SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 160
Baixar para ler offline
รายงานวิจยฉบับสมบูรณ์
ั
โครงการวิจัย ทบทวนภูมทศน์ การเมืองไทย
ิ ั
Re-examining the Political Landscape of Thailand
(สัญญาเลขที่ 2-028/2553 รหัสโครงการ นสธ.2553-2-028ข)
โดย
ผศ.ดร.อภิชาต สถิตนิรามัย คณะเศรษฐศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ผศ.ดร.ยุกติ มุกดาวิจิตร
คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รศ.ดร.นิติ ภวัครพันธุ์
คณะรัฐศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
องค์กรรับทุน: คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิ ทยาลัยธรรมศาสตร์

ได้รบทุนสนับสนุนโดย
ั
แผนงานสร้างเสริ มนโยบายสาธารณะที่ดี (นสธ.)
สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริ มสุขภาพ (สสส.)

พฤษภาคม 2556
Final Report
Re-examining the Political Landscape of Thailand

(Contract no 2-028/2553 Project code 2553-2-028ข)
By

Assistant Professor Dr.Apichat Satitniramai
Faculty of Economics Thammasat University
Assistant Professor Dr.Yukti Mukdawijitra
Faculty of Sociology and Anthropology Thammasat University
Associate Professor Dr.Niti Pawakapan
Faculty of Political Science Chulalongkorn University

This project was supported by
Thai Health Promotion Foundation (Thai Health)

May 2013
Summary
Based on quantitative surveys, in-depth interviews and fieldwork research in several
villages in northern, northeastern, central and southern Thailand, this research argues that Thai
socio-political landscapes have changed economically, politically, and ideologically for the past
two decades. These changes brought about a new group of people with new economic and
political attributes, labeled as the ‘new citizens’. Nidhi Eoseewong refers to the same group of
people as the ‘lower middle class’ as their characteristics, interests and concerns differ from
the ‘old middle class’ which includes middle or higher class people.
The ‘new citizens’ are categorized as those who earn a monthly income of 5,000-10,000
Baht. It is estimated that they composed 40 per cent of Thai households in 2008, which makes
them the largest group of voters in the national election. Although they are not the poorest, they
are inferior to the ‘old middle class’ in many aspects including incomes, asset, jobs, and
education. Because of this, the ‘new citizens’ have new needs and aspirations for a set of
public policies that is different from the ‘old middle class’. The socio-economic change for the
past twenty years made the ‘new citizens’ the largest group among the Thai political
constituency and political parties need to develop new public policies to cater for this new group
of voters.
At the same time, the institutionalization of electoral politics both at the national and
local level, especially since the enforcement of the 1997 constitution, created more incentives
for politicians to formulate macro-level public policies in response to the demands of this
constituency. The 1997 constitution was designed to create a more effective Thai state for
implementing public policies which political parties promised during electoral campaigns. This
was the same time that the Thai Rak Thai party emerged under the leadership of Thaksin
Shinawatra. Thus, Thaksin became the first elected Thai Prime Minister who could keep and
meet his promises during his term. It was the first time in Thailand that the majority of voters
felt that the ballot box affected their daily lives.
However, the improved electoral politics reduces political influence of the ‘old middle
class’. Electoral politics has hardly been an effective public policy instrument for the the ‘old
middle class’ since the masses have always outnumbered the the ‘old middle class’. Thus, this
‘old middle class’ have employed and enjoyed other political instruments--such as the
mainstream mass media, social relations with the elites, and even supporting a coup d’etat--to
disproportionately access to policy making.
In this light, the present color-coded political conflict is a conflict between 'the new
citizens’ and the ‘old middle class’. The ‘new citizens’ (Red Shirts) fight to preserve their most
effective policy instrument--electoral politics--whereas the ‘old middle class’ (Yellow Shirts) fight
to emphasize participatory democracy and accountability. Ideologically speaking, each side
commit to different types of democracy.
The Yellow Shirts stress the importance of participatory and accountability politics while
not trusting parliamentary politics and elected politicians. In effect, they call for a check in the
politicians’ power by others players and institutions such as the monarchy--including the Privy
Council-- constitutional independent bodies, the military, and the judicial power. On the other
hand, the Red Shirts emphasize the paramount of the election and parliamentary democracy as
the sole legitimate source of governance. Moreover, they stress fairness and equality of an
access to political and policy process; and hence the Red Shirts are against the notion of
“double (political) standards.” In effect, they reject any extra-parliamentary check of power
whether they are the military, the law courts or other independent bodies.
Socio-economic changes during the last twenty years have also undermined various
conditions that underpin the patron-client social relationship. This research argues that Thai
society is no longer a self-subsistent peasant society with high poverty, a fundamental basis of
‘patron-client relationship’ in which poor peasants use a ‘risk-minimization and safety-first
strategy and the patron-client relationship is no longer a dominant form of Thai social relation.
Rather, horizontal relationships are increasingly more important. These complex, flexible and
dynamic horizontal relations are a result of socio-economic changes that weaken the grip of
influential groups in many locales; and hence, they open doors for new forms of social networks
and organizations. These new modes of social relations in turn facilitate a political movement to
achieve the new citizen’s rights and interests. In another aspect, those horizontal relations are
created to build up a common new political ideology and identity of the ‘new citizens’.
บทสรุป
รายงานวิจัยนี้อ าศัยขอ มูลจากการวิจัย ทางสถิติ การสัมภาษณเชิงลึก และการวิจัย ภาคสนามใน
หมูบานภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคกลาง และภาคใต การศึกษานี้ชี้วา การเปลี่ยนแปลงภูมิทัศนของสังคม
การเมืองไทยในรอบยี่สิบกวาปทั้งในทางเศรษฐกิจ การเมือง และอุดมการณ กอใหเกิดการเติบโตขึ้นของ
กลุมคนหนาใหมทั้งในทางเศรษฐกิจและการเมืองไทย คณะวิจัยนิยามคนหนาใหมเหลา นี้วา “พลเมืองใหม”
คนกลุมนี้โดยรากฐานแลวเกิดจากการเปลี่ยนแปลงดานโครงสรางเศรษฐกิจ ซึ่งนิธิ เอียวศรีวงศเรีย กวา “ชน
ชั้นกลางระดับลาง” ผูคนเหลานี้มีคุณลักษณะและผลประโยชนเฉพาะกลุมที่แตกตางไปจาก “ชนชั้นกลางเกา”
(ชนชั้นกลางระดับกลางขึ้นไป) กลา วคือ เขามิใชกลุมคนที่ย ากจนที่สุดของสังคมไทย หากใชระดับรายได
5,000-10,000 บาทตอคนตอเดือนเปนเกณฑในการจัดกลุม ชนชั้นใหมนี้จะมีประมาณ 40% ของครัว เรือน
ไทยในป 2552 ซึ่งถือไดวาเปนผูมีสิทธิ์ออกเสียงกลุมใหญที่สุดของสังคม และแมวาคนกลุมนี้จะไมใชคน
ยากจน แตเขาก็จนกวา มากทั้งดานรายได -ทรัพยสิน และฐานะทางสัง คมทั้ง ดา นอาชีพ การศึกษา ฯลฯ
โดยเฉพาะอยา งยิ่งเมื่อ เปรียบเทียบกับชนชั้นกลางเกา หรือกลา วอีกแบบ คนกลุมนี้มีความตอ งการและ
ความคาดหวัง (new needs and aspiration) นโยบายจากรัฐที่มีลักษณะเฉพาะของตนเองแตกตา งจาก
ผลประโยชนของชนชั้นกลางเกา การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจใน 20 ปที่ผานมา ทําใหกลุมกลายเปนฐาน
เสียงกลุมใหมที่สําคัญที่สุดในทางการเมือง ซึ่งพรรคการเมืองในระบบเลือกตั้งจําเปนที่จะตองพัฒนานโยบาย
สาธารณะแบบใหมๆ ขึ้นมาเพื่อหาเสียงจากคนกลุมนี้
ในอีกดานหนึ่ง การเปลี่ยนแปลงสถาบันทางการเมือง โดยเฉพาะอยา งยิ่งการลงหลักปกฐานของ
การเมืองแบบเลือกตั้ง ทั้งในระดับชาติและทองถิ่นตั้งแตรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2540 มีผลบังคับใช สถาบัน
การเมืองแบบใหมนี้ ในทางหนึ่งสรางแรงจูงใจใหนักการเมืองตอบสนองตอความตองการของผูมีสิทธิ์เลือกตั้ง
มากขึ้น โดยการสรางนโยบายในขอบเขตระดับชาติ ในอีกทางหนึ่งไดเอื้ออํา นวยใหรัฐไทยมีประสิทธิผล
(effectiveness) มากขึ้นในการขับเคลื่อนนโยบายใหมๆ เหลานั้น เพื่อทําตามสัญญาที่พรรคการเมืองใหไวใน
การเลือกตั้ง พรรคไทยรักไทยภายใตการนําของทักษิณ ชินวัตร ถือกําเนิดขึ้น ณ จุดนี้พอดี เขาจึงกลายเปน
นายกรัฐมนตรีคนแรกที่มาจากการเลือกตั้งซึ่งสามารถทําตามสัญญาที่ใชในการหาเสียงไดอยางรวดเร็ว ทํา
ใหกลายเปนครั้งแรกที่บัตรเลือกตั้งของผูออกเสียงขางมากของสังคมมีผลชัดเจนตอชีวิตประจําวันของเขา
ในอีกดานหนึ่งของเหรียญการเมือง การลงหลักปกฐานของการเมืองแบบเลือกตั้งทั้งในระดับชาติและทองถิ่น
นั้นไดลดทอนอิทธิพลทางการเมืองของชนชั้นกลางเกาลง ซึ่งชนชั้นนี้มีพื้นที่และเครื่องมือหลากหลายในการ
ตอรองกับรัฐที่ไดผลอยูแลว โดยไมตองพึงการเลือกตั้ง และเนื่องจากกลุมนี้มีจํานวนนอยกวา การเลือกตั้ง
่
จึงไมใชเครื่องมือหลัก ตรงกันขาม การลงหลักปกฐานของการเมืองแบบเลือกตั้ง ทําใหอทธิพลทางการเมือ ง
ิ
ของชนชั้นกลางเกาตอรัฐลดลงมาก
1 | รายงานการวิจัยโครงการ: ทบทวนภูมิทัศนการเมืองไทย
ดังนั้น ปมปญหาหลักของความขัดแยงทางการเมืองในปจจุบันจึงเปนความขัดแยงที่ฝา ยเสื้อแดง
(ชนชั้นกลางระดับลา ง) สูเ พื่อปกปองกติกาการเมืองแบบเลือกตั้ง หรือ ประชาธิปไตยแบบตัว แทนที่เนน
อํานาจและความชอบธรรมจากการเลือกตั้ง ในขณะที่ฝายเสื้อเหลือง (ชนชั้นกลางระดับกลางขึ้นไป) สูเพื่อ
ลดความชอบธรรมของการเลือกตั้งโดยเนนประชาธิปไตยแบบตรวจสอบ หรือกลาวในแงของอุดมการณ
ทางการเมืองแลว ทั้งคนเสื้อ เหลืองและคนเสื้อแดงมีอุดมการณทางการเมืองแบบประชาธิปไตย หากแต
จุดเนนของระบอบประชาธิปไตยของทั้งสองฝายแตกตางกัน
คนเสื้อเหลืองเนนประชาธิปไตยแบบตรวจสอบและมีสวนรวม ไมไวใจประชาธิปไตยแบบรัฐสภา ไม
เชื่อถือการเลือกตั้ง สนับสนุนการถวงดุลจากอํานาจนอกระบบรัฐสภาเพื่อถวงดุลอํานาจกับระบบรัฐสภา คน
เสื้อเหลืองจึงสนับสนุนใหสถาบันกษัต ริย รวมทั้งองคมนตรี องคกรอิส ระ หรือแมแตทหารและศาล เขามา
ตรวจสอบถวงดุลนักการเมือง สวนคนเสื้อแดง ใหความสําคัญกับประชาธิปไตยแบบรัฐสภา ใหความสํา คัญ
กับการเลือ กตั้ง นอกจากนั้น คนเสื้อ แดงยังเนนความเทาเทียมและความเสมอภาคในการเขาถึงอํา นาจ
ทางการเมืองและกระบวนการยุติธรรม (หรือที่กลาวกันวา ตอตานระบบ “สองมาตรฐาน”) ความเสมอภาคใน
การเขาถึงอํานาจในการกําหนดนโยบายรัฐ คนเสื้อแดงจึงตอตานการรัฐประหาร และตอตานการแทรกแซง
จากอํานาจนอกรัฐสภาไมวาจะจากองคกรอิสระ ทหาร ศาล หรือสถาบันอํา นาจอื่นใดที่ถูกนํามาอางอิงเพื่อ
แทรกแซงระบอบรัฐสภา
นอกจากนี้แลว คณะวิจัยเห็นวาการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมในรอบยี่สิบกวาปที่ผานมา
นั้น ทําใหความสัมพันธของผูคนในสังคมไดเปลี่ยนไปแลวโดยรากฐาน แมคณะวิจัยจะมิไดปฏิเสธการมีอยู
ของระบบหรือความสัมพันธแบบอุปถัมภอยา งสิ้นเชิง แตคณะวิจัยเห็นดวยกับ Walker (2012: 6-9) ที่วา
เงื่อนไขทางเศรษฐกิจ-สังคมที่รองรับการดํารงอยูของระบบนี้ไดเปลี่ยนไปแลวอยางถึงราก กลาวคือ ตัวแบบ
ความสัมพันธแบบอุปถัมภที่เสนอไววาระดับความยากจนขนแคน โดยเฉพาะอยา งยิ่งในสังคมเกษตรกรรม
แบบพอยังชีพที่ชาวนาเผชิญนั้น ทําใหชาวนาตองใหความสําคัญกับการลดความเสี่ยงหรือยึดหลักปลอดภัย
ไวกอน (risk-minimization and safety-first principle) ในการดํารงชีพเหนือเรื่องอืนใดทั้งหมด เปนรากฐาน
่
ที่มาของความสัมพันธแบบอุปถัมภ ซึ่งเปนกลไกหลักในการจัดการความเสี่ยงของคนในสังคมเชนนี้ แต ณ
พ.ศ. นี้เงื่อนไขทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะอยางยิ่งระดับความยากจนขนแคน หรือจํานวนคนจนยากนั้น กลับ
กลายเปนสวนขางนอยของสังคมไปแลว
ดังนั้นคณะวิจัยจึงเสนอวาตอใหความสัมพันธแบบอุปถัมภยังคงมีอยูจริง ความสัมพันธแบบแนวตั้งนี้
ก็มิไดเ ปนลักษณะหลักของสังคมอีกตอไป ตรงกัน ขา มความสัมพันธในลักษณะอื่นๆ โดยเฉพาะในเชิง
แนวนอน จะมีความสําคัญเพิ่มขึ้น กลาวคือในหลายทองถิ่น มีการสรางความสัมพันธทางสังคมแบบใหมๆ (ที่
สถานภาพของสมาชิกในกลุมมิไดแตกตางกันมากแบบความสัมพันธเชิงแนวตั้ง) ซึ่งมีลักษณะความสัมพันธ
แบบเครือขายในแนวนอนที่มีความซับซอน ยืดหยุนและผันแปรอยูเสมอ และอาจซอนทับกับความสัมพันธ
อื่นๆ ได ทั้งนี้เพราะการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและการผลิ ตไดทําใหการผูกขาดของกลุมอิทธิพลใน
ทองถิ่นหลายแหงตองเสื่อมลง นําไปสูการเปลี่ยนแปลงของความสัมพันธในชุมชน และเปดโอกาสใหมีการ
2 | รายงานการวิจัยโครงการ: ทบทวนภูมิทัศนการเมืองไทย
สรางองคก รหลายประเภทขึ้นในชุมชน ในดานหนึ่งการสรางองคก รและเครือขายใหมๆ เหลานี้สงผลให
ชาวบานจํานวนมากเกิดความตื่นตัวทางการเมือ ง หรือแมแตเขา รวมในการเคลื่อนไหวทางการเมือง ตอสู
เพื่อสิทธิและประโยชนของตน
จุดมุงหมายหนึ่งของการสรางความสัมพันธใหมๆ ทางสังคมและเครือขายตา งๆ เชิงแนวนอนก็คือ
เปาหมายในการสรางอุดมการณทางการเมืองรวมกัน ทั้งนี้เพื่อ กระตุนความตื่นตัวทางการเมืองในเรื่องอัต
ลักษณของคนเหลานี้ในฐานะ “พลเมืองใหม” ที่มีสิทธิและมีโอกาสในการใชทรัพยากรอยางเปนธรรม

