การจัดการคุณภาพ(Quality management)การจัดการคุณภาพ(Quality management)
การจัดการคุณภาพ(Quality management)tumetr1
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยPaew Tongpanya
 

Mais procurados (20)

บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการบทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
 
e-commerce
e-commercee-commerce
e-commerce
 
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
 
เถ้าแก่น้อย บ่าย
เถ้าแก่น้อย บ่ายเถ้าแก่น้อย บ่าย
เถ้าแก่น้อย บ่าย
 
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวมสมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
 
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 newบทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
 
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา (FISH BONE)
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา (FISH BONE)การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา (FISH BONE)
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา (FISH BONE)
 
2014 10-isots16949-training-tyk
2014 10-isots16949-training-tyk2014 10-isots16949-training-tyk
2014 10-isots16949-training-tyk
 
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
 
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
 
แนวข้อสอบการวางแผน แผนงาน โครงการ
แนวข้อสอบการวางแผน  แผนงาน โครงการแนวข้อสอบการวางแผน  แผนงาน โครงการ
แนวข้อสอบการวางแผน แผนงาน โครงการ
 
แผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Planแผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Plan
 
คู่มือไคเซ็น บริษัท โตโยต้า ลีสซิ่ง ประเทศไทย
คู่มือไคเซ็น บริษัท โตโยต้า ลีสซิ่ง ประเทศไทยคู่มือไคเซ็น บริษัท โตโยต้า ลีสซิ่ง ประเทศไทย
คู่มือไคเซ็น บริษัท โตโยต้า ลีสซิ่ง ประเทศไทย
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิต และการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืน
บทที่ 1การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืนบทที่ 1การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืน
บทที่ 1 การจัดการการผลิต และการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืน
 
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าการรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
 
การจัดการคุณภาพ(Quality management)
การจัดการคุณภาพ(Quality management)การจัดการคุณภาพ(Quality management)
การจัดการคุณภาพ(Quality management)
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 

Mais de Dr.Eng.Siripong Jungthawan, PhD, MBA, ACPE, CAP, CSCP, EPPM

การจัดการต้นทุนรวมสำหรับการขนส่ง 220323 MICHELIN How to total cost of ownership
การจัดการต้นทุนรวมสำหรับการขนส่ง 220323 MICHELIN  How to total cost of ownershipการจัดการต้นทุนรวมสำหรับการขนส่ง 220323 MICHELIN  How to total cost of ownership
การจัดการต้นทุนรวมสำหรับการขนส่ง 220323 MICHELIN How to total cost of ownershipDr.Eng.Siripong Jungthawan, PhD, MBA, ACPE, CAP, CSCP, EPPM
 

Mais de Dr.Eng.Siripong Jungthawan, PhD, MBA, ACPE, CAP, CSCP, EPPM (20)

Lean Canvas H 231117.pdf
Lean Canvas H 231117.pdfLean Canvas H 231117.pdf
Lean Canvas H 231117.pdf
 
SPU Proof of Concept and Completive Analysis 221001 P.pdf
SPU Proof of Concept and Completive Analysis 221001 P.pdfSPU Proof of Concept and Completive Analysis 221001 P.pdf
SPU Proof of Concept and Completive Analysis 221001 P.pdf
 
การจัดการต้นทุนรวมสำหรับการขนส่ง 220323 MICHELIN How to total cost of ownership
การจัดการต้นทุนรวมสำหรับการขนส่ง 220323 MICHELIN  How to total cost of ownershipการจัดการต้นทุนรวมสำหรับการขนส่ง 220323 MICHELIN  How to total cost of ownership
การจัดการต้นทุนรวมสำหรับการขนส่ง 220323 MICHELIN How to total cost of ownership
 
How to import and distribute beauty products in thailand 210625
How to import and distribute beauty products in thailand 210625How to import and distribute beauty products in thailand 210625
How to import and distribute beauty products in thailand 210625
 
Lean quickwin 2108008 ie su
Lean quickwin 2108008 ie suLean quickwin 2108008 ie su
Lean quickwin 2108008 ie su
 
Lean covid19 210609 DIProm MOI
Lean covid19 210609 DIProm MOILean covid19 210609 DIProm MOI
Lean covid19 210609 DIProm MOI
 
Lean iot 201202
Lean iot 201202Lean iot 201202
Lean iot 201202
 
GEW2020 Design business model for new business
GEW2020 Design business model for new businessGEW2020 Design business model for new business
GEW2020 Design business model for new business
 
Gew2020 youth entrepreneurship
Gew2020 youth entrepreneurshipGew2020 youth entrepreneurship
Gew2020 youth entrepreneurship
 
Lean covid 19 pr os-cons for SPU
Lean covid 19 pr os-cons for SPULean covid 19 pr os-cons for SPU
Lean covid 19 pr os-cons for SPU
 
Lean startup and innovation 200514 KRIS
Lean startup and innovation 200514 KRISLean startup and innovation 200514 KRIS
Lean startup and innovation 200514 KRIS
 
Kuh entrepreneurs mindset 190330
Kuh entrepreneurs mindset 190330Kuh entrepreneurs mindset 190330
Kuh entrepreneurs mindset 190330
 
Lean Supply Chain for SPU 190221
Lean Supply Chain for SPU 190221Lean Supply Chain for SPU 190221
Lean Supply Chain for SPU 190221
 
Lean s curve BBU 181122 for Printing and Distribution
Lean s curve BBU 181122 for Printing and DistributionLean s curve BBU 181122 for Printing and Distribution
Lean s curve BBU 181122 for Printing and Distribution
 
Lean logistics 181025 DTC Solution Day 2018
Lean logistics 181025 DTC Solution Day 2018Lean logistics 181025 DTC Solution Day 2018
Lean logistics 181025 DTC Solution Day 2018
 
Intro to startup 181002 ku startup print
Intro to startup  181002 ku startup printIntro to startup  181002 ku startup print
Intro to startup 181002 ku startup print
 
Lean startup and innovation 180901 KMITL modern entrepreneurship
Lean startup and innovation 180901 KMITL modern entrepreneurshipLean startup and innovation 180901 KMITL modern entrepreneurship
Lean startup and innovation 180901 KMITL modern entrepreneurship
 
Starutp fundamental 180719 yeah print (Startup + Lean startup + MVP + BMC)
Starutp fundamental 180719 yeah print (Startup + Lean startup + MVP + BMC)Starutp fundamental 180719 yeah print (Startup + Lean startup + MVP + BMC)
Starutp fundamental 180719 yeah print (Startup + Lean startup + MVP + BMC)
 
Lean systems 180714 SPU
Lean systems 180714 SPULean systems 180714 SPU
Lean systems 180714 SPU
 
Lean ลดต้นทุนธุรกิจ งานเสร็จไว กำไรพุ่ง 180629
Lean ลดต้นทุนธุรกิจ งานเสร็จไว กำไรพุ่ง 180629Lean ลดต้นทุนธุรกิจ งานเสร็จไว กำไรพุ่ง 180629
Lean ลดต้นทุนธุรกิจ งานเสร็จไว กำไรพุ่ง 180629
 

Kai Zen