SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
4




                                               บทที่ 2


                                         เอกสารที่เกียวข้ อง
                                                     ่


         ในการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย Wordpress
เรื่ องภาษาคอมพิวเตอร์ นี้ ผูจดทาโครงงานได้ศึกษาเอกสารและจากเว็บไซต์ตางๆ ที่เกี่ยวข้อง
                             ้ั                                      ่
ดังต่อไปนี้

         2.1 ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอร์ เน็ต
         2.2 ข้อมูลเกี่ยวกับสื่ อสังคม Social Media
         2.3 เว็บบล็อก (WebBlog)



2.1 ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอร์ เน็ต

         ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศมีความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ เป็ นอย่างมาก ตัวอย่างเช่น
1. การศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยในด้านการค้นคว้าศึกษาแหล่งข้อมูล ทาให้การศึกษาง่ายขึ้น
และ ไร้ขีดจากัด ผูเ้ รี ยนมีความสะดวกในการค้นคว้าวิจย
                                                    ั
2. การดารงชีวตประจาวัน ทาให้มีความสะดวกคล่องตัวและรวดเร็ วในการทากิจกรรมต่าง ๆ ที่
             ิ
เกิดขึ้นใน ชีวตประจาวัน สามารถทางานได้หลายอย่างในเวลาเดียวกันได้หรื อทางานใช้เวลาน้อยลง
              ิ
3. การดาเนิ นธุ รกิจ ทาให้มีการแข่งขันระหว่างธุ รกิจมากขึ้น ทาให้ตองมีการพัฒนาองค์กรเพื่อให้
                                                                  ้
                       ่
ทันกับข้อมูล ข่าวสารอยูตลอดเวลา อันส่ งผลต่อการพัฒนาประเทศอย่างต่อเนื่อง
4. อัตราการขยายตัวทุก ๆ ด้านที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ ว เพราะมีการติดต่อสื่ อสารที่เจริ ญก้าวหน้า
ทันสมัย รวดเร็ ว ถูกต้องและทาให้เป็ นโลกที่ไร้พรมแดน
5. ระบบการทางานมีคอมพิวเตอร์ มาใช้ซื่อสามารถทางานได้มากขึ้น งานบางอย่างมนุษย์ทาไม่ได้ก็
ใช้ คอมพิวเตอร์ ช่วยทางานแทนซึ่ งได้ผลถูกต้องรวดเร็ ว
5




ความสาคัญของอินเทอร์ เน็ต

ในปัจจุบนอินเทอร์ เน็ตมีบทบาทและมีความสาคัญต่อชีวิตประจาวันของคนเราเป็ นอย่างมาก เพราะ
        ั

ทาให้วถีชีวตเราทันสมัยและทันเหตุการณ์อยูเ่ สมอ เนื่องจากอินเทอร์ เน็ตจะมีการเสนอข้อมูลข่าว
      ิ ิ

ปัจจุบน และสิ่ งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นให้ผใช้ทราบเปลี่ยนแปลงไปทุกวัน สารสนเทศที่เสนอใน
      ั                               ู้

อินเทอร์ เน็ตจะมีมากมายหลายรู ปแบบเพื่อสนองความสนใจและความต้องการของผูใช้ทุกกลุ่ม
                                                                      ้

อินเทอร์ เน็ตจึงเป็ นแหล่งสารสนเทศสาคัญสาหรับทุกคนเพราะสามารถค้นหาสิ่ งที่ตนสนใจได้

ในทันทีโดยไม่ตองเสี ยเวลาเดินทางไปค้นคว้าในห้องสมุด หรื อแม้แต่การรับรู ้ข่าวสารทัวโลกก็
              ้                                                                   ่

สามารถอ่านได้ในอินเทอร์ เน็ตจากเว็บไซต์ต่าง ๆ ของหนังสื อพิมพ์

ดังนั้นอินเทอร์ เน็ตจึงมีความสาคัญกับวิถีชีวตของคนเราในปั จจุบนเป็ นอย่างมากในทุก ๆ ด้าน ไม่
                                            ิ                 ั

                     ่
ว่าจะเป็ นบุคคลที่อยูในวงการธุ รกิจ การศึกษา ต่างก็ได้รับประโยชน์จากอินเทอร์ เน็ตด้วยกันทั้งนั้น


    1. ด้านการศึกษา อินเทอร์เน็ตมีความสาคัญ ดังนี้


                                           ่
    สามารถใช้เป็ นแหล่งค้นคว้าหาข้อมูล ไม่วาจะเป็ นข้อมูลทางวิชาการ ข้อมูลด้านการบันเทิง

    ด้านการแพทย์ และอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

    2. ระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต จะทาหน้าที่เปรี ยบเสมือนเป็ นห้องสมุดขนาดใหญ่

    3. นักเรี ยนนักศึกษาสามารถใช้อินเทอร์ เน็ตติดต่อกับมหาวิทยาลัยหรื อโรงเรี ยนอื่น ๆ เพื่อ

                               ่
    ค้นหาข้อมูลที่กาลังศึกษาอยูได้ ทั้งที่ขอมูลที่เป็ นข้อความเสี ยง ภาพเคลื่อนไหวต่าง ๆ
                                           ้
6




2. ด้านธุ รกิจและการพาณิ ชย์ อินเทอร์ เน็ตมีความสาคัญดังนี้

2.1 ค้นหาข้อมูลต่าง ๆ เพื่อช่วยในการตัดสิ นใจทางธุ รกิจ

2.2 สามารถซื้ อขายสิ นค้า ทาธุ รกรรมผ่านระบบเครื อข่าย

2.3 เป็ นช่องทางในการประชาสัมพันธ์ โฆษณาสิ นค้า ติดต่อสื่ อสารทางธุ รกิจ

2.4 ผูใช้ที่เป็ นบริ ษท หรื อองค์กรต่าง ๆ ก็สามารถเปิ ดให้บริ การ และสนับสนุนลูกค้าของตนผ่าน
      ้               ั

ระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตได้ เช่น การให้คาแนะนา สอบถามปั ญหาต่าง ๆ ให้แก่ลูกค้า แจกจ่ายตัว

โปรแกรมทดลองใช้ (Shareware) โปรแกรมแจกฟรี (Freeware)


3. ด้านการบันเทิง อินเทอร์ เน็ตมีความสาคัญดังนี้

3.1 การพักผ่อนหย่อนใจ สันทนาการ เช่น การค้นหาวารสารต่าง ๆ ผ่านระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต

ที่เรี ยกว่า Magazine Online รวมทั้งหนังสื อพิมพ์และข่าวสารอื่น ๆ โดยมีภาพประกอบที่

จอคอมพิวเตอร์ เหมือนกับวารสารตามร้านหนังสื อทัว ๆ ไป
                                              ่

                                        ่
3.2 สามารถฟังวิทยุหรื อดูรายการโทรทัศน์ผานระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตได้

3.3 สามารถดึงข้อมูล (Download) ภาพยนตร์มาดูได้
7




2.2 ข้ อมูลเกียวกับสื่ อสั งคม Social Media
              ่
         2.2.1 ความหมายของ Social Media
Social Media คืออะไร

                                                                             ่
สาหรับในยุคนี้ เราคงจะหลีกเลี่ยงหรื อหนีคาว่า Social Media ไปไม่ได้ เพราะไม่วาจะไปที่ไหน ก็
                    ่
จะพบเห็นมันอยูตลอดเวลา ซึ่ งหลายๆ คนก็อาจจะยังสงสัยว่า “Social Media” มันคืออะไรกันแน่
วันนี้เราจะมารู ้จกความหมายของมันกันครับ
                  ั

คาว่า “Social” หมายถึง สังคม ซึ่ งในที่น้ ีจะหมายถึงสังคมออนไลน์ ซึ่ งมีขนาดใหม่มากในปั จจุบน
                                                                                            ั

คาว่า “Media” หมายถึง สื่ อ ซึ่ งก็คือ เนื้อหา เรื่ องราว บทความ วีดีโอ เพลง รู ปภาพ เป็ นต้น

ดังนั้นคาว่า Social Media จึงหมายถึง สื่ อสังคมออนไลน์ที่มีการตอบสนองทางสังคมได้หลาย
ทิศทาง โดยผ่านเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต พูดง่ายๆ ก็คือเว็บไซต์ท่ีบุคคลบนโลกนี้สามารถมีปฏิสมพันธ์
                                                                                        ั
โต้ตอบกันได้นนเอง
                ั่

พื้นฐานการเกิด Social Media ก็มาจากความต้องการของมนุษย์หรื อคนเราที่ตองการติดต่อสื่ อสาร
                                                                               ้
                      ั
หรื อมีปฏิสัมพันธ์กน จากเดิมเรามีเว็บในยุค 1.0 ซึ่ งก็คือเว็บที่แสดงเนื้ อหาอย่างเดียว บุคคลแต่ละ
คนไม่สามารถติดต่อหรื อโต้ตอบกันได้ แต่เมื่อเทคโนโลยีเว็บพัฒนาเข้าสู่ ยค 2.0 ก็มีการพัฒนา
                                                                            ุ
เว็บไซต์ที่เรี ยกว่า web application ซึ่ งก็คือเว็บไซต์มีแอพลิเคชันหรื อโปรแกรมต่างๆ ที่มีการโต้ตอบ
กับผูใช้งานมากขึ้น ผูใช้งานแต่ละคนสามารถโต้ตอบกันได้ผานหน้าเว็บ
     ้                  ้                                       ่
8