3 | รายงานการวิจัยโครงการ: ทบทวนภูมิทัศนการเมืองไทย
คํานํา
หลายทศวรรษที่ผานมา ประเทศไทยมีความรุดหนา ดานเศรษฐกิจ เกิดภาคอุตสาหกรรมและภาค
บริการอันทันสมัยที่มองเห็นเปนรูปธรรมอยางชัดเจน การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและการเมือง ซึ่งสวนหนึ่ง
เปนผลพวงของการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจนี้ก็ยอมเกิดตามมาอยางหลีกเลี่ยงไมได แตการเปลี่ยนแปลง
ทางสังคมและการเมืองเปนการเปลี่ยนแปลงที่เปนนามธรรมมากกวา จึงยากที่จะสังเกตไดโดยงาย ในกรณี
ของประเทศไทยไดเห็นไดชัดเมื่อประทุเปนความขัดแยงทางการเมืองเรื่องหลากสีขึ้นมาแลว
การเปลี่ย นแปลงภูมิ ทัศนทางการเมือ งแบบขนานใหญที่ผา นมาจึง เปนจุ ดเปลี่ย นที่สํา คัญ ของ
สังคมไทย ซึ่งจําเปนตองมีการศึกษาในเชิงลึกเพื่อใหเกิดความเขาใจถึงการเปลี่ย นแปลงทัศนคติและความ
คาดหวังของคนไทยกลุมตางๆ ชุดโครงการวิจัย ชิ้นนี้จึงไดเกิดขึ้น และเปนสวนหนึ่งของการศึกษาในแผน
งานวิจัย “สูอนาคตไทย” ของแผนงานสรางเสริมนโยบายสาธารณะที่ดี (แผนงาน นสธ.) ซึ่งประมวลการ
เปลี่ยนแปลงที่สําคัญๆ ในหลายๆ ดาน เพื่อใหเราไดสามารถสรา งฉากทัศนหรือภาพอนาคตและทางเลือก
เชิงนโยบายสาธารณะที่เหมาะสมได
ทานพุทธทาสภิกขุเคยใหคติไวในหนังสือคูมือมนุษยวา“ความจริงหรือสัจจะสําหรับคนๆ หนึ่งนั้น มัน
อยูตรงที่วา เขาเขาใจและมองเห็นเทาไรเทานั้นเอง .... สิ่งใดที่อยูเหนือสติปญญา ความรู ความเขาใจของตน
หรือตนยังไมเขาใจ คนนั้นจะไมถือวาเปนความจริงของเขา... (แต) ความจริงของคนๆ หนึ่งนั้นจะเดินคืบได
เสมอ ตามสติปญญา ความรู และความเขาใจที่เพิ่มขึ้นทุกๆ วัน” เอกสารเหลานี้เปนความพยายามในเบื้องตน
เล็กๆ ที่จะเสนอความจริงใหแกสังคมไทย อยางไรก็ดี ดวยทรัพยากร งบประมาณ เวลาที่จํากัด และเงื่อนไข
ทางกฎหมายและสังคมที่ยังไมเปดกวางใหถ กทุกประเด็นสาธารณะไดเต็มที่ งานวิจัยชิ้นนี้จึงนับไดวาเปน
ความพยายามเบื้องตน ซึ่งอาจไมสามารถที่จะตอบคําถามไดมากเทาที่สังคมหรือแมแตทีมวิจัยเองตองการ
ความหวังที่จะยกระดับการพัฒนาประเทศและนโยบายสาธารณะในอนาคตขึ้นอยูกับการเปดพื้นที่
ทางปญญาและเปดใจใหยอมรับความคิดเห็นแตกตา งกันของกลุมตา งๆ ในสังคม สังคมไทยจึงจะสามารถ
เดินไปขางหนาดวยกันอยางสันติสุข เราหวังวาอยางนอยที่สุดเอกสารวิจัยฉบับนี้จะทําหนาที่จุดประกาย ตั้ง
คําถาม และกระตุนการคนหาคําตอบเบื้องตนบนพื้นฐานของความเปนจริงไดพอสมควร และยังหวังอีกดวย
วา จะมีการสนับสนุนงบประมาณวิจัยในแนวนี้อยางตอเนื่อง เพื่อใหเราไปถึงซึ่งความจริงทั้งมวลไดในที่สุด

มิ่งสรรพ ขาวสอาด
ผูจัดการ
แผนงานสรางเสริมนโยบายสาธารณะที่ดี

4 | รายงานการวิจัยโครงการ: ทบทวนภูมิทัศนการเมืองไทย
กิตติกรรมประกาศ
รายงานวิจัยฉบับนี้ สําเร็จลุลวงไปไดดวยความชวยเหลือจากแผนงานสรางเสริมนโยบายสาธารณะที่
ดี (นสธ.) โดยเฉพาะอยางยิ่งศาสตราจารย ดร. มิ่งสรรพ ขาวสอาด ที่สนับสนุนทุนวิจัย ตลอดระยะเวลาของ
การวิจัย
คณะผูวิจัยไดรับคําวิจารณที่มีประโยชนจากนักวิชาการหลายทานซึ่งไมอาจจะนํามากลาวไดทั้งหมด
ที่สําคัญไดแก ศาสตราจารย ดร. อัมมาร สยามวาลา, ศาสตราจารย ดร. นิธิ เอียวศรีวงศ, ศาสตราจารย
(พิเศษ) ดร. เอนก เหลาธรรมทัศน. ศาสตราจารย ดร. อานันท กาญจนพันธ, ศาสตราจารย รังสรรค ธนะพร
พันธ, ศาสตราจารย ดร. มิ่งสรรพ ขาวสอาด, ศาสตราจารย ดร. ธเนศ อาภรณสุวรรณ, ศาสตราจารย ดร.
เกษียร เตชะพีระ, รองศาสตราจารย ดร. ไชยันต รัชชกูล, รองศาสตราจารย ดร. นิพนธ พัวพงศกร, ดร.
สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย, ดร. สมชัย จิตสุชน, รองศาสตราจารย สิริพรรณ นกสวน, ดร. ประจักษ กองกีรติ,
และผูชว ยศาสตราจารย นพนันท วรรณเทพสกุล ขอขอบคุณ ทุกทา นที่ชว ยอา นและใหความเห็นอยา ง
ละเอียดตลอดกระบวนการของการวิจัยชวยแนะนําขอบกพรอง เพื่อนําไปสูการแกไข ปรับปรุงรายงานเลมนี้
ใหถูกตองสมบูรณยิ่งขึ้น
คณะผูวิจัย ขอบคุณ ผูใหขอ มู ลทุกทา นที่ไม เ หน็ดเหนื่อ ยกับการตอบคํา ถามและใหการตอ นรั บ
คณะผูวิจัยเสมือนคนที่สนิทคุนเคยกันมานาน โดยเฉพาะอยางยิ่งผูใหขอมูลสัมภาษณเชิงลึกในจังหวัดตางๆ
อันที่จริงคณะผูวิจัยซาบซึ้งในน้ําใจของผูใหขอมูลหลายๆ ทานเปนพิเศษ แตดว ยจริยธรรมของการวิจัย ทํา
ใหไมอาจเอยนามทานเหลานั้น ณ ที่นี้ได และพรอมกันนี้ ขอขอบคุณคุณชีวิน สันธิ ผูชวยวิจัยผูขยันขันแข็ง
และคลองแคลวทั้งงานดานวิชาการและงานดานธุรการอยางไรก็ดี ความรับผิดชอบตอขอบกพรองทั้งหมดใน
งานยอมเปนของคณะผูวิจัย

คณะผูวิจัย

5 | รายงานการวิจัยโครงการ: ทบทวนภูมิทัศนการเมืองไทย
สารบัญ
บทสรุป ................................................................................................................................................... 1
คํานํา..........................................................................................ERROR! BOOKMARK NOT DEFINED.
กิตติกรรมประกาศ ................................................................................................................................. 5
บทนํา .................................................................................................................................................... 11
ภาคหนึ่ง: วิธีการศึกษาและวรรณกรรมปริทัศน................................................................................. 12
1. วิธีการศึกษา .................................................................................................................................. 12
2. ปริทัศนวรรณกรรม......................................................................................................................... 15
2.1 การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ...................................................................................................... 15
2.2 การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง....................................................................................................... 18
ภาคสอง: ตอบโจทยหลักของการวิจัย ................................................................................................. 34
1. ใครคือคนเสื้อเหลือง-เสื้อแดง .......................................................................................................... 34
2. ทําไมจึงเปน “คนเสื้อแดง” และทําไมจึงเปน “คนเสื้อเหลือง” ............................................................. 46
3. นโยบายประชานิยมมีผลอยางไรตอทัศนะคติ และพฤติกรรมทางการเมืองของผูมีสิทธิ์ลงคะแนน....... 56
4. ความยากจนและความเหลื่อมล้ําทางเศรษฐกิจเปนสาเหตุของความขัดแยงทางการเมืองหรือไม........ 58
5. เงินไมใชปจจัยชี้ขาดในการเลือกตั้ง................................................................................................. 63
6. ความสัมพันธระดับทองถิ่นและ“ระบบอุปถัมภ” ................................................................................ 73
ภาคสาม: การเปลี่ยนแปลงภูมิทศนของสังคม.................................................................................... 92
ั
1. การเปลี่ยนแปลงภูมิทัศนเศรษฐกิจ (ECONOMIC SCAPE)ในรอบยี่สิบป ............................................... 93
2. การเปลี่ยนแปลงภูมิทัศนทางการเมือง (POLITICAL SCAPE)............................................................. 101
3. การเปลี่ยนแปลงภูมิทัศนดานอุดมการณ (IDEOLOGICAL SCAPE)..................................................... 116
ภาคสี: บทสรุป.................................................................................................................................... 138
่
1. การเปลี่ยนแปลงโครงสรางทางเศรษฐกิจและโครงสรางทางการเมือง.............................................. 138
2. การเมืองอัตลักษณและการเมืองอุดมการณ................................................................................... 140
3. พลเมืองใหม................................................................................................................................. 142
4. ขอโตแยงตอมุมมองของการศึกษาสังคมการเมืองไทย ................................................................... 143

6 | รายงานการวิจัยโครงการ: ทบทวนภูมิทัศนการเมืองไทย
ภาคหา: นัยทางนโยบาย .................................................................................................................... 146
1. การสังกัดสีทางการเมืองเปนไปอยางกวางขวางในเกือบทุกสวนของสังคม...................................... 146
2. วาทกรรมของความขัดแยงระหวางสีแบบ ”สุดขั้ว” มีผูเห็นดวยจํานวนนอยมาก แตกลับกลายเปนวาท
กรรมหลักของความขัดแยง............................................................................................................... 146
บรรณานุกรม ................................................................................................................................... 148

7 | รายงานการวิจัยโครงการ: ทบทวนภูมิทัศนการเมืองไทย
สารบัญรูป
รูปที่ 1สัดสวนการเปลี่ยนแปลงอาชีพชวงป 2529-2552 ........................................................................... 41
รูปที่ 2คาจางเฉลี่ยในแตละอาชีพ ............................................................................................................ 42
รูปที่ 3คาสัมประสิทธิ์ Gini ...................................................................................................................... 45
รูปที่ 4ปริมาณหนี้สินเฉลี่ยตอครัวเรือน แบงตามภูมิภาค.......................................................................... 93
รูปที่ 5สัดสวนคนที่มีหนี้สินจําแนกตามภูมิภาค........................................................................................ 94
รูปที่ 6ปริมาณหนี้สินเฉลี่ยตอครัวเรือน แบงตามเขตการปกครอง............................................................. 95
รูปที่ 7ปริมาณหนี้สินเฉลี่ยตอครัวเรือน แบงตามลักษณะเศรษฐกิจสังคมครัวเรือน.................................... 96
รูปที่ 8สัดสวนของผลผลิตภาคการเกษตรและภาคอุตสาหกรรมตอผลผลิตรวมระดับภาค.......................... 98

8 | รายงานการวิจัยโครงการ: ทบทวนภูมิทัศนการเมืองไทย
สารบัญตาราง
ตารางที่ 1สัดสวนแรงงานนอกระบบและในระบบของประเทศไทย ป 2550 ............................................... 18
ตารางที่ 2สรุปเกณฑการแบงกลุมสี......................................................................................................... 36
ตารางที่ 3การจัดกลุมสีทางการเมือง....................................................................................................... 36
ตารางที่ 4ลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคมของผูตอบแบบสอบถามในเขตกรุงเทพและตางจังหวัด............. 53
ตารางที่ 5สัดสวนของแหลงรายไดครัวเรือนในภาคชนบท ........................................................................ 96

9 | รายงานการวิจัยโครงการ: ทบทวนภูมิทัศนการเมืองไทย
10 | รายงานการวิจัยโครงการ: ทบทวนภูมิทัศนการเมืองไทย
บทนํา
รายงานการศึกษานี้เปนบทวิเ คราะหที่สังเคราะหขึ้นมาจากงานวิจัย ของคณะผูวิจัย ในโครงการ
"ทบทวนภูมิทัศนการเมืองไทย" คณะผูวิจัยนี้ประกอบไปดวย อภิชาต สถิตนิรามัย , ยุกติ มุกดาวิจิตร, นิติ
ภวัครพันธุ, ประภาส ปนตบแตง, วรรณวิภางค มานะโชติพงษ, ปนแกว เหลือ งอรามศรี, จักรกริช สังขมณี,
เวียงรัฐ เนติโพธิ,์ และอนุสรณ อุณโณ งานวิจัยนี้เริมตั้งแตปลายป 2553 สิ้นสุดลงในตนป 25561รายงานการ
่
วิจัยนี้แบงออกเปน 5 ภาคคือ
ภาคที่ 1 วิธีการศึกษาและวรรณกรรมปริทัศน อธิบายวิธีการศึกษา ขอบเขตของการศึกษา ขอจํากัด
ของการศึกษา และทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ภาคที่ 2 ตอบคําถามหลักของการวิจัย ซึ่งมีทั้งสิ้น 6 คําถามหลักตอไปนี้ ใครเปนคนเสื้อเหลือ ง-คน
เสื้อแดง, ทําไมจึงเปนคนเสื้อเหลือง-เสื้อแดง, นโยบายประชานิย มมีผลอยางไรตอทัศนะคติและพฤติกรรม
ทางการเมืองของผูมีสิทธิ์ลงคะแนน, ความยากจน-ความเหลื่อมล้ําทางเศรษฐกิจเปนสาเหตุของความขัดแยง
ทางการเมืองหรือไม, เงินเปนปจจัยชี้ขาดในการเลือกตั้งหรือไมและคําถามสุดทายคือ ระบบอุปถัมภมีความ
ซับซอนอยางไร
ภาคที่ 3 ภูมิทัศนการเมืองไทย อภิปรายถึงแนวโนมใหญๆ ของการเปลี่ยนแปลงทางภูมิทัศนของ
สังคมไทยในรอบหลายสิบปที่ผา นมา ซึ่งเปนปจจัย เบื้อ งหลัง (background factor) ของความขัดแยงทาง
การเมืองที่ดํารงอยูในปจจุบัน
ภาคที่ 4 บทสรุป เชื่อมรอยใหเห็นภาพรวมของเหตุและปจจัยแหงความขัดแยงทางการเมือง
ภาคที่ 5 นัยทางนโยบายที่ไดจากการวิจัย

1

ขอขอบคุณ "แผนงานสรางเสริม นโยบายสาธารณะที่ดี" (นสธ.) โดยเฉพาะอยางยิ่งศาสตราจารย ดร. มิ่งสรรพ ขาวสะอาด ที่สนับสนุน ทุน วิจัย ตลอด
ระยะเวลาของการวิจัย คณะผูวิจัยไดรับคําวิจารณที่ม ีประโยชนจากนักวิชาการหลายทาน ที่สําคัญไดแก ศาสตราจารย ดร. อัม มาร สยามวาลา, ศาสตราจารย ดร. นิธิ
เอียวศรีวงศ, ศาสตราจารย (พิเศษ) ดร. เอนก เหลาธรรมทัศน. ศาสตราจารย ดร. อานันท กาญจนพันธ, ศาสตราจารย รังสรรค ธนะพรพันธ, ศาสตราจารย ดร. มิ่ง
สรรพ ขาวสะอาด, ศาสตราจารย ดร. ธเนศ อาภรณสุว รรณ, ศาสตราจารย ดร. เกษีย ร เตชะพีระ, รองศาสตราจารย ดร. ไชยัน ต รัชชกูล , รองศาสตราจารย ดร.
นิพนธ พัวพงศกร, ดร. สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย, ดร. สมชัย จิตสุชน, รองศาสตราจารย สิริพรรณ นกสวน, ดร. ประจักษ กองกีรติ, และผูชวยศาสตราจารย นพนัน ท
วรรณเทพสกุล ขอขอบคุณ ทุกทานที่ชวยอานและใหความเห็นอยางละเอียดตลอดกระบวนการของการวิจัย ขอบคุณ ผูใหขอมูลทุกทานที่ไมเ หน็ดเหนื่อยกับ การตอบ
คําถามและใหการตอนรับคณะผูวิจัยเสมือนคนที่สนิทคุนเคยกันมานาน โดยเฉพาะอยางยิ่งผูใหขอมูลสัมภาษณเชิงลึกในจังหวัดตางๆ อัน ที่จริงคณะผูวิจัยซาบซึ้งใน
น้ําใจของผูใหขอมูลหลายๆ ทานเปนพิเศษ แตดวยจริยธรรมของการวิจัย ทําใหไมอาจเอยนามทานเหลานั้น ณ ที่ นี้ได และพรอมกันนี้ ขอขอบคุณ คุณ ชีวิน สันธิ
ผูชวยวิจัยผูขยันขันแข็งและคลองแคลวทั้งงานดานวิชาการและงานดานธุรการ อยางไรก็ดี ความรับผิดชอบตอขอบกพรองทั้งหมดในงานยอมเปนของคณะผูวิจัย

11 | รายงานการวิจัยโครงการ: ทบทวนภูมิทัศนการเมืองไทย
ภาคหนึ่ง: วิธีการศึกษาและวรรณกรรมปริทัศน

1. วิธีการศึกษา
การศึกษาครั้งนี้ออกแบบใหมีการศึกษาทั้งในระดับประเทศ ระดับเจาะลึกขามทอ งถิ่น และระดับ
เจาะลึกบางทองถิ่น ในระดับแรก คณะผูวิจัยอาศัย การสํารวจความเห็นดว ยแบบสอบถามแลวประมวลผล
ดวยวิธีการทางสถิติ การศึกษาดังกลาวเปนผลงานวิจัยของวรรณวิภางค มานะโชติพงษ ซึ่งอาศัยการออก
แบบสอบถามและการตั้งสมมติฐานรว มกันระหวางอภิชาต ยุกติ นิติ และวรรณวิภ างค ในระดับของการ
เจาะลึกขา มทอ งถิ่น อาศัย ผลงานของเวีย งรัฐ เนติโพธิ์ ซึ่งเนนวิจัย เรื่อ งนักการเมือ งการเมือ งทอ งถิ่น
ประกอบกับงานวิจัยของอภิชาต ซึ่งมียุกติและนิติรวมเก็บขอ มูลสั มภาษณเจาะลึกดว ย ระดับ ที่สาม เปน
งานวิจัยภาคสนามเชิงมานุษยวิทยา คณะผูวิจัยเลือกพื้นที่ 5 พื้นที่ 1) จังหวัดเชียงใหม โดยปนแกว เหลือ ง
อรามศรี 2) จังหวัดอุบลราชธานี โดยจักรกริช สังขมณี 3) จังหวัดชัยภูมิ โดยยุกติ มุกดาวิจิตร 4) จังหวัด
นครปฐม โดยประภาส ปนตบแตง และ 5) จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยอนุสรณ อุณโณ คณะผูวิจัยทั้งหมดมี
โอกาสได เ ดิ น ทางไปแต ล ะพื้น ที่ เ กือ บทุ กพื้ น ที่ จึ ง มี โอกาสให นั ก วิ จั ย จากต า งพื้ น ที่ไ ด ต รวจสอบและ
แลกเปลี่ยนประเด็นวิจัย เปรียบเทียบลักษณะเฉพาะและหาลักษณะรวมกันของแตละพื้นที่
อยางไรก็ดี งานวิจัยชิ้นนี้มีขอ จํากัดหลายประการ ทั้งที่เกี่ยวของกับดานวิชาการโดยตรง กับทาง
กฎหมาย และทางการเมือง ซึ่งคณะวิจัยขอชี้แจงดังตอไปนี้
ขอบเขตของงานวิจัย
เปาหมายหลักของการศึกษาชิ้นนี้อยูที่การทําความเขาใจการเปลี่ยนแปลงภูมิทัศนสังคม-เศรษฐกิจการเมืองไทยในภาพรวม เนื่องจากคณะวิจัยเห็นวาการเปลี่ยนแปลงนี้เปนบริบทหลักของความขัดแยงทาง
การเมื อ งเรื่ อ งสี เสื้ อ ที่ดํ า รงอยู จ นกระทั่ งป จ จุ บั น โดยมีคํ า ถามพื้ น ฐานบางประการที่ตอ งการจะตอบ
โดยเฉพาะอยางยิ่งการทําความเขาใจ “คนเสื้อแดง” ซึ่งเปนตัวแสดงใหมทางการเมืองของสังคมไทย ดังนั้น
จึงหลีกเลี่ย งไมไดที่ง านชิ้นนี้จะใหน้ํา หนักของการศึกษาคนเสื้อ แดงมากกวา คนเสื้อเหลือง คณะวิจัยจึง
ตระหนักดีวางานนี้ทําความเขาใจคนเสื้อเหลืองนอยกวากลุมเสื้อแดงในหลายแงมุม เนื่อ งจากเราเห็นวา ยัง
ไมเคยมีงานศึกษาทางวิชาการเกี่ยวกับคนเสื้อแดงอยางจริงจังเลย อยางนอยก็เมื่อ เทีย บกับงานศึกษาเสื้อ
เหลือ งที่ผา นมา โดยเฉพาะอยางยิ่งในระดับขอมูล เชิงประจักษของมวลชนคนเสื้อ แดง ทั้งคนที่เขารว ม
กิจกรรมของขบวนการเสื้อแดงและผูที่ไมเคยเขารวมกิจกรรมแตก็เห็นดว ยกับขบวนการหรือแนวคิดหลักๆ
ของกลุมเสื้อแดงมีเปนจํานวนมหาศาล กระนั้นก็ตามดวยขอจํากัดหลายประการ งานชิ้นนี้ไมอาจอางวาไดทํา
ความเขาใจกลุมเสื้อแดงอยางครบถวน เนื่องจากเรายังไมไดศึกษาประเด็นดังตอไปนี้อยางถองแท
12 | รายงานการวิจัยโครงการ: ทบทวนภูมิทัศนการเมืองไทย
 การจัดตั้ง-การจัดองคกรของขบวนการเสื้อแดง ทั้งในระดับชาติ เชน กลุม “แนวรวมประชาธิปไตย
ตอ ตานเผด็จการแหงชาติ” (นปช.) หรือ กลุมยอ ยๆจํา นวนมากมายในระดับทอ งถิ่นทั่ว ประเทศ
รวมทั้งการเชื่อมตอ-ประสานงานระหวางสองระดับนี้ และระหวางกลุมในแนวราบ และความสัมพันธ
ระหวางแกนนําเสื้อแดงกลุมตางๆ กับนักการเมืองและนักกิจกรรมระดับตางที่สังกัดหรือเชื่อมโยงกับ
พรรคเพื่อไทย
 บทบาทของแกนนํา เสื้อ แดงทุกระดับและทุกระดับ ความเขมขนของความเปน แดงในการระดม
ทรัพยากรเขาตอสูทางการเมือง ทั้งเรื่องกําลังคนและทรัพยากรอื่นๆ และที่สําคัญคือบทบาทในการ
เปนผูสรางอุดมการณ-วาทกรรม “ความเปนเสื้อแดง” (framing-frame master) ในจังหวะเวลาตา งๆ
เพื่อดึงดูดมวลชนใหเขารวมการตอสู
 การศึกษาที่มุงทําความเขา ใจมวลชนเสื้อ แดง วารับหรือเชื่อมโยงประสบการณของตัวเองเขา กับ
อุดมการณ-วาทกรรมที่ถูกสรางโดยแกนนําและสื่อเสื้อแดงตางๆ อยางไร
 ความแตกตางหลายหลากของกลุมคนเสื้อแดงตางๆ ในเชิงคุณภาพ ทั้งดานแนวคิด-อุดมการณทาง
การเมือง ยุทธศาสตรและยุทธวิธีในการเคลื่อนไหวตอสูทางการเมือง
อยา งไรก็ต าม แมวา งานชิ้นนี้จะมีขอ จํากัดขา งตนจํา นวนมาก แตคณะวิจัยเห็นวา งานชิ้นนี้คงมี
คุณคาในแงการวาดภาพ-สรางกรอบใหญใหแกผูที่จะทําการศึกษาเชิงลึกตอไปบาง ไมมากก็นอย
กลุมตัวอยาง
คณะวิจัยตระหนักในเรื่องขอ จํากัดเกี่ยวกับกลุมตัว อยา ง วาอาจมีผูตั้งคํา ถามวากลุม ตัวอยางใน
การศึกษาไมครอบคลุมประชากรทุกกลุม จึงไดประยุกตใชเครื่อ งมือ ในการศึกษาหลายประเภท เชน การ
สนทนากลุมเชิงลึก (focus group) การสัมภาษณปจเจกบุคคล (interview) ที่คิดวามีความสําคัญในประเด็น
นั้นๆ หรือในชุมชน การสํารวจโดยใชแบบสอบถาม (questionnaire) ทั่วประเทศ นอกจากนี้ยังไดพยายาม
ทําการศึกษาและพูดคุยกับผูคนทุกกลุม เพศ ระดับการศึกษาและอาชีพ ในทุกภูมิภาคของประเทศ ไมวา คน
เหลานั้นจะคิดวาตนเปนคนเสื้อสีใด หรือไมมีสีก็ตาม
กลาวโดยเฉพาะการวิจัยแบบสอบถาม แรกทีเดียวคณะวิจัยวางแผนที่จะทํา แบบสอบถามสุมเก็บ
ตัวอยางทั่วทั้งประเทศ เพื่อความนาเชื่อถือของขอมูลและการวิเคราะห โดยไดรับการตอบรับจากหนวยงาน
ดานสถิติที่สําคัญของประเทศ แตเนื่องจากบางประเด็นของการวิจัย โดยเฉพาะเรื่องทัศนะคติทางการเมือ ง
กลายเปนประเด็นคําถามที่หนวยงานราชการเห็นวามีความออนไหวทางการเมือง จึงไมรับทําแบบสอบถาม
ให ทายที่สุดคณะวิจัยจึงจําเปนตองเก็บตัวอยางในปริมาณที่นอยลงและไมครอบคลุมทั่วประเทศ ปญหานี้
แสดงใหเห็นถึงขอจํากัดของงานวิจัยที่ตองพึ่งหนวยงานของรัฐ และตอเนื่องไปถึงประเด็นเสรีภาพในการ
แสดงความคิดเห็น (freedom of speech) อันเปนประเด็นที่จะกลาวถึงขางหนาตอไป

13 | รายงานการวิจัยโครงการ: ทบทวนภูมิทัศนการเมืองไทย
ขอมูลเรื่องการซื้อเสียง
แมวาคณะวิจัยจะคนพบวาเงินไมใชปจจัยชี้ขาดในการกําหนดผลรวมของการเลือกตั้ง หากมีเงื่อนไข
อื่นอีกมากมายที่ทําใหการเลือกตั้ง โดยเฉพาะในระดับชาติ เปนเรื่องที่ซับซอนและมีพลวัตอยูเสมอ คณะวิจัย
ตระหนักดีวาคําถาม "เงินและการซื้อเสียง" เปนประเด็นที่ออนไหวและมีแนวโนมที่ผูตอบคําถามจะไมต อบ
ตามความเปนจริง อยางไรก็ตามคณะวิจัยไดพยายามตรวจสอบความถูกตองของขอ มูลชุดนี้ โดยใชการ
พูดคุย สอบถามกับคนหลายกลุม ทั้งในชุมชนและนอกชุมชน และกับผูใหขอมูลบางคนทีมีความไวว างใจใน
่
คณะวิจัย จึงเชื่อวาขอมูลที่ปรากฏในการศึกษานี้ โดยเฉพาะในหัวขอเรื่อง “ความสัมพันธระหวางผูลงคะแนน
กับผูสมัคร” มีความถูกตองและเชื่อถือได
ประเด็นสถาบันกษัตริย
การวิจัยครั้งนี้ดําเนินไปทามกลางความขัดแยงทางการเมืองที่ยังไมยุติ และยิ่งเมื่อประเด็นคําถาม
หลักของการวิจัยคือการทําความเขา ใจความขัดแยงดังกลา ว เพื่อใหทันทวงทีกับสถานการณของความ
ขัดแยง งานวิจัยนี้เองจึงเลี่ยงไมไดที่จะกลายเปนสวนหนึ่งของความขัดแยงไปดวย ประเด็นปญหาสํา คัญ
ประการหนึ่งของความขัดแยงในปจจุบันเกี่ยวของกับบทบาททางการเมือ งและความคาดหวังที่ประชาชนมี
ตอ สถาบันกษัต ริย ตลอดจนปญ หาของการที่ส ถาบันกษัต ริยถูกนํามาใชเปนเครื่องมือ ทางการเมือ ง ซึ่ง
นับเปนการดึงเอาสถาบันนี้เขามาเปนคูขัดแยงทางการเมืองดวย อยา งไรก็ดี ประเด็นปญหานี้ไมส ามารถ
ไดรับอภิปรายถึงไดอยา งตรงไปตรงมาแมในทางวิชาการ เนื่อ งจากประเทศไทยยังมีกฎหมายและแนว
ทางการปฏิบัติต ามกฎหมายที่ลิ ดรอนสิท ธิเ สรีภ าพในการแสดงความคิ ด เห็นต อ ประเด็น เรื่อ งสถาบั น
พระมหากษัตริย ที่สําคัญคือประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 หรือที่รูจักกันในนาม "กฎหมายหมิ่น" หรือ
"ม.112” การกลาวถึงประเด็นนี้ ณ ที่นี้ไมใชเพื่อที่จะถกเถียงถึงปญหาของม.112 โดยตรง หากแตตอ งการ
ชี้ใหเห็นวา ม.112 กลายเปนอุปสรรคสําคัญตอการศึกษาครั้งนี้ในหลายประการดวยกัน ที่สําคัญคือ
ประการแรก ประชาชนผูตอบแบบสอบถามและผูแสดงความเห็นในการใหสัมภาษณ ไมกลาแสดง
ความเห็นอยางตรงไปตรงมา โดยเฉพาะอยา งยิ่งกรณีแบบสอบถาม ซึ่งผูทําการสํา รวจเก็บขอมูลยอมไม
สามารถสรา งความคุนเคยและความไวเ นื้อ เชื่อ ใจใหกับผูตอบแบบสอบถามได ประเด็นบางประเด็นที่
เกี่ยวของกับสถาบันฯ จึงไมแสดงผลออกมาอยางตรงไปตรงมา
ประการตอมา ในการอภิปรายผลการศึกษา แมวาผูใหขอมูล เมื่อผานการเขารวมกิจกรรมวิจัยในเชิง
คุณภาพมาอยางยาวนาน จนทําใหผูใหขอมูลหลายทานมีความคุนเคยกับคณะผูวิจัยเปนอยางดี จนพวกเขา
กลาแสดงความคิดเห็นตอประเด็นปญหาสําคัญๆ ที่พวกเขารับรู หรือคิดเห็น แมวาผูวิจยจะไดขอมูลมาอยาง
ั
ดี และสามารถตรวจสอบได หรือขอมูลจํา นวนมากแสดงใหเห็นถึงทัศนคติ ความคิดเห็นที่ผูใหขอมูลมีตอ
สถาบันฯ แตขอมูลเหลานั้นก็ไมสามารถถูกนําเสนออยางตรงไปตรงมาได เนื่องจากอาจมีผลถูกนําไปใชเปน
เครื่องมือทางการเมือง หรือถูกนําไปใชกลั่นแกลงในภายหนาได แมวาเจตนาของผูใหขอมูลจะไมไดเปนไป
14 | รายงานการวิจัยโครงการ: ทบทวนภูมิทัศนการเมืองไทย
เพื่อการหมิ่นประมาท ดูหมิ่น หรืออาฆาตมาดรา ยพระมหากษัตริย พระราชินี หรือองครัชทายาทก็ตาม
ปญหานี้จึงเปนอุปสรรคสําคัญที่ทําใหการศึกษาทางวิชาการในครั้งนี้ไมอาจตอบโจทยสําคัญของความขัดแยง
ในสังคมไทยปจจุบนไดอยางตรงไปตรงมา
ั
2. ปริทัศนวรรณกรรม
คณะผูวิจัยไดสํารวจวรรณกรรมใน 2 ดานดวยกัน คือดานการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ และดา น
การเปลี่ ย นแปลงทางการเมื อ ง ข อ เสนอสํ า คัญ คื อ คณะผู วิ จั ย เห็ น ว า ขอ เสนอใหญ ๆ เกี่ย วกั บ การ
เปลี่ยนแปลงของสังคมไทยในระยะ 20 ปที่ผา นมาไมสามารถใชทําความเขาใจปรากฏการณความขัดแยง
ทางการเมืองในปจจุบันไดอีกตอไป อยางไรก็ดี คณะผูวิจัยพบรองรอยของความเปลี่ยนแปลงที่แสดงตัว อยู
ในงานวิจัยใหมๆ ในระยะ 10 กวาปที่ผานมาก หากแตยังไมมีใครนําเสนอภาพรวมของการเปลี่ยนแปลงของ
สังคมไทยดังที่คณะผูวิจัยไดเสนอมากอน
2.1 การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ
ประกอบไปดว ยการเปลี่ย นแปลงในภาคเกษตรกรรม และการเปลี่ย นแปลงนอกภาค
เกษตรกรรม
1) การเปลี่ยนแปลงในภาคเกษตรกรรม
จากการทบทวนวรรณกรรม เราเชื่อวาการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมในรอบ 20 ป
ที่ผา นมา โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง การเปลี่ ย นแปลงในภาคชนบทนั้ นทํ า ให วิ ถีชี วิ ต ของประชากร
เปลี่ยนแปลงไปมาก การผลิตแบบครอบครัว ชาวนาขนาดเล็กมิไดเปนวิถีชีวิตหลักของชนบทอีก
ตอไป ตรงกันขาม มีขอมูลชี้วาภาคการเกษตรไดเปลี่ยนแปลงไปมาก โดยเฉพาะอยางยิ่ง การแตก
ตัวจากการเกษตรแบบดั้งเดิมเปนการเกษตรเชิงพาณิชย การเกษตรเชิงพาณิชยมีหลายรูปแบบทั้ง
แบบที่ยังเปนผูผลิตอิสระและแบบเกษตรพันธะสัญญา แตทั้งสองแบบก็มีแนวโนนใชทุนและเทคนิค
การเกษตรสมัยใหมเขมขนขึ้น รวมทั้งขนาดของไรนาก็มีแนวโนมใหญขึ้นดวย ประกอบกับการที่
แรงงานรุนใหมในชนบทจํา นวนมากอพยพเขาหาแหลงงานในภาคการผลิตอื่นๆ และเขา สูระบบ
การศึกษาจํานวนมากขึ้นและนานขึ้น จึงทําใหภาคเกษตรขาดแคลนแรงงาน สิ่งเหลา นี้ทําใหระดับ
การใชเครื่องจักรทดแทนแรงงานเพิ่มขึ้นอยางมาก กลาวโดยรวมแลว เราเชื่อวาการผลิต ในภาค
การเกษตรในปจ จุบันมีลักษณะหลักเปนการผลิต เชิงพาณิชย กลา วอีกแบบหนึ่งไดวา รูปแบบ
ความสัมพันธทางการผลิตเพื่อการตลาดไดกลายเปนแบบแผนหลักในการผลิตของภาคเกษตรกรรม
ในแงนี้ ผูผลิตเชิงพาณิชยในภาคเกษตรจึงมีวิถีชีวิตและความสัมพันธทางเศรษฐกิจในการประกอบ
กิจการไมแตกตางไปจากผูประกอบการทางธุรกิจในภาคการผลิตสินคาอุตสาหกรรม หรือธุรกิจการ
บริการอื่นๆ
15 | รายงานการวิจัยโครงการ: ทบทวนภูมิทัศนการเมืองไทย
ในอีกดานหนึ่ง ผูผลิตสินคาเกษตรแบบดังเดิมทั้งในความหมายเชิงเทคนิคการผลิตและ
เปาหมายการผลิตที่อาจจะเนนการบริโภคของตนเองเปนหลัก นอกจากจะมีความสํา คัญตอภาค
เกษตรนอยลงแลวผูผลิตประเภทนี้ก็มีความสัมพันธทางเศรษฐกิจเชิงพาณิชยสูงขึ้น ดว ยสังเกตได
จากสัดสวนของรายไดนอกภาคการเกษตร (non-farm income) ตอรายไดทั้งหมดของครอบครัว
ชนบทมีคาสูงกวารายไดจากภาคการเกษตร การที่สัดสวนรายไดนอกภาคเกษตรกรรมมีคาสูงยอม
มีนัย ยะวา หนึ่ง แรงงานในชนบทหันไปประกอบอาชีพอื่ นๆ เชน หัต ถกรรม รับจางทั่วไป ผลิต
อาหารปรุงสําเร็จเรขาย ฯลฯ ซึ่งอาจจะเปนอาชีพหลักหรืออาชีพเสริมก็ได สอง สมาชิกในครอบครัว
บางสว นอพยพออกจากงานในภาคเกษตรสูภ าคการผลิต อื่น ๆ แลว สง รายได กลับมาอุด หนุ น
ครอบครัวดั้งเดิมของตน แตไมวาจะเปนลักษณะใดก็อาจสรุปไดวาความสัมพันธทางเศรษฐกิจใน
เชิงพาณิชยไดกลายเปนรูปแบบความสัมพันธหลักของครอบครัวผูผลิตสินคาการเกษตรแบบดั้งเดิม
เชนกัน ยิ่งไปกวานั้น หากเราพิจารณาเปรียบเทียบแบบแผนการบริโภคสินคา คงทนระหวางคน
เมืองและชนบทก็พบวามีความแตกตางนอยมาก กลาวในแงนี้แลวจึงอาจสรุปไดวา ชุมชนสวนใหญ
ในชนบทมิไดมีวิถีชีวิตทางเศรษฐกิจและการบริโภคแบบสังคมชาวนาอิสระรายยอ ย (no longer a
peasant society) อีกตอไป
อยางไรก็ดี แมวาภาคเกษตรกรรมโดยรวมไดเปลี่ยนโฉมหนาเปนภาคเกษตรเชิงพาณิชย
สมัยแลว แตสิ่งนี้มิไดมีนัยยะวา ภาคเกษตรจะมีความสําคัญมากขึ้น ตรงกันขาม อัตราสวนของภาค
เกษตรตอ GDP ลดลงโดยตลอดจนกระทั่งต่ํากวา 10% ในปจจุบัน ในขณะเดีย วกัน แมวาขนาด
ของกําลังแรงงานในภาคนี้จะลดลงดวย แตก็ลดชากวาอัตราสว นขางตนมาก ปจจุบัน ภาคเกษตร
ยังคงโอบอุมรองรับแรงงานไวมากถึง 38% ของกําลังแรงงานทั้งหมด ในแงนี้แลว การถายโอน
กํา ลังแรงงานออกจากภาคเกษตรสูภาคเศรษฐกิจอื่นๆ เปนไปอยา งเชื่อ งชา มาก เมื่อ เทียบกับ
ประเทศที่มีรายไดระดับเดียวกัน จึงไมแปลกเลยที่ความเปนอยูของเกษตรกรโดยเฉลี่ยจะต่ํากวา
ภาคอื่นๆ แตนี้ก็มิไดหมายความวา สวนใหญของเกษตรกร-คนชนบทเปนคนยากคนจน เนื่อ งจาก
อัต ราสว นของคนจนในชนบท (และระดับประเทศดว ย—poverty incidence) ลดต่ํา ลงตลอด
จนกระทั่งปจจุบันมีเพียงหนึ่งในสิบของครอบครัวชนบทเทานั้นที่เปนคนจน (UNDP, 2010)
สรุปแลว เราเชื่อวา สวนใหญของเกษตรกร-คนชนบทมิใชคนยากจน-ขนแคน เชนภาพใน
อดีต เขามีวิถีชีวิตทางเศรษฐกิจแบบสมัยใหม เปนผูประกอบการรายยอ ยเฉกเชนเดีย วกับภาค
เศรษฐกิจอื่น แนนอนวา คนเหลานี้มีฐานะความเปนอยูโดยเปรีย บเทียบต่ํา กวาภาคอื่น สะทอนได
จากตัวเลขความเหลื่อมล้ําของการกระจายรายได-ทรัพยสินระหวางเมืองและชนบท

16 | รายงานการวิจัยโครงการ: ทบทวนภูมิทัศนการเมืองไทย
2) เศรษฐกิจนอกภาคเกษตรกรรม
ในชวงเวลาเดียวกัน การเปลี่ยนผานของโครงสรางทางเศรษฐกิจ (structural change) จาก
สังคมเกษตรกรรมเปนสังคมอุตสาหกรรมไดเพิ่มขึ้นในอัตราเรง การเติบโตของภาคอุตสาหกรรมที่
เนนตลาดสงออกกลายเปนหัว รถจักรของเศรษฐกิจไทย ในทา มกลางกระบวนการเปลี่ยนผา นที่
โครงสรางการผลิตของไทยมีความหลากหลายเพิ่มขึ้นสูงมาก อุตสาหกรรมการผลิตเนนการสงออก
ของไทยมิไดกระจุกตัว อยูเพียงสินคาไมกี่ชนิดเทา นั้น แตกระจายตัว ไปทั้งในอุตสาหกรรมที่ใช
เทคโนโลยีต่ําใชแรงงานเขมขนเชน อุตสาหกรรมสิ่งทอ เครื่องประดับ และอุตสาหกรรมไฮเทคใชทุน
เขมขน เชนอุต สาหกรรม hard disk drives ซึ่ งไทยเปนผูสง ออกรายใหญที่สุดในโลก หรื อ
อุ ต สาหกรรมรถยนต ที่ เ ป น ผู ส ง ออกรายใหญ สุ ด ของเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต เปน ต น ส ว น
อุต สาหกรรมการทองเที่ยวก็เปนที่ทราบกันดีวาเปนภาคบริการที่นําเงินตราเขาประเทศสูงสุดใน
ปจ จุ บั น รายได จ ากการเติ บ โตของภาคส ง ออกข า งต น ขั บ เคลื่ อ นให ต ลาดสิ น ค า และบริ ก าร
ภายในประเทศเติ บ โตตามอี ก ระลอกหนึ่ ง (secondary boom) เชน การเติบ โตของธุ ร กิ จ
อสังหาริมทรัพย อุตสาหกรรมสื่อสารและความบันเทิง ฯลฯ แมวาวิกฤตเศรษฐกิจป 2540 จะทําให
แนวโนมทั้งหมดขางตนสะดุดหยุดลงบางก็ตาม แตแนวโนมนี้ก็เปนไปอยางตอเนื่องในปจจุบัน เปน
ที่แนนอนวาการเติบโตและความหลากหลายของภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการนี้ ยอมเรียกรอ ง
ตองการแรงงานที่มีความหลากหลายสูงตามมาดวย ตั้งแตนักวิชาชีพ (professional) ในสาขาตา งๆ
แรงงานมีฝมือมีทักษะสูง ตลอดจนแรงงานกึ่งฝมือ และแรงงานทักษะต่ํา
แตในอีก ดา นหนึ่ง กํา ลังแรงงานที่ถูกปลดปลอ ยจากภาคการเกษตรก็ไ มสามารถเขา สู
ตํา แหนงงานในภาคทางการ (formal sector) ที่มีส ภาพการจา งงานมั่นคงได แตกลับกลายเปน
แรงงานนอกระบบ (informal sector) สาเหตุที่ภาคแรงงานนอกระบบมีขนาดใหญสืบเนื่อ งจาก
ลักษณะการเติบโตของภาคอุตสาหกรรมไทยในรอบสิบกวาปที่ผานมาภาคอุตสาหกรรมเนนการ
สง ออกของไทยเติบโตอยา งรวดเร็ว ตั้งแตประมาณป 2530 เนื่ อ งจากมีความไดเปรีย บดา น
ทรัพยากรธรรมชาติและแรงงานราคาถูกในสายตาของบริษัทขามชาติที่ตอ งการใชไทยเปนฐานใน
การผลิตเพื่อตลาดโลก อยางไรก็ตาม นับแตปลายทศวรรษ 2533 เปนตนมาความไดเปรียบนี้ก็เริ่ม
ลดลงจากการแขงขันของประเทศรอบขา ง เชน จีน ในขณะที่บริษัทภายในประเทศที่เปนหวงโซ
อุปทานของบริษัทสงออกขามชาติกลับมิไดมีการลงทุนเพื่อยกระดับผลิตภาพการผลิต (productivity)
อยางเพียงพอในชวงที่มีอัตราการเติบโตสูง และเมื่อถูกซ้ําเติมดวยวิกฤตเศรษฐกิจในป 2540 ทําให
บริษัทในประเทศเหลานี้ออนแอลงมาก ผลของเสนทางการเติบโตทางอุตสาหกรรมเชนนี้จึงทําให
ภาคการผลิตสมัยใหมไมสามารถสรางตําแหนงงานในระบบจํานวนมากพอเพื่อรองรับแรงงานที่หลุด
ออกจากภาคเกษตรกรรม แรงงานเหลานี้จึงกลายเปนแรงงานนอกระบบที่มีขนาดใหญ เมื่อรวมกับ
แรงงานนอกระบบในภาคเกษตรแลวจึงสูงถึง 73 % ของกําลังแรงงานทั้งหมดในป 2550 ซึ่งมีรายได

17 | รายงานการวิจัยโครงการ: ทบทวนภูมิทัศนการเมืองไทย
ต่ํากวาแรงงานในภาคทางการคอนขางมาก อันเปนสาเหตุหนึ่งของความเหลื่อมล้ําสูงทางเศรษฐกิจ
ในปจจุบัน ดังตัวเลขจากตารางที่ 1 ขางลางนี้
ตารางที่ 1สัดสวนแรงงานนอกระบบและในระบบของประเทศไทย ป 2550
กําลังแรงงาน (%)
ภาคเกษตรกรรม (Agriculture)
นอกภาคเกษตรกรรม (Non-agriculture)

ภาคทางการ (Formal)
3
24

ภาคนอกระบบ (Non-formal)
34.3
38.7

ที่มา: UNDP (2010: 11)

กลาวโดยสรุปแลว เราคาดวาการเปลี่ยนแปลงโครงสรางทางเศรษฐกิจในรอบยี่สิบปที่ผา น
มานั้น ทําใหการกอตัวและการแตกตัวเปนชนชั้นหรือกลุมชนที่มีบุคลิกลักษณะใหมๆ เปนไปอยา ง
กวางขวางและหลากหลายมากกวาในอดีตอยางมีนัยยะสําคัญ แตลักษณะรวมของทุกกลุมชนก็คือ
การมีวิถีชีวิตที่สัมพันธเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจการตลาดอยา งแนบแนน ประกอบกับการที่เศรษฐกิจ
ไทยเปนเศรษฐกิจขนาดเล็กแบบเปดที่เชื่อมโยงกับตลาดโลกอยางใกลชิด ดังนั้น ความผันผวนของ
ภาวะเศรษฐกิจมหภาคทั้งในระดับ โลกและประเทศจึง สงผลโดยตรงตอ แรงงานนอกระบบ ซึ่ง มี
จํานวนกวาสองในสามของประชากรไทย เนื่องจากไมมีระบบประกันสังคมใดๆ รองรับคนกลุมนี้
2.2 การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง
ในการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ย วขอ งกับการวิจัย ครั้ง นี้ ผูวิจัย เนนสํา รวจงานวิจัย ดา น
วัฒนธรรมการเมืองในชวงทศวรรษ 1990 - 2000 (ประมาณ พ.ศ. 2535 - 2553) เนื่องจากเปนชว ง
ระยะเวลาที่สําคัญตอการศึกษาเก็บขอมูลของผูวิจัย สําหรับประเด็นศึกษา ผูวิจัยเนนทบทวนงาน
วิชาการที่ศึกษาการเมืองของการเลือกตั้งทอ งถิ่นและการเมืองในระบบรัฐสภา เพราะเชื่อวาสอง
ทศวรรษที่ผานมาแสดงใหเห็นอยางชัดเจนวาการเมืองแบบทางการผานการเลือกตั้งกอใหเกิดความ
ตื่น ตัว ทางการเมือ งอยา งยิ่ง ผูตื่นตัว ทางการเมือ งลวนแลวแตมีป ฏิกิริย าตอ การเมือ งแบบเปน
ทางการไมวาจะเปนการสนับสนุน (ที่สําคัญคือ กลุม นปช.) หรือตอตานการเมืองทางการก็ตาม (ที่
สําคัญคือ กลุมพันธมิตรฯ)
อันที่จริงหลังการเติบโตของการเมืองนอกระบบราชการ (extra-bureaucratic polity) ที่
แสดงออกใหเห็นไดชัดจากการทาทายอํานาจรัฐราชการในทศวรรษ 2510 และความเปลี่ย นแปลง
ทางการเมืองป 2535 แลว (Anek 1993) การเมืองไทยตั้งแตทศวรรษ 2530 เปนตนมาชี้ใหเห็นถึง
เกิดการเติบโตของอํานาจนอกระบบราชการ ที่นํา มาซึ่ง ความเคลื่อ นไหวใหมๆ ที่สํา คัญหลาย
ประการ
ประการแรก เห็นไดชัดวา ชนชั้นกลางที่มีอํา นาจตอ รองในปริมณฑลสาธารณะ (public
sphere) มากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะอยา งยิ่ง สื่อ สารมวลชน นัก วิชาการ นักพัฒนาเอกชน และนัก
18 | รายงานการวิจัยโครงการ: ทบทวนภูมิทัศนการเมืองไทย
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1
Politics1

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a Politics1

สถาบันนิยมใหม่กับการศึกษารัฐธรรมนูญ (New Institutionalism and Constitution)
สถาบันนิยมใหม่กับการศึกษารัฐธรรมนูญ (New Institutionalism and Constitution)สถาบันนิยมใหม่กับการศึกษารัฐธรรมนูญ (New Institutionalism and Constitution)
สถาบันนิยมใหม่กับการศึกษารัฐธรรมนูญ (New Institutionalism and Constitution)Weera Wongsatjachock
 
Economics of Politics
Economics of PoliticsEconomics of Politics
Economics of PoliticsKan Yuenyong
 
บทความวิชาการ --เศรษฐศาสตร์การเมืองคืออะไร
บทความวิชาการ --เศรษฐศาสตร์การเมืองคืออะไรบทความวิชาการ --เศรษฐศาสตร์การเมืองคืออะไร
บทความวิชาการ --เศรษฐศาสตร์การเมืองคืออะไรSakdaNasongsi1
 
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบันรายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบันTaraya Srivilas
 
Km subject speciallistsocial-020654
Km subject speciallistsocial-020654Km subject speciallistsocial-020654
Km subject speciallistsocial-020654Gritiga Soonthorn
 
กิจการกระจายเสียงและโทรทัศน์: การศึกษาพัฒนาการกฎหมายการสื่อสารไทย คริสต์ศตวรร...
กิจการกระจายเสียงและโทรทัศน์: การศึกษาพัฒนาการกฎหมายการสื่อสารไทย คริสต์ศตวรร...กิจการกระจายเสียงและโทรทัศน์: การศึกษาพัฒนาการกฎหมายการสื่อสารไทย คริสต์ศตวรร...
กิจการกระจายเสียงและโทรทัศน์: การศึกษาพัฒนาการกฎหมายการสื่อสารไทย คริสต์ศตวรร...ชัยวัฒน์ ปะสุนะ
 
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)สุรพล ศรีบุญทรง
 
การเมืองในองค์การ
การเมืองในองค์การการเมืองในองค์การ
การเมืองในองค์การบะห์ บาตู
 
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทยวิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทยFURD_RSU
 
โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ จากพฤษภาฯ 2535 ถึงปัจจุบัน
โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ จากพฤษภาฯ 2535 ถึงปัจจุบันโจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ จากพฤษภาฯ 2535 ถึงปัจจุบัน
โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ จากพฤษภาฯ 2535 ถึงปัจจุบันKan Yuenyong
 

Semelhante a Politics1 (13)

สถาบันนิยมใหม่กับการศึกษารัฐธรรมนูญ (New Institutionalism and Constitution)
สถาบันนิยมใหม่กับการศึกษารัฐธรรมนูญ (New Institutionalism and Constitution)สถาบันนิยมใหม่กับการศึกษารัฐธรรมนูญ (New Institutionalism and Constitution)
สถาบันนิยมใหม่กับการศึกษารัฐธรรมนูญ (New Institutionalism and Constitution)
 
Economics of Politics
Economics of PoliticsEconomics of Politics
Economics of Politics
 
Soc
SocSoc
Soc
 
บทความวิชาการ --เศรษฐศาสตร์การเมืองคืออะไร
บทความวิชาการ --เศรษฐศาสตร์การเมืองคืออะไรบทความวิชาการ --เศรษฐศาสตร์การเมืองคืออะไร
บทความวิชาการ --เศรษฐศาสตร์การเมืองคืออะไร
 
กุดชุม
กุดชุมกุดชุม
กุดชุม
 
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบันรายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Km subject speciallistsocial-020654
Km subject speciallistsocial-020654Km subject speciallistsocial-020654
Km subject speciallistsocial-020654
 
กิจการกระจายเสียงและโทรทัศน์: การศึกษาพัฒนาการกฎหมายการสื่อสารไทย คริสต์ศตวรร...
กิจการกระจายเสียงและโทรทัศน์: การศึกษาพัฒนาการกฎหมายการสื่อสารไทย คริสต์ศตวรร...กิจการกระจายเสียงและโทรทัศน์: การศึกษาพัฒนาการกฎหมายการสื่อสารไทย คริสต์ศตวรร...
กิจการกระจายเสียงและโทรทัศน์: การศึกษาพัฒนาการกฎหมายการสื่อสารไทย คริสต์ศตวรร...
 
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
 
การเมืองในองค์การ
การเมืองในองค์การการเมืองในองค์การ
การเมืองในองค์การ
 
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทยวิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
 
โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ จากพฤษภาฯ 2535 ถึงปัจจุบัน
โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ จากพฤษภาฯ 2535 ถึงปัจจุบันโจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ จากพฤษภาฯ 2535 ถึงปัจจุบัน
โจทย์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในสองทศวรรษ จากพฤษภาฯ 2535 ถึงปัจจุบัน
 

Mais de Nanthapong Sornkaew

วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน 2557 1
วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน  2557 1 วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน  2557 1
วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน 2557 1 Nanthapong Sornkaew
 
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...Nanthapong Sornkaew
 
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญNanthapong Sornkaew
 
ประกาศ คณะราษฎร 1
ประกาศ คณะราษฎร 1ประกาศ คณะราษฎร 1
ประกาศ คณะราษฎร 1Nanthapong Sornkaew
 
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครองkคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครองNanthapong Sornkaew
 
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545Nanthapong Sornkaew
 
ดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯ
ดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯ
ดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯNanthapong Sornkaew
 
อากงปลงไม่ตก
อากงปลงไม่ตกอากงปลงไม่ตก
อากงปลงไม่ตกNanthapong Sornkaew
 
คำพิพากษาคดีอากง
คำพิพากษาคดีอากงคำพิพากษาคดีอากง
คำพิพากษาคดีอากงNanthapong Sornkaew
 
ประเทศไทยมีกี่ศาล
ประเทศไทยมีกี่ศาลประเทศไทยมีกี่ศาล
ประเทศไทยมีกี่ศาลNanthapong Sornkaew
 
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรมkจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรมNanthapong Sornkaew
 
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่Nanthapong Sornkaew
 

Mais de Nanthapong Sornkaew (20)

วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน 2557 1
วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน  2557 1 วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน  2557 1
วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน 2557 1
 
Pantipontour
PantipontourPantipontour
Pantipontour
 
Bo tmuseum
Bo tmuseumBo tmuseum
Bo tmuseum
 
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
 
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
 
10 12-2475
10 12-247510 12-2475
10 12-2475
 
ประกาศ คณะราษฎร 1
ประกาศ คณะราษฎร 1ประกาศ คณะราษฎร 1
ประกาศ คณะราษฎร 1
 
Book inter germany
Book inter germanyBook inter germany
Book inter germany
 
บทความ+ศา..
บทความ+ศา..บทความ+ศา..
บทความ+ศา..
 
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครองkคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง
 
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
 
Article t2
Article t2Article t2
Article t2
 
ดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯ
ดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯ
ดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯ
 
อากงปลงไม่ตก
อากงปลงไม่ตกอากงปลงไม่ตก
อากงปลงไม่ตก
 
คำพิพากษาคดีอากง
คำพิพากษาคดีอากงคำพิพากษาคดีอากง
คำพิพากษาคดีอากง
 
ประเทศไทยมีกี่ศาล
ประเทศไทยมีกี่ศาลประเทศไทยมีกี่ศาล
ประเทศไทยมีกี่ศาล
 
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรมkจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
 
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
 
V2011 4
V2011 4V2011 4
V2011 4
 
V2011 3
V2011 3V2011 3
V2011 3
 

Politics1

  • 1. รายงานวิจยฉบับสมบูรณ์ ั โครงการวิจัย ทบทวนภูมทศน์ การเมืองไทย ิ ั Re-examining the Political Landscape of Thailand (สัญญาเลขที่ 2-028/2553 รหัสโครงการ นสธ.2553-2-028ข) โดย ผศ.ดร.อภิชาต สถิตนิรามัย คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผศ.ดร.ยุกติ มุกดาวิจิตร คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รศ.ดร.นิติ ภวัครพันธุ์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย องค์กรรับทุน: คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิ ทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้รบทุนสนับสนุนโดย ั แผนงานสร้างเสริ มนโยบายสาธารณะที่ดี (นสธ.) สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริ มสุขภาพ (สสส.) พฤษภาคม 2556
  • 2. Final Report Re-examining the Political Landscape of Thailand (Contract no 2-028/2553 Project code 2553-2-028ข) By Assistant Professor Dr.Apichat Satitniramai Faculty of Economics Thammasat University Assistant Professor Dr.Yukti Mukdawijitra Faculty of Sociology and Anthropology Thammasat University Associate Professor Dr.Niti Pawakapan Faculty of Political Science Chulalongkorn University This project was supported by Thai Health Promotion Foundation (Thai Health) May 2013
  • 3. Summary Based on quantitative surveys, in-depth interviews and fieldwork research in several villages in northern, northeastern, central and southern Thailand, this research argues that Thai socio-political landscapes have changed economically, politically, and ideologically for the past two decades. These changes brought about a new group of people with new economic and political attributes, labeled as the ‘new citizens’. Nidhi Eoseewong refers to the same group of people as the ‘lower middle class’ as their characteristics, interests and concerns differ from the ‘old middle class’ which includes middle or higher class people. The ‘new citizens’ are categorized as those who earn a monthly income of 5,000-10,000 Baht. It is estimated that they composed 40 per cent of Thai households in 2008, which makes them the largest group of voters in the national election. Although they are not the poorest, they are inferior to the ‘old middle class’ in many aspects including incomes, asset, jobs, and education. Because of this, the ‘new citizens’ have new needs and aspirations for a set of public policies that is different from the ‘old middle class’. The socio-economic change for the past twenty years made the ‘new citizens’ the largest group among the Thai political constituency and political parties need to develop new public policies to cater for this new group of voters. At the same time, the institutionalization of electoral politics both at the national and local level, especially since the enforcement of the 1997 constitution, created more incentives for politicians to formulate macro-level public policies in response to the demands of this constituency. The 1997 constitution was designed to create a more effective Thai state for implementing public policies which political parties promised during electoral campaigns. This was the same time that the Thai Rak Thai party emerged under the leadership of Thaksin Shinawatra. Thus, Thaksin became the first elected Thai Prime Minister who could keep and meet his promises during his term. It was the first time in Thailand that the majority of voters felt that the ballot box affected their daily lives. However, the improved electoral politics reduces political influence of the ‘old middle class’. Electoral politics has hardly been an effective public policy instrument for the the ‘old middle class’ since the masses have always outnumbered the the ‘old middle class’. Thus, this ‘old middle class’ have employed and enjoyed other political instruments--such as the mainstream mass media, social relations with the elites, and even supporting a coup d’etat--to disproportionately access to policy making.
  • 4. In this light, the present color-coded political conflict is a conflict between 'the new citizens’ and the ‘old middle class’. The ‘new citizens’ (Red Shirts) fight to preserve their most effective policy instrument--electoral politics--whereas the ‘old middle class’ (Yellow Shirts) fight to emphasize participatory democracy and accountability. Ideologically speaking, each side commit to different types of democracy. The Yellow Shirts stress the importance of participatory and accountability politics while not trusting parliamentary politics and elected politicians. In effect, they call for a check in the politicians’ power by others players and institutions such as the monarchy--including the Privy Council-- constitutional independent bodies, the military, and the judicial power. On the other hand, the Red Shirts emphasize the paramount of the election and parliamentary democracy as the sole legitimate source of governance. Moreover, they stress fairness and equality of an access to political and policy process; and hence the Red Shirts are against the notion of “double (political) standards.” In effect, they reject any extra-parliamentary check of power whether they are the military, the law courts or other independent bodies. Socio-economic changes during the last twenty years have also undermined various conditions that underpin the patron-client social relationship. This research argues that Thai society is no longer a self-subsistent peasant society with high poverty, a fundamental basis of ‘patron-client relationship’ in which poor peasants use a ‘risk-minimization and safety-first strategy and the patron-client relationship is no longer a dominant form of Thai social relation. Rather, horizontal relationships are increasingly more important. These complex, flexible and dynamic horizontal relations are a result of socio-economic changes that weaken the grip of influential groups in many locales; and hence, they open doors for new forms of social networks and organizations. These new modes of social relations in turn facilitate a political movement to achieve the new citizen’s rights and interests. In another aspect, those horizontal relations are created to build up a common new political ideology and identity of the ‘new citizens’.
  • 5. บทสรุป รายงานวิจัยนี้อ าศัยขอ มูลจากการวิจัย ทางสถิติ การสัมภาษณเชิงลึก และการวิจัย ภาคสนามใน หมูบานภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคกลาง และภาคใต การศึกษานี้ชี้วา การเปลี่ยนแปลงภูมิทัศนของสังคม การเมืองไทยในรอบยี่สิบกวาปทั้งในทางเศรษฐกิจ การเมือง และอุดมการณ กอใหเกิดการเติบโตขึ้นของ กลุมคนหนาใหมทั้งในทางเศรษฐกิจและการเมืองไทย คณะวิจัยนิยามคนหนาใหมเหลา นี้วา “พลเมืองใหม” คนกลุมนี้โดยรากฐานแลวเกิดจากการเปลี่ยนแปลงดานโครงสรางเศรษฐกิจ ซึ่งนิธิ เอียวศรีวงศเรีย กวา “ชน ชั้นกลางระดับลาง” ผูคนเหลานี้มีคุณลักษณะและผลประโยชนเฉพาะกลุมที่แตกตางไปจาก “ชนชั้นกลางเกา” (ชนชั้นกลางระดับกลางขึ้นไป) กลา วคือ เขามิใชกลุมคนที่ย ากจนที่สุดของสังคมไทย หากใชระดับรายได 5,000-10,000 บาทตอคนตอเดือนเปนเกณฑในการจัดกลุม ชนชั้นใหมนี้จะมีประมาณ 40% ของครัว เรือน ไทยในป 2552 ซึ่งถือไดวาเปนผูมีสิทธิ์ออกเสียงกลุมใหญที่สุดของสังคม และแมวาคนกลุมนี้จะไมใชคน ยากจน แตเขาก็จนกวา มากทั้งดานรายได -ทรัพยสิน และฐานะทางสัง คมทั้ง ดา นอาชีพ การศึกษา ฯลฯ โดยเฉพาะอยา งยิ่งเมื่อ เปรียบเทียบกับชนชั้นกลางเกา หรือกลา วอีกแบบ คนกลุมนี้มีความตอ งการและ ความคาดหวัง (new needs and aspiration) นโยบายจากรัฐที่มีลักษณะเฉพาะของตนเองแตกตา งจาก ผลประโยชนของชนชั้นกลางเกา การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจใน 20 ปที่ผานมา ทําใหกลุมกลายเปนฐาน เสียงกลุมใหมที่สําคัญที่สุดในทางการเมือง ซึ่งพรรคการเมืองในระบบเลือกตั้งจําเปนที่จะตองพัฒนานโยบาย สาธารณะแบบใหมๆ ขึ้นมาเพื่อหาเสียงจากคนกลุมนี้ ในอีกดานหนึ่ง การเปลี่ยนแปลงสถาบันทางการเมือง โดยเฉพาะอยา งยิ่งการลงหลักปกฐานของ การเมืองแบบเลือกตั้ง ทั้งในระดับชาติและทองถิ่นตั้งแตรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2540 มีผลบังคับใช สถาบัน การเมืองแบบใหมนี้ ในทางหนึ่งสรางแรงจูงใจใหนักการเมืองตอบสนองตอความตองการของผูมีสิทธิ์เลือกตั้ง มากขึ้น โดยการสรางนโยบายในขอบเขตระดับชาติ ในอีกทางหนึ่งไดเอื้ออํา นวยใหรัฐไทยมีประสิทธิผล (effectiveness) มากขึ้นในการขับเคลื่อนนโยบายใหมๆ เหลานั้น เพื่อทําตามสัญญาที่พรรคการเมืองใหไวใน การเลือกตั้ง พรรคไทยรักไทยภายใตการนําของทักษิณ ชินวัตร ถือกําเนิดขึ้น ณ จุดนี้พอดี เขาจึงกลายเปน นายกรัฐมนตรีคนแรกที่มาจากการเลือกตั้งซึ่งสามารถทําตามสัญญาที่ใชในการหาเสียงไดอยางรวดเร็ว ทํา ใหกลายเปนครั้งแรกที่บัตรเลือกตั้งของผูออกเสียงขางมากของสังคมมีผลชัดเจนตอชีวิตประจําวันของเขา ในอีกดานหนึ่งของเหรียญการเมือง การลงหลักปกฐานของการเมืองแบบเลือกตั้งทั้งในระดับชาติและทองถิ่น นั้นไดลดทอนอิทธิพลทางการเมืองของชนชั้นกลางเกาลง ซึ่งชนชั้นนี้มีพื้นที่และเครื่องมือหลากหลายในการ ตอรองกับรัฐที่ไดผลอยูแลว โดยไมตองพึงการเลือกตั้ง และเนื่องจากกลุมนี้มีจํานวนนอยกวา การเลือกตั้ง ่ จึงไมใชเครื่องมือหลัก ตรงกันขาม การลงหลักปกฐานของการเมืองแบบเลือกตั้ง ทําใหอทธิพลทางการเมือ ง ิ ของชนชั้นกลางเกาตอรัฐลดลงมาก 1 | รายงานการวิจัยโครงการ: ทบทวนภูมิทัศนการเมืองไทย
  • 6. ดังนั้น ปมปญหาหลักของความขัดแยงทางการเมืองในปจจุบันจึงเปนความขัดแยงที่ฝา ยเสื้อแดง (ชนชั้นกลางระดับลา ง) สูเ พื่อปกปองกติกาการเมืองแบบเลือกตั้ง หรือ ประชาธิปไตยแบบตัว แทนที่เนน อํานาจและความชอบธรรมจากการเลือกตั้ง ในขณะที่ฝายเสื้อเหลือง (ชนชั้นกลางระดับกลางขึ้นไป) สูเพื่อ ลดความชอบธรรมของการเลือกตั้งโดยเนนประชาธิปไตยแบบตรวจสอบ หรือกลาวในแงของอุดมการณ ทางการเมืองแลว ทั้งคนเสื้อ เหลืองและคนเสื้อแดงมีอุดมการณทางการเมืองแบบประชาธิปไตย หากแต จุดเนนของระบอบประชาธิปไตยของทั้งสองฝายแตกตางกัน คนเสื้อเหลืองเนนประชาธิปไตยแบบตรวจสอบและมีสวนรวม ไมไวใจประชาธิปไตยแบบรัฐสภา ไม เชื่อถือการเลือกตั้ง สนับสนุนการถวงดุลจากอํานาจนอกระบบรัฐสภาเพื่อถวงดุลอํานาจกับระบบรัฐสภา คน เสื้อเหลืองจึงสนับสนุนใหสถาบันกษัต ริย รวมทั้งองคมนตรี องคกรอิส ระ หรือแมแตทหารและศาล เขามา ตรวจสอบถวงดุลนักการเมือง สวนคนเสื้อแดง ใหความสําคัญกับประชาธิปไตยแบบรัฐสภา ใหความสํา คัญ กับการเลือ กตั้ง นอกจากนั้น คนเสื้อ แดงยังเนนความเทาเทียมและความเสมอภาคในการเขาถึงอํา นาจ ทางการเมืองและกระบวนการยุติธรรม (หรือที่กลาวกันวา ตอตานระบบ “สองมาตรฐาน”) ความเสมอภาคใน การเขาถึงอํานาจในการกําหนดนโยบายรัฐ คนเสื้อแดงจึงตอตานการรัฐประหาร และตอตานการแทรกแซง จากอํานาจนอกรัฐสภาไมวาจะจากองคกรอิสระ ทหาร ศาล หรือสถาบันอํา นาจอื่นใดที่ถูกนํามาอางอิงเพื่อ แทรกแซงระบอบรัฐสภา นอกจากนี้แลว คณะวิจัยเห็นวาการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมในรอบยี่สิบกวาปที่ผานมา นั้น ทําใหความสัมพันธของผูคนในสังคมไดเปลี่ยนไปแลวโดยรากฐาน แมคณะวิจัยจะมิไดปฏิเสธการมีอยู ของระบบหรือความสัมพันธแบบอุปถัมภอยา งสิ้นเชิง แตคณะวิจัยเห็นดวยกับ Walker (2012: 6-9) ที่วา เงื่อนไขทางเศรษฐกิจ-สังคมที่รองรับการดํารงอยูของระบบนี้ไดเปลี่ยนไปแลวอยางถึงราก กลาวคือ ตัวแบบ ความสัมพันธแบบอุปถัมภที่เสนอไววาระดับความยากจนขนแคน โดยเฉพาะอยา งยิ่งในสังคมเกษตรกรรม แบบพอยังชีพที่ชาวนาเผชิญนั้น ทําใหชาวนาตองใหความสําคัญกับการลดความเสี่ยงหรือยึดหลักปลอดภัย ไวกอน (risk-minimization and safety-first principle) ในการดํารงชีพเหนือเรื่องอืนใดทั้งหมด เปนรากฐาน ่ ที่มาของความสัมพันธแบบอุปถัมภ ซึ่งเปนกลไกหลักในการจัดการความเสี่ยงของคนในสังคมเชนนี้ แต ณ พ.ศ. นี้เงื่อนไขทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะอยางยิ่งระดับความยากจนขนแคน หรือจํานวนคนจนยากนั้น กลับ กลายเปนสวนขางนอยของสังคมไปแลว ดังนั้นคณะวิจัยจึงเสนอวาตอใหความสัมพันธแบบอุปถัมภยังคงมีอยูจริง ความสัมพันธแบบแนวตั้งนี้ ก็มิไดเ ปนลักษณะหลักของสังคมอีกตอไป ตรงกัน ขา มความสัมพันธในลักษณะอื่นๆ โดยเฉพาะในเชิง แนวนอน จะมีความสําคัญเพิ่มขึ้น กลาวคือในหลายทองถิ่น มีการสรางความสัมพันธทางสังคมแบบใหมๆ (ที่ สถานภาพของสมาชิกในกลุมมิไดแตกตางกันมากแบบความสัมพันธเชิงแนวตั้ง) ซึ่งมีลักษณะความสัมพันธ แบบเครือขายในแนวนอนที่มีความซับซอน ยืดหยุนและผันแปรอยูเสมอ และอาจซอนทับกับความสัมพันธ อื่นๆ ได ทั้งนี้เพราะการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและการผลิ ตไดทําใหการผูกขาดของกลุมอิทธิพลใน ทองถิ่นหลายแหงตองเสื่อมลง นําไปสูการเปลี่ยนแปลงของความสัมพันธในชุมชน และเปดโอกาสใหมีการ 2 | รายงานการวิจัยโครงการ: ทบทวนภูมิทัศนการเมืองไทย
  • 7. สรางองคก รหลายประเภทขึ้นในชุมชน ในดานหนึ่งการสรางองคก รและเครือขายใหมๆ เหลานี้สงผลให ชาวบานจํานวนมากเกิดความตื่นตัวทางการเมือ ง หรือแมแตเขา รวมในการเคลื่อนไหวทางการเมือง ตอสู เพื่อสิทธิและประโยชนของตน จุดมุงหมายหนึ่งของการสรางความสัมพันธใหมๆ ทางสังคมและเครือขายตา งๆ เชิงแนวนอนก็คือ เปาหมายในการสรางอุดมการณทางการเมืองรวมกัน ทั้งนี้เพื่อ กระตุนความตื่นตัวทางการเมืองในเรื่องอัต ลักษณของคนเหลานี้ในฐานะ “พลเมืองใหม” ที่มีสิทธิและมีโอกาสในการใชทรัพยากรอยางเปนธรรม 3 | รายงานการวิจัยโครงการ: ทบทวนภูมิทัศนการเมืองไทย
  • 8. คํานํา หลายทศวรรษที่ผานมา ประเทศไทยมีความรุดหนา ดานเศรษฐกิจ เกิดภาคอุตสาหกรรมและภาค บริการอันทันสมัยที่มองเห็นเปนรูปธรรมอยางชัดเจน การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและการเมือง ซึ่งสวนหนึ่ง เปนผลพวงของการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจนี้ก็ยอมเกิดตามมาอยางหลีกเลี่ยงไมได แตการเปลี่ยนแปลง ทางสังคมและการเมืองเปนการเปลี่ยนแปลงที่เปนนามธรรมมากกวา จึงยากที่จะสังเกตไดโดยงาย ในกรณี ของประเทศไทยไดเห็นไดชัดเมื่อประทุเปนความขัดแยงทางการเมืองเรื่องหลากสีขึ้นมาแลว การเปลี่ย นแปลงภูมิ ทัศนทางการเมือ งแบบขนานใหญที่ผา นมาจึง เปนจุ ดเปลี่ย นที่สํา คัญ ของ สังคมไทย ซึ่งจําเปนตองมีการศึกษาในเชิงลึกเพื่อใหเกิดความเขาใจถึงการเปลี่ย นแปลงทัศนคติและความ คาดหวังของคนไทยกลุมตางๆ ชุดโครงการวิจัย ชิ้นนี้จึงไดเกิดขึ้น และเปนสวนหนึ่งของการศึกษาในแผน งานวิจัย “สูอนาคตไทย” ของแผนงานสรางเสริมนโยบายสาธารณะที่ดี (แผนงาน นสธ.) ซึ่งประมวลการ เปลี่ยนแปลงที่สําคัญๆ ในหลายๆ ดาน เพื่อใหเราไดสามารถสรา งฉากทัศนหรือภาพอนาคตและทางเลือก เชิงนโยบายสาธารณะที่เหมาะสมได ทานพุทธทาสภิกขุเคยใหคติไวในหนังสือคูมือมนุษยวา“ความจริงหรือสัจจะสําหรับคนๆ หนึ่งนั้น มัน อยูตรงที่วา เขาเขาใจและมองเห็นเทาไรเทานั้นเอง .... สิ่งใดที่อยูเหนือสติปญญา ความรู ความเขาใจของตน หรือตนยังไมเขาใจ คนนั้นจะไมถือวาเปนความจริงของเขา... (แต) ความจริงของคนๆ หนึ่งนั้นจะเดินคืบได เสมอ ตามสติปญญา ความรู และความเขาใจที่เพิ่มขึ้นทุกๆ วัน” เอกสารเหลานี้เปนความพยายามในเบื้องตน เล็กๆ ที่จะเสนอความจริงใหแกสังคมไทย อยางไรก็ดี ดวยทรัพยากร งบประมาณ เวลาที่จํากัด และเงื่อนไข ทางกฎหมายและสังคมที่ยังไมเปดกวางใหถ กทุกประเด็นสาธารณะไดเต็มที่ งานวิจัยชิ้นนี้จึงนับไดวาเปน ความพยายามเบื้องตน ซึ่งอาจไมสามารถที่จะตอบคําถามไดมากเทาที่สังคมหรือแมแตทีมวิจัยเองตองการ ความหวังที่จะยกระดับการพัฒนาประเทศและนโยบายสาธารณะในอนาคตขึ้นอยูกับการเปดพื้นที่ ทางปญญาและเปดใจใหยอมรับความคิดเห็นแตกตา งกันของกลุมตา งๆ ในสังคม สังคมไทยจึงจะสามารถ เดินไปขางหนาดวยกันอยางสันติสุข เราหวังวาอยางนอยที่สุดเอกสารวิจัยฉบับนี้จะทําหนาที่จุดประกาย ตั้ง คําถาม และกระตุนการคนหาคําตอบเบื้องตนบนพื้นฐานของความเปนจริงไดพอสมควร และยังหวังอีกดวย วา จะมีการสนับสนุนงบประมาณวิจัยในแนวนี้อยางตอเนื่อง เพื่อใหเราไปถึงซึ่งความจริงทั้งมวลไดในที่สุด มิ่งสรรพ ขาวสอาด ผูจัดการ แผนงานสรางเสริมนโยบายสาธารณะที่ดี 4 | รายงานการวิจัยโครงการ: ทบทวนภูมิทัศนการเมืองไทย
  • 9. กิตติกรรมประกาศ รายงานวิจัยฉบับนี้ สําเร็จลุลวงไปไดดวยความชวยเหลือจากแผนงานสรางเสริมนโยบายสาธารณะที่ ดี (นสธ.) โดยเฉพาะอยางยิ่งศาสตราจารย ดร. มิ่งสรรพ ขาวสอาด ที่สนับสนุนทุนวิจัย ตลอดระยะเวลาของ การวิจัย คณะผูวิจัยไดรับคําวิจารณที่มีประโยชนจากนักวิชาการหลายทานซึ่งไมอาจจะนํามากลาวไดทั้งหมด ที่สําคัญไดแก ศาสตราจารย ดร. อัมมาร สยามวาลา, ศาสตราจารย ดร. นิธิ เอียวศรีวงศ, ศาสตราจารย (พิเศษ) ดร. เอนก เหลาธรรมทัศน. ศาสตราจารย ดร. อานันท กาญจนพันธ, ศาสตราจารย รังสรรค ธนะพร พันธ, ศาสตราจารย ดร. มิ่งสรรพ ขาวสอาด, ศาสตราจารย ดร. ธเนศ อาภรณสุวรรณ, ศาสตราจารย ดร. เกษียร เตชะพีระ, รองศาสตราจารย ดร. ไชยันต รัชชกูล, รองศาสตราจารย ดร. นิพนธ พัวพงศกร, ดร. สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย, ดร. สมชัย จิตสุชน, รองศาสตราจารย สิริพรรณ นกสวน, ดร. ประจักษ กองกีรติ, และผูชว ยศาสตราจารย นพนันท วรรณเทพสกุล ขอขอบคุณ ทุกทา นที่ชว ยอา นและใหความเห็นอยา ง ละเอียดตลอดกระบวนการของการวิจัยชวยแนะนําขอบกพรอง เพื่อนําไปสูการแกไข ปรับปรุงรายงานเลมนี้ ใหถูกตองสมบูรณยิ่งขึ้น คณะผูวิจัย ขอบคุณ ผูใหขอ มู ลทุกทา นที่ไม เ หน็ดเหนื่อ ยกับการตอบคํา ถามและใหการตอ นรั บ คณะผูวิจัยเสมือนคนที่สนิทคุนเคยกันมานาน โดยเฉพาะอยางยิ่งผูใหขอมูลสัมภาษณเชิงลึกในจังหวัดตางๆ อันที่จริงคณะผูวิจัยซาบซึ้งในน้ําใจของผูใหขอมูลหลายๆ ทานเปนพิเศษ แตดว ยจริยธรรมของการวิจัย ทํา ใหไมอาจเอยนามทานเหลานั้น ณ ที่นี้ได และพรอมกันนี้ ขอขอบคุณคุณชีวิน สันธิ ผูชวยวิจัยผูขยันขันแข็ง และคลองแคลวทั้งงานดานวิชาการและงานดานธุรการอยางไรก็ดี ความรับผิดชอบตอขอบกพรองทั้งหมดใน งานยอมเปนของคณะผูวิจัย คณะผูวิจัย 5 | รายงานการวิจัยโครงการ: ทบทวนภูมิทัศนการเมืองไทย
  • 10. สารบัญ บทสรุป ................................................................................................................................................... 1 คํานํา..........................................................................................ERROR! BOOKMARK NOT DEFINED. กิตติกรรมประกาศ ................................................................................................................................. 5 บทนํา .................................................................................................................................................... 11 ภาคหนึ่ง: วิธีการศึกษาและวรรณกรรมปริทัศน................................................................................. 12 1. วิธีการศึกษา .................................................................................................................................. 12 2. ปริทัศนวรรณกรรม......................................................................................................................... 15 2.1 การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ...................................................................................................... 15 2.2 การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง....................................................................................................... 18 ภาคสอง: ตอบโจทยหลักของการวิจัย ................................................................................................. 34 1. ใครคือคนเสื้อเหลือง-เสื้อแดง .......................................................................................................... 34 2. ทําไมจึงเปน “คนเสื้อแดง” และทําไมจึงเปน “คนเสื้อเหลือง” ............................................................. 46 3. นโยบายประชานิยมมีผลอยางไรตอทัศนะคติ และพฤติกรรมทางการเมืองของผูมีสิทธิ์ลงคะแนน....... 56 4. ความยากจนและความเหลื่อมล้ําทางเศรษฐกิจเปนสาเหตุของความขัดแยงทางการเมืองหรือไม........ 58 5. เงินไมใชปจจัยชี้ขาดในการเลือกตั้ง................................................................................................. 63 6. ความสัมพันธระดับทองถิ่นและ“ระบบอุปถัมภ” ................................................................................ 73 ภาคสาม: การเปลี่ยนแปลงภูมิทศนของสังคม.................................................................................... 92 ั 1. การเปลี่ยนแปลงภูมิทัศนเศรษฐกิจ (ECONOMIC SCAPE)ในรอบยี่สิบป ............................................... 93 2. การเปลี่ยนแปลงภูมิทัศนทางการเมือง (POLITICAL SCAPE)............................................................. 101 3. การเปลี่ยนแปลงภูมิทัศนดานอุดมการณ (IDEOLOGICAL SCAPE)..................................................... 116 ภาคสี: บทสรุป.................................................................................................................................... 138 ่ 1. การเปลี่ยนแปลงโครงสรางทางเศรษฐกิจและโครงสรางทางการเมือง.............................................. 138 2. การเมืองอัตลักษณและการเมืองอุดมการณ................................................................................... 140 3. พลเมืองใหม................................................................................................................................. 142 4. ขอโตแยงตอมุมมองของการศึกษาสังคมการเมืองไทย ................................................................... 143 6 | รายงานการวิจัยโครงการ: ทบทวนภูมิทัศนการเมืองไทย
  • 11. ภาคหา: นัยทางนโยบาย .................................................................................................................... 146 1. การสังกัดสีทางการเมืองเปนไปอยางกวางขวางในเกือบทุกสวนของสังคม...................................... 146 2. วาทกรรมของความขัดแยงระหวางสีแบบ ”สุดขั้ว” มีผูเห็นดวยจํานวนนอยมาก แตกลับกลายเปนวาท กรรมหลักของความขัดแยง............................................................................................................... 146 บรรณานุกรม ................................................................................................................................... 148 7 | รายงานการวิจัยโครงการ: ทบทวนภูมิทัศนการเมืองไทย
  • 12. สารบัญรูป รูปที่ 1สัดสวนการเปลี่ยนแปลงอาชีพชวงป 2529-2552 ........................................................................... 41 รูปที่ 2คาจางเฉลี่ยในแตละอาชีพ ............................................................................................................ 42 รูปที่ 3คาสัมประสิทธิ์ Gini ...................................................................................................................... 45 รูปที่ 4ปริมาณหนี้สินเฉลี่ยตอครัวเรือน แบงตามภูมิภาค.......................................................................... 93 รูปที่ 5สัดสวนคนที่มีหนี้สินจําแนกตามภูมิภาค........................................................................................ 94 รูปที่ 6ปริมาณหนี้สินเฉลี่ยตอครัวเรือน แบงตามเขตการปกครอง............................................................. 95 รูปที่ 7ปริมาณหนี้สินเฉลี่ยตอครัวเรือน แบงตามลักษณะเศรษฐกิจสังคมครัวเรือน.................................... 96 รูปที่ 8สัดสวนของผลผลิตภาคการเกษตรและภาคอุตสาหกรรมตอผลผลิตรวมระดับภาค.......................... 98 8 | รายงานการวิจัยโครงการ: ทบทวนภูมิทัศนการเมืองไทย
  • 13. สารบัญตาราง ตารางที่ 1สัดสวนแรงงานนอกระบบและในระบบของประเทศไทย ป 2550 ............................................... 18 ตารางที่ 2สรุปเกณฑการแบงกลุมสี......................................................................................................... 36 ตารางที่ 3การจัดกลุมสีทางการเมือง....................................................................................................... 36 ตารางที่ 4ลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคมของผูตอบแบบสอบถามในเขตกรุงเทพและตางจังหวัด............. 53 ตารางที่ 5สัดสวนของแหลงรายไดครัวเรือนในภาคชนบท ........................................................................ 96 9 | รายงานการวิจัยโครงการ: ทบทวนภูมิทัศนการเมืองไทย
  • 14. 10 | รายงานการวิจัยโครงการ: ทบทวนภูมิทัศนการเมืองไทย
  • 15. บทนํา รายงานการศึกษานี้เปนบทวิเ คราะหที่สังเคราะหขึ้นมาจากงานวิจัย ของคณะผูวิจัย ในโครงการ "ทบทวนภูมิทัศนการเมืองไทย" คณะผูวิจัยนี้ประกอบไปดวย อภิชาต สถิตนิรามัย , ยุกติ มุกดาวิจิตร, นิติ ภวัครพันธุ, ประภาส ปนตบแตง, วรรณวิภางค มานะโชติพงษ, ปนแกว เหลือ งอรามศรี, จักรกริช สังขมณี, เวียงรัฐ เนติโพธิ,์ และอนุสรณ อุณโณ งานวิจัยนี้เริมตั้งแตปลายป 2553 สิ้นสุดลงในตนป 25561รายงานการ ่ วิจัยนี้แบงออกเปน 5 ภาคคือ ภาคที่ 1 วิธีการศึกษาและวรรณกรรมปริทัศน อธิบายวิธีการศึกษา ขอบเขตของการศึกษา ขอจํากัด ของการศึกษา และทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย ภาคที่ 2 ตอบคําถามหลักของการวิจัย ซึ่งมีทั้งสิ้น 6 คําถามหลักตอไปนี้ ใครเปนคนเสื้อเหลือ ง-คน เสื้อแดง, ทําไมจึงเปนคนเสื้อเหลือง-เสื้อแดง, นโยบายประชานิย มมีผลอยางไรตอทัศนะคติและพฤติกรรม ทางการเมืองของผูมีสิทธิ์ลงคะแนน, ความยากจน-ความเหลื่อมล้ําทางเศรษฐกิจเปนสาเหตุของความขัดแยง ทางการเมืองหรือไม, เงินเปนปจจัยชี้ขาดในการเลือกตั้งหรือไมและคําถามสุดทายคือ ระบบอุปถัมภมีความ ซับซอนอยางไร ภาคที่ 3 ภูมิทัศนการเมืองไทย อภิปรายถึงแนวโนมใหญๆ ของการเปลี่ยนแปลงทางภูมิทัศนของ สังคมไทยในรอบหลายสิบปที่ผา นมา ซึ่งเปนปจจัย เบื้อ งหลัง (background factor) ของความขัดแยงทาง การเมืองที่ดํารงอยูในปจจุบัน ภาคที่ 4 บทสรุป เชื่อมรอยใหเห็นภาพรวมของเหตุและปจจัยแหงความขัดแยงทางการเมือง ภาคที่ 5 นัยทางนโยบายที่ไดจากการวิจัย 1 ขอขอบคุณ "แผนงานสรางเสริม นโยบายสาธารณะที่ดี" (นสธ.) โดยเฉพาะอยางยิ่งศาสตราจารย ดร. มิ่งสรรพ ขาวสะอาด ที่สนับสนุน ทุน วิจัย ตลอด ระยะเวลาของการวิจัย คณะผูวิจัยไดรับคําวิจารณที่ม ีประโยชนจากนักวิชาการหลายทาน ที่สําคัญไดแก ศาสตราจารย ดร. อัม มาร สยามวาลา, ศาสตราจารย ดร. นิธิ เอียวศรีวงศ, ศาสตราจารย (พิเศษ) ดร. เอนก เหลาธรรมทัศน. ศาสตราจารย ดร. อานันท กาญจนพันธ, ศาสตราจารย รังสรรค ธนะพรพันธ, ศาสตราจารย ดร. มิ่ง สรรพ ขาวสะอาด, ศาสตราจารย ดร. ธเนศ อาภรณสุว รรณ, ศาสตราจารย ดร. เกษีย ร เตชะพีระ, รองศาสตราจารย ดร. ไชยัน ต รัชชกูล , รองศาสตราจารย ดร. นิพนธ พัวพงศกร, ดร. สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย, ดร. สมชัย จิตสุชน, รองศาสตราจารย สิริพรรณ นกสวน, ดร. ประจักษ กองกีรติ, และผูชวยศาสตราจารย นพนัน ท วรรณเทพสกุล ขอขอบคุณ ทุกทานที่ชวยอานและใหความเห็นอยางละเอียดตลอดกระบวนการของการวิจัย ขอบคุณ ผูใหขอมูลทุกทานที่ไมเ หน็ดเหนื่อยกับ การตอบ คําถามและใหการตอนรับคณะผูวิจัยเสมือนคนที่สนิทคุนเคยกันมานาน โดยเฉพาะอยางยิ่งผูใหขอมูลสัมภาษณเชิงลึกในจังหวัดตางๆ อัน ที่จริงคณะผูวิจัยซาบซึ้งใน น้ําใจของผูใหขอมูลหลายๆ ทานเปนพิเศษ แตดวยจริยธรรมของการวิจัย ทําใหไมอาจเอยนามทานเหลานั้น ณ ที่ นี้ได และพรอมกันนี้ ขอขอบคุณ คุณ ชีวิน สันธิ ผูชวยวิจัยผูขยันขันแข็งและคลองแคลวทั้งงานดานวิชาการและงานดานธุรการ อยางไรก็ดี ความรับผิดชอบตอขอบกพรองทั้งหมดในงานยอมเปนของคณะผูวิจัย 11 | รายงานการวิจัยโครงการ: ทบทวนภูมิทัศนการเมืองไทย
  • 16. ภาคหนึ่ง: วิธีการศึกษาและวรรณกรรมปริทัศน 1. วิธีการศึกษา การศึกษาครั้งนี้ออกแบบใหมีการศึกษาทั้งในระดับประเทศ ระดับเจาะลึกขามทอ งถิ่น และระดับ เจาะลึกบางทองถิ่น ในระดับแรก คณะผูวิจัยอาศัย การสํารวจความเห็นดว ยแบบสอบถามแลวประมวลผล ดวยวิธีการทางสถิติ การศึกษาดังกลาวเปนผลงานวิจัยของวรรณวิภางค มานะโชติพงษ ซึ่งอาศัยการออก แบบสอบถามและการตั้งสมมติฐานรว มกันระหวางอภิชาต ยุกติ นิติ และวรรณวิภ างค ในระดับของการ เจาะลึกขา มทอ งถิ่น อาศัย ผลงานของเวีย งรัฐ เนติโพธิ์ ซึ่งเนนวิจัย เรื่อ งนักการเมือ งการเมือ งทอ งถิ่น ประกอบกับงานวิจัยของอภิชาต ซึ่งมียุกติและนิติรวมเก็บขอ มูลสั มภาษณเจาะลึกดว ย ระดับ ที่สาม เปน งานวิจัยภาคสนามเชิงมานุษยวิทยา คณะผูวิจัยเลือกพื้นที่ 5 พื้นที่ 1) จังหวัดเชียงใหม โดยปนแกว เหลือ ง อรามศรี 2) จังหวัดอุบลราชธานี โดยจักรกริช สังขมณี 3) จังหวัดชัยภูมิ โดยยุกติ มุกดาวิจิตร 4) จังหวัด นครปฐม โดยประภาส ปนตบแตง และ 5) จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยอนุสรณ อุณโณ คณะผูวิจัยทั้งหมดมี โอกาสได เ ดิ น ทางไปแต ล ะพื้น ที่ เ กือ บทุ กพื้ น ที่ จึ ง มี โอกาสให นั ก วิ จั ย จากต า งพื้ น ที่ไ ด ต รวจสอบและ แลกเปลี่ยนประเด็นวิจัย เปรียบเทียบลักษณะเฉพาะและหาลักษณะรวมกันของแตละพื้นที่ อยางไรก็ดี งานวิจัยชิ้นนี้มีขอ จํากัดหลายประการ ทั้งที่เกี่ยวของกับดานวิชาการโดยตรง กับทาง กฎหมาย และทางการเมือง ซึ่งคณะวิจัยขอชี้แจงดังตอไปนี้ ขอบเขตของงานวิจัย เปาหมายหลักของการศึกษาชิ้นนี้อยูที่การทําความเขาใจการเปลี่ยนแปลงภูมิทัศนสังคม-เศรษฐกิจการเมืองไทยในภาพรวม เนื่องจากคณะวิจัยเห็นวาการเปลี่ยนแปลงนี้เปนบริบทหลักของความขัดแยงทาง การเมื อ งเรื่ อ งสี เสื้ อ ที่ดํ า รงอยู จ นกระทั่ งป จ จุ บั น โดยมีคํ า ถามพื้ น ฐานบางประการที่ตอ งการจะตอบ โดยเฉพาะอยางยิ่งการทําความเขาใจ “คนเสื้อแดง” ซึ่งเปนตัวแสดงใหมทางการเมืองของสังคมไทย ดังนั้น จึงหลีกเลี่ย งไมไดที่ง านชิ้นนี้จะใหน้ํา หนักของการศึกษาคนเสื้อ แดงมากกวา คนเสื้อเหลือง คณะวิจัยจึง ตระหนักดีวางานนี้ทําความเขาใจคนเสื้อเหลืองนอยกวากลุมเสื้อแดงในหลายแงมุม เนื่อ งจากเราเห็นวา ยัง ไมเคยมีงานศึกษาทางวิชาการเกี่ยวกับคนเสื้อแดงอยางจริงจังเลย อยางนอยก็เมื่อ เทีย บกับงานศึกษาเสื้อ เหลือ งที่ผา นมา โดยเฉพาะอยางยิ่งในระดับขอมูล เชิงประจักษของมวลชนคนเสื้อ แดง ทั้งคนที่เขารว ม กิจกรรมของขบวนการเสื้อแดงและผูที่ไมเคยเขารวมกิจกรรมแตก็เห็นดว ยกับขบวนการหรือแนวคิดหลักๆ ของกลุมเสื้อแดงมีเปนจํานวนมหาศาล กระนั้นก็ตามดวยขอจํากัดหลายประการ งานชิ้นนี้ไมอาจอางวาไดทํา ความเขาใจกลุมเสื้อแดงอยางครบถวน เนื่องจากเรายังไมไดศึกษาประเด็นดังตอไปนี้อยางถองแท 12 | รายงานการวิจัยโครงการ: ทบทวนภูมิทัศนการเมืองไทย
  • 17.  การจัดตั้ง-การจัดองคกรของขบวนการเสื้อแดง ทั้งในระดับชาติ เชน กลุม “แนวรวมประชาธิปไตย ตอ ตานเผด็จการแหงชาติ” (นปช.) หรือ กลุมยอ ยๆจํา นวนมากมายในระดับทอ งถิ่นทั่ว ประเทศ รวมทั้งการเชื่อมตอ-ประสานงานระหวางสองระดับนี้ และระหวางกลุมในแนวราบ และความสัมพันธ ระหวางแกนนําเสื้อแดงกลุมตางๆ กับนักการเมืองและนักกิจกรรมระดับตางที่สังกัดหรือเชื่อมโยงกับ พรรคเพื่อไทย  บทบาทของแกนนํา เสื้อ แดงทุกระดับและทุกระดับ ความเขมขนของความเปน แดงในการระดม ทรัพยากรเขาตอสูทางการเมือง ทั้งเรื่องกําลังคนและทรัพยากรอื่นๆ และที่สําคัญคือบทบาทในการ เปนผูสรางอุดมการณ-วาทกรรม “ความเปนเสื้อแดง” (framing-frame master) ในจังหวะเวลาตา งๆ เพื่อดึงดูดมวลชนใหเขารวมการตอสู  การศึกษาที่มุงทําความเขา ใจมวลชนเสื้อ แดง วารับหรือเชื่อมโยงประสบการณของตัวเองเขา กับ อุดมการณ-วาทกรรมที่ถูกสรางโดยแกนนําและสื่อเสื้อแดงตางๆ อยางไร  ความแตกตางหลายหลากของกลุมคนเสื้อแดงตางๆ ในเชิงคุณภาพ ทั้งดานแนวคิด-อุดมการณทาง การเมือง ยุทธศาสตรและยุทธวิธีในการเคลื่อนไหวตอสูทางการเมือง อยา งไรก็ต าม แมวา งานชิ้นนี้จะมีขอ จํากัดขา งตนจํา นวนมาก แตคณะวิจัยเห็นวา งานชิ้นนี้คงมี คุณคาในแงการวาดภาพ-สรางกรอบใหญใหแกผูที่จะทําการศึกษาเชิงลึกตอไปบาง ไมมากก็นอย กลุมตัวอยาง คณะวิจัยตระหนักในเรื่องขอ จํากัดเกี่ยวกับกลุมตัว อยา ง วาอาจมีผูตั้งคํา ถามวากลุม ตัวอยางใน การศึกษาไมครอบคลุมประชากรทุกกลุม จึงไดประยุกตใชเครื่อ งมือ ในการศึกษาหลายประเภท เชน การ สนทนากลุมเชิงลึก (focus group) การสัมภาษณปจเจกบุคคล (interview) ที่คิดวามีความสําคัญในประเด็น นั้นๆ หรือในชุมชน การสํารวจโดยใชแบบสอบถาม (questionnaