SlideShare a Scribd company logo
1 of 43
Economic Environment
             สภาพแวดล้ อมทางเศรษฐกิจ




                           Watjana Poopanee
                   Mahasarakham Business School
                           Mahasarakham University
                  E-mail : watjana.p@acc.msu.ac.th
                                                1
เนือ (Content)
    ้
• ระบบเศรษฐกิจ (Economic)

• ดัชนีชีวัดสภาพแวดล้ อมทางเศรษฐกิจ (Economic Indicators)
         ้

• องค์ กรการค้ าระหว่ างประเทศ (International Trade Organization)




                                                                    2
Economic Environment
         สภาพแวดล้ อมทางเศรษฐกิจ (Economic environment) ปั จจุบนโลกกำลังก้ ำวเข้ ำ
                                                                   ั
 สู่ยคโลกำภิวตน์ (Globalization) หรื อโลกไร้ พรมแดน (Boundary – less) ระบบเศรษฐกิจ
      ุ       ั
 ของแต่ละประเทศกำลังเชื่อมโยงเข้ ำด้ วยกัน ภำยหลังจำกกำรล่มสลำยของลัทธิคอมมิวนิสต์
 ซึ่ง มีสำธำรณรั ฐประชำชนจี นและสหภำพโซเวียตเป็ นผู้นำ ทำให้ ระบบเศรษฐกิ จของโลก
 เปลี่ยนแปลงไปเหลือเพียงไม่กี่ระบบ ได้ แก่ ระบบทุนนิยม (Capitalism) ระบบสังคมนิยม
 (Socialism) และระบบผสม (Mixed economy)

      ดัง นัน กำรที่ ป ระเทศหนึ่ ง จะเข้ ำ ไปด ำเนิ น ธุ ร กิ จ ในอี ก
            ้
  ประเทศหนึ่ ง นั น จะต้ องท ำกำรศึ ก ษำถึ ง แนวทำงระบบ
                  ้
  เศรษฐกิจของแต่ละประเทศซึ่งจะมีลกษณะที่คล้ ำยคลึงหรื อ
                                         ั
  แตกต่ำงกันในบำงประเด็น โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งทำงด้ ำนกำร
  แบ่งสรรและกำรเป็ นเจ้ ำของทรัพยำกร ตลอดจนกำรควบคุม
  กำรใช้ ทรัพยำกรนัน ้
                                                                                     3
ระบบเศรษฐกิจ (Economic)



                          4
ระบบเศรษฐกิจ (Economic)
       บทบำทในกำรจัดกำรทรัพยำกรของธุรกิจเอกชนและรัฐบำล จะขึ ้นอยู่กบระบบเศรษฐกิจ
                                                                   ั
 ในแต่ละประเทศ โดยมีหลักพืนฐำนที่ต้องกำรจัดสรรทรัพยำกรที่มีอยู่อย่ำงจำกัดเพื่อสนอง
                             ้
 ควำมต้ องกำรของสังคมได้ อย่ำงพึงพอใจ ระบบเศรษฐกิจในโลกปั จจุบนสำมำรถแบ่งออกได้
                                                               ั
 เป็ น 3 ลักษณะดังนี ้

     1. ระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเสรี (Free-Market System)

     2. ระบบเศรษฐกิจที่มีการวางแผนไว้ ล่วงหน้ า (Planned System)

     3. ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (Mixed Economy)



                                                                                     5
1. ระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเสรี (Free-Market System)
           ระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเสรี (Free-Market System) เป็ นระบบเศรษฐกิจที่ธุรกิจ
เอกชนมีอิสระที่จะทำกำรตัดสินใจผลิตสินค้ ำหรื อบริ กำร กำหนดแนวทำงในกำรผลิต กำหนดกลุ่ม
ลูกค้ ำเปำหมำย และกำหนดรำคำในกำรจำหน่ำยสินค้ ำเอง ดังนันธุรกิ จจึงมีโอกำสที่จะประสบ
         ้                                                       ้
ควำมสำเร็ จ หรื อควำมล้ มเหลวในกำรดำเนินงำนจำกกำรตัดสินในของธุรกิจเอง ระบบเศรษฐกิจ
แบบทุนนิยม (Capitalism) เป็ นอีกชื่อหนึงที่ถกนำมำใช้ อธิบำยถึงระบบเศรษฐกิจแบบตลำดเสรี
                                       ่ ู
           ซึ่งปรัชญำแนวคิดระบบทุนนิยมนีไ้ ด้ เกิดขึนในช่วงศตวรรษที่ 18 โดยนักปรัชญำชื่อดัง
                                                    ้
อดัมสมิธ (Adam Smith) ซึ่งมองว่ำระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมในอุดมคติจะต้ องมี กลไกของ
ตนเอง มี กำรผลิตสินค้ ำในลักษณะและปริ ม ำณที่ ตรงกับควำมต้ อ งกำรที่ แท้ จริ ง ของสัง คมโดย
ปรำศจำกกฏเกณฑ์ใด ๆ
           ประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) เช่น สหรัฐอเมริ กำ ญี่ ปน       ุ่
ฝรั่งเศส ฮ่องกง สิงคโปร์ เป็ นต้ น


                                                                                           6
2. ระบบเศรษฐกิจที่มีการวางแผนไว้ ล่วงหน้ า (Planned System)

         ระบบเศรษฐกิจที่มีการวางแผนไว้ ล่วงหน้ า (Planned System) ระบบเศรษฐกิจแบบนี ้
รัฐบำลจะเป็ นผู้ควบคุมกำรจัดสรรทรัพยำกรในประเทศทังหมดหรื อบำงส่วน และจำกัดอิสระในกำร
                                                      ้
ดำเนิ น ธุรกิ จให้ สอดคล้ องกับเปำหมำยของรั ฐบำล เนื่ อ งจำกควำมเท่ ำเที ยมกัน ทำงสัง คมเป็ น
                                 ้
เปำหมำยหลักของระบบเศรษฐกิจนี ้ ระบบเศรษฐกิจที่มีกำรวำงแผนไว้ ล่วงหน้ ำสำมำรถแบ่งออกได้
  ้
เป็ น 2 ลักษณะคือ
       2.1 ระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์ (Communism) เป็ นระบบเศรษฐกิจที่จำกัดอิสระ
ในกำรดำเนินงำนของธุรกิจเอกชนให้ เป็ นไปตำมนโยบำยของรัฐบำลแบบรวมศูนย์กลำง ประเทศที่
ยังคงมีระบบเศรษฐกิจนี ้ได้ แก่ เกำหลีเหนือ และคิวบำ เป็ นต้ น




                                                                                            7
2. ระบบเศรษฐกิจที่มีการวางแผนไว้ ล่วงหน้ า (Planned System)

       2.2     ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม (Socialism) เป็ นระบบเศรษฐกิจที่มีลกษณะทังั       ้
ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมและระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์ โดยในระบบเศรษฐกิจแบบสังคม
นิยมส่วนใหญ่แล้ วรัฐบำลเป็ นผู้วำงแผนและเป็ นผู้ครอบครองกรรมสิทธิ์ในที่ดินและทรัพยำกรต่ำง ๆ
ซึ่งรั ฐบำลจะเข้ ำไปลงทุนและควบคุมอุตสำหกรรมที่มีควำมสำคัญต่อสังคมโดยรวม เช่น ระบบ
สำธำรณูปโภค ระบบกำรขนส่ง เป็ นต้ น
         ในระบบเศรษฐกิจแบบนีบุคคลและผู้ประกอบกำรของธุรกิจสำมำรถแสวงหำผลตอบแทน
                                 ้
จำกกำรดำเนินธุรกิจได้ อย่ำงไรก็ตำมอัตรำภำษี ในระบบสังคมนิยมจะสูงเนื่องจำกรัฐบำลต้ องหำ
รำยได้ มำชดเชยธุรกิจหลักของสังคมที่รัฐบำลดำเนินกำร ประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม
เช่น รัสเซีย จีน เวียดนำม ศรี ลงกำ เป็ นต้ น
                               ั




                                                                                          8
3. ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (Mixed Economy)

        ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (Mixed Economy) เป็ นระบบเศรษฐกิจผสมผสำนระหว่ำง
ระบบเศรษฐกิจแบบตลำดเสรี และระบบเศรษฐกิจที่มีกำรวำงแผนไว้ ล่วงหน้ ำระบบเศรษฐกิจแบบ
ผสมจะนำมำปรั บใช้ ให้ เหมำะสมกับสถำนกำรณ์ ของเศรษฐกิ จและกำรเมืองของแต่ละประเทศ
แนวโน้ มของเศรษฐกิจแบบผสมมักจะเป็ นแบบระบบทุนนิยมมำกกว่ำสังคมนิยม ประเทศที่มีระบบ
เศรษฐกิจแบบผสม เช่น อังกฤษ เยอรมนี สวีเดน ไทย
                         จุดแข็ง                                             จุดอ่ อน
  -ควำมยืดหยุ่นทำงเศรษฐกิจสูง                          - ข้ อจำกัดด้ ำนกำรแข่งขันทำงธุรกิจ ทำให้ กำรพัฒนำ
                                                       เป็ นไปอย่ำงล่ำช้ ำ
  - ธุรกิจสำมำรถปรับตัวได้ อย่ำงรวดเร็วเมื่อเผชิญกับ   - กำรผูกขำดโดยภำครัฐในหน่วยงำนบำงประเภท มีผล
  ปั ญหำหรื อวิกฤติกำรณ์ทำงเศรษฐกิจ                    ต่อประสิทธิภำพในกำรให้ บริกำรแก่ประชำชน เช่น
                                                       ระบบสำธำรณูปโภค, เชื ้อเพลิง, แร่ธรรมชำติ เป็ นต้ น
  - ประชำชนได้ รับผลประโยชน์อย่ำงเต็มที่ในกำรบริโภค
  สินค้ ำ ไม่มีลกษณะของกำรแสวงกำไรทำงธุรกิจโดยขำด
                ั
  จริยธรรมของผู้ประกอบกำร
                                                                                                             9
ดัชนีชี้วดสภาพแวดล้ อมทางเศรษฐกิจ (Economic Indicators)
         ั




                                                                     10
 ที่มา : มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย, ธุรกิจสมัยใหม่ (Modern Business)
ดัชนีชีวัดสภาพแวดล้ อมทางเศรษฐกิจ
       ้
     (Economic Indicators)




                                    11
ดัชนีชี้วดสภาพแวดล้ อมทางเศรษฐกิจ (Economic Indicators)
         ั
      กำรศึกษำสภำวะแวดล้ อมทำงเศรษฐกิจเพื่อจุดประสงค์ทำงด้ ำนกำรตลำด ธุรกิจระหว่ำง
ประเทศสำมำรถใช้ ดชนีต่อไปนี ้ในกำรวิเครำะห์สภำพแวดล้ อมทำงเศรษฐกิจของตลำดประเทศว่ำ
                 ั
ประเทศนัน ๆ มีสภำพทำงเศรษฐกิจเป็ นอย่ำงไร ซึ่งดัชนีที่ใช้ ชีวดสภำพแวดล้ อมทำงเศรษฐกิจ
        ้                                                   ้ั
ประกอบไปด้ วย
      1. ดัชนีภาคเศรษฐกิจที่แท้ จริ ง (Real Sector)

      2. ขนาดของตลาด (Market Size)

      3. ผลิตภัณฑ์ มวลรวมประชาชาติ (Gross National Product : GNP) และผลิตภัณฑ์
      มวลรวมภายในประเทศ (Gross Domestics Product : GDP)
      4. รายได้ ประชาชาติถัวเฉลี่ยต่ อหัว (Per Capita Income)

      5. ภาวะเงินเฟอ (Inflation)
                   ้
      6. อัตราดอกเบีย (Interest Rates)
                    ้
                                                                                    12
ดัชนีชี้วดสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ (Economic Indicators) (ต่ อ)
         ั

      กำรศึกษำสภำวะแวดล้ อมทำงเศรษฐกิจเพื่อจุดประสงค์ทำงด้ ำนกำรตลำด ธุรกิจระหว่ำง
ประเทศสำมำรถใช้ ดชนีต่อไปนี ้ในกำรวิเครำะห์สภำพแวดล้ อมทำงเศรษฐกิจของตลำดประเทศว่ำ
                 ั
ประเทศนัน ๆ มีสภำพทำงเศรษฐกิจเป็ นอย่ำงไร ซึ่งดัชนีที่ใช้ ชีวดสภำพแวดล้ อมทำงเศรษฐกิจ
        ้                                                   ้ั
ประกอบไปด้ วย
      7. ปั ญหาหนีสิน (Debt Problem)
                  ้
      8. อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา (Exchange Rate)

      9. การออม (Saving)

      10. บัญชีดุลการชาระเงินของประเทศ (Balance of payment)




                                                                                    13
ดัชนีชี้วดสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ (Economic Indicators) (ต่ อ)
         ั

     1.  ดัชนีภาคเศรษฐกิจที่แท้ จริ ง (Real Sector) ดัชนีภำคเศรษฐกิจที่แท้ จริ งคือ ดัชนีที่
พิจำรณำถึงปั จจัยที่สำมำรถส่งเสริ มสนับสนุนระบบกำรผลิตหรื อปั จจัยที่ส่งเสริ มกำรผลิตสินค้ ำ
และบริ กำร ซึ่งปั จจัยเหล่ำนี ้ได้ แก่ แรงงำน ที่ดิน วัตถุดิบ ทุน ตลอดจนปั จจัยกำรผลิตอื่น ๆ เช่น
กำรขนส่ง ระบบโทรคมนำคม ระบบสำธำรณูปโภคที่สนับสนุนด้ ำนกำรผลิต
     โดยส่วนใหญ่ ภำคเศรษฐกิจที่แท้ จริ งหำกวัดจำกมูลค่ำผลิตภัณฑ์ มวลรวมภำยในประเทศ
(GDP) จะมีอยู่ 3 ภำคเศรษฐกิจที่สำคัญได้ แก่ 1)ภำคอุตสำหกรรม 2)ภำคเกษตร 3)ภำคบริ กำร
     เช่น GDP ของประเทศไทยแบ่งตำมภำคเศรษฐกิ จ ได้ ดังนี ้ ภำคเกษตรกรรม 11.4%,
ภำคอุตสำหกรรม 44.5%, ภำคบริ กำร 44.1% (ข้ อมูลปี 2553)
      GDP ของประเทศอำร์ เจนตินำแบ่งตำมภำคเศรษฐกิ จ ได้ ดงนี ้ ภำคกำรเกษตร 10.0%
                                                                     ั
ภำคอุตสำหกรรม 30.7%, ภำคกำรบริ กำร 59.2% (ข้ อมูลปี 2554)




                                                                                                14
ดัชนีชี้วดสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ (Economic Indicators) (ต่ อ)
         ั