        2.2.2 ประวัติความเป็ นมาและพัฒนาการของ Social Media

พัฒนาการของ Social Media

        พูดถึงกันมากเหลือเกินสาหรั บ สื่ อสั งคมออนไลน์ (Social Media) ซึ่งเรียกได้ ว่าเป็ น

ตัวกลาง เป็ นเครื่องมือ สาหรับการสื่ อสารระหว่ างกัน โดยปัจจุบันได้ ขยายผลกว้ างครอบคลุมไปถึง

การทางานร่ วมกัน ทั้งภายใน และ ภายนอกองค์ กร โดยอาศัยเว็บ และ โมบายเทคโนโลยี เป็ นตัวช่ วย

ถ้ าจะเปรียบเทียบก็น่าจะเป็ นคู่แฝดแห่ งยุคดิจิตอล อย่ างเมื่อกว่ า 200 ปี ก่อน มีแฝดอินจัน ทีไปสร้ าง
                                                                                              ่

ชื่อเสี ยงในต่ างประเทศ จนมีการตั้งชื่อแฝดลักษณะที่มีลาตัวติดกันเช่ นนีว่า แฝดสยาม
                                                                       ้

ถ้ าว่ าไปแล้ ว แฝดสยามในยุคดิจิตอล ก็คงหนีไม่ พ้น สื่ อสั งคมออนไลน์ (Social Media) กับ สมาร์ ท
โฟน (Smartphone) ทีมักจะไปเป็ นคู่ยากทีจะแยกออกจากกันได้ เมื่อศึกษาถึงคาจากัดความของ
                   ่                   ่
สั งคมออนไลน์ (Social Media) จะพบว่ าคือกลุ่มของแอพพลิเคชั่ น บนอินเทอร์ เน็ต ทีสร้ างขึนมา
                                                                                ่       ้
บนพืนฐานแนวคิด และเทคโนโลยี Web 2.0 ซึ่งรองรับให้ มีการสร้ าง และ แลกเปลี่ยน คอนเทนต์ ที่
    ้
ผู้ใช้ เป็ นผู้สร้ างเอง (User-generated content) เมื่อพิจารณาโดยรวมแล้ว สามารถเรียกได้ ว่า สื่ อ
สั งคมออนไลน์ (Social Media) เป็ นการผสมผสานกันระหว่าง เทคโนโลยี กับ การสื่ อสารระหว่าง
กันในสั งคม เพือสร้ างเสริมมูลค่ าให้ เพิมขึน
               ่                         ่ ้
        เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไป โดยเฉพาะยุคดิจิตอลอย่างทุกวันนี้ การแสดงความคิดเห็นดูจะเป็ น

เรื่ องง่าย บนสื่ อสังคมออนไลน์ เป็ นหนึ่งตัวอย่างที่ทาให้พนักงานรายหนึ่งในอเมริ กา ถูกไล่ออก

                 ิ                         ๊                                       ่
หลังจากที่เธอได้วจารณ์เจ้านายของเธอบน เฟชบุก (Facebook) เรื่ องเกิดขึ้นเมื่อปี ที่ผานมา พนักงาน

หญิงรายนี้ได้เขียนข้อคิดเห็นของเธอ บนหน้าเฟชบุก ด้วยคาพูดที่หยาบคาย คดีน้ ีถูกจับตามองทัว
                                              ๊                                         ่
จากทุกวงการ ด้วยความกังขาว่า นายจ้างมีสิทธิที่จะลงโทษพนักงานที่เขียนข้อคิดเห็นบน สังคม

ออนไลน์ หรื อไม่ เท่าที่ทราบในเมืองไทยเรายังไม่เคยได้ยน เหตุการณ์ลกษณะนี้เกิดขึ้น
                                                      ิ           ั
9




                                                                 ่
เกมในเฟซบุก น่าจะเป็ นตัวสร้างความสัมพันธ์ได้อย่างดี ด้วยกลยุทธ์วาใครมีเพื่อนเยอะก็จะได้
          ๊

อะไรเพิมขึ้นในเกม นอกจากนั้น ยังมีการหลอกล่อให้ตองมีเพื่อนมาร่ วมกันเป็ นส่ วนหนึ่งในเกม
      ่                                         ้

ปลูกผักเลี้ยงปลากันใหญ่                                                      ั
                                วันก่อนมีโอกาสไปบรรยายเรื่ องสังคมออนไลน์ให้กบกรมส่ งเสริ ม

การเกษตร ก็เล่าไปว่าบ้านเราน่าจะทาเกมลักษณะนี้ในรู ปแบบไทยๆ บ้านเรามีเกษตรกร กว่าครึ่ ง

ค่อนประเทศ นี่ยงไม่นบรวมท่านที่ชอบทาการเกษตรบนโลกออนไลน์
               ั    ั

ในทางกลับกัน บางประเทศกลับห้ามใช้งานเว็บนี้ บางบริ ษทก็หามใช้เนื่ องจากเสี ยเวลาการทางาน
                                                    ั ้

ของพนักงาน เฟซบุคได้รับการจัดอันดับเป็ นเว็บสังคมออนไลน์ที่มีผใช้มากที่สุดในปี ค.ศ. 2009
                ๊                                             ู้

จานวนผูใช้เพิมขึ้นเป็ นเท่าตัว และที่น่าสนใจก็คือจานวนผูเ้ ล่นอินเทอร์ เน็ตในสหรัฐฯ เข้าใช้งาน
       ้ ่

มากกว่ากูเกิลเป็ นครั้งแรกช่วงต้นปี 2010 อีกด้วย

          ่
ล่าสุ ดมีขาวการใช้เฟซบุก เพื่อช่วยเหลือชี วต ปกติเรามักจะได้ยนการใช้สงคมออนไลน์ เป็ นสื่ อ เป็ น
                       ๊                   ิ                 ิ       ั

เครื่ องมือทางการตลาด แต่ล่าสุ ดมีขาวจากสานักข่าวต่างประเทศได้รายงานเกี่ยวกับการประกาศรับ
                                   ่

บริ จาคไตในเฟซบุก เรื่ องเกิดที่สหรัฐฯ มีผป่วยที่ตองการปลูกถ่ายไต ต้องเปลี่ยนไตใหม่ภายในเวลา
                ๊                         ู้      ้

จากัด เมื่อปรึ กษากับแพทย์ที่ดูแลอยู่ จึงได้ตดสิ นใจลองประกาศลงในเฟซบุก แล้วก็มีผท่ีประสงค์
                                             ั                        ๊          ู้

จะบริ จาคไตให้ โดยไม่ได้มีความสนิทสนมกันเป็ นพิเศษแต่อย่างใด เป็ นเพียงเพื่อนในเฟซบุก ผูรับ
                                                                                    ๊ ้

บริ จาคเมื่อได้รับข้อความแสดงความจานงจะบริ จาคไตให้ ในตอนแรกยังคิดว่าเป็ นเรื่ องล้อเล่นกัน

แต่เมื่อต้นเดือนเมษายน 2010 แพทย์ก็ได้เปลี่ยนไตที่บริ จาคให้ไปเป็ นที่เรี ยบร้อยแล้ว

การศึกษาล่าสุ ดพบว่าหญิงสาววัยรุ่ น ที่นงจ้องเฟชบุคทั้งวัน อาจเป็ นสาเหตุให้เกิดอาการผิดปกติใน
                                        ั่        ๊

เรื่ องการทานอาหาร จากการศึกษาพบว่าสองสาเหตุหลักที่ทาให้เกิด อาการการทานอาหารผิดปกติ

คือ การใช้เวลามากเกินไปกับ พฤติกรรมการบริ โภคสื่ อ และ การเป็ นตัวของตัวเองมากเกินไป ผล
10




จากการสารวจเด็กวัยรุ่ นช่วงอายุ 12 ถึง 19 ปี พบว่าพฤติกรรมการบริ โภคสื่ อ อินเทอร์ เน็ต และ

โทรทัศน์ มีผลกระทบต่อพฤติกรรมของแต่ละคนโดยตรง

จากผลการสารวจพบว่า ยิงใช้เวลากับเฟชบุก มากเท่าไหร่ ก็จะมีโอกาสจะพบอาการอยากอาหาร
                     ่               ๊

มากผิดปกติ ภาวะเบื่ออาหาร ไม่พึงพอใจในสรี ระของตัวเอง และ ความต้องการอยากลดน้ าหนัก

มากขึ้น

เมื่อมีจานวนผูใช้ สื่ อสังคมออนไลน์ (Social Media) มากขึ้นเท่าใร ย่อมเป็ นโอกาสในการทาธุ รกิจ
              ้

จึงเกิดคาว่า Social Commerce ขึ้น และได้รับความสนใจมากในช่วงนี้ หรื อถ้าลองค้นหา คาว่า “e-

mail vs. Social Media” ในกูเกิล จะพบผลลัพธ์มากเป็ นหลายหมื่น จึงเป็ นสิ่ งที่ชดเจนว่าเป็ นหัวข้อ
                                                                              ั

ร้อน จนบางที คนนิยามว่าเป็ นการทาสงครามบนโลกดิจิตอล บ้างก็กล่าวว่าคงเป็ นจุดจบของ อีเมล์

และคลื่นลูกใหม่ที่มาก็คือ สื่ อสังคมออนไลน์ (Social Media)

อีกแง่มุมหนึ่งที่ดูเข้าท่าก็คือ ทั้งอีเมล์ และ สื่ อสังคมออนไลน์ จะเป็ นตัวเสริ มกันและกัน เพื่อการ
ตัดสิ นใจทางธุ รกิจ เราควรที่จะโฟกัสสองเรื่ องใหญ่ๆ คือ กลุ่มเป้ าหมาย และ เจตนา มาเริ่ มด้วย
กลุ่มเป้ าหมาย
* ถ้ากลุ่มเป้ าหมายอายุต่ากว่า 20 ปี น่าจะค่อนข้างชัดเจนว่า การใช้สื่อสังคมออนไลน์ จะเป็ น

ทางเลือกที่เหมาะสมที่สุด

*ถ้ากลุ่มธุ รกิจเป็ นกลุ่มเป้ าหมายของเรา การใช้อีเมล์ ถูกมองว่าเราจะได้ผลเร็ วกว่า ในทางกลับกัน

ถ้าลูกค้าทัวไปเป็ นกลุ่มเป้ าหมายของธุ รกิจ การใช้ สื่ อสังคมออนไลน์ น่าจะได้ผลที่ดีกว่า เนื่องจาก
           ่
ลูกค้าจะเชื่อ และฟัง ความเห็นของคนอื่นๆ ที่ให้ไว้บนสื่ อสังคมออนไลน์
11




*สาหรับกลุ่มเป้ าหมายที่อยูที่ทางาน อีเมล์เป็ นคาตอบของเรา แต่ถาต้องการมุ่งไปที่อยูที่บาน สื่ อ
                           ่                                   ้                   ่ ้

สังคมออนไลน์ น่าจะให้ผลตอบรับที่ดีกว่า

จะเห็นได้วาการวิเคราะห์กลุ่มเป้ าหมายทั้งทาง ประชากรศาสตร์ (Demographic) และเชิงจิตวิทยา
          ่

เป็ นสิ่ งที่สาคัญทั้งคู่ ในการเลือกว่า อีเมล์ หรื อ สื่ อสังคมออนไลน์ จะเหมาะสมกับธุ รกิจ อย่างไรก็

ตามในหลายกรณี เราควรใช้ท้ งสองช่องทาง ในการติดต่อสื่ อสาร
                          ั

ส่ วนเจตนา หรือ รู ปแบบของธุรกิจ ก็เป็ นอีกหนึ่งปัจจัยทีควรนามาพิจารณา
                                                        ่

* ถ้าต้องการทาธุ รกิจแบบ ขายตรง สื่ อสังคมออนไลน์ อาจจะไม่ค่อยเหมาะสมนัก อีเมล์ น่าจะให้

ผลลัพธ์ที่ดีกว่า

* เมื่อมีความต้องการที่จะสร้างความสัมพันธ์ ในระยะยาว การเริ่ มต้นด้วย สื่ อสังคมออนไลน์

ในช่วงแรก แล้วปรับมาใช้อีเมล์ น่าจะเป็ นแนวทางที่ดี

* หากธุ รกิจของเราต้องการ การตอบรับที่รวดเร็ ว สาหรับกลุ่มวัยรุ่ นแล้ว สื่ อสังคมออนไลน์ เป็ น

ทางเลือกที่เหมาะสม ส่ วนกลุ่มวัยทางานที่ทางานมาพอสมควร การตอบรับอีเมล์ ของคนกลุ่มนี้ ก็

จะค่อยข้างเร็ ว

* เมื่อเราต้องการที่จะทาธุ รกิจ ผ่านการสื่ อสาร อีเมล์ ยังคงเป็ นสิ่ งที่เราต้องใช้ เราต้องจัดการกับ

อีเมล์ที่เข้ามาอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และรวดเร็ ว ถ้าไม่สามารถโต้ตอบด้วยความรวดเร็ วแล้ว ธุ รกิจ

ของเราอาจจะมีปัญหาได้ ต่างกับถ้าเราไม่ ทวิต ทุกวัน คงจะไม่มีผลกระทบต่อธุ รกิจมากเท่าไหร่ นก
                                                                                          ั

เราจึงยังเห็นว่ า นักธุรกิจส่ วนใหญ่ ยังคงให้ ความสาคัญกับ อีเมล์ ดังนั้นถ้ าต้ องการทาธุรกิจกับใครก็
ตาม เราควรเริ่มด้ วย สื่ อสั งคมออนไลน์ เป็ นตัวนา ให้ เราสามารถเจาะเข้ าถึง อีเมล์ ของ
12




กลุ่มเปาหมายให้ ได้ อย่ างไรก็ตามเมื่อยุค สมัย เปลียนไป การใช้ อเี มล์ สาหรับคนรุ่ นใหม่ อาจจะไม่
       ้                                           ่
สาคัญเท่ากับ การมีตัวตนบน สื่ อสั งคมออนไลน์ จนกลายเป็ นวิวฒนาการ บนโลกออนไลน์ ไม่ ใช่
                                                           ั
เป็ นสงครามบนโลกออนไลน์ กว่าได้
                         ็
13




         2.2.3 ประเภทเว็บไซต์ ทให้ บริการ Social Media
                               ี่
               Google Group – เว็บไซต์ ในรู ปแบบ Social Networking




-

Wikipedia – เว็บไซต์ ในรู ปแบบข้ อมูลอ้ างอิง
14




-

MySpace – เว็บไซต์ ในรูปแบบ Social Networking




-

Facebook -เว็บไซต์ ในรูปแบบ Social Networking




-
15




MouthShut – เว็บไซต์ ในรู ปแบบ Product Reviews




-

Yelp – เว็บไซต์ ในรู ปแบบ Product Reviews




-
16




Youmeo – เว็บที่รวม Social Network




-

Last.fm – เว็บเพลงส่ วนตัว Personal Music




-
17




YouTube – เว็บไซต์ Social Networking และ แชร์ วดีโอ
                                               ิ




-

Avatars United – เว็บไซต์ ในรู ปแบบ Social Networking




-
18




Second Life – เว็บไซต์ ในรู ปแบบโลกเสมือนจริง Virtual Reality




-

Flickr – เว็บแชร์ รูปภาพ
19




2.3 เว็บบล็อก (WebBlog)
        2.3.1 ความหมายของเว็บบล็อก (WebBlog)
                    บล็อก (blog) เป็ นคารวมมาจากคาว่า เว็บล็อก (weblog) เป็ นรู ปแบบเว็บไซต์ประเภทหนึ่ง ซึ่ง
ถูกเขียนขึ้นในลาดับที่เรี ยงตามเวลาในการเขียน ซึ่งจะแสดงข้อมูลที่เขียนล่าสุดไว้แรกสุด บล็อกโดยปกติจะ
                                                                ่
ประกอบด้วย ข้อความ ภาพ ลิงก์ ซึ่งบางครั้งจะรวมสื่ อต่างๆ ไม่วา เพลง หรื อวิดีโอในหลายรู ปแบบได้ จุดที่
แตกต่างของบล็อกกับเว็บไซต์โดยปกติคือ บล็อกจะเปิ ดให้ผเู ้ ข้ามาอ่านข้อมูล สามารถแสดงความคิดเห็นต่อท้าย
ข้อความที่เจ้าของบล็อกเป็ นคนเขียน ซึ่งทาให้ผเู ้ ขียนสามารถได้ผลตอบกลับโดยทันที คาว่า "บล็อก"ยังใช้เป็ น
คากริ ยาได้ซ่ ึงหมายถึง การเขียนบล็อก และนอกจากนี้ผที่เขียนบล็อกเป็ นอาชีพก็จะถูกเรี ยกว่า "บล็อกเกอร์"
                                                        ู้

                                              ่ ั
บล็อกเป็ นเว็บไซต์ที่มีเนื้อหาหลากหลายขึ้นอยูกบเจ้าของบล็อก โดยสามารถใช้เป็ นเครื่ องมือสื่ อสาร การประกาศ
                                                                     ่
ข่าวสาร การแสดงความคิดเห็น การเผยแพร่ ผลงาน ในหลายด้านไม่วา อาหาร การเมือง เทคโนโลยี หรื อข่าว
ปั จจุบน นอกจากนี้บล็อกที่ถูกเขียนเฉพาะเรื่ องส่วนตัวหรื อจะเรี ยกว่าไดอารี ออนไลน์ซ่ ึงไดอารี ออนไลน์นี่เองเป็ น
         ั
จุดเริ่ มต้นของการใช้บล็อกในปั จจุบน นอกจากนี้ตามบริ ษทเอกชนหลายแห่งได้มีการจัดทาบล็อกของทางบริ ษท
                                   ั                     ั                                                   ั
                                     ั
ขึ้น เพื่อเสนอแนวความเห็นใหม่ใหักบลูกค้า โดยมีการเขียนบล็อกออกมาในลักษณะเดียวกับข่าวสั้น และได้รับ
การตอบรับจากทางลูกค้าที่แสดงความเห็นตอบกลับเข้าไป เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์
20




          2.3.2 ประเภทของเว็บบล็อก
                                      ่
                    บล็อกที่เราเห็นอยูในปัจจุบนนี้ ใช่มีเพียงแค่บล็อกที่เป็ นตัวหนังสื อและรู ปภาพเท่านั้น หรื อ มี
                                              ั
แค่ออนไลน์ไดอารี่ เราแบ่งบล็อกออกได้ ดังต่อไปนี้
1. แบ่งตามลักษณะของมีเดียที่มีในบล็อกได้แก่1.1. Linklog บล็อกแบบนี้น่าจะเป็ นบล็อกรุ่ นแรก ๆ เป็ นบล็อกที่
รวมลิ๊งก์ที่เจ้าของบล็อกสนใจเอาไว้ ถ้าคณยังจาผูให้กาเนิดคาว่า “บล็อก” ที่ชื่อ จอห์น บาจเจอร์ได้ นันแหล่ะครับ
                                               ้                                                  ่
robotwisdom.com ของเขาคือตัวอย่างของ linklog นันเอง แม้วาจะบล็อกแบบนี้จะเป็ นการรวมลิ๊งก์เท่านั้น แต่ก็ไม่
                                               ่        ่
เรี ยงเหมือนว็บไดเร็ กทอรี่ เพราะเจ้าของบล็อกจะโพสต์ลิ๊งก์ของเขา 1 – 2 ลิ๊งก์ต่อโพสต์เท่านั้นครับ ใครที่อยากมี
บล็อกเป็ นของตนเองแต่ยงนึกไม่ออกว่าจะทาบล็อกแบบไหน linklog น่าจะเป็ นการเริ่ มต้นการทาบล็อกได้เป็ น
                      ั
                                 ่
อย่างดี1.2 Photoblog ชื่อก็บอกอยูแล้วครับว่า Photo บล็อกประเภทนี้เน้นในโพสต์ภาพถ่ายที่เจ้าของบล็อกอยาก
                                                                ่
นาเสนอ และมักจะไม่เน้นที่จะเขียนข้อความมากนัก บางบล็อกเรี ยกได้วาภาพโดยเจ้าของบล็อกล้วน ๆ เลยครับ
                                                                                              ่
1.3. Vlog ย่อมาจาก Videoblog เป็ นบล็อกที่รวมวิดีโอคลิปไว้ในบล็อก Vlog เป็ นบล็อกที่เรี ยกได้วาเป็ นบล็อกที่
นิยมทากันมากในอนาคต เพราะการเจริ ญเติบโตของไฮสปี ด อินเตอร์เน็ต หรื อ อินเตอร์เน็ตบอร์ดแบนด์ ที่ทาให้
การถ่ายทอดเสี ยง ภาพเคลื่อนไหว movie […]
2. แบ่งตามประเภทเนื้อหา ได้แก่2.1 บล็อกส่วนตัว(Personal Blog) นาแสนอความคิดเห็น กิจวัตรประจาวันของ
เจ้าของบล็อกเป็ นหลัก2.2 บล็อกข่าว(News Blog) บล็อกที่นาเสนอข่าวเป็ นหลัก2.3 บล็อกกลุ่ม(Collaborative
Blog) เป็ นบล็อกที่เขียนกันเป็ นกลุ่ม เช่น blognone.com2.4 บล็อกการเมือง(Politic Blog) ว่าด้วยเรื่ องการเมือง
ล้วน ๆ2.5 บล็อกเพื่อสิ่ งแวดล้อม(Environment Blog) พูดถึงเรื่ องราวของธรรมชาติและการรักษาสิ่ งแวดล้อม2.6
มีเดียบล็อก(Media Blog) เป็ นบล็อกที่วเิ คราะห์สื่อต่างๆ สารคดีและสิ่ งที่เกี่ยวกับสื่ อ เช่น oknation.net/blog/black
         ั ่
ของสุทธิชย หยุน2.7 บล็อกบันเทิง(Entertainment Blog) บล็อกที่นาเสนอเรื่ องราวบันเทิงทั้งทางจอแก้ว และจอ
เงิน เรื่ องซุบซุดารา กองถ่าย ฯลฯ2.8 บล็อกเพื่อการศึกษา(Educational Blog) ในโรงเรี ยน หรื อมหาวิทยาลัยใน
ต่างประเทศมักจะใช้บล็อกเป็ นสื่ อในการสอนหรื อ แลกเปลี่ยนความคิดกัน2.9 ติวเตอร์บล็อก(Tutorial Blog) เป็ น
บล็อกที่นาเสนอวิธีการต่าง
21




       2.3.3 เว็บไซต์ ทให้ บริการเว็บบล็อก
                       ี่

www.blogger.com              www.exteen.com
www.mapandy.com              www.buddythai.com
www.imigg.com                www.5iam.com
www.blogprathai.com          www.ndesignsblog.com
www.idatablog.com            www.inewblog.com
www.onblogme.com             www.freeseoblogs.com
www.sumhua.com               www.diaryi.net
www.istoreblog.com           www.skypream.com
www.thailandspace.com        www.sungson.com
www.gujaba.com               www.sabuyblog.com
www.ugetblog.com             www.jaideespace.com
www.maxsiteth.com            www.my2blog.com
www.wordpress.com
22




        2.3.4 ประวัติของเว็บไซต์ Wordpress
         WordPress คือ โปรแกรมสาเร็ จรู ปตัวหนึ่ง ที่เอาไว้สาหรับสร้าง บล็อก หรื อ เว็บไซต์
                              ่
สามารถใช้งานได้ฟรี ถูกจัดอยูในประเภท CMS (Contents Management System) ซึ่งหมายถึง
โปรแกรมสาเร็ จรู ปที่มีไว้สาหรับสร้างและบริ หารจัดการเนื้อหาและข้อมูลบนเว็บไซต์
WordPress ได้รับการพัฒนาและเขียนชุดคาสั่งมาจากภาษา PHP (เป็ นภาษาโปรแกรมมิ่งตัวหนึ่ง)
ทางานบนฐานข้อมูล MySQL ซึ่งเป็ นโปรแกรมสาหรับจัดการฐานข้อมูล มีหน้าที่เก็บ เรี ยกดู แก้ไข
                                                               ่
เพิ่มและลบข้อมูล การใช้งาน WordPress ร่ วมกับ MySQL อยูภายใต้สัญญาอนุ ญาตใช้งานแบบ
GNU General Public License
WordPress ปรากฏโฉมครั้งแรกในโลกเมื่อปี พ.ศ. 2546 (2003) เป็ นความร่ วมมือกันระหว่าง Matt
                                                  ่
Mullenweg และ Mike Littlej มีเว็บไซต์หลักอยูที่ http://wordpress.org และยังมีบริ การ Free
Hosting (พื้นที่สาหรับเก็บทุกอย่างของเว็บ/บล็อก) โดยขอใช้บริ การได้ที่ http://wordpress.com
ปั จจุบนนี้ WordPress ได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ ว จนมีผใช้งานมากกว่า 200 ล้านเว็บ
       ั                                                           ู้
                                              ่
บล็อกไปแล้ว แซงหน้า CMS ตัวอื่น ๆ ไม่วาจะเป็ น Drupal , Mambo และ Joomla สาเหตุเป็ นเพราะ
ใช้งานง่าย ไม่จาเป็ นต้องมีความรู ้ในเรื่ อง Programing มีรูปแบบที่สวยงาม อีกทั้งยังมีผพฒนา
                                                                                       ู้ ั
Theme (รู ปแบบการแสดงผล) และ Plugins (โปรแกรมเสริ ม) ให้เลือกใช้ฟรี อย่างมากมาย
นอกจากนี้ สาหรับนักพัฒนา WordPress ยังมี Codex เอาไว้ให้เราได้เป็ นไกด์ไลน์ เพื่อศึกษา
                            ่
องค์ประกอบส่ วนต่าง ๆ ที่อยูภายใน สาหรับพัฒนาต่อยอด หรื อ นาไปสร้าง Theme และ Plugins
ขึ้นมาเองได้อีกด้วย หนาซ้ า ยังมีรุ่นพิเศษ คือ WordPress MU สาหรับไว้ให้ผนาไปใช้ สามารถเปิ ด
                                                                         ู้
ให้บริ การพื้นที่ทาเว็บบล็อกเป็ นของตนเอง เพื่อให้ผอื่นมาสมัครขอร่ วมใช้บริ การในการสร้างเว็บ
                                                   ู้
บล็อก ภายใต้ชื่อโดเมนของเขา หรื อที่เรี ยกว่า Sub-Domain

More Related Content

What's hot

โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานChamp Wachwittayakhang
 
รูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานรูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานZnackiie Rn
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมkand-2539
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศmaerimwittayakom school
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58renusaowiang
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)Pongpan Pairojana
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 

What's hot (20)

โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
 
รูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานรูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงาน
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 

Viewers also liked

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องmoohhack
 
รูปเล่ม Is
รูปเล่ม Isรูปเล่ม Is
รูปเล่ม IsBoonwiset Seaho
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องความน่าจะเป็น ชุดที่ 1
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องความน่าจะเป็น ชุดที่ 1เอกสารประกอบการเรียนเรื่องความน่าจะเป็น ชุดที่ 1
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องความน่าจะเป็น ชุดที่ 1พัน พัน
 
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อเรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อCherry Lay
 
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด O-SOT Kanesuna POTATO
 
9 บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน
9 บทที่  4  ผลการดำเนินงาน9 บทที่  4  ผลการดำเนินงาน
9 บทที่ 4 ผลการดำเนินงานAugusts Programmer
 
โครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
โครงงานโปรเจ็คเวิร์คโครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
โครงงานโปรเจ็คเวิร์คNichakarnkvc
 
การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
การรักษาดุลยภาพในร่างกายการรักษาดุลยภาพในร่างกาย
การรักษาดุลยภาพในร่างกายNan Nam
 
โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2Jutarat Bussadee
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคลกฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคลYosiri
 
บทที่4 ผลการดำเนินการ
บทที่4 ผลการดำเนินการบทที่4 ผลการดำเนินการ
บทที่4 ผลการดำเนินการBeeiiz Gubee
 
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้องBoonwiset Seaho
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasisการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasissupreechafkk
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2LeoBlack1017
 

Viewers also liked (20)

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 
รูปเล่ม Is
รูปเล่ม Isรูปเล่ม Is
รูปเล่ม Is
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องความน่าจะเป็น ชุดที่ 1
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องความน่าจะเป็น ชุดที่ 1เอกสารประกอบการเรียนเรื่องความน่าจะเป็น ชุดที่ 1
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องความน่าจะเป็น ชุดที่ 1
 
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อเรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
 
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
 
9 บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน
9 บทที่  4  ผลการดำเนินงาน9 บทที่  4  ผลการดำเนินงาน
9 บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน
 
ขยะ
ขยะขยะ
ขยะ
 
โครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
โครงงานโปรเจ็คเวิร์คโครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
โครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
 
การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
การรักษาดุลยภาพในร่างกายการรักษาดุลยภาพในร่างกาย
การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
 
โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคลกฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล
 
บทที่4 ผลการดำเนินการ
บทที่4 ผลการดำเนินการบทที่4 ผลการดำเนินการ
บทที่4 ผลการดำเนินการ
 
ปก
ปกปก
ปก
 
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
12. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
12.  บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล12.  บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
12. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasisการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 

Similar to บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องNew Tomza
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องMiw Inthuorn
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องTanyarad Chansawang
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องSirintip Kongchanta
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องWilaiporn Seehawong
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องWilaiporn Seehawong
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรM'suKanya MinHyuk
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง102 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1Thanggwa Taemin
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องM'suKanya MinHyuk
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2She's Ning
 

Similar to บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง (20)

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
2
22
2
 
2
22
2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
2
22
2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง102 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

More from Kittichai Pinlert

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Kittichai Pinlert
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรมKittichai Pinlert
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำKittichai Pinlert
 
ส่วนนำรายงาน
ส่วนนำรายงานส่วนนำรายงาน
ส่วนนำรายงานKittichai Pinlert
 
07 e0b8a0e0b8b2e0b884e0b89ce0b899e0b8a7e0b881
07 e0b8a0e0b8b2e0b884e0b89ce0b899e0b8a7e0b88107 e0b8a0e0b8b2e0b884e0b89ce0b899e0b8a7e0b881
07 e0b8a0e0b8b2e0b884e0b89ce0b899e0b8a7e0b881Kittichai Pinlert
 
ส่วนนำรายงาน
ส่วนนำรายงานส่วนนำรายงาน
ส่วนนำรายงานKittichai Pinlert
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Kittichai Pinlert
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำKittichai Pinlert
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรมKittichai Pinlert
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Kittichai Pinlert
 

More from Kittichai Pinlert (13)

ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 
ส่วนนำรายงาน
ส่วนนำรายงานส่วนนำรายงาน
ส่วนนำรายงาน
 
07 e0b8a0e0b8b2e0b884e0b89ce0b899e0b8a7e0b881
07 e0b8a0e0b8b2e0b884e0b89ce0b899e0b8a7e0b88107 e0b8a0e0b8b2e0b884e0b89ce0b899e0b8a7e0b881
07 e0b8a0e0b8b2e0b884e0b89ce0b899e0b8a7e0b881
 
ส่วนนำรายงาน
ส่วนนำรายงานส่วนนำรายงาน
ส่วนนำรายงาน
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง

  • 1. 4 บทที่ 2 เอกสารที่เกียวข้ อง ่ ในการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย Wordpress เรื่ องภาษาคอมพิวเตอร์ นี้ ผูจดทาโครงงานได้ศึกษาเอกสารและจากเว็บไซต์ตางๆ ที่เกี่ยวข้อง ้ั ่ ดังต่อไปนี้ 2.1 ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอร์ เน็ต 2.2 ข้อมูลเกี่ยวกับสื่ อสังคม Social Media 2.3 เว็บบล็อก (WebBlog) 2.1 ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอร์ เน็ต ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศมีความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ เป็ นอย่างมาก ตัวอย่างเช่น 1. การศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยในด้านการค้นคว้าศึกษาแหล่งข้อมูล ทาให้การศึกษาง่ายขึ้น และ ไร้ขีดจากัด ผูเ้ รี ยนมีความสะดวกในการค้นคว้าวิจย ั 2. การดารงชีวตประจาวัน ทาให้มีความสะดวกคล่องตัวและรวดเร็ วในการทากิจกรรมต่าง ๆ ที่ ิ เกิดขึ้นใน ชีวตประจาวัน สามารถทางานได้หลายอย่างในเวลาเดียวกันได้หรื อทางานใช้เวลาน้อยลง ิ 3. การดาเนิ นธุ รกิจ ทาให้มีการแข่งขันระหว่างธุ รกิจมากขึ้น ทาให้ตองมีการพัฒนาองค์กรเพื่อให้ ้ ่ ทันกับข้อมูล ข่าวสารอยูตลอดเวลา อันส่ งผลต่อการพัฒนาประเทศอย่างต่อเนื่อง 4. อัตราการขยายตัวทุก ๆ ด้านที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ ว เพราะมีการติดต่อสื่ อสารที่เจริ ญก้าวหน้า ทันสมัย รวดเร็ ว ถูกต้องและทาให้เป็ นโลกที่ไร้พรมแดน 5. ระบบการทางานมีคอมพิวเตอร์ มาใช้ซื่อสามารถทางานได้มากขึ้น งานบางอย่างมนุษย์ทาไม่ได้ก็ ใช้ คอมพิวเตอร์ ช่วยทางานแทนซึ่ งได้ผลถูกต้องรวดเร็ ว
  • 2. 5 ความสาคัญของอินเทอร์ เน็ต ในปัจจุบนอินเทอร์ เน็ตมีบทบาทและมีความสาคัญต่อชีวิตประจาวันของคนเราเป็ นอย่างมาก เพราะ ั ทาให้วถีชีวตเราทันสมัยและทันเหตุการณ์อยูเ่ สมอ เนื่องจากอินเทอร์ เน็ตจะมีการเสนอข้อมูลข่าว ิ ิ ปัจจุบน และสิ่ งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นให้ผใช้ทราบเปลี่ยนแปลงไปทุกวัน สารสนเทศที่เสนอใน ั ู้ อินเทอร์ เน็ตจะมีมากมายหลายรู ปแบบเพื่อสนองความสนใจและความต้องการของผูใช้ทุกกลุ่ม ้ อินเทอร์ เน็ตจึงเป็ นแหล่งสารสนเทศสาคัญสาหรับทุกคนเพราะสามารถค้นหาสิ่ งที่ตนสนใจได้ ในทันทีโดยไม่ตองเสี ยเวลาเดินทางไปค้นคว้าในห้องสมุด หรื อแม้แต่การรับรู ้ข่าวสารทัวโลกก็ ้ ่ สามารถอ่านได้ในอินเทอร์ เน็ตจากเว็บไซต์ต่าง ๆ ของหนังสื อพิมพ์ ดังนั้นอินเทอร์ เน็ตจึงมีความสาคัญกับวิถีชีวตของคนเราในปั จจุบนเป็ นอย่างมากในทุก ๆ ด้าน ไม่ ิ ั ่ ว่าจะเป็ นบุคคลที่อยูในวงการธุ รกิจ การศึกษา ต่างก็ได้รับประโยชน์จากอินเทอร์ เน็ตด้วยกันทั้งนั้น 1. ด้านการศึกษา อินเทอร์เน็ตมีความสาคัญ ดังนี้ ่ สามารถใช้เป็ นแหล่งค้นคว้าหาข้อมูล ไม่วาจะเป็ นข้อมูลทางวิชาการ ข้อมูลด้านการบันเทิง ด้านการแพทย์ และอื่น ๆ ที่น่าสนใจ 2. ระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต จะทาหน้าที่เปรี ยบเสมือนเป็ นห้องสมุดขนาดใหญ่ 3. นักเรี ยนนักศึกษาสามารถใช้อินเทอร์ เน็ตติดต่อกับมหาวิทยาลัยหรื อโรงเรี ยนอื่น ๆ เพื่อ ่ ค้นหาข้อมูลที่กาลังศึกษาอยูได้ ทั้งที่ขอมูลที่เป็ นข้อความเสี ยง ภาพเคลื่อนไหวต่าง ๆ ้
  • 3. 6 2. ด้านธุ รกิจและการพาณิ ชย์ อินเทอร์ เน็ตมีความสาคัญดังนี้ 2.1 ค้นหาข้อมูลต่าง ๆ เพื่อช่วยในการตัดสิ นใจทางธุ รกิจ 2.2 สามารถซื้ อขายสิ นค้า ทาธุ รกรรมผ่านระบบเครื อข่าย 2.3 เป็ นช่องทางในการประชาสัมพันธ์ โฆษณาสิ นค้า ติดต่อสื่ อสารทางธุ รกิจ 2.4 ผูใช้ที่เป็ นบริ ษท หรื อองค์กรต่าง ๆ ก็สามารถเปิ ดให้บริ การ และสนับสนุนลูกค้าของตนผ่าน ้ ั ระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตได้ เช่น การให้คาแนะนา สอบถามปั ญหาต่าง ๆ ให้แก่ลูกค้า แจกจ่ายตัว โปรแกรมทดลองใช้ (Shareware) โปรแกรมแจกฟรี (Freeware) 3. ด้านการบันเทิง อินเทอร์ เน็ตมีความสาคัญดังนี้ 3.1 การพักผ่อนหย่อนใจ สันทนาการ เช่น การค้นหาวารสารต่าง ๆ ผ่านระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต ที่เรี ยกว่า Magazine Online รวมทั้งหนังสื อพิมพ์และข่าวสารอื่น ๆ โดยมีภาพประกอบที่ จอคอมพิวเตอร์ เหมือนกับวารสารตามร้านหนังสื อทัว ๆ ไป ่ ่ 3.2 สามารถฟังวิทยุหรื อดูรายการโทรทัศน์ผานระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตได้ 3.3 สามารถดึงข้อมูล (Download) ภาพยนตร์มาดูได้
  • 4. 7 2.2 ข้ อมูลเกียวกับสื่ อสั งคม Social Media ่ 2.2.1 ความหมายของ Social Media Social Media คืออะไร ่ สาหรับในยุคนี้ เราคงจะหลีกเลี่ยงหรื อหนีคาว่า Social Media ไปไม่ได้ เพราะไม่วาจะไปที่ไหน ก็ ่ จะพบเห็นมันอยูตลอดเวลา ซึ่ งหลายๆ คนก็อาจจะยังสงสัยว่า “Social Media” มันคืออะไรกันแน่ วันนี้เราจะมารู ้จกความหมายของมันกันครับ ั คาว่า “Social” หมายถึง สังคม ซึ่ งในที่น้ ีจะหมายถึงสังคมออนไลน์ ซึ่ งมีขนาดใหม่มากในปั จจุบน ั คาว่า “Media” หมายถึง สื่ อ ซึ่ งก็คือ เนื้อหา เรื่ องราว บทความ วีดีโอ เพลง รู ปภาพ เป็ นต้น ดังนั้นคาว่า Social Media จึงหมายถึง สื่ อสังคมออนไลน์ที่มีการตอบสนองทางสังคมได้หลาย ทิศทาง โดยผ่านเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต พูดง่ายๆ ก็คือเว็บไซต์ท่ีบุคคลบนโลกนี้สามารถมีปฏิสมพันธ์ ั โต้ตอบกันได้นนเอง ั่ พื้นฐานการเกิด Social Media ก็มาจากความต้องการของมนุษย์หรื อคนเราที่ตองการติดต่อสื่ อสาร ้ ั หรื อมีปฏิสัมพันธ์กน จากเดิมเรามีเว็บในยุค 1.0 ซึ่ งก็คือเว็บที่แสดงเนื้ อหาอย่างเดียว บุคคลแต่ละ คนไม่สามารถติดต่อหรื อโต้ตอบกันได้ แต่เมื่อเทคโนโลยีเว็บพัฒนาเข้าสู่ ยค 2.0 ก็มีการพัฒนา ุ เว็บไซต์ที่เรี ยกว่า web application ซึ่ งก็คือเว็บไซต์มีแอพลิเคชันหรื อโปรแกรมต่างๆ ที่มีการโต้ตอบ กับผูใช้งานมากขึ้น ผูใช้งานแต่ละคนสามารถโต้ตอบกันได้ผานหน้าเว็บ ้ ้ ่
  • 5. 8 2.2.2 ประวัติความเป็ นมาและพัฒนาการของ Social Media พัฒนาการของ Social Media พูดถึงกันมากเหลือเกินสาหรั บ สื่ อสั งคมออนไลน์ (Social Media) ซึ่งเรียกได้ ว่าเป็ น ตัวกลาง เป็ นเครื่องมือ สาหรับการสื่ อสารระหว่ างกัน โดยปัจจุบันได้ ขยายผลกว้ างครอบคลุมไปถึง การทางานร่ วมกัน ทั้งภายใน และ ภายนอกองค์ กร โดยอาศัยเว็บ และ โมบายเทคโนโลยี เป็ นตัวช่ วย ถ้ าจะเปรียบเทียบก็น่าจะเป็ นคู่แฝดแห่ งยุคดิจิตอล อย่ างเมื่อกว่ า 200 ปี ก่อน มีแฝดอินจัน ทีไปสร้ าง ่ ชื่อเสี ยงในต่ างประเทศ จนมีการตั้งชื่อแฝดลักษณะที่มีลาตัวติดกันเช่ นนีว่า แฝดสยาม ้ ถ้ าว่ าไปแล้ ว แฝดสยามในยุคดิจิตอล ก็คงหนีไม่ พ้น สื่ อสั งคมออนไลน์ (Social Media) กับ สมาร์ ท โฟน (Smartphone) ทีมักจะไปเป็ นคู่ยากทีจะแยกออกจากกันได้ เมื่อศึกษาถึงคาจากัดความของ ่ ่ สั งคมออนไลน์ (Social Media) จะพบว่ าคือกลุ่มของแอพพลิเคชั่ น บนอินเทอร์ เน็ต ทีสร้ างขึนมา ่ ้ บนพืนฐานแนวคิด และเทคโนโลยี Web 2.0 ซึ่งรองรับให้ มีการสร้ าง และ แลกเปลี่ยน คอนเทนต์ ที่ ้ ผู้ใช้ เป็ นผู้สร้ างเอง (User-generated content) เมื่อพิจารณาโดยรวมแล้ว สามารถเรียกได้ ว่า สื่ อ สั งคมออนไลน์ (Social Media) เป็ นการผสมผสานกันระหว่าง เทคโนโลยี กับ การสื่ อสารระหว่าง กันในสั งคม เพือสร้ างเสริมมูลค่ าให้ เพิมขึน ่ ่ ้ เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไป โดยเฉพาะยุคดิจิตอลอย่างทุกวันนี้ การแสดงความคิดเห็นดูจะเป็ น เรื่ องง่าย บนสื่ อสังคมออนไลน์ เป็ นหนึ่งตัวอย่างที่ทาให้พนักงานรายหนึ่งในอเมริ กา ถูกไล่ออก ิ ๊ ่ หลังจากที่เธอได้วจารณ์เจ้านายของเธอบน เฟชบุก (Facebook) เรื่ องเกิดขึ้นเมื่อปี ที่ผานมา พนักงาน หญิงรายนี้ได้เขียนข้อคิดเห็นของเธอ บนหน้าเฟชบุก ด้วยคาพูดที่หยาบคาย คดีน้ ีถูกจับตามองทัว ๊ ่ จากทุกวงการ ด้วยความกังขาว่า นายจ้างมีสิทธิที่จะลงโทษพนักงานที่เขียนข้อคิดเห็นบน สังคม ออนไลน์ หรื อไม่ เท่าที่ทราบในเมืองไทยเรายังไม่เคยได้ยน เหตุการณ์ลกษณะนี้เกิดขึ้น ิ ั
  • 6. 9 ่ เกมในเฟซบุก น่าจะเป็ นตัวสร้างความสัมพันธ์ได้อย่างดี ด้วยกลยุทธ์วาใครมีเพื่อนเยอะก็จะได้ ๊ อะไรเพิมขึ้นในเกม นอกจากนั้น ยังมีการหลอกล่อให้ตองมีเพื่อนมาร่ วมกันเป็ นส่ วนหนึ่งในเกม ่ ้ ปลูกผักเลี้ยงปลากันใหญ่ ั วันก่อนมีโอกาสไปบรรยายเรื่ องสังคมออนไลน์ให้กบกรมส่ งเสริ ม การเกษตร ก็เล่าไปว่าบ้านเราน่าจะทาเกมลักษณะนี้ในรู ปแบบไทยๆ บ้านเรามีเกษตรกร กว่าครึ่ ง ค่อนประเทศ นี่ยงไม่นบรวมท่านที่ชอบทาการเกษตรบนโลกออนไลน์ ั ั ในทางกลับกัน บางประเทศกลับห้ามใช้งานเว็บนี้ บางบริ ษทก็หามใช้เนื่ องจากเสี ยเวลาการทางาน ั ้ ของพนักงาน เฟซบุคได้รับการจัดอันดับเป็ นเว็บสังคมออนไลน์ที่มีผใช้มากที่สุดในปี ค.ศ. 2009 ๊ ู้ จานวนผูใช้เพิมขึ้นเป็ นเท่าตัว และที่น่าสนใจก็คือจานวนผูเ้ ล่นอินเทอร์ เน็ตในสหรัฐฯ เข้าใช้งาน ้ ่ มากกว่ากูเกิลเป็ นครั้งแรกช่วงต้นปี 2010 อีกด้วย ่ ล่าสุ ดมีขาวการใช้เฟซบุก เพื่อช่วยเหลือชี วต ปกติเรามักจะได้ยนการใช้สงคมออนไลน์ เป็ นสื่ อ เป็ น ๊ ิ ิ ั เครื่ องมือทางการตลาด แต่ล่าสุ ดมีขาวจากสานักข่าวต่างประเทศได้รายงานเกี่ยวกับการประกาศรับ ่ บริ จาคไตในเฟซบุก เรื่ องเกิดที่สหรัฐฯ มีผป่วยที่ตองการปลูกถ่ายไต ต้องเปลี่ยนไตใหม่ภายในเวลา ๊ ู้ ้ จากัด เมื่อปรึ กษากับแพทย์ที่ดูแลอยู่ จึงได้ตดสิ นใจลองประกาศลงในเฟซบุก แล้วก็มีผท่ีประสงค์ ั ๊ ู้ จะบริ จาคไตให้ โดยไม่ได้มีความสนิทสนมกันเป็ นพิเศษแต่อย่างใด เป็ นเพียงเพื่อนในเฟซบุก ผูรับ ๊ ้ บริ จาคเมื่อได้รับข้อความแสดงความจานงจะบริ จาคไตให้ ในตอนแรกยังคิดว่าเป็ นเรื่ องล้อเล่นกัน แต่เมื่อต้นเดือนเมษายน 2010 แพทย์ก็ได้เปลี่ยนไตที่บริ จาคให้ไปเป็ นที่เรี ยบร้อยแล้ว การศึกษาล่าสุ ดพบว่าหญิงสาววัยรุ่ น ที่นงจ้องเฟชบุคทั้งวัน อาจเป็ นสาเหตุให้เกิดอาการผิดปกติใน ั่ ๊ เรื่ องการทานอาหาร จากการศึกษาพบว่าสองสาเหตุหลักที่ทาให้เกิด อาการการทานอาหารผิดปกติ คือ การใช้เวลามากเกินไปกับ พฤติกรรมการบริ โภคสื่ อ และ การเป็ นตัวของตัวเองมากเกินไป ผล
  • 7. 10 จากการสารวจเด็กวัยรุ่ นช่วงอายุ 12 ถึง 19 ปี พบว่าพฤติกรรมการบริ โภคสื่ อ อินเทอร์ เน็ต และ โทรทัศน์ มีผลกระทบต่อพฤติกรรมของแต่ละคนโดยตรง จากผลการสารวจพบว่า ยิงใช้เวลากับเฟชบุก มากเท่าไหร่ ก็จะมีโอกาสจะพบอาการอยากอาหาร ่ ๊ มากผิดปกติ ภาวะเบื่ออาหาร ไม่พึงพอใจในสรี ระของตัวเอง และ ความต้องการอยากลดน้ าหนัก มากขึ้น เมื่อมีจานวนผูใช้ สื่ อสังคมออนไลน์ (Social Media) มากขึ้นเท่าใร ย่อมเป็ นโอกาสในการทาธุ รกิจ ้ จึงเกิดคาว่า Social Commerce ขึ้น และได้รับความสนใจมากในช่วงนี้ หรื อถ้าลองค้นหา คาว่า “e- mail vs. Social Media” ในกูเกิล จะพบผลลัพธ์มากเป็ นหลายหมื่น จึงเป็ นสิ่ งที่ชดเจนว่าเป็ นหัวข้อ ั ร้อน จนบางที คนนิยามว่าเป็ นการทาสงครามบนโลกดิจิตอล บ้างก็กล่าวว่าคงเป็ นจุดจบของ อีเมล์ และคลื่นลูกใหม่ที่มาก็คือ สื่ อสังคมออนไลน์ (Social Media) อีกแง่มุมหนึ่งที่ดูเข้าท่าก็คือ ทั้งอีเมล์ และ สื่ อสังคมออนไลน์ จะเป็ นตัวเสริ มกันและกัน เพื่อการ ตัดสิ นใจทางธุ รกิจ เราควรที่จะโฟกัสสองเรื่ องใหญ่ๆ คือ กลุ่มเป้ าหมาย และ เจตนา มาเริ่ มด้วย กลุ่มเป้ าหมาย * ถ้ากลุ่มเป้ าหมายอายุต่ากว่า 20 ปี น่าจะค่อนข้างชัดเจนว่า การใช้สื่อสังคมออนไลน์ จะเป็ น ทางเลือกที่เหมาะสมที่สุด *ถ้ากลุ่มธุ รกิจเป็ นกลุ่มเป้ าหมายของเรา การใช้อีเมล์ ถูกมองว่าเราจะได้ผลเร็ วกว่า ในทางกลับกัน ถ้าลูกค้าทัวไปเป็ นกลุ่มเป้ าหมายของธุ รกิจ การใช้ สื่ อสังคมออนไลน์ น่าจะได้ผลที่ดีกว่า เนื่องจาก ่ ลูกค้าจะเชื่อ และฟัง ความเห็นของคนอื่นๆ ที่ให้ไว้บนสื่ อสังคมออนไลน์
  • 8. 11 *สาหรับกลุ่มเป้ าหมายที่อยูที่ทางาน อีเมล์เป็ นคาตอบของเรา แต่ถาต้องการมุ่งไปที่อยูที่บาน สื่ อ ่ ้ ่ ้ สังคมออนไลน์ น่าจะให้ผลตอบรับที่ดีกว่า จะเห็นได้วาการวิเคราะห์กลุ่มเป้ าหมายทั้งทาง ประชากรศาสตร์ (Demographic) และเชิงจิตวิทยา ่ เป็ นสิ่ งที่สาคัญทั้งคู่ ในการเลือกว่า อีเมล์ หรื อ สื่ อสังคมออนไลน์ จะเหมาะสมกับธุ รกิจ อย่างไรก็ ตามในหลายกรณี เราควรใช้ท้ งสองช่องทาง ในการติดต่อสื่ อสาร ั ส่ วนเจตนา หรือ รู ปแบบของธุรกิจ ก็เป็ นอีกหนึ่งปัจจัยทีควรนามาพิจารณา ่ * ถ้าต้องการทาธุ รกิจแบบ ขายตรง สื่ อสังคมออนไลน์ อาจจะไม่ค่อยเหมาะสมนัก อีเมล์ น่าจะให้ ผลลัพธ์ที่ดีกว่า * เมื่อมีความต้องการที่จะสร้างความสัมพันธ์ ในระยะยาว การเริ่ มต้นด้วย สื่ อสังคมออนไลน์ ในช่วงแรก แล้วปรับมาใช้อีเมล์ น่าจะเป็ นแนวทางที่ดี * หากธุ รกิจของเราต้องการ การตอบรับที่รวดเร็ ว สาหรับกลุ่มวัยรุ่ นแล้ว สื่ อสังคมออนไลน์ เป็ น ทางเลือกที่เหมาะสม ส่ วนกลุ่มวัยทางานที่ทางานมาพอสมควร การตอบรับอีเมล์ ของคนกลุ่มนี้ ก็ จะค่อยข้างเร็ ว * เมื่อเราต้องการที่จะทาธุ รกิจ ผ่านการสื่ อสาร อีเมล์ ยังคงเป็ นสิ่ งที่เราต้องใช้ เราต้องจัดการกับ อีเมล์ที่เข้ามาอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และรวดเร็ ว ถ้าไม่สามารถโต้ตอบด้วยความรวดเร็ วแล้ว ธุ รกิจ ของเราอาจจะมีปัญหาได้ ต่างกับถ้าเราไม่ ทวิต ทุกวัน คงจะไม่มีผลกระทบต่อธุ รกิจมากเท่าไหร่ นก ั เราจึงยังเห็นว่ า นักธุรกิจส่ วนใหญ่ ยังคงให้ ความสาคัญกับ อีเมล์ ดังนั้นถ้ าต้ องการทาธุรกิจกับใครก็ ตาม เราควรเริ่มด้ วย สื่ อสั งคมออนไลน์ เป็ นตัวนา ให้ เราสามารถเจาะเข้ าถึง อีเมล์ ของ
  • 9. 12 กลุ่มเปาหมายให้ ได้ อย่ างไรก็ตามเมื่อยุค สมัย เปลียนไป การใช้ อเี มล์ สาหรับคนรุ่ นใหม่ อาจจะไม่ ้ ่ สาคัญเท่ากับ การมีตัวตนบน สื่ อสั งคมออนไลน์ จนกลายเป็ นวิวฒนาการ บนโลกออนไลน์ ไม่ ใช่ ั เป็ นสงครามบนโลกออนไลน์ กว่าได้ ็
  • 10. 13 2.2.3 ประเภทเว็บไซต์ ทให้ บริการ Social Media ี่ Google Group – เว็บไซต์ ในรู ปแบบ Social Networking - Wikipedia – เว็บไซต์ ในรู ปแบบข้ อมูลอ้ างอิง
  • 11. 14 - MySpace – เว็บไซต์ ในรูปแบบ Social Networking - Facebook -เว็บไซต์ ในรูปแบบ Social Networking -
  • 12. 15 MouthShut – เว็บไซต์ ในรู ปแบบ Product Reviews - Yelp – เว็บไซต์ ในรู ปแบบ Product Reviews -
  • 13. 16 Youmeo – เว็บที่รวม Social Network - Last.fm – เว็บเพลงส่ วนตัว Personal Music -
  • 14. 17 YouTube – เว็บไซต์ Social Networking และ แชร์ วดีโอ ิ - Avatars United – เว็บไซต์ ในรู ปแบบ Social Networking -
  • 15. 18 Second Life – เว็บไซต์ ในรู ปแบบโลกเสมือนจริง Virtual Reality - Flickr – เว็บแชร์ รูปภาพ
  • 16. 19 2.3 เว็บบล็อก (WebBlog) 2.3.1 ความหมายของเว็บบล็อก (WebBlog) บล็อก (blog) เป็ นคารวมมาจากคาว่า เว็บล็อก (weblog) เป็ นรู ปแบบเว็บไซต์ประเภทหนึ่ง ซึ่ง ถูกเขียนขึ้นในลาดับที่เรี ยงตามเวลาในการเขียน ซึ่งจะแสดงข้อมูลที่เขียนล่าสุดไว้แรกสุด บล็อกโดยปกติจะ ่ ประกอบด้วย ข้อความ ภาพ ลิงก์ ซึ่งบางครั้งจะรวมสื่ อต่างๆ ไม่วา เพลง หรื อวิดีโอในหลายรู ปแบบได้ จุดที่ แตกต่างของบล็อกกับเว็บไซต์โดยปกติคือ บล็อกจะเปิ ดให้ผเู ้ ข้ามาอ่านข้อมูล สามารถแสดงความคิดเห็นต่อท้าย ข้อความที่เจ้าของบล็อกเป็ นคนเขียน ซึ่งทาให้ผเู ้ ขียนสามารถได้ผลตอบกลับโดยทันที คาว่า "บล็อก"ยังใช้เป็ น คากริ ยาได้ซ่ ึงหมายถึง การเขียนบล็อก และนอกจากนี้ผที่เขียนบล็อกเป็ นอาชีพก็จะถูกเรี ยกว่า "บล็อกเกอร์" ู้ ่ ั บล็อกเป็ นเว็บไซต์ที่มีเนื้อหาหลากหลายขึ้นอยูกบเจ้าของบล็อก โดยสามารถใช้เป็ นเครื่ องมือสื่ อสาร การประกาศ ่ ข่าวสาร การแสดงความคิดเห็น การเผยแพร่ ผลงาน ในหลายด้านไม่วา อาหาร การเมือง เทคโนโลยี หรื อข่าว ปั จจุบน นอกจากนี้บล็อกที่ถูกเขียนเฉพาะเรื่ องส่วนตัวหรื อจะเรี ยกว่าไดอารี ออนไลน์ซ่ ึงไดอารี ออนไลน์นี่เองเป็ น ั จุดเริ่ มต้นของการใช้บล็อกในปั จจุบน นอกจากนี้ตามบริ ษทเอกชนหลายแห่งได้มีการจัดทาบล็อกของทางบริ ษท ั ั ั ั ขึ้น เพื่อเสนอแนวความเห็นใหม่ใหักบลูกค้า โดยมีการเขียนบล็อกออกมาในลักษณะเดียวกับข่าวสั้น และได้รับ การตอบรับจากทางลูกค้าที่แสดงความเห็นตอบกลับเข้าไป เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์
  • 17. 20 2.3.2 ประเภทของเว็บบล็อก ่ บล็อกที่เราเห็นอยูในปัจจุบนนี้ ใช่มีเพียงแค่บล็อกที่เป็ นตัวหนังสื อและรู ปภาพเท่านั้น หรื อ มี ั แค่ออนไลน์ไดอารี่ เราแบ่งบล็อกออกได้ ดังต่อไปนี้ 1. แบ่งตามลักษณะของมีเดียที่มีในบล็อกได้แก่1.1. Linklog บล็อกแบบนี้น่าจะเป็ นบล็อกรุ่ นแรก ๆ เป็ นบล็อกที่ รวมลิ๊งก์ที่เจ้าของบล็อกสนใจเอาไว้ ถ้าคณยังจาผูให้กาเนิดคาว่า “บล็อก” ที่ชื่อ จอห์น บาจเจอร์ได้ นันแหล่ะครับ ้ ่ robotwisdom.com ของเขาคือตัวอย่างของ linklog นันเอง แม้วาจะบล็อกแบบนี้จะเป็ นการรวมลิ๊งก์เท่านั้น แต่ก็ไม่ ่ ่ เรี ยงเหมือนว็บไดเร็ กทอรี่ เพราะเจ้าของบล็อกจะโพสต์ลิ๊งก์ของเขา 1 – 2 ลิ๊งก์ต่อโพสต์เท่านั้นครับ ใครที่อยากมี บล็อกเป็ นของตนเองแต่ยงนึกไม่ออกว่าจะทาบล็อกแบบไหน linklog น่าจะเป็ นการเริ่ มต้นการทาบล็อกได้เป็ น ั ่ อย่างดี1.2 Photoblog ชื่อก็บอกอยูแล้วครับว่า Photo บล็อกประเภทนี้เน้นในโพสต์ภาพถ่ายที่เจ้าของบล็อกอยาก ่ นาเสนอ และมักจะไม่เน้นที่จะเขียนข้อความมากนัก บางบล็อกเรี ยกได้วาภาพโดยเจ้าของบล็อกล้วน ๆ เลยครับ ่ 1.3. Vlog ย่อมาจาก Videoblog เป็ นบล็อกที่รวมวิดีโอคลิปไว้ในบล็อก Vlog เป็ นบล็อกที่เรี ยกได้วาเป็ นบล็อกที่ นิยมทากันมากในอนาคต เพราะการเจริ ญเติบโตของไฮสปี ด อินเตอร์เน็ต หรื อ อินเตอร์เน็ตบอร์ดแบนด์ ที่ทาให้ การถ่ายทอดเสี ยง ภาพเคลื่อนไหว movie […] 2. แบ่งตามประเภทเนื้อหา ได้แก่2.1 บล็อกส่วนตัว(Personal Blog) นาแสนอความคิดเห็น กิจวัตรประจาวันของ เจ้าของบล็อกเป็ นหลัก2.2 บล็อกข่าว(News Blog) บล็อกที่นาเสนอข่าวเป็ นหลัก2.3 บล็อกกลุ่ม(Collaborative Blog) เป็ นบล็อกที่เขียนกันเป็ นกลุ่ม เช่น blognone.com2.4 บล็อกการเมือง(Politic Blog) ว่าด้วยเรื่ องการเมือง ล้วน ๆ2.5 บล็อกเพื่อสิ่ งแวดล้อม(Environment Blog) พูดถึงเรื่ องราวของธรรมชาติและการรักษาสิ่ งแวดล้อม2.6 มีเดียบล็อก(Media Blog) เป็ นบล็อกที่วเิ คราะห์สื่อต่างๆ สารคดีและสิ่ งที่เกี่ยวกับสื่ อ เช่น oknation.net/blog/black ั ่ ของสุทธิชย หยุน2.7 บล็อกบันเทิง(Entertainment Blog) บล็อกที่นาเสนอเรื่ องราวบันเทิงทั้งทางจอแก้ว และจอ เงิน เรื่ องซุบซุดารา กองถ่าย ฯลฯ2.8 บล็อกเพื่อการศึกษา(Educational Blog) ในโรงเรี ยน หรื อมหาวิทยาลัยใน ต่างประเทศมักจะใช้บล็อกเป็ นสื่ อในการสอนหรื อ แลกเปลี่ยนความคิดกัน2.9 ติวเตอร์บล็อก(Tutorial Blog) เป็ น บล็อกที่นาเสนอวิธีการต่าง
  • 18. 21 2.3.3 เว็บไซต์ ทให้ บริการเว็บบล็อก ี่ www.blogger.com www.exteen.com www.mapandy.com www.buddythai.com www.imigg.com www.5iam.com www.blogprathai.com www.ndesignsblog.com www.idatablog.com www.inewblog.com www.onblogme.com www.freeseoblogs.com www.sumhua.com www.diaryi.net www.istoreblog.com www.skypream.com www.thailandspace.com www.sungson.com www.gujaba.com www.sabuyblog.com www.ugetblog.com www.jaideespace.com www.maxsiteth.com www.my2blog.com www.wordpress.com
  • 19. 22 2.3.4 ประวัติของเว็บไซต์ Wordpress WordPress คือ โปรแกรมสาเร็ จรู ปตัวหนึ่ง ที่เอาไว้สาหรับสร้าง บล็อก หรื อ เว็บไซต์ ่ สามารถใช้งานได้ฟรี ถูกจัดอยูในประเภท CMS (Contents Management System) ซึ่งหมายถึง โปรแกรมสาเร็ จรู ปที่มีไว้สาหรับสร้างและบริ หารจัดการเนื้อหาและข้อมูลบนเว็บไซต์ WordPress ได้รับการพัฒนาและเขียนชุดคาสั่งมาจากภาษา PHP (เป็ นภาษาโปรแกรมมิ่งตัวหนึ่ง) ทางานบนฐานข้อมูล MySQL ซึ่งเป็ นโปรแกรมสาหรับจัดการฐานข้อมูล มีหน้าที่เก็บ เรี ยกดู แก้ไข ่ เพิ่มและลบข้อมูล การใช้งาน WordPress ร่ วมกับ MySQL อยูภายใต้สัญญาอนุ ญาตใช้งานแบบ GNU General Public License WordPress ปรากฏโฉมครั้งแรกในโลกเมื่อปี พ.ศ. 2546 (2003) เป็ นความร่ วมมือกันระหว่าง Matt ่ Mullenweg และ Mike Littlej มีเว็บไซต์หลักอยูที่ http://wordpress.org และยังมีบริ การ Free Hosting (พื้นที่สาหรับเก็บทุกอย่างของเว็บ/บล็อก) โดยขอใช้บริ การได้ที่ http://wordpress.com ปั จจุบนนี้ WordPress ได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ ว จนมีผใช้งานมากกว่า 200 ล้านเว็บ ั ู้ ่ บล็อกไปแล้ว แซงหน้า CMS ตัวอื่น ๆ ไม่วาจะเป็ น Drupal , Mambo และ Joomla สาเหตุเป็ นเพราะ ใช้งานง่าย ไม่จาเป็ นต้องมีความรู ้ในเรื่ อง Programing มีรูปแบบที่สวยงาม อีกทั้งยังมีผพฒนา ู้ ั Theme (รู ปแบบการแสดงผล) และ Plugins (โปรแกรมเสริ ม) ให้เลือกใช้ฟรี อย่างมากมาย นอกจากนี้ สาหรับนักพัฒนา WordPress ยังมี Codex เอาไว้ให้เราได้เป็ นไกด์ไลน์ เพื่อศึกษา ่ องค์ประกอบส่ วนต่าง ๆ ที่อยูภายใน สาหรับพัฒนาต่อยอด หรื อ นาไปสร้าง Theme และ Plugins ขึ้นมาเองได้อีกด้วย หนาซ้ า ยังมีรุ่นพิเศษ คือ WordPress MU สาหรับไว้ให้ผนาไปใช้ สามารถเปิ ด ู้ ให้บริ การพื้นที่ทาเว็บบล็อกเป็ นของตนเอง เพื่อให้ผอื่นมาสมัครขอร่ วมใช้บริ การในการสร้างเว็บ ู้ บล็อก ภายใต้ชื่อโดเมนของเขา หรื อที่เรี ยกว่า Sub-Domain