    2.    ขนาดของตลาด (Market Size) ขึนอยู่กับศักยภำพของจำนวนประชำกรในแต่ละ
                                              ้
ประเทศโดยเป็ นเครื่ องบ่งชี ้ถึงโอกำสทำงกำรตลำดที่ธุรกิจจะเจริ ญเติบโตหรื อสำมำรถจำหน่ำย
สินค้ ำและบริ กำรในประเทศนัน ๆ โดยในปี 2009 จำนวนประชำกรโลกมีเกินกว่ำ 7 พันล้ ำนคน
                                ้
ทวีปเอเชียมีประชำกรมำกที่สุดประมำณครึ่ งหนึ่งของประชำกรโลก ในจำนวนนันอำศัยอยู่ใน
                                                                              ้
ประเทศจีนและอินเดียร้ อยละ 70 ของประชำกรทังหมดในทวีปเอเชีย (ประเทศจีนมีพลเมือง
                                                  ้
1,300 ล้ ำนคน อินเดีย 1,000 ล้ ำนคน)




Source : http://en.wikipedia.org/wiki/List_of_countries_by_population                  15
ดัชนีชี้วดสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ (Economic Indicators) (ต่ อ)
         ั

     3.  ผลิตภัณฑ์ มวลรวมประชาชาติ (Gross National Product : GNP) และผลิตภัณฑ์
มวลรวมภายในประเทศ (Gross Domestics Product : GDP)
      - ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชำชำติ (Gross National Product : GNP) แสดงมูลค่ำรวมของ
สินค้ ำและบริ กำรที่ผลิตขึ ้นโดยคนสัญชำติหนึงสัญชำติใดในรอบระยะเวลำหนึง
                                             ่                         ่
      - ผลิตภัณฑ์มวลรวมภำยในประเทศ (Gross Domestic Product : GDP) แสดงมูลค่ำรวม
ของสินค้ ำและบริ กำรที่ผลิตขึ ้นในประเทศหนึงประเทศใดในรอบระยะเวลำหนึง
                                           ่                         ่
      กำรเพิ่มขึ ้นของ GNP และ GDP จะก่อให้ เกิดกำรเพิ่มขึ ้น
ของควำมต้ องกำรในกำรอุปโภคบริ โภคสินค้ ำและบริ กำร ในทวีป
เอเชียมีกำรเพิ่มขึนของ GNP และ GDP สูง นับตังแต่หลัง
                    ้                              ้
สงครำมโลกครังที่สองเป็ นต้ นมำ ประเทศต่ำง ๆ ในภูมิภำคเอเชีย
               ้
ตะวันออกเฉียงใต้ มีกำรขยำยตัวทำงเศรษฐกิจและกำรเพิ่มขึน      ้
ของ GNP และ GDP สูงมำก ทำให้ น่ำสนใจในกำรดำเนินธุรกิจ
ในประเทศดังกล่ำวและทำให้ ประเทศเหล่ำนี ้มีบทบำทในกำรทำ
กำรค้ ำระหว่ำงประเทศมำกขึ ้น                                                   16
Source : http://en.wikipedia.org/wiki/List_of_countries_by_GDP_(nominal)
                                                                           17
ดัชนีชี้วดสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ (Economic Indicators) (ต่ อ)
         ั
     4.   รายได้ ประชาชาติถัวเฉลี่ยต่ อหัว (Per Capita Income) เป็ นดัชนีชี ้วัดที่ดีสำหรับ
คุณภำพของตลำด รำยได้ ประชำชำติถัวเฉลี่ยต่อหัวแสดงถึงรำยได้ โดยเฉลี่ยของประชำกรใน
ประเทศนัน ๆ บ่งบอกถึงอำนำจซื ้อของผู้บริ โภคในแต่ละประเทศ ประเทศที่มีรำยได้ ประชำชำติถว
           ้                                                                              ั
เฉลี่ยต่อหัวสูง เช่น สหรัฐอเมริ กำ ญี่ปน สวีเดน ย่อมเหมำะที่จะส่งสินค้ ำที่มีคณภำพและรำคำสูง
                                       ุ่                                     ุ
ไปจำหน่ำย
                                    Per Capita Income Ranking 2010

                                        Per Capita                                            Per Capita
     Position           Country                             Position          Country
                                        Income ($)                                            Income ($)
           1         Luxembourg         108,921.00             6           United States       47,184.00
           2            Norway           84,840.00             7            Netherlands        47,159.00
           3          Switzerland        66,934.00             8              Canada           46,148.00
           4           Denmark           55,988.00             9              Ireland          45,497.00
           5            Sweden           48,832.00            10              Austria          44,863.00
          77*          Thailand          4,613.00

  Source : http://en.classora.com/reports/s30614/general/ranking-of-countries-with-highest-per-capita-
  income?id=306&groupCount=50&startIndex=1                                                                 18
List of countries by GDP (PPP) per capita




Source : http://en.wikipedia.org/wiki/List_of_countries_by_GDP_(PPP)_per_capita   19
ดัชนีชี้วดสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ (Economic Indicators) (ต่ อ)
         ั
     5.     ภาวะเงินเฟอ (Inflation) ภำวะเงินเฟอ คือ ภำวะที่ระดับรำคำสินค้ ำและบริ กำร
                         ้                               ้
โดยทัวไปเพิ่มขึ ้นอย่ำงต่อเนื่องซึ่งหำกระดับที่เพิ่มขึ ้นไม่สงมำกนักก็จะไม่ส่งผลกระทบทำงลบต่อ
       ่                                                     ู
ผู้ผลิตและผู้บริ โภค แต่ในกรณี ที่เพิ่มขึนเร็ วกว่ำกำรเพิ่มขึนของอัตรำเงินเดือน ผู้บริ โภคย่อมมี
                                         ้                     ้
รำยได้ ที่แท้ จริ งลดลง สำหรับผู้ผลิตจะได้ รับผลกระทบทำงด้ ำนต้ นทุนกำรผลิตที่เพิ่มขึนทำให้ ผล
                                                                                        ้
กำไรลดลงจนขันขำดทุนและปิ ดบริ ษัทได้ (ธนำคำรเพื่อกำรส่งออกและนำเข้ ำแห่งประเทศไทย,
                    ้
2544, 259)
                                INFLATION RATES, LIST BY COUNTRY




       Source : http://www.tradingeconomics.com/inflation-rates-list-by-country?c=major        20
ดัชนีชี้วดสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ (Economic Indicators) (ต่ อ)
         ั
     6.      อัตราดอกเบีย (Interest Rate) เป็ นปั จจัยสำคัญที่นกลงทุนจะต้ องพิจำรณำ ถ้ ำอัตรำ
                         ้                                            ั
ดอกเบี ้ยสูง ต้ นทุนในกำรลงทุนซื ้อเครื่ องจักร กำรปลูกสร้ ำงโรงงำนและกำรซื ้ออุปกรณ์ก็จะสูงตำม
ไปด้ วย ในอดีตประเทศที่พฒนำแล้ ว เช่น สหรัฐอเมริ กำ และญี่ปน อัตรำดอกเบี ้ยมักอยู่ในเกณฑ์ที่
                              ั                                    ุ่
ต่ำกว่ำประเทศที่กำลังพัฒนำ เช่น ไทย อินโดนีเซีย และฟิ ลิปปิ นส์
       แต่ในสภำพกำรณ์ ปัจจุบันอัตรำดอกเบียของประเทศต่ำง ๆ ทั่วโลกเริ่ มปรั บตัวในอัตรำที่
                                                 ้
ใกล้ เคียงกันกว่ำในอดีต ถ้ ำกฎระเบียบของรัฐเอื ้อให้ ก้ เู งินจำกต่ำงประเทศมำลงทุนได้ นกธุรกิจใน
                                                                                           ั
ประเทศที่มีอตรำดอกเบี ้ยสูงกว่ำ อำจพิจำรณำกู้เงินจำกต่ำงประเทศที่มีอตรำดอกเบี ้ยต่ำกว่ำมำ
                ั                                                            ั
ลงทุน แต่กำรกู้จำกต่ำงประเทศนันต้ องระวังเรื่ องอัตรำแลกเปลี่ยนเงินตรำด้ วย เนื่องจำกกำรต้ อง
                                   ้
ใช้ คืนเงินสกุลต่ำงประเทศก่อให้ เกิดควำมเสี่ยงในกำรแลกเปลี่ยนเงินตรำเป็ นสกุลต่ำงประเทศ
       เช่น กำรกู้จำกญี่ปนจะทำให้ ก้ ได้ ในอัตรำดอกเบี ้ยที่ต่ำกว่ำกู้ภำยในไทย แต่ก็ทำให้ เกิดควำม
                           ุ่        ู
เสี่ยงในกำรแลกเปลี่ยนเงินบำทเป็ นเงินเยนของญี่ปนเวลำใช้ คืนเงินกู้ ซึงเงินเยนของญี่ปนอำจจะมี
                                                    ุ่                   ่              ุ่
อัตรำแลกเปลี่ยนที่สงขึ ้นมำกกว่ำตอนที่ก้ ยืมมำก็ได้ อันเนื่องมำกจำกควำมเข้ มแข็งทำงเศรษฐกิจ
                      ู                     ู
ของญี่ปน  ุ่

                                                                                                 21
INTEREST RATES, LIST BY COUNTRY




Source : http://www.tradingeconomics.com/interest-rates-list-by-country
                                                                          22
ดัชนีชี้วดสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ (Economic Indicators) (ต่ อ)
         ั

    7.     ปั ญหาหนีสิน (Debt Problem) ประเทศที่เผชิญกับวิกฤตกำรณ์เกี่ยวกับหนี ้สินมักมี
                      ้
ปั ญหำที่ติดตำมมำ คือ อำนำจกำรซื ้อของประเทศลดลง ทำให้ ต้องส่งออกมำกขึนเพื่อนำไปจ่ำย
                                                                               ้
ค่ำดอกเบี ้ย กำรเกิดปั ญหำหนี ้สินของประเทศมีมลเหตุสำคัญหลำยประกำร เช่น กำรที่พลเมือง
                                                    ู
ของประเทศใช้ จ่ำยฟุ่ มเฟื อย นิยมใช้ สินค้ ำนำเข้ ำจำกต่ำงประเทศที่มีรำคำแพง กำรสังซื ้อพลังงำน
                                                                                  ่
เชือเพลิง และเครื่ องจักรจำกต่ำงประเทศ กำรกู้ยืมเงินจำกต่ำงประเทศมำปรั บปรุ งโครงสร้ ำง
      ้
พื ้นฐำน ทำให้ ต้องเสียเงินตรำต่ำงประเทศในกำรชำระคืนแต่ละงวดตำมกำหนด ดังนันประเทศที่้
ปลอดภำระหนี ้สินย่อมมีควำมเข้ มแข็งทำงเศรษฐกิจมำกกว่ำประเทศที่ติดภำระหนี ้สิน ยิ่งไปกว่ำ
นันยังได้ รับควำมเชื่อมันจำกนำนำประเทศอีกด้ วย
    ้                   ่




                                                                                              23
PUBLIC DEBT TOP 20, 2010 ESTIMATE
                      (CIA WORLD FACTBOOK 2011)




Source : http://en.wikipedia.org/wiki/Government_debt   24
ดัชนีชี้วดสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ (Economic Indicators) (ต่ อ)
         ั

     8. อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา (Exchange Rate) อัตรำแลกเปลี่ยนเงินตรำจำกสกุลหนึ่งไป
เป็ นเงินอีกสกุลหนึงย่อมเป็ นไปตำมค่ำเงินของสกุลนัน ๆ ซึงขึ ้นอยู่กบควำมแข็งแกร่ งทำงเศรษฐกิจ
                      ่                                ้ ่          ั
ของประเทศและทองคำสำรองที่แต่ละประเทศมีอยู่ อัตรำแลกเปลี่ยนเงินตรำเป็ นต้ นทุนโดยตรงที่
ธุร กิ จ ระดับ โลกจะต้ อ งค ำนึง ถึ ง ในกำรก ำหนดรำคำสิ น ค้ ำ และบริ ก ำร รวมทัง กำรตกลงเรื่ อ ง
                                                                                 ้
ระยะเวลำในกำรชำระเงิน ในปั จจุบนธุรกิจแสวงหำกำไรจำกวิธีกำรทำงกำรเงินในรู ปแบบต่ำง ๆ
                                           ั
เช่น กำรซื ้อเงินตรำต่ำงประเทศล่วงหน้ ำ กำรกำหนดรำคำล่วงหน้ ำที่นกธุรกิจระดับโลกกระทำกัน
                                                                       ั
เพื่ อ ที่ จ ะลดควำมเสี่ ย ง หรื อ ลดต้ นทุ น ในกำรแลกเปลี่ ย นเงิ น ตรำระหว่ ำ งประเทศ โดยมี
วัต ถุป ระสงค์ เ พื่ อ ท ำให้ ก ำรเปลี่ ย นแปลงในอัต รำกำรแลกเปลี่ ย นเงิ น ตรำระหว่ ำ งประเทศมี
ผลกระทบกับธุรกิจน้ อยที่สด      ุ
        สำมำรถดูข้อมูลสกุลเงินโลกเพิ่มเติมได้ ที่ http://fx.sauder.ubc.ca/currency_table.html



                                                                                                25
ดัชนีชี้วดสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ (Economic Indicators) (ต่ อ)
         ั

    9.    การออม (Saving) กำรออมแสดงถึงควำมมังคังและมันคงทำงเศรษฐกิจของประเทศ
                                                           ่ ่ ่
ประเทศที่มีเงินออมสูงแสดงถึงศักยภำพทำงด้ ำนกำรเงิน รัฐบำลสำมำรถนำเงินออมไปปล่อยกู้
ให้ แก่ภำคเอกชนเพื่อขยำยธุรกิจให้ เจริ ญเติบโตต่อไป เช่น ไทยและสหรัฐอเมริ กำมีเงินออมต่ำกว่ำ
ญี่ ปุ่นแสดงถึง ศักยภำพในกำรลงทุน ของญี่ ปุ่นมี ม ำกกว่ำไทยและสหรั ฐอเมริ กำ นอกจำกนัน    ้
ประเทศที่มีเงินออมสูงจะมีศักยภำพรั บมือกับภำวะฉุกเฉิ นได้ ดีกว่ำไม่ว่ำจะเป็ นภำวะสงครำม
ภำวะรำคำน ้ำมันเพิ่มสูง ธุรกิจที่ประกอบกำรในประเทศซึงมีเงินออมสูงย่อมมีควำมเสี่ยงน้ อยเมื่อ
                                                            ่
เกิดควำมผันผวนทำงเศรษฐกิจ อย่ำงไรก็ตำมกำรออมที่มำกเกินไปอำจจะทำให้ เกิดภำวะเงินฝื ด
ได้ (Deflation)
         ภาวะเงินฝื ด (Deflation) คือ ภำวะที่ผ้ บริ โภคชะลอกำรใช้ จ่ำย
                                                 ู
สินค้ ำและบริ กำรเพื่อกำรบริ โภคแต่หันไปออมเงินแทน แต่มักจะเกิดขึน   ้
ในช่วงที่ผ้ บริ โภคขำดควำมเชื่อมันต่อเศรษฐกิจและไม่มนใจรำยได้ ของตน
            ู                    ่                      ั่
ในอนำคต ซึ่งมีผลทำให้ ระดับรำคำสินค้ ำและบริ กำรทัวไปลดต่ำลงอย่ำง
                                                      ่
ต่อเนื่อง โดยผู้ผลิตจะชะลอกำรลงทุนและขยำยกำรประกอบกำร หรื ออำจ
รุนแรงถึงปิ ดกำรดำเนินกำร
                                                                                           26
ดัชนีชี้วดสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ (Economic Indicators) (ต่ อ)
         ั

     10.     บัญชีดุลการชาระเงินของประเทศ (Balance of payment) บัญชีดลกำรชำระเงิน  ุ
ของประเทศจะมี 2 บัญชี ซึงทังสองจะแสดงให้ เห็นถึงสภำวะควำมมังคงทำงเศรษฐกิจและควำมมี
                            ่ ้                                   ่
เสถียรภำพของค่ำเงินของประเทศนัน ๆ ได้
                                    ้
         - บัญชีเดินสะพัด (Current account) เป็ นบัญชีที่ดจำกดุลกำรค้ ำ (มูลค่ำกำรส่งออกสินค้ ำ
                                                          ู
ของประเทศนัน ๆ หักด้ วยมูลค่ำกำรนำเข้ ำ (trade balance) ดุลบริ กำร (Service account)
                  ้
รำยได้ (Income) เงินโอนและเงินบริ จำค (current transfers) ถ้ ำบัญชีดงกล่ำวมีมลค่ำเป็ นบวกก็
                                                                       ั         ู
จะหมำยควำมว่ำประเทศนันมีควำมสำมำรถที่จะสร้ ำงรำยได้ จำกกำรนำเงินตรำจำกต่ำงประเทศ
                             ้
ได้ เรี ยกว่ำ บัญชีเดินสะพัดเกินดุล
         - บัญชีทน (Capital account) เป็ นบัญชีที่ประกอบไปด้ วยมูลค่ำกำรเคลื่อนย้ ำยสินค้ ำเข้ ำ
                    ุ
และเคลื่อนย้ ำยสินค้ ำออก กำรเคลื่อนย้ ำยเงินลงทุนเข้ ำและออก กำรไหลเวียนของเงินทุน เงิน
ลงทุนระยะสันและเงินลงทุนระยะยำว ถ้ ำบัญชีทุนมีมลค่ำเป็ นบวกแสดงว่ำระบบเศรษฐกิจของ
                ้                                     ู
ประเทศนัน ๆ มีกำรเคลื่อนย้ ำยเงินทุนจำกต่ำงประเทศเข้ ำมำมำกว่ำเคลื่อนย้ ำยเงินทุนออกนอก
             ้
ประเทศ
                                                                                               27
องค์ กรการค้ าระหว่ างประเทศ
(International Trade Organization)




                                     28
องค์ กรการค้าระหว่ างประเทศ (International Trade Organization)
       กำรรวมกลุ่มทำงเศรษฐกิจของประเทศต่ำง ๆ เกิดขึ ้นเพื่อให้ กำรแข่งขันใน
กำรค้ ำระหว่ำงประเทศมีควำมเสมอภำคกัน ทังประเทศมหำอำนำจกับประเทศที่
                                          ้
พัฒนำแล้ ว และประเทศที่กำลังพัฒนำ ดังนี ้

    • เขตการค้ าเสรี (Free trade area)

    • สหภาพศุลกากร (Customs union)

    • ตลาดร่ วม (Common market)

    • การรวมตัวกันทางด้ านเศรษฐกิจ (Economic union)


                                                                              29
องค์ กรการค้าระหว่ างประเทศ (International Trade Organization)

          เขตการค้ าเสรี (Free trade area) มีวตถุประสงค์เพื่อจะลดอุปสรรคทำงด้ ำนกำรค้ ำ
                                                       ั
 ในเรื่ องของสินค้ ำและบริ กำรระหว่ำงประเทศสมำชิก ในทำงทฤษฎีเขตกำรค้ ำเสรี จะไม่มีกำร
 แบ่งแยกเกี่ยวกับภำษี กำรนำเข้ ำ กำรชดเชย หรื ออุปสรรคทำงด้ ำนกำรบริ หำรจัดกำร ซึ่งจะ
 ทำลำยกำรค้ ำระหว่ำงประเทศสมำชิก แต่ประเทศสมำชิกมีสิทธิ์ในกำรกำหนดนโยบำยกำรค้ ำ
 ของตนเองกับประเทศที่ไม่ใช่สมำชิก โดยจะมีกำรคิดภำษี กบประเทศที่ไม่ใช่สมำชิกแตกต่ำงกัน
                                                                ั
 ข้ อตกลงทำงด้ ำ นกำรค้ ำเสรี เ ป็ นสิ่ง ที่ ได้ รับควำมนิ ย มมำกที่ สุดของกำรรวมตัวกัน ทำงด้ ำ น
 เศรษฐกิจในระดับภูมิภำคโดยมีถึง 90% ของกำรรวมตัวกัน เช่น APEC, AFTA, NAFTA, WTO,
 AFAS (ASEA Framework Agreement on Services) เป็ นต้ น




                                                                                                30
องค์ กรการค้าระหว่ างประเทศ (International Trade Organization)

       สหภาพศุลกากร (Customs union) เป็ นอีกขันหนึ่งของกำรรวมตัวกันทำงเศรษฐกิจ
                                                        ้
 และกำรเมืองโดยมีจดมุ่งหมำยที่จะจำกัดอุปสรรคทำงด้ ำนกำรค้ ำระหว่ำงประเทศสมำชิกและมี
                    ุ
 กำรใช้ นโยบำยทำงด้ ำนกำรค้ ำกับประเทศที่ไม่ใช่สมำชิกร่ วมกัน เมื่อมีกำรกำหนดนโยบำย
 ทำงด้ ำนกำรค้ ำภำยนอกประเทศร่ ว มกั น จึ ง จ ำเป็ นที่ จ ะต้ องมี ก ลไกในกำรตรวจสอบ
 ควำมสัมพันธ์ทำงด้ ำนกำรค้ ำกับประเทศที่ไม่ใช่สมำชิก ประเทศที่เกี่ยวข้ องกับสหภำพศุลกำกร
 นันมีควำมปรำรถนำที่จะไปสู่กำรรวมตัวกันทำงด้ ำนเศรษฐกิจในอนำคต เช่น EU ก็เริ่ มต้ นจำก
   ้
 กำรเป็ นสหภำพศุลกำกร เช่น ประเทศสวิสเซอร์ แลนด์ และประเทศลิกเตนสไตน์ โดยทังสอง     ้
 ประเทศได้ ทำข้ อตกลงที่จะรวมกันเป็ นกลุ่มกำรค้ ำสหภำพศุลกำกร ด้ วยกำรกำหนดอัตรำภำษี
 ศุลกำกรที่เท่ำกันสำหรับสินค้ ำเข้ ำจำกประเทศที่อยู่นอกกลุม
                                                          ่




                                                                                       31
องค์ กรการค้าระหว่ างประเทศ (International Trade Organization)
              ตลาดร่ วม (Common market) ตลำดร่ วมเป็ นลักษณะควำมร่ วมมือที่มีเงื่อนไขใน
 เรื่ องกำรเคลื่อนย้ ำยสินค้ ำ ทุน ทรัพยำกรและมนุษย์อย่ำงเป็ นอิสระภำยใต้ กลุมประเทศสมำชิก
                                                                             ่
              อัตรำภำษี ศุลกำกรต่อประเทศภำยนอกกลุ่มสมำชิกและควำมร่ วมมือของนโยบำย
 ทำงเศรษฐกิจระหว่ำงประเทศคล้ ำยกับลักษณะควำมร่ วมมือของสหภำพทำงภำษี ศลกำกร แต่     ุ
 เพิ่ มในเรื่ องกำรเคลื่อ นย้ ำยปั จจัยที่มี ผลกระทบต่อกำรผลิตระหว่ำงประเทศสมำชิ ก นั่น คือ
 ข้ อจำกัดของปั จจัยด้ ำนกำรผลิต คือ แรงงำน ทุน และเทคโนโลยีถกขจัดออกไป
                                                                  ู
           แม้ ว่ำระดับของกำรร่ วมมือกันแบบนี ้จะค่อยข้ ำงยำกและต้ องใช้ เวลำหลำยปี แต่ EU ก็
 ประสบควำมสำเร็ จในกำรรวมตัวกันเป็ นตลำดร่ วม นอกจำกนัน ก็ยงมีกลุ่ม MERCOSUR ซึ่ง
                                                                 ้ ั
 เป็ นกำรรวมตัวของประเทศในแถบลำติอเมริ กำอีกด้ วย




                                                                                            32
องค์ กรการค้าระหว่ างประเทศ (International Trade Organization)
         การรวมตัวกันทางด้ านเศรษฐกิจ (Economic union) สหภำพทำงเศรษฐกิจมี
 ลักษณะควำมร่ วมมือเพิ่มเติมมำกขึ ้นกว่ำตลำดร่ วม คือ สหภำพทำงเศรษฐกิจจะมีกำรตังเงิน้
 สกุล ร่ ว ม กำรรวมตัว กัน เรื่ อ งนโยบำยภำยในประเทศและนโยบำยด้ ำ นเศรษฐกิ จ ระหว่ ำ ง
 ประเทศ
          ภำยใต้ กำรรวมตัวของสหภำพทำงเศรษฐกิจ ประเทศสมำชิกจะมีนโยบำยทำงกำรเงิน
 ภำษี และค่ำใช้ จ่ำยของรัฐบำลอันเดียวกัน ประเทศสมำชิกจะใช้ เงินตรำสกุลเดียวกัน ซึ่งอำจ
 ประสบผลสำเร็จโดยระบบอัตรำแลกเปลี่ยนภำยในที่คงที่
           ในปั จจุบนกลุ่มสหภำพยุโรป (EU) ได้ พฒนำจำกกลุ่มทำงกำรค้ ำตลำดร่ วมมำเป็ นกลุ่ม
                    ั                          ั
 สหภำพเศรษฐกิจที่สมบูรณ์ ดังจะเห็นได้ จำกกำรประกำศใช้ เงินตรำสกุลเดียวกันในภำคีสมำชิก
 สหภำพยุโรปจำกกำรประกำศใช้ เงินตรำสกุลเดียวกันคือ เงินสกุล “ยูโร” ในวันที่ 1 มกรำคม
 ค.ค.1999



                                                                                        33
กลุ่มการค้ าและข้ อตกลงทางการค้ าที่สาคัญ
        กลุ่มทำงกำรค้ ำและข้ อตกลงทำงกำรค้ ำที่สำคัญในตลำดระหว่ำงประเทศประกอบไป
  ด้ วย
   - ข้ อตกลงทั่วไปเกี่ยวกับภาษีศุลกากรและการค้ า (The General Agreement on Tariff
  : GATT)

  - องค์ การการค้ าโลก (World Trade Organization)
  - ข้ อตกลงการค้ าเสรี ทวีปอเมริกาเหนือ (North American Free Trade Agreement :
  NAFTA)

  - สหภาพยุโรป (The European Union)
  - ASEAN (The Association of Southeast Asia Nation)
  - APEC (The Asia – Pacific Economic Cooperation)
  - การรวมตัวกันทางด้ านเศรษฐกิจในระดับภูมภาคอื่น ๆ
                                          ิ
                                                                                 34
(GATT : The General Agreement on Tariff)

           ข้ อตกลงทั่วไปว่ าด้ วยพิกัดอัตราภาษีศุลกากรและการค้ า (GATT) จำกควำม
 ต้ องกำรฟื ้นฟูเศรษฐกิ จและสัง คมโลกภำยหลัง สงครำมโลกครั งที่ สอง และควำมต้ อ งกำร
                                                              ้
 ตรงกันที่ต้องกำรแก้ ไขปั ญหำอุปสรรคกำรค้ ำของโลก จึงได้ มีกำรพยำยำมที่จะจัดตังองค์กำร
                                                                                ้
 กำรค้ ำระหว่ำงประเทศ (International Trade Organization : ITO) เพื่อจัดระเบียบกำรค้ ำ
 ระหว่ำงประเทศ โดยเริ่ มแรกได้ มีกำรรวมตัวกันเมื่อปี ค.ศ. 1947 (วันที่ 30 ตุลำคม 2490)
         มี ป ระเทศภำคี ส มำชิ ก เริ่ ม แรก 23 ประเทศ ได้ มี ก ำรร่ ว ม
 ประชุ ม ณ องค์ ก ำร สหประชำชำติ นครเจนี ว ำ ประเทศ
 ส วิ ต เ ซ อ ร์ แ ล น ด์ เ พื่ อ ร่ ว ม กั น จั ด ท ำ ข้ อ ต ก ล ง ขึ ้น ม ำ ใ ช้
 เ รี ย ก ว่ ำ " ข้ อ ต ก ล ง ทั่ ว ไ ป ว่ า ด้ ว ย ภ า ษี ศุ ล ก า ก ร แ ล ะ
 การค้า " (General Agreement on Tariff and Trade :
 GATT)             ที่ ถื อ ได้ ว่ ำ เป็ นแม่ บ ทของกฎเกณฑ์ ก ำรค้ ำ ระหว่ ำ ง
 ประเทศ และมีผลบังคับใช้ ตงแต่วนที่ 1 มกรำคม 2491
                                         ั้ ั

                                                                                         35
องค์ การการค้ าโลก (World Trade Organization : WTO)
             องค์ การการค้ าโลก (WTO)                  เป็ นองค์ ก ำรนำนำชำติ สั ง กั ด องค์ ก ำร
 สหประชำชำติ (UN) ทำหน้ ำที่เกี่ยวข้ องกับข้ อตกลงทำงด้ ำนกำรค้ ำระหว่ำงชำติ เป็ นเวที
 สำหรับกำรเจรจำต่อรอง ตกลงและขจัดข้ อขัดแย้ งในเงื่อนไขและกฎเกณฑ์ทำงกำรค้ ำและกำร
 บริ กำรระหว่ำงประเทศสมำชิกองค์กำรกำรค้ ำโลกจัดตังขึ ้นแทนควำมตกลงทัวไปว่ำด้ วยกำรค้ ำ
                                                         ้                 ่
 และภำษี ศลกำกร (GATT) เมื่อวันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2538 สำนักงำนใหญ่ตงอยู่ที่นครเจนี
           ุ                                                                     ั้
 วำ ประเทศสวิตเซอร์ แลนด์ ปั จจุบนมีสมำชิก 153 ประเทศ
                                  ั
             องค์กำรกำรค้ ำโลก จะทำหน้ ำที่ดแลข้ อตกลงย่อย 3
                                               ู
 ข้ อตกลง คือ ควำมตกลงทัวไปว่ำด้ วยกำรค้ ำและภำษี ศลกำกร
                            ่                               ุ
 (General Agreement on Tariff and Trade; GATT) ที่
 ดำเนินกำรมำก่อนหน้ ำนี,้ ควำมตกลงทัวไปว่ำด้ วยกำรค้ ำบริ กำร
                                         ่
 (General Agreement on Trade in Services; GATS) และ
 ควำมตกลงว่ำด้ วยกำรค้ ำที่ เกี่ ยวข้ องกับทรั พ ย์ สินทำงปั ญญำ
 (The agreement on Trade-Related                    Aspects     of
 Intellectual Property Rights; TRIPS)
                                                                                                    36
(NAFTA : North American Free Trade Agreement)

            NAFTA   จั ด ตั ้ง ขึ ้น ใ น ปี ค . ศ . 1 9 9 1 ปั จ จุ บั น มี ส ม ำ ชิ ก 3 ป ร ะ เ ท ศ
 คือ สหรัฐอเมริ กำ แคนำดำ และเม็กซิโก โดยมีวตถุประสงค์เพื่อขจัดอุปสรรคทำงกำรค้ ำและ
                                                       ั
 บริ กำรระหว่ำงประเทศสมำชิ กยกเลิกภำษี ศุลกำกร ส่งเสริ มกำรแข่งขัน ที่เป็ นธรรม ขยำย
 โอกำสกำรลงทุน คุ้มครองสิทธิ ใ นทรั พย์ สิน ทำงปั ญ ญำ และแก้ ไขข้ อพิ พำททำงกำรค้ ำใน
 อนำคต NAFTA จะเป็ นเขตกำรค้ ำที่ใหญ่มำกมีจำนวนประชำกรและมูลค่ำของสินค้ ำที่ผลิตได้
 มำกกว่ำกลุมเศรษฐกิจอื่น ๆ
           ่
          นอกจำกนี ้ยังมีข้อได้ เปรี ยบที่มีค่ำจ้ ำงแรงงำนต่ำและวัตถุดิบรำคำถูกจำกเม็กซิโกมี
 เงินทุนและเทคโนโลยีระดับสูงจำกสหรัฐอเมริ กำและแคนำดำ ปั จจุบนมีนกลงทุนชำวอเมริ กน
                                                                            ั ั                    ั
 และแคนำดำเข้ ำไปตังโรงงำนอุตสำหกรรมในเม็ กซิโ กเป็ นจำนวนมำก ทำให้ ผลผลิตของ
                        ้
 NAFTA แข่งขันกับตลำดโลกได้ อย่ำงมีประสิทธิภำพ




                                                                                                       37
EU : The European Union
               สหภาพยุโรป (EU) ประกอบไปด้ วยรัฐอิสระ 27 ประเทศ เป็ นที่ร้ ูจกกันในสถำนะรัฐ
                                                                                 ั
 สมำชิ ก : ออสเตรี ย เบลเยี ย ม บัล แกเรี ย ไซปรั ส สำธำรณรั ฐ เช็ ก เดนมำร์ ก เอสโตเนี ย
 ฟิ นแลนด์ ฝรั่งเศส เยอรมนี กรี ซ ฮังกำรี ไอร์ แลนด์ อิตำลี ลัตเวีย ลิทวเนีย ลักเซมเบิร์ก มอลตำ
                                                                       ั
 เนเธอร์ แลนด์ โปแลนด์ โปรตุเกส โรมำเนีย สโลวำเกี ย สโลวีเนีย สเปน สวีเดน และสหรำช
 อำณำจักร มีประชำกรมำกกว่ำ 490 ล้ ำนคน กลุ่มสหภำพยุโรปเป็ นตลำดที่ร่ ำรวยและมีกำลัง
 ซื ้อมำกที่สดตลำดหนึง กลุมสหภำพยุโรปมีขนดเศรษฐกิจคิดเป็ น 1 ใน 3 ของเศรษฐกิจโลก
               ุ          ่ ่
              แม้ สหภำพยุโรปจะเป็ นกำรรวมกลุ่มของรัฐหรื อ
เป็ นองค์กำรระหว่ำงประเทศ แต่โครงสร้ ำงของสหภำพยุโรป
นันมีลกษณะ "เหนือชำติ" (supranational trait) อย่ำง
   ้ ั
ชัดเจน ที่กล่ำวเช่นนี ้เพรำะบรรดำรัฐสมำชิกไม่เพียงรวมตัว
กัน เท่ ำ นัน หำกยัง ร่ ว มสร้ ำงสรรค์ ส ถำบัน หรื อ หน่ ว ยงำน
            ้
ภำยใน ซึ่งมีอำนำจเหนือรัฐสมำชิกรัฐใดรัฐหนึ่งโดยเฉพำะ
อั น ป ร ะ ก อ บ ไ ป ด้ ว ย ส ภ ำ ยุ โ ร ป ค ณ ะ ม น ต รี
คณะกรรมำธิกำร และศำลยุติธรรม
                                                                                                  38
EU : The European Union
          แนวความคิดในการรวมกลุ่ม ประเทศในยุโรปตะวันตกพยำยำมที่จะจัดตังระบบ     ้
ควำมร่ วมมือเพื่อเอำชนะกำรมีอคติและควำมไม่ไว้ วำงใจซึ่งแบ่งแยกชนชำติยโรปตะวันตก
                                                                          ุ
ออกจำกกั น ขณะเดี ย วกั น ประเทศต่ ำ ง ๆ พยำยำมจะฟื ้น ฟู ยุ โ รปตะวัน ตกภำยหลัง
สงครำมโลกครังที่สองทังในด้ ำนระบบกำรเมืองและระบบเศรษฐกิจขึ ้นใหม่ ในปี ค.ศ. 1950
              ้           ้
นำย Robert Schumann รัฐมนตรี ต่ำงประเทศฝรั่งเศสได้ เสนอแนวควำมคิดในกำรก่อตัง้
ระบบควำมร่ วมมือขึ ้นในหมู่ประเทศยุโรปตะวันตกอย่ำงเป็ นขันเป็ นตอน และประเทศต่ำง ๆ
                                                          ้
ที่มี ควำมสนใจได้ เริ่ ม กำรเจรจำเพื่ อ ถ่ำยทอดแนวควำมคิดดัง กล่ำวเป็ นองค์ กำรระหว่ำง
ประเทศขึ ้น




                                                                                         39
ASEAN (The Association of Southeast Asia Nation)

        กลุ่มอำเซียนเป็ นกำรรวมกลุ่มของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 10 ประเทศ
ได้ แก่ ไทย มำเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ อิ น โดนี เซีย สิง คโปร์ บรู ไน ลำว กัม พูชำ เวียดนำม และ
พม่ำ อำเซียนมีพื ้นที่รำว 4,435,570 ตำรำงกิโลเมตร มีประชำกรรำว 590 ล้ ำนคน ในปี พ.ศ.
2553 จีดีพีของประเทศสมำชิกรวมกันคิดเป็ นมูลค่ำรำว 1.8 ล้ ำนล้ ำนดอลล่ำร์ สหรัฐ คิดเป็ น
ลำดับที่ 9 ของโลกเรี ยงตำมจีดีพี มีภำษำอังกฤษเป็ นภำษำทำงกำร
        กลุ่มอำเซียนก่อตังขึ ้นในปี ค.ศ.1967 โดยมีจดประสงค์เพื่อส่งเสริ มควำมร่ วมมือใน
                          ้                             ุ
ด้ ำนเศรษฐกิจกำรเมืองและวัฒนธรรมของกลุ่มประเทศสมำชิก ในช่วงแรกเริ่ มของกำรก่อตัง          ้
กลุมอำเซียนมีสมำชิก 6 ประเทศคือ ไทย บรูไน อินโดนีเซีย มำเลเซีย สิงคโปร์ และฟิ ลิปปิ นส์
    ่
        โดยในปี ค.ศ. 1994 อำเซียนมีมติที่จะจัดตังเขตเศรษฐกิจ
                                                      ้
เสรี ในหมู่สมำชิก โดยจะใช้ ชื่อว่ำเขตกำรค้ ำเสรี อำเซียนหรื อ อำฟตำ
(ASEAN Free Trade Area : AFTA) ภำยใต้ ข้อตกลงเขตกำรค้ ำเสรี
อำเซียน โดยเขตกำรค้ ำเสรี อำเซียนมีเปำหมำยว่ำอัตรำภำษี ศลกำกร
                                      ้                       ุ
ที่มำกกว่ำร้ อยละ 20 ในปั จจุบนต้ องลดลงเหลือไม่เกินร้ อยละ 5
                                   ั
สำหรับประเทศสมำชิก
                                                                                              40
APEC (The Asia – Pacific Economic Cooperation)

        กำรร่ วมมือทำงเศรษฐกิจภำคพืนเอเชียแปซิฟิกหรื อกลุ่ม เอเปคก่อตังขึนในปี ค.ศ. 1989
                                      ้                               ้ ้
โดยมีจดประสงค์ มุ่งเน้ นควำมเจริ ญเติบโตและกำรพัฒนำที่ยงยืนของภูมิภำค และผลักดันให้ กำร
      ุ                                                ั่
เจรจำกำรค้ ำ หลำยฝ่ ำย ประสบผลส ำเร็ จ ขณะเดี ย วกัน เอเปคก็ ต้ อ งกำรถ่ ว งดุล อ ำนำจทำง
เศรษฐกิจของกลุมเศรษฐกิจต่ำง ๆ โดยเฉพำะกลุมสหภำพยุโรป อีกด้ วย
                ่                          ่
        กลุ่ม เอเปคเป็ นกำรรวมกลุ่ม ของเขตเศรษฐกิ จในแถบ
ชำยฝั่ งมหำสมุทรแปซิฟิกทังสองด้ ำน คือ ฝั่ งตะวันออกของทวีป
                           ้
เอเชียและฝั่ งตะวันตกของทวีปอเมริ กำ รวมถึงที่เป็ นหมู่เกำะใน
มหำสมุ ท รแปซิ ฟิ ก กลุ่ ม เอเปคมี ส มำชิ ก ทั ง หมด 21 เขต
                                               ้
เศรษฐกิจ ดังต่อไปนี ้ (หมำยเหตุ : เอเปคจะใช้ เขตเศรษฐกิจ
แทนประเทศเนื่องจำก ไต้ หวัน และฮ่องกงไม่นบเป็ นประเทศ)
                                             ั
ออสเตรเลีย บรูไนดำรุสซำลำม แคนำดำ ชิลี สำธำรณรัฐประชำชนจีน จีนฮ่องกง อินโดนีเซีย ญี่ปน        ุ่
สำธำรณรั ฐเกำหลี มำเลเซีย เม็กซิโก นิวซีแลนด์ ปำปั วนิวกิ นี เปรู สำธำรณรัฐฟิ ลิปปิ นส์ รั สเซีย
สิงคโปร์ จีนไทเป ไทย สหรัฐอเมริ กำ และเวียดนำม
                                                                                               41
การรวมตัวกันทางด้ านเศรษฐกิจในระดับภูมภาคอืน ๆ
                                       ิ    ่
       กำรรวมตัวกันทำงเศรษฐกิจในระดับภูมิภำคได้ กระจำยไปทั่วโลก นอกจำกนียังได้ มีกำร
                                                                        ้
รวมตัวกันทำงด้ ำนเศรษฐกิจในระดับภูมิภำคอื่น ๆ อีก ได้ แก่
          กลุ่มโอเปค (Organization of Petroleum Exporting Countries-OPEC) ได้ ถือกำเนิด
ขึ ้นในปี พ.ศ. 2503 มีสมำชิกประกอบด้ วย ซำอุดีอำระเบีย อิรัก อิหร่ ำน คูเวต และ เวเนซุเอลำ โดย
มีสำนักงำนใหญ่ที่ประเทศสวิตเซอร์ แลนด์ ในปั จจุบน กลุ่มโอเปคมีสมำชิกเพิ่มเติมอีก 7 ประเทศ
                                                 ั
คื อ สหรั ฐ อำหรั บ เอมิ เ รตส์ ประเทศกำตำร์ ประเทศไนจี เ รี ย ประเทศแอลจี เ รี ย ประเทศ
ลิเบีย ประเทศอิ นโดนี เซีย (ต่อมำถอนตัวในปี ค.ศ.1994) ประเทศกำบอง (ต่อ มำถอนตัวในปี
ค.ศ.2008) ประเทศเอกวำดอร์ (เคยเป็ นสมำชิกในปี ค.ศ. 1973 แล้ วถอนตัวไป ปั จจุบนกลับมำในปี
                                                                                  ั
2007) และล่ ำ สุ ด ประเทศแองโกลำรวมเป็ น 14 ประเทศและได้ ย้ ำยส ำนั ก งำนใหญ่ ไ ปที่
เวียนนำ ประเทศออสเตรี ย ในปี พ.ศ. 2508




                                                                                                 42
SUMMARY
   &
QUESTION

           43

More Related Content

What's hot

การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์Thida Noodaeng
 
โครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดโครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดtumetr1
 
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพการกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพtumetr1
 
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจCherie Pink
 
Reference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภค
Reference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภคReference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภค
Reference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภคMahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakeryตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakeryNattakorn Sunkdon
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)Nattakorn Sunkdon
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกThamonwan Theerabunchorn
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจPariwanButsat
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)Nattakorn Sunkdon
 
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)Nattakorn Sunkdon
 
พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภคพฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภคWut Sookcharoen
 

What's hot (20)

การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์
 
โครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดโครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาด
 
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพการกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
 
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
 
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
 
Lesson4
Lesson4Lesson4
Lesson4
 
Branding&Positioning (Ch 4) for IMC student Class
Branding&Positioning  (Ch 4) for IMC student ClassBranding&Positioning  (Ch 4) for IMC student Class
Branding&Positioning (Ch 4) for IMC student Class
 
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
 
Reference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภค
Reference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภคReference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภค
Reference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภค
 
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrixการวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakeryตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
 
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
 
พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภคพฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภค
 
07 ma
07 ma07 ma
07 ma
 

Viewers also liked

วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
บทที่ 4 ความได้เปรียบในการแข่งขันคืออะไร/ Chapter 4 What is competitive advan...
บทที่ 4 ความได้เปรียบในการแข่งขันคืออะไร/ Chapter 4 What is competitive advan...บทที่ 4 ความได้เปรียบในการแข่งขันคืออะไร/ Chapter 4 What is competitive advan...
บทที่ 4 ความได้เปรียบในการแข่งขันคืออะไร/ Chapter 4 What is competitive advan...NIDA Business School
 
Econ presentation 3
Econ presentation 3Econ presentation 3
Econ presentation 3wowwilawanph
 
Unit1 introduction pecon
Unit1 introduction peconUnit1 introduction pecon
Unit1 introduction peconsavinee12
 
ทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศ
ทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศ
ทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศtumetr
 
Global Marketing Chapter 3 : Cultural Foundations [Elegant (V)]
Global Marketing Chapter 3 : Cultural Foundations [Elegant (V)]Global Marketing Chapter 3 : Cultural Foundations [Elegant (V)]
Global Marketing Chapter 3 : Cultural Foundations [Elegant (V)]Md. Abdur Rakib
 

Viewers also liked (16)

วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
 
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
 
บทที่ 4 ความได้เปรียบในการแข่งขันคืออะไร/ Chapter 4 What is competitive advan...
บทที่ 4 ความได้เปรียบในการแข่งขันคืออะไร/ Chapter 4 What is competitive advan...บทที่ 4 ความได้เปรียบในการแข่งขันคืออะไร/ Chapter 4 What is competitive advan...
บทที่ 4 ความได้เปรียบในการแข่งขันคืออะไร/ Chapter 4 What is competitive advan...
 
Chp1
Chp1Chp1
Chp1
 
Econ presentation 3
Econ presentation 3Econ presentation 3
Econ presentation 3
 
Unit1 introduction pecon
Unit1 introduction peconUnit1 introduction pecon
Unit1 introduction pecon
 
Key economic indicators of thailand
Key economic indicators of thailandKey economic indicators of thailand
Key economic indicators of thailand
 
ทุนมูลนิธิ อายิโนะโมะโต๊ะ
ทุนมูลนิธิ อายิโนะโมะโต๊ะทุนมูลนิธิ อายิโนะโมะโต๊ะ
ทุนมูลนิธิ อายิโนะโมะโต๊ะ
 
Culture and Consumer Behavior (Ch.3)
Culture and Consumer Behavior (Ch.3)Culture and Consumer Behavior (Ch.3)
Culture and Consumer Behavior (Ch.3)
 
Perception,learning,memory (Ch.6), Consumer Behavior Class
Perception,learning,memory (Ch.6), Consumer Behavior ClassPerception,learning,memory (Ch.6), Consumer Behavior Class
Perception,learning,memory (Ch.6), Consumer Behavior Class
 
Tsba action plan_20100616_v3
Tsba action plan_20100616_v3Tsba action plan_20100616_v3
Tsba action plan_20100616_v3
 
ทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศ
ทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศ
ทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศ
 
การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)
การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)
การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)
 
Personality , Emotion and Consumer Behavior (Ch.8)
Personality , Emotion and Consumer Behavior (Ch.8)Personality , Emotion and Consumer Behavior (Ch.8)
Personality , Emotion and Consumer Behavior (Ch.8)
 
Global Marketing Chapter 3 : Cultural Foundations [Elegant (V)]
Global Marketing Chapter 3 : Cultural Foundations [Elegant (V)]Global Marketing Chapter 3 : Cultural Foundations [Elegant (V)]
Global Marketing Chapter 3 : Cultural Foundations [Elegant (V)]
 
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
 

Similar to Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)

เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์Krumai Kjna
 
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์krunimsocial
 
9789740329848
97897403298489789740329848
9789740329848CUPress
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสmaysupaporn
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสmaysupaporn
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสขอ พรดาว
 
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไรAec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไรUtai Sukviwatsirikul
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์ssusere8a8f7
 
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐมาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐSureeraya Limpaibul
 
Sustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case StudiesSustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case StudiesSarinee Achavanuntakul
 
บ้านเพชร พระราม 2 --เศรษฐกิจพอเพียงวิถีแห่งความสมดุลpart1
บ้านเพชร พระราม 2  --เศรษฐกิจพอเพียงวิถีแห่งความสมดุลpart1บ้านเพชร พระราม 2  --เศรษฐกิจพอเพียงวิถีแห่งความสมดุลpart1
บ้านเพชร พระราม 2 --เศรษฐกิจพอเพียงวิถีแห่งความสมดุลpart1freelance
 
ระบบเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจระบบเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจPonpirun Homsuwan
 
Petro policybrief12 jan2012
Petro policybrief12 jan2012Petro policybrief12 jan2012
Petro policybrief12 jan2012jaoa1002
 
สรุปกลยุทธ์
สรุปกลยุทธ์สรุปกลยุทธ์
สรุปกลยุทธ์Saran Yuwanna
 
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v12013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1Nopporn Thepsithar
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56nachol_fsct
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างnachol_fsct
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56nachol_fsct
 

Similar to Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing) (20)

เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
 
9789740329848
97897403298489789740329848
9789740329848
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัส
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัส
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัส
 
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไรAec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
 
Introgecon
IntrogeconIntrogecon
Introgecon
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐมาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
 
Sustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case StudiesSustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case Studies
 
บ้านเพชร พระราม 2 --เศรษฐกิจพอเพียงวิถีแห่งความสมดุลpart1
บ้านเพชร พระราม 2  --เศรษฐกิจพอเพียงวิถีแห่งความสมดุลpart1บ้านเพชร พระราม 2  --เศรษฐกิจพอเพียงวิถีแห่งความสมดุลpart1
บ้านเพชร พระราม 2 --เศรษฐกิจพอเพียงวิถีแห่งความสมดุลpart1
 
ระบบเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจระบบเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจ
 
Petro policybrief12 jan2012
Petro policybrief12 jan2012Petro policybrief12 jan2012
Petro policybrief12 jan2012
 
Responsible / Sustainable Finance
Responsible / Sustainable FinanceResponsible / Sustainable Finance
Responsible / Sustainable Finance
 
สรุปกลยุทธ์
สรุปกลยุทธ์สรุปกลยุทธ์
สรุปกลยุทธ์
 
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v12013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
 

More from Mahasarakham Business School, Mahasarakham University

ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuireเนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuireMahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMotivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
จรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย
จรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทยจรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย
จรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทยMahasarakham Business School, Mahasarakham University
 

More from Mahasarakham Business School, Mahasarakham University (10)

Google 2010 case study gm
Google 2010 case study gmGoogle 2010 case study gm
Google 2010 case study gm
 
ทุนภูมิพล ประจำปีการศึกษา 2555
ทุนภูมิพล ประจำปีการศึกษา 2555ทุนภูมิพล ประจำปีการศึกษา 2555
ทุนภูมิพล ประจำปีการศึกษา 2555
 
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
 
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
 
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
 
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuireเนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
 
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMotivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
 
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
 
จรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย
จรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทยจรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย
จรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย
 
Case Study สำหรับนิสิตวิชา Organization and Management (OM)
Case Study สำหรับนิสิตวิชา Organization and Management (OM)Case Study สำหรับนิสิตวิชา Organization and Management (OM)
Case Study สำหรับนิสิตวิชา Organization and Management (OM)
 

Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)

  • 1. Economic Environment สภาพแวดล้ อมทางเศรษฐกิจ Watjana Poopanee Mahasarakham Business School Mahasarakham University E-mail : watjana.p@acc.msu.ac.th 1
  • 2. เนือ (Content) ้ • ระบบเศรษฐกิจ (Economic) • ดัชนีชีวัดสภาพแวดล้ อมทางเศรษฐกิจ (Economic Indicators) ้ • องค์ กรการค้ าระหว่ างประเทศ (International Trade Organization) 2
  • 3. Economic Environment สภาพแวดล้ อมทางเศรษฐกิจ (Economic environment) ปั จจุบนโลกกำลังก้ ำวเข้ ำ ั สู่ยคโลกำภิวตน์ (Globalization) หรื อโลกไร้ พรมแดน (Boundary – less) ระบบเศรษฐกิจ ุ ั ของแต่ละประเทศกำลังเชื่อมโยงเข้ ำด้ วยกัน ภำยหลังจำกกำรล่มสลำยของลัทธิคอมมิวนิสต์ ซึ่ง มีสำธำรณรั ฐประชำชนจี นและสหภำพโซเวียตเป็ นผู้นำ ทำให้ ระบบเศรษฐกิ จของโลก เปลี่ยนแปลงไปเหลือเพียงไม่กี่ระบบ ได้ แก่ ระบบทุนนิยม (Capitalism) ระบบสังคมนิยม (Socialism) และระบบผสม (Mixed economy) ดัง นัน กำรที่ ป ระเทศหนึ่ ง จะเข้ ำ ไปด ำเนิ น ธุ ร กิ จ ในอี ก ้ ประเทศหนึ่ ง นั น จะต้ องท ำกำรศึ ก ษำถึ ง แนวทำงระบบ ้ เศรษฐกิจของแต่ละประเทศซึ่งจะมีลกษณะที่คล้ ำยคลึงหรื อ ั แตกต่ำงกันในบำงประเด็น โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งทำงด้ ำนกำร แบ่งสรรและกำรเป็ นเจ้ ำของทรัพยำกร ตลอดจนกำรควบคุม กำรใช้ ทรัพยำกรนัน ้ 3
  • 5. ระบบเศรษฐกิจ (Economic) บทบำทในกำรจัดกำรทรัพยำกรของธุรกิจเอกชนและรัฐบำล จะขึ ้นอยู่กบระบบเศรษฐกิจ ั ในแต่ละประเทศ โดยมีหลักพืนฐำนที่ต้องกำรจัดสรรทรัพยำกรที่มีอยู่อย่ำงจำกัดเพื่อสนอง ้ ควำมต้ องกำรของสังคมได้ อย่ำงพึงพอใจ ระบบเศรษฐกิจในโลกปั จจุบนสำมำรถแบ่งออกได้ ั เป็ น 3 ลักษณะดังนี ้ 1. ระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเสรี (Free-Market System) 2. ระบบเศรษฐกิจที่มีการวางแผนไว้ ล่วงหน้ า (Planned System) 3. ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (Mixed Economy) 5
  • 6. 1. ระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเสรี (Free-Market System) ระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเสรี (Free-Market System) เป็ นระบบเศรษฐกิจที่ธุรกิจ เอกชนมีอิสระที่จะทำกำรตัดสินใจผลิตสินค้ ำหรื อบริ กำร กำหนดแนวทำงในกำรผลิต กำหนดกลุ่ม ลูกค้ ำเปำหมำย และกำหนดรำคำในกำรจำหน่ำยสินค้ ำเอง ดังนันธุรกิ จจึงมีโอกำสที่จะประสบ ้ ้ ควำมสำเร็ จ หรื อควำมล้ มเหลวในกำรดำเนินงำนจำกกำรตัดสินในของธุรกิจเอง ระบบเศรษฐกิจ แบบทุนนิยม (Capitalism) เป็ นอีกชื่อหนึงที่ถกนำมำใช้ อธิบำยถึงระบบเศรษฐกิจแบบตลำดเสรี ่ ู ซึ่งปรัชญำแนวคิดระบบทุนนิยมนีไ้ ด้ เกิดขึนในช่วงศตวรรษที่ 18 โดยนักปรัชญำชื่อดัง ้ อดัมสมิธ (Adam Smith) ซึ่งมองว่ำระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมในอุดมคติจะต้ องมี กลไกของ ตนเอง มี กำรผลิตสินค้ ำในลักษณะและปริ ม ำณที่ ตรงกับควำมต้ อ งกำรที่ แท้ จริ ง ของสัง คมโดย ปรำศจำกกฏเกณฑ์ใด ๆ ประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) เช่น สหรัฐอเมริ กำ ญี่ ปน ุ่ ฝรั่งเศส ฮ่องกง สิงคโปร์ เป็ นต้ น 6
  • 7. 2. ระบบเศรษฐกิจที่มีการวางแผนไว้ ล่วงหน้ า (Planned System) ระบบเศรษฐกิจที่มีการวางแผนไว้ ล่วงหน้ า (Planned System) ระบบเศรษฐกิจแบบนี ้ รัฐบำลจะเป็ นผู้ควบคุมกำรจัดสรรทรัพยำกรในประเทศทังหมดหรื อบำงส่วน และจำกัดอิสระในกำร ้ ดำเนิ น ธุรกิ จให้ สอดคล้ องกับเปำหมำยของรั ฐบำล เนื่ อ งจำกควำมเท่ ำเที ยมกัน ทำงสัง คมเป็ น ้ เปำหมำยหลักของระบบเศรษฐกิจนี ้ ระบบเศรษฐกิจที่มีกำรวำงแผนไว้ ล่วงหน้ ำสำมำรถแบ่งออกได้ ้ เป็ น 2 ลักษณะคือ 2.1 ระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์ (Communism) เป็ นระบบเศรษฐกิจที่จำกัดอิสระ ในกำรดำเนินงำนของธุรกิจเอกชนให้ เป็ นไปตำมนโยบำยของรัฐบำลแบบรวมศูนย์กลำง ประเทศที่ ยังคงมีระบบเศรษฐกิจนี ้ได้ แก่ เกำหลีเหนือ และคิวบำ เป็ นต้ น 7
  • 8. 2. ระบบเศรษฐกิจที่มีการวางแผนไว้ ล่วงหน้ า (Planned System) 2.2 ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม (Socialism) เป็ นระบบเศรษฐกิจที่มีลกษณะทังั ้ ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมและระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์ โดยในระบบเศรษฐกิจแบบสังคม นิยมส่วนใหญ่แล้ วรัฐบำลเป็ นผู้วำงแผนและเป็ นผู้ครอบครองกรรมสิทธิ์ในที่ดินและทรัพยำกรต่ำง ๆ ซึ่งรั ฐบำลจะเข้ ำไปลงทุนและควบคุมอุตสำหกรรมที่มีควำมสำคัญต่อสังคมโดยรวม เช่น ระบบ สำธำรณูปโภค ระบบกำรขนส่ง เป็ นต้ น ในระบบเศรษฐกิจแบบนีบุคคลและผู้ประกอบกำรของธุรกิจสำมำรถแสวงหำผลตอบแทน ้ จำกกำรดำเนินธุรกิจได้ อย่ำงไรก็ตำมอัตรำภำษี ในระบบสังคมนิยมจะสูงเนื่องจำกรัฐบำลต้ องหำ รำยได้ มำชดเชยธุรกิจหลักของสังคมที่รัฐบำลดำเนินกำร ประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม เช่น รัสเซีย จีน เวียดนำม ศรี ลงกำ เป็ นต้ น ั 8
  • 9. 3. ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (Mixed Economy) ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (Mixed Economy) เป็ นระบบเศรษฐกิจผสมผสำนระหว่ำง ระบบเศรษฐกิจแบบตลำดเสรี และระบบเศรษฐกิจที่มีกำรวำงแผนไว้ ล่วงหน้ ำระบบเศรษฐกิจแบบ ผสมจะนำมำปรั บใช้ ให้ เหมำะสมกับสถำนกำรณ์ ของเศรษฐกิ จและกำรเมืองของแต่ละประเทศ แนวโน้ มของเศรษฐกิจแบบผสมมักจะเป็ นแบบระบบทุนนิยมมำกกว่ำสังคมนิยม ประเทศที่มีระบบ เศรษฐกิจแบบผสม เช่น อังกฤษ เยอรมนี สวีเดน ไทย จุดแข็ง จุดอ่ อน -ควำมยืดหยุ่นทำงเศรษฐกิจสูง - ข้ อจำกัดด้ ำนกำรแข่งขันทำงธุรกิจ ทำให้ กำรพัฒนำ เป็ นไปอย่ำงล่ำช้ ำ - ธุรกิจสำมำรถปรับตัวได้ อย่ำงรวดเร็วเมื่อเผชิญกับ - กำรผูกขำดโดยภำครัฐในหน่วยงำนบำงประเภท มีผล ปั ญหำหรื อวิกฤติกำรณ์ทำงเศรษฐกิจ ต่อประสิทธิภำพในกำรให้ บริกำรแก่ประชำชน เช่น ระบบสำธำรณูปโภค, เชื ้อเพลิง, แร่ธรรมชำติ เป็ นต้ น - ประชำชนได้ รับผลประโยชน์อย่ำงเต็มที่ในกำรบริโภค สินค้ ำ ไม่มีลกษณะของกำรแสวงกำไรทำงธุรกิจโดยขำด ั จริยธรรมของผู้ประกอบกำร 9
  • 10. ดัชนีชี้วดสภาพแวดล้ อมทางเศรษฐกิจ (Economic Indicators) ั 10 ที่มา : มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย, ธุรกิจสมัยใหม่ (Modern Business)
  • 12. ดัชนีชี้วดสภาพแวดล้ อมทางเศรษฐกิจ (Economic Indicators) ั กำรศึกษำสภำวะแวดล้ อมทำงเศรษฐกิจเพื่อจุดประสงค์ทำงด้ ำนกำรตลำด ธุรกิจระหว่ำง ประเทศสำมำรถใช้ ดชนีต่อไปนี ้ในกำรวิเครำะห์สภำพแวดล้ อมทำงเศรษฐกิจของตลำดประเทศว่ำ ั ประเทศนัน ๆ มีสภำพทำงเศรษฐกิจเป็ นอย่ำงไร ซึ่งดัชนีที่ใช้ ชีวดสภำพแวดล้ อมทำงเศรษฐกิจ ้ ้ั ประกอบไปด้ วย 1. ดัชนีภาคเศรษฐกิจที่แท้ จริ ง (Real Sector) 2. ขนาดของตลาด (Market Size) 3. ผลิตภัณฑ์ มวลรวมประชาชาติ (Gross National Product : GNP) และผลิตภัณฑ์ มวลรวมภายในประเทศ (Gross Domestics Product : GDP) 4. รายได้ ประชาชาติถัวเฉลี่ยต่ อหัว (Per Capita Income) 5. ภาวะเงินเฟอ (Inflation) ้ 6. อัตราดอกเบีย (Interest Rates) ้ 12
  • 13. ดัชนีชี้วดสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ (Economic Indicators) (ต่ อ) ั กำรศึกษำสภำวะแวดล้ อมทำงเศรษฐกิจเพื่อจุดประสงค์ทำงด้ ำนกำรตลำด ธุรกิจระหว่ำง ประเทศสำมำรถใช้ ดชนีต่อไปนี ้ในกำรวิเครำะห์สภำพแวดล้ อมทำงเศรษฐกิจของตลำดประเทศว่ำ ั ประเทศนัน ๆ มีสภำพทำงเศรษฐกิจเป็ นอย่ำงไร ซึ่งดัชนีที่ใช้ ชีวดสภำพแวดล้ อมทำงเศรษฐกิจ ้ ้ั ประกอบไปด้ วย 7. ปั ญหาหนีสิน (Debt Problem) ้ 8. อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา (Exchange Rate) 9. การออม (Saving) 10. บัญชีดุลการชาระเงินของประเทศ (Balance of payment) 13
  • 14. ดัชนีชี้วดสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ (Economic Indicators) (ต่ อ) ั 1. ดัชนีภาคเศรษฐกิจที่แท้ จริ ง (Real Sector) ดัชนีภำคเศรษฐกิจที่แท้ จริ งคือ ดัชนีที่ พิจำรณำถึงปั จจัยที่สำมำรถส่งเสริ มสนับสนุนระบบกำรผลิตหรื อปั จจัยที่ส่งเสริ มกำรผลิตสินค้ ำ และบริ กำร ซึ่งปั จจัยเหล่ำนี ้ได้ แก่ แรงงำน ที่ดิน วัตถุดิบ ทุน ตลอดจนปั จจัยกำรผลิตอื่น ๆ เช่น กำรขนส่ง ระบบโทรคมนำคม ระบบสำธำรณูปโภคที่สนับสนุนด้ ำนกำรผลิต โดยส่วนใหญ่ ภำคเศรษฐกิจที่แท้ จริ งหำกวัดจำกมูลค่ำผลิตภัณฑ์ มวลรวมภำยในประเทศ (GDP) จะมีอยู่ 3 ภำคเศรษฐกิจที่สำคัญได้ แก่ 1)ภำคอุตสำหกรรม 2)ภำคเกษตร 3)ภำคบริ กำร เช่น GDP ของประเทศไทยแบ่งตำมภำคเศรษฐกิ จ ได้ ดังนี ้ ภำคเกษตรกรรม 11.4%, ภำคอุตสำหกรรม 44.5%, ภำคบริ กำร 44.1% (ข้ อมูลปี 2553) GDP ของประเทศอำร์ เจนตินำแบ่งตำมภำคเศรษฐกิ จ ได้ ดงนี ้ ภำคกำรเกษตร 10.0% ั ภำคอุตสำหกรรม 30.7%, ภำคกำรบริ กำร 59.2% (ข้ อมูลปี 2554) 14
  • 15. ดัชนีชี้วดสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ (Economic Indicators) (ต่ อ) ั 2. ขนาดของตลาด (Market Size) ขึนอยู่กับศักยภำพของจำนวนประชำกรในแต่ละ ้ ประเทศโดยเป็ นเครื่ องบ่งชี ้ถึงโอกำสทำงกำรตลำดที่ธุรกิจจะเจริ ญเติบโตหรื อสำมำรถจำหน่ำย สินค้ ำและบริ กำรในประเทศนัน ๆ โดยในปี 2009 จำนวนประชำกรโลกมีเกินกว่ำ 7 พันล้ ำนคน ้ ทวีปเอเชียมีประชำกรมำกที่สุดประมำณครึ่ งหนึ่งของประชำกรโลก ในจำนวนนันอำศัยอยู่ใน ้ ประเทศจีนและอินเดียร้ อยละ 70 ของประชำกรทังหมดในทวีปเอเชีย (ประเทศจีนมีพลเมือง ้ 1,300 ล้ ำนคน อินเดีย 1,000 ล้ ำนคน) Source : http://en.wikipedia.org/wiki/List_of_countries_by_population 15
  • 16. ดัชนีชี้วดสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ (Economic Indicators) (ต่ อ) ั 3. ผลิตภัณฑ์ มวลรวมประชาชาติ (Gross National Product : GNP) และผลิตภัณฑ์ มวลรวมภายในประเทศ (Gross Domestics Product : GDP) - ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชำชำติ (Gross National Product : GNP) แสดงมูลค่ำรวมของ สินค้ ำและบริ กำรที่ผลิตขึ ้นโดยคนสัญชำติหนึงสัญชำติใดในรอบระยะเวลำหนึง ่ ่ - ผลิตภัณฑ์มวลรวมภำยในประเทศ (Gross Domestic Product : GDP) แสดงมูลค่ำรวม ของสินค้ ำและบริ กำรที่ผลิตขึ ้นในประเทศหนึงประเทศใดในรอบระยะเวลำหนึง ่ ่ กำรเพิ่มขึ ้นของ GNP และ GDP จะก่อให้ เกิดกำรเพิ่มขึ ้น ของควำมต้ องกำรในกำรอุปโภคบริ โภคสินค้ ำและบริ กำร ในทวีป เอเชียมีกำรเพิ่มขึนของ GNP และ GDP สูง นับตังแต่หลัง ้ ้ สงครำมโลกครังที่สองเป็ นต้ นมำ ประเทศต่ำง ๆ ในภูมิภำคเอเชีย ้ ตะวันออกเฉียงใต้ มีกำรขยำยตัวทำงเศรษฐกิจและกำรเพิ่มขึน ้ ของ GNP และ GDP สูงมำก ทำให้ น่ำสนใจในกำรดำเนินธุรกิจ ในประเทศดังกล่ำวและทำให้ ประเทศเหล่ำนี ้มีบทบำทในกำรทำ กำรค้ ำระหว่ำงประเทศมำกขึ ้น 16
  • 18. ดัชนีชี้วดสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ (Economic Indicators) (ต่ อ) ั 4. รายได้ ประชาชาติถัวเฉลี่ยต่ อหัว (Per Capita Income) เป็ นดัชนีชี ้วัดที่ดีสำหรับ คุณภำพของตลำด รำยได้ ประชำชำติถัวเฉลี่ยต่อหัวแสดงถึงรำยได้ โดยเฉลี่ยของประชำกรใน ประเทศนัน ๆ บ่งบอกถึงอำนำจซื ้อของผู้บริ โภคในแต่ละประเทศ ประเทศที่มีรำยได้ ประชำชำติถว ้ ั เฉลี่ยต่อหัวสูง เช่น สหรัฐอเมริ กำ ญี่ปน สวีเดน ย่อมเหมำะที่จะส่งสินค้ ำที่มีคณภำพและรำคำสูง ุ่ ุ ไปจำหน่ำย Per Capita Income Ranking 2010 Per Capita Per Capita Position Country Position Country Income ($) Income ($) 1 Luxembourg 108,921.00 6 United States 47,184.00 2 Norway 84,840.00 7 Netherlands 47,159.00 3 Switzerland 66,934.00 8 Canada 46,148.00 4 Denmark 55,988.00 9 Ireland 45,497.00 5 Sweden 48,832.00 10 Austria 44,863.00 77* Thailand 4,613.00 Source : http://en.classora.com/reports/s30614/general/ranking-of-countries-with-highest-per-capita- income?id=306&groupCount=50&startIndex=1 18
  • 19. List of countries by GDP (PPP) per capita Source : http://en.wikipedia.org/wiki/List_of_countries_by_GDP_(PPP)_per_capita 19
  • 20. ดัชนีชี้วดสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ (Economic Indicators) (ต่ อ) ั 5. ภาวะเงินเฟอ (Inflation) ภำวะเงินเฟอ คือ ภำวะที่ระดับรำคำสินค้ ำและบริ กำร ้ ้ โดยทัวไปเพิ่มขึ ้นอย่ำงต่อเนื่องซึ่งหำกระดับที่เพิ่มขึ ้นไม่สงมำกนักก็จะไม่ส่งผลกระทบทำงลบต่อ ่ ู ผู้ผลิตและผู้บริ โภค แต่ในกรณี ที่เพิ่มขึนเร็ วกว่ำกำรเพิ่มขึนของอัตรำเงินเดือน ผู้บริ โภคย่อมมี ้ ้ รำยได้ ที่แท้ จริ งลดลง สำหรับผู้ผลิตจะได้ รับผลกระทบทำงด้ ำนต้ นทุนกำรผลิตที่เพิ่มขึนทำให้ ผล ้ กำไรลดลงจนขันขำดทุนและปิ ดบริ ษัทได้ (ธนำคำรเพื่อกำรส่งออกและนำเข้ ำแห่งประเทศไทย, ้ 2544, 259) INFLATION RATES, LIST BY COUNTRY Source : http://www.tradingeconomics.com/inflation-rates-list-by-country?c=major 20
  • 21. ดัชนีชี้วดสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ (Economic Indicators) (ต่ อ) ั 6. อัตราดอกเบีย (Interest Rate) เป็ นปั จจัยสำคัญที่นกลงทุนจะต้ องพิจำรณำ ถ้ ำอัตรำ ้ ั ดอกเบี ้ยสูง ต้ นทุนในกำรลงทุนซื ้อเครื่ องจักร กำรปลูกสร้ ำงโรงงำนและกำรซื ้ออุปกรณ์ก็จะสูงตำม ไปด้ วย ในอดีตประเทศที่พฒนำแล้ ว เช่น สหรัฐอเมริ กำ และญี่ปน อัตรำดอกเบี ้ยมักอยู่ในเกณฑ์ที่ ั ุ่ ต่ำกว่ำประเทศที่กำลังพัฒนำ เช่น ไทย อินโดนีเซีย และฟิ ลิปปิ นส์ แต่ในสภำพกำรณ์ ปัจจุบันอัตรำดอกเบียของประเทศต่ำง ๆ ทั่วโลกเริ่ มปรั บตัวในอัตรำที่ ้ ใกล้ เคียงกันกว่ำในอดีต ถ้ ำกฎระเบียบของรัฐเอื ้อให้ ก้ เู งินจำกต่ำงประเทศมำลงทุนได้ นกธุรกิจใน ั ประเทศที่มีอตรำดอกเบี ้ยสูงกว่ำ อำจพิจำรณำกู้เงินจำกต่ำงประเทศที่มีอตรำดอกเบี ้ยต่ำกว่ำมำ ั ั ลงทุน แต่กำรกู้จำกต่ำงประเทศนันต้ องระวังเรื่ องอัตรำแลกเปลี่ยนเงินตรำด้ วย เนื่องจำกกำรต้ อง ้ ใช้ คืนเงินสกุลต่ำงประเทศก่อให้ เกิดควำมเสี่ยงในกำรแลกเปลี่ยนเงินตรำเป็ นสกุลต่ำงประเทศ เช่น กำรกู้จำกญี่ปนจะทำให้ ก้ ได้ ในอัตรำดอกเบี ้ยที่ต่ำกว่ำกู้ภำยในไทย แต่ก็ทำให้ เกิดควำม ุ่ ู เสี่ยงในกำรแลกเปลี่ยนเงินบำทเป็ นเงินเยนของญี่ปนเวลำใช้ คืนเงินกู้ ซึงเงินเยนของญี่ปนอำจจะมี ุ่ ่ ุ่ อัตรำแลกเปลี่ยนที่สงขึ ้นมำกกว่ำตอนที่ก้ ยืมมำก็ได้ อันเนื่องมำกจำกควำมเข้ มแข็งทำงเศรษฐกิจ ู ู ของญี่ปน ุ่ 21
  • 22. INTEREST RATES, LIST BY COUNTRY Source : http://www.tradingeconomics.com/interest-rates-list-by-country 22
  • 23. ดัชนีชี้วดสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ (Economic Indicators) (ต่ อ) ั 7. ปั ญหาหนีสิน (Debt Problem) ประเทศที่เผชิญกับวิกฤตกำรณ์เกี่ยวกับหนี ้สินมักมี ้ ปั ญหำที่ติดตำมมำ คือ อำนำจกำรซื ้อของประเทศลดลง ทำให้ ต้องส่งออกมำกขึนเพื่อนำไปจ่ำย ้ ค่ำดอกเบี ้ย กำรเกิดปั ญหำหนี ้สินของประเทศมีมลเหตุสำคัญหลำยประกำร เช่น กำรที่พลเมือง ู ของประเทศใช้ จ่ำยฟุ่ มเฟื อย นิยมใช้ สินค้ ำนำเข้ ำจำกต่ำงประเทศที่มีรำคำแพง กำรสังซื ้อพลังงำน ่ เชือเพลิง และเครื่ องจักรจำกต่ำงประเทศ กำรกู้ยืมเงินจำกต่ำงประเทศมำปรั บปรุ งโครงสร้ ำง ้ พื ้นฐำน ทำให้ ต้องเสียเงินตรำต่ำงประเทศในกำรชำระคืนแต่ละงวดตำมกำหนด ดังนันประเทศที่้ ปลอดภำระหนี ้สินย่อมมีควำมเข้ มแข็งทำงเศรษฐกิจมำกกว่ำประเทศที่ติดภำระหนี ้สิน ยิ่งไปกว่ำ นันยังได้ รับควำมเชื่อมันจำกนำนำประเทศอีกด้ วย ้ ่ 23
  • 24. PUBLIC DEBT TOP 20, 2010 ESTIMATE (CIA WORLD FACTBOOK 2011) Source : http://en.wikipedia.org/wiki/Government_debt 24
  • 25. ดัชนีชี้วดสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ (Economic Indicators) (ต่ อ) ั 8. อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา (Exchange Rate) อัตรำแลกเปลี่ยนเงินตรำจำกสกุลหนึ่งไป เป็ นเงินอีกสกุลหนึงย่อมเป็ นไปตำมค่ำเงินของสกุลนัน ๆ ซึงขึ ้นอยู่กบควำมแข็งแกร่ งทำงเศรษฐกิจ ่ ้ ่ ั ของประเทศและทองคำสำรองที่แต่ละประเทศมีอยู่ อัตรำแลกเปลี่ยนเงินตรำเป็ นต้ นทุนโดยตรงที่ ธุร กิ จ ระดับ โลกจะต้ อ งค ำนึง ถึ ง ในกำรก ำหนดรำคำสิ น ค้ ำ และบริ ก ำร รวมทัง กำรตกลงเรื่ อ ง ้ ระยะเวลำในกำรชำระเงิน ในปั จจุบนธุรกิจแสวงหำกำไรจำกวิธีกำรทำงกำรเงินในรู ปแบบต่ำง ๆ ั เช่น กำรซื ้อเงินตรำต่ำงประเทศล่วงหน้ ำ กำรกำหนดรำคำล่วงหน้ ำที่นกธุรกิจระดับโลกกระทำกัน ั เพื่ อ ที่ จ ะลดควำมเสี่ ย ง หรื อ ลดต้ นทุ น ในกำรแลกเปลี่ ย นเงิ น ตรำระหว่ ำ งประเทศ โดยมี วัต ถุป ระสงค์ เ พื่ อ ท ำให้ ก ำรเปลี่ ย นแปลงในอัต รำกำรแลกเปลี่ ย นเงิ น ตรำระหว่ ำ งประเทศมี ผลกระทบกับธุรกิจน้ อยที่สด ุ สำมำรถดูข้อมูลสกุลเงินโลกเพิ่มเติมได้ ที่ http://fx.sauder.ubc.ca/currency_table.html 25
  • 26. ดัชนีชี้วดสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ (Economic Indicators) (ต่ อ) ั 9. การออม (Saving) กำรออมแสดงถึงควำมมังคังและมันคงทำงเศรษฐกิจของประเทศ ่ ่ ่ ประเทศที่มีเงินออมสูงแสดงถึงศักยภำพทำงด้ ำนกำรเงิน รัฐบำลสำมำรถนำเงินออมไปปล่อยกู้ ให้ แก่ภำคเอกชนเพื่อขยำยธุรกิจให้ เจริ ญเติบโตต่อไป เช่น ไทยและสหรัฐอเมริ กำมีเงินออมต่ำกว่ำ ญี่ ปุ่นแสดงถึง ศักยภำพในกำรลงทุน ของญี่ ปุ่นมี ม ำกกว่ำไทยและสหรั ฐอเมริ กำ นอกจำกนัน ้ ประเทศที่มีเงินออมสูงจะมีศักยภำพรั บมือกับภำวะฉุกเฉิ นได้ ดีกว่ำไม่ว่ำจะเป็ นภำวะสงครำม ภำวะรำคำน ้ำมันเพิ่มสูง ธุรกิจที่ประกอบกำรในประเทศซึงมีเงินออมสูงย่อมมีควำมเสี่ยงน้ อยเมื่อ ่ เกิดควำมผันผวนทำงเศรษฐกิจ อย่ำงไรก็ตำมกำรออมที่มำกเกินไปอำจจะทำให้ เกิดภำวะเงินฝื ด ได้ (Deflation) ภาวะเงินฝื ด (Deflation) คือ ภำวะที่ผ้ บริ โภคชะลอกำรใช้ จ่ำย ู สินค้ ำและบริ กำรเพื่อกำรบริ โภคแต่หันไปออมเงินแทน แต่มักจะเกิดขึน ้ ในช่วงที่ผ้ บริ โภคขำดควำมเชื่อมันต่อเศรษฐกิจและไม่มนใจรำยได้ ของตน ู ่ ั่ ในอนำคต ซึ่งมีผลทำให้ ระดับรำคำสินค้ ำและบริ กำรทัวไปลดต่ำลงอย่ำง ่ ต่อเนื่อง โดยผู้ผลิตจะชะลอกำรลงทุนและขยำยกำรประกอบกำร หรื ออำจ รุนแรงถึงปิ ดกำรดำเนินกำร 26
  • 27. ดัชนีชี้วดสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ (Economic Indicators) (ต่ อ) ั 10. บัญชีดุลการชาระเงินของประเทศ (Balance of payment) บัญชีดลกำรชำระเงิน ุ ของประเทศจะมี 2 บัญชี ซึงทังสองจะแสดงให้ เห็นถึงสภำวะควำมมังคงทำงเศรษฐกิจและควำมมี ่ ้ ่ เสถียรภำพของค่ำเงินของประเทศนัน ๆ ได้ ้ - บัญชีเดินสะพัด (Current account) เป็ นบัญชีที่ดจำกดุลกำรค้ ำ (มูลค่ำกำรส่งออกสินค้ ำ ู ของประเทศนัน ๆ หักด้ วยมูลค่ำกำรนำเข้ ำ (trade balance) ดุลบริ กำร (Service account) ้ รำยได้ (Income) เงินโอนและเงินบริ จำค (current transfers) ถ้ ำบัญชีดงกล่ำวมีมลค่ำเป็ นบวกก็ ั ู จะหมำยควำมว่ำประเทศนันมีควำมสำมำรถที่จะสร้ ำงรำยได้ จำกกำรนำเงินตรำจำกต่ำงประเทศ ้ ได้ เรี ยกว่ำ บัญชีเดินสะพัดเกินดุล - บัญชีทน (Capital account) เป็ นบัญชีที่ประกอบไปด้ วยมูลค่ำกำรเคลื่อนย้ ำยสินค้ ำเข้ ำ ุ และเคลื่อนย้ ำยสินค้ ำออก กำรเคลื่อนย้ ำยเงินลงทุนเข้ ำและออก กำรไหลเวียนของเงินทุน เงิน ลงทุนระยะสันและเงินลงทุนระยะยำว ถ้ ำบัญชีทุนมีมลค่ำเป็ นบวกแสดงว่ำระบบเศรษฐกิจของ ้ ู ประเทศนัน ๆ มีกำรเคลื่อนย้ ำยเงินทุนจำกต่ำงประเทศเข้ ำมำมำกว่ำเคลื่อนย้ ำยเงินทุนออกนอก ้ ประเทศ 27
  • 28. องค์ กรการค้ าระหว่ างประเทศ (International Trade Organization) 28
  • 29. องค์ กรการค้าระหว่ างประเทศ (International Trade Organization) กำรรวมกลุ่มทำงเศรษฐกิจของประเทศต่ำง ๆ เกิดขึ ้นเพื่อให้ กำรแข่งขันใน กำรค้ ำระหว่ำงประเทศมีควำมเสมอภำคกัน ทังประเทศมหำอำนำจกับประเทศที่ ้ พัฒนำแล้ ว และประเทศที่กำลังพัฒนำ ดังนี ้ • เขตการค้ าเสรี (Free trade area) • สหภาพศุลกากร (Customs union) • ตลาดร่ วม (Common market) • การรวมตัวกันทางด้ านเศรษฐกิจ (Economic union) 29
  • 30. องค์ กรการค้าระหว่ างประเทศ (International Trade Organization) เขตการค้ าเสรี (Free trade area) มีวตถุประสงค์เพื่อจะลดอุปสรรคทำงด้ ำนกำรค้ ำ ั ในเรื่ องของสินค้ ำและบริ กำรระหว่ำงประเทศสมำชิก ในทำงทฤษฎีเขตกำรค้ ำเสรี จะไม่มีกำร แบ่งแยกเกี่ยวกับภำษี กำรนำเข้ ำ กำรชดเชย หรื ออุปสรรคทำงด้ ำนกำรบริ หำรจัดกำร ซึ่งจะ ทำลำยกำรค้ ำระหว่ำงประเทศสมำชิก แต่ประเทศสมำชิกมีสิทธิ์ในกำรกำหนดนโยบำยกำรค้ ำ ของตนเองกับประเทศที่ไม่ใช่สมำชิก โดยจะมีกำรคิดภำษี กบประเทศที่ไม่ใช่สมำชิกแตกต่ำงกัน ั ข้ อตกลงทำงด้ ำ นกำรค้ ำเสรี เ ป็ นสิ่ง ที่ ได้ รับควำมนิ ย มมำกที่ สุดของกำรรวมตัวกัน ทำงด้ ำ น เศรษฐกิจในระดับภูมิภำคโดยมีถึง 90% ของกำรรวมตัวกัน เช่น APEC, AFTA, NAFTA, WTO, AFAS (ASEA Framework Agreement on Services) เป็ นต้ น 30
  • 31. องค์ กรการค้าระหว่ างประเทศ (International Trade Organization) สหภาพศุลกากร (Customs union) เป็ นอีกขันหนึ่งของกำรรวมตัวกันทำงเศรษฐกิจ ้ และกำรเมืองโดยมีจดมุ่งหมำยที่จะจำกัดอุปสรรคทำงด้ ำนกำรค้ ำระหว่ำงประเทศสมำชิกและมี ุ กำรใช้ นโยบำยทำงด้ ำนกำรค้ ำกับประเทศที่ไม่ใช่สมำชิกร่ วมกัน เมื่อมีกำรกำหนดนโยบำย ทำงด้ ำนกำรค้ ำภำยนอกประเทศร่ ว มกั น จึ ง จ ำเป็ นที่ จ ะต้ องมี ก ลไกในกำรตรวจสอบ ควำมสัมพันธ์ทำงด้ ำนกำรค้ ำกับประเทศที่ไม่ใช่สมำชิก ประเทศที่เกี่ยวข้ องกับสหภำพศุลกำกร นันมีควำมปรำรถนำที่จะไปสู่กำรรวมตัวกันทำงด้ ำนเศรษฐกิจในอนำคต เช่น EU ก็เริ่ มต้ นจำก ้ กำรเป็ นสหภำพศุลกำกร เช่น ประเทศสวิสเซอร์ แลนด์ และประเทศลิกเตนสไตน์ โดยทังสอง ้ ประเทศได้ ทำข้ อตกลงที่จะรวมกันเป็ นกลุ่มกำรค้ ำสหภำพศุลกำกร ด้ วยกำรกำหนดอัตรำภำษี ศุลกำกรที่เท่ำกันสำหรับสินค้ ำเข้ ำจำกประเทศที่อยู่นอกกลุม ่ 31
  • 32. องค์ กรการค้าระหว่ างประเทศ (International Trade Organization) ตลาดร่ วม (Common market) ตลำดร่ วมเป็ นลักษณะควำมร่ วมมือที่มีเงื่อนไขใน เรื่ องกำรเคลื่อนย้ ำยสินค้ ำ ทุน ทรัพยำกรและมนุษย์อย่ำงเป็ นอิสระภำยใต้ กลุมประเทศสมำชิก ่ อัตรำภำษี ศุลกำกรต่อประเทศภำยนอกกลุ่มสมำชิกและควำมร่ วมมือของนโยบำย ทำงเศรษฐกิจระหว่ำงประเทศคล้ ำยกับลักษณะควำมร่ วมมือของสหภำพทำงภำษี ศลกำกร แต่ ุ เพิ่ มในเรื่ องกำรเคลื่อ นย้ ำยปั จจัยที่มี ผลกระทบต่อกำรผลิตระหว่ำงประเทศสมำชิ ก นั่น คือ ข้ อจำกัดของปั จจัยด้ ำนกำรผลิต คือ แรงงำน ทุน และเทคโนโลยีถกขจัดออกไป ู แม้ ว่ำระดับของกำรร่ วมมือกันแบบนี ้จะค่อยข้ ำงยำกและต้ องใช้ เวลำหลำยปี แต่ EU ก็ ประสบควำมสำเร็ จในกำรรวมตัวกันเป็ นตลำดร่ วม นอกจำกนัน ก็ยงมีกลุ่ม MERCOSUR ซึ่ง ้ ั เป็ นกำรรวมตัวของประเทศในแถบลำติอเมริ กำอีกด้ วย 32
  • 33. องค์ กรการค้าระหว่ างประเทศ (International Trade Organization) การรวมตัวกันทางด้ านเศรษฐกิจ (Economic union) สหภำพทำงเศรษฐกิจมี ลักษณะควำมร่ วมมือเพิ่มเติมมำกขึ ้นกว่ำตลำดร่ วม คือ สหภำพทำงเศรษฐกิจจะมีกำรตังเงิน้ สกุล ร่ ว ม กำรรวมตัว กัน เรื่ อ งนโยบำยภำยในประเทศและนโยบำยด้ ำ นเศรษฐกิ จ ระหว่ ำ ง ประเทศ ภำยใต้ กำรรวมตัวของสหภำพทำงเศรษฐกิจ ประเทศสมำชิกจะมีนโยบำยทำงกำรเงิน ภำษี และค่ำใช้ จ่ำยของรัฐบำลอันเดียวกัน ประเทศสมำชิกจะใช้ เงินตรำสกุลเดียวกัน ซึ่งอำจ ประสบผลสำเร็จโดยระบบอัตรำแลกเปลี่ยนภำยในที่คงที่ ในปั จจุบนกลุ่มสหภำพยุโรป (EU) ได้ พฒนำจำกกลุ่มทำงกำรค้ ำตลำดร่ วมมำเป็ นกลุ่ม ั ั สหภำพเศรษฐกิจที่สมบูรณ์ ดังจะเห็นได้ จำกกำรประกำศใช้ เงินตรำสกุลเดียวกันในภำคีสมำชิก สหภำพยุโรปจำกกำรประกำศใช้ เงินตรำสกุลเดียวกันคือ เงินสกุล “ยูโร” ในวันที่ 1 มกรำคม ค.ค.1999 33
  • 34. กลุ่มการค้ าและข้ อตกลงทางการค้ าที่สาคัญ กลุ่มทำงกำรค้ ำและข้ อตกลงทำงกำรค้ ำที่สำคัญในตลำดระหว่ำงประเทศประกอบไป ด้ วย - ข้ อตกลงทั่วไปเกี่ยวกับภาษีศุลกากรและการค้ า (The General Agreement on Tariff : GATT) - องค์ การการค้ าโลก (World Trade Organization) - ข้ อตกลงการค้ าเสรี ทวีปอเมริกาเหนือ (North American Free Trade Agreement : NAFTA) - สหภาพยุโรป (The European Union) - ASEAN (The Association of Southeast Asia Nation) - APEC (The Asia – Pacific Economic Cooperation) - การรวมตัวกันทางด้ านเศรษฐกิจในระดับภูมภาคอื่น ๆ ิ 34
  • 35. (GATT : The General Agreement on Tariff) ข้ อตกลงทั่วไปว่ าด้ วยพิกัดอัตราภาษีศุลกากรและการค้ า (GATT) จำกควำม ต้ องกำรฟื ้นฟูเศรษฐกิ จและสัง คมโลกภำยหลัง สงครำมโลกครั งที่ สอง และควำมต้ อ งกำร ้ ตรงกันที่ต้องกำรแก้ ไขปั ญหำอุปสรรคกำรค้ ำของโลก จึงได้ มีกำรพยำยำมที่จะจัดตังองค์กำร ้ กำรค้ ำระหว่ำงประเทศ (International Trade Organization : ITO) เพื่อจัดระเบียบกำรค้ ำ ระหว่ำงประเทศ โดยเริ่ มแรกได้ มีกำรรวมตัวกันเมื่อปี ค.ศ. 1947 (วันที่ 30 ตุลำคม 2490) มี ป ระเทศภำคี ส มำชิ ก เริ่ ม แรก 23 ประเทศ ได้ มี ก ำรร่ ว ม ประชุ ม ณ องค์ ก ำร สหประชำชำติ นครเจนี ว ำ ประเทศ ส วิ ต เ ซ อ ร์ แ ล น ด์ เ พื่ อ ร่ ว ม กั น จั ด ท ำ ข้ อ ต ก ล ง ขึ ้น ม ำ ใ ช้ เ รี ย ก ว่ ำ " ข้ อ ต ก ล ง ทั่ ว ไ ป ว่ า ด้ ว ย ภ า ษี ศุ ล ก า ก ร แ ล ะ การค้า " (General Agreement on Tariff and Trade : GATT) ที่ ถื อ ได้ ว่ ำ เป็ นแม่ บ ทของกฎเกณฑ์ ก ำรค้ ำ ระหว่ ำ ง ประเทศ และมีผลบังคับใช้ ตงแต่วนที่ 1 มกรำคม 2491 ั้ ั 35
  • 36. องค์ การการค้ าโลก (World Trade Organization : WTO) องค์ การการค้ าโลก (WTO) เป็ นองค์ ก ำรนำนำชำติ สั ง กั ด องค์ ก ำร สหประชำชำติ (UN) ทำหน้ ำที่เกี่ยวข้ องกับข้ อตกลงทำงด้ ำนกำรค้ ำระหว่ำงชำติ เป็ นเวที สำหรับกำรเจรจำต่อรอง ตกลงและขจัดข้ อขัดแย้ งในเงื่อนไขและกฎเกณฑ์ทำงกำรค้ ำและกำร บริ กำรระหว่ำงประเทศสมำชิกองค์กำรกำรค้ ำโลกจัดตังขึ ้นแทนควำมตกลงทัวไปว่ำด้ วยกำรค้ ำ ้ ่ และภำษี ศลกำกร (GATT) เมื่อวันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2538 สำนักงำนใหญ่ตงอยู่ที่นครเจนี ุ ั้ วำ ประเทศสวิตเซอร์ แลนด์ ปั จจุบนมีสมำชิก 153 ประเทศ ั องค์กำรกำรค้ ำโลก จะทำหน้ ำที่ดแลข้ อตกลงย่อย 3 ู ข้ อตกลง คือ ควำมตกลงทัวไปว่ำด้ วยกำรค้ ำและภำษี ศลกำกร ่ ุ (General Agreement on Tariff and Trade; GATT) ที่ ดำเนินกำรมำก่อนหน้ ำนี,้ ควำมตกลงทัวไปว่ำด้ วยกำรค้ ำบริ กำร ่ (General Agreement on Trade in Services; GATS) และ ควำมตกลงว่ำด้ วยกำรค้ ำที่ เกี่ ยวข้ องกับทรั พ ย์ สินทำงปั ญญำ (The agreement on Trade-Related Aspects of Intellectual Property Rights; TRIPS) 36
  • 37. (NAFTA : North American Free Trade Agreement) NAFTA จั ด ตั ้ง ขึ ้น ใ น ปี ค . ศ . 1 9 9 1 ปั จ จุ บั น มี ส ม ำ ชิ ก 3 ป ร ะ เ ท ศ คือ สหรัฐอเมริ กำ แคนำดำ และเม็กซิโก โดยมีวตถุประสงค์เพื่อขจัดอุปสรรคทำงกำรค้ ำและ ั บริ กำรระหว่ำงประเทศสมำชิ กยกเลิกภำษี ศุลกำกร ส่งเสริ มกำรแข่งขัน ที่เป็ นธรรม ขยำย โอกำสกำรลงทุน คุ้มครองสิทธิ ใ นทรั พย์ สิน ทำงปั ญ ญำ และแก้ ไขข้ อพิ พำททำงกำรค้ ำใน อนำคต NAFTA จะเป็ นเขตกำรค้ ำที่ใหญ่มำกมีจำนวนประชำกรและมูลค่ำของสินค้ ำที่ผลิตได้ มำกกว่ำกลุมเศรษฐกิจอื่น ๆ ่ นอกจำกนี ้ยังมีข้อได้ เปรี ยบที่มีค่ำจ้ ำงแรงงำนต่ำและวัตถุดิบรำคำถูกจำกเม็กซิโกมี เงินทุนและเทคโนโลยีระดับสูงจำกสหรัฐอเมริ กำและแคนำดำ ปั จจุบนมีนกลงทุนชำวอเมริ กน ั ั ั และแคนำดำเข้ ำไปตังโรงงำนอุตสำหกรรมในเม็ กซิโ กเป็ นจำนวนมำก ทำให้ ผลผลิตของ ้ NAFTA แข่งขันกับตลำดโลกได้ อย่ำงมีประสิทธิภำพ 37
  • 38. EU : The European Union สหภาพยุโรป (EU) ประกอบไปด้ วยรัฐอิสระ 27 ประเทศ เป็ นที่ร้ ูจกกันในสถำนะรัฐ ั สมำชิ ก : ออสเตรี ย เบลเยี ย ม บัล แกเรี ย ไซปรั ส สำธำรณรั ฐ เช็ ก เดนมำร์ ก เอสโตเนี ย ฟิ นแลนด์ ฝรั่งเศส เยอรมนี กรี ซ ฮังกำรี ไอร์ แลนด์ อิตำลี ลัตเวีย ลิทวเนีย ลักเซมเบิร์ก มอลตำ ั เนเธอร์ แลนด์ โปแลนด์ โปรตุเกส โรมำเนีย สโลวำเกี ย สโลวีเนีย สเปน สวีเดน และสหรำช อำณำจักร มีประชำกรมำกกว่ำ 490 ล้ ำนคน กลุ่มสหภำพยุโรปเป็ นตลำดที่ร่ ำรวยและมีกำลัง ซื ้อมำกที่สดตลำดหนึง กลุมสหภำพยุโรปมีขนดเศรษฐกิจคิดเป็ น 1 ใน 3 ของเศรษฐกิจโลก ุ ่ ่ แม้ สหภำพยุโรปจะเป็ นกำรรวมกลุ่มของรัฐหรื อ เป็ นองค์กำรระหว่ำงประเทศ แต่โครงสร้ ำงของสหภำพยุโรป นันมีลกษณะ "เหนือชำติ" (supranational trait) อย่ำง ้ ั ชัดเจน ที่กล่ำวเช่นนี ้เพรำะบรรดำรัฐสมำชิกไม่เพียงรวมตัว กัน เท่ ำ นัน หำกยัง ร่ ว มสร้ ำงสรรค์ ส ถำบัน หรื อ หน่ ว ยงำน ้ ภำยใน ซึ่งมีอำนำจเหนือรัฐสมำชิกรัฐใดรัฐหนึ่งโดยเฉพำะ อั น ป ร ะ ก อ บ ไ ป ด้ ว ย ส ภ ำ ยุ โ ร ป ค ณ ะ ม น ต รี คณะกรรมำธิกำร และศำลยุติธรรม 38
  • 39. EU : The European Union แนวความคิดในการรวมกลุ่ม ประเทศในยุโรปตะวันตกพยำยำมที่จะจัดตังระบบ ้ ควำมร่ วมมือเพื่อเอำชนะกำรมีอคติและควำมไม่ไว้ วำงใจซึ่งแบ่งแยกชนชำติยโรปตะวันตก ุ ออกจำกกั น ขณะเดี ย วกั น ประเทศต่ ำ ง ๆ พยำยำมจะฟื ้น ฟู ยุ โ รปตะวัน ตกภำยหลัง สงครำมโลกครังที่สองทังในด้ ำนระบบกำรเมืองและระบบเศรษฐกิจขึ ้นใหม่ ในปี ค.ศ. 1950 ้ ้ นำย Robert Schumann รัฐมนตรี ต่ำงประเทศฝรั่งเศสได้ เสนอแนวควำมคิดในกำรก่อตัง้ ระบบควำมร่ วมมือขึ ้นในหมู่ประเทศยุโรปตะวันตกอย่ำงเป็ นขันเป็ นตอน และประเทศต่ำง ๆ ้ ที่มี ควำมสนใจได้ เริ่ ม กำรเจรจำเพื่ อ ถ่ำยทอดแนวควำมคิดดัง กล่ำวเป็ นองค์ กำรระหว่ำง ประเทศขึ ้น 39
  • 40. ASEAN (The Association of Southeast Asia Nation) กลุ่มอำเซียนเป็ นกำรรวมกลุ่มของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 10 ประเทศ ได้ แก่ ไทย มำเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ อิ น โดนี เซีย สิง คโปร์ บรู ไน ลำว กัม พูชำ เวียดนำม และ พม่ำ อำเซียนมีพื ้นที่รำว 4,435,570 ตำรำงกิโลเมตร มีประชำกรรำว 590 ล้ ำนคน ในปี พ.ศ. 2553 จีดีพีของประเทศสมำชิกรวมกันคิดเป็ นมูลค่ำรำว 1.8 ล้ ำนล้ ำนดอลล่ำร์ สหรัฐ คิดเป็ น ลำดับที่ 9 ของโลกเรี ยงตำมจีดีพี มีภำษำอังกฤษเป็ นภำษำทำงกำร กลุ่มอำเซียนก่อตังขึ ้นในปี ค.ศ.1967 โดยมีจดประสงค์เพื่อส่งเสริ มควำมร่ วมมือใน ้ ุ ด้ ำนเศรษฐกิจกำรเมืองและวัฒนธรรมของกลุ่มประเทศสมำชิก ในช่วงแรกเริ่ มของกำรก่อตัง ้ กลุมอำเซียนมีสมำชิก 6 ประเทศคือ ไทย บรูไน อินโดนีเซีย มำเลเซีย สิงคโปร์ และฟิ ลิปปิ นส์ ่ โดยในปี ค.ศ. 1994 อำเซียนมีมติที่จะจัดตังเขตเศรษฐกิจ ้ เสรี ในหมู่สมำชิก โดยจะใช้ ชื่อว่ำเขตกำรค้ ำเสรี อำเซียนหรื อ อำฟตำ (ASEAN Free Trade Area : AFTA) ภำยใต้ ข้อตกลงเขตกำรค้ ำเสรี อำเซียน โดยเขตกำรค้ ำเสรี อำเซียนมีเปำหมำยว่ำอัตรำภำษี ศลกำกร ้ ุ ที่มำกกว่ำร้ อยละ 20 ในปั จจุบนต้ องลดลงเหลือไม่เกินร้ อยละ 5 ั สำหรับประเทศสมำชิก 40
  • 41. APEC (The Asia – Pacific Economic Cooperation) กำรร่ วมมือทำงเศรษฐกิจภำคพืนเอเชียแปซิฟิกหรื อกลุ่ม เอเปคก่อตังขึนในปี ค.ศ. 1989 ้ ้ ้ โดยมีจดประสงค์ มุ่งเน้ นควำมเจริ ญเติบโตและกำรพัฒนำที่ยงยืนของภูมิภำค และผลักดันให้ กำร ุ ั่ เจรจำกำรค้ ำ หลำยฝ่ ำย ประสบผลส ำเร็ จ ขณะเดี ย วกัน เอเปคก็ ต้ อ งกำรถ่ ว งดุล อ ำนำจทำง เศรษฐกิจของกลุมเศรษฐกิจต่ำง ๆ โดยเฉพำะกลุมสหภำพยุโรป อีกด้ วย ่ ่ กลุ่ม เอเปคเป็ นกำรรวมกลุ่ม ของเขตเศรษฐกิ จในแถบ ชำยฝั่ งมหำสมุทรแปซิฟิกทังสองด้ ำน คือ ฝั่ งตะวันออกของทวีป ้ เอเชียและฝั่ งตะวันตกของทวีปอเมริ กำ รวมถึงที่เป็ นหมู่เกำะใน มหำสมุ ท รแปซิ ฟิ ก กลุ่ ม เอเปคมี ส มำชิ ก ทั ง หมด 21 เขต ้ เศรษฐกิจ ดังต่อไปนี ้ (หมำยเหตุ : เอเปคจะใช้ เขตเศรษฐกิจ แทนประเทศเนื่องจำก ไต้ หวัน และฮ่องกงไม่นบเป็ นประเทศ) ั ออสเตรเลีย บรูไนดำรุสซำลำม แคนำดำ ชิลี สำธำรณรัฐประชำชนจีน จีนฮ่องกง อินโดนีเซีย ญี่ปน ุ่ สำธำรณรั ฐเกำหลี มำเลเซีย เม็กซิโก นิวซีแลนด์ ปำปั วนิวกิ นี เปรู สำธำรณรัฐฟิ ลิปปิ นส์ รั สเซีย สิงคโปร์ จีนไทเป ไทย สหรัฐอเมริ กำ และเวียดนำม 41
  • 42. การรวมตัวกันทางด้ านเศรษฐกิจในระดับภูมภาคอืน ๆ ิ ่ กำรรวมตัวกันทำงเศรษฐกิจในระดับภูมิภำคได้ กระจำยไปทั่วโลก นอกจำกนียังได้ มีกำร ้ รวมตัวกันทำงด้ ำนเศรษฐกิจในระดับภูมิภำคอื่น ๆ อีก ได้ แก่ กลุ่มโอเปค (Organization of Petroleum Exporting Countries-OPEC) ได้ ถือกำเนิด ขึ ้นในปี พ.ศ. 2503 มีสมำชิกประกอบด้ วย ซำอุดีอำระเบีย อิรัก อิหร่ ำน คูเวต และ เวเนซุเอลำ โดย มีสำนักงำนใหญ่ที่ประเทศสวิตเซอร์ แลนด์ ในปั จจุบน กลุ่มโอเปคมีสมำชิกเพิ่มเติมอีก 7 ประเทศ ั คื อ สหรั ฐ อำหรั บ เอมิ เ รตส์ ประเทศกำตำร์ ประเทศไนจี เ รี ย ประเทศแอลจี เ รี ย ประเทศ ลิเบีย ประเทศอิ นโดนี เซีย (ต่อมำถอนตัวในปี ค.ศ.1994) ประเทศกำบอง (ต่อ มำถอนตัวในปี ค.ศ.2008) ประเทศเอกวำดอร์ (เคยเป็ นสมำชิกในปี ค.ศ. 1973 แล้ วถอนตัวไป ปั จจุบนกลับมำในปี ั 2007) และล่ ำ สุ ด ประเทศแองโกลำรวมเป็ น 14 ประเทศและได้ ย้ ำยส ำนั ก งำนใหญ่ ไ ปที่ เวียนนำ ประเทศออสเตรี ย ในปี พ.ศ. 2508 42
  • 43. SUMMARY & QUESTION 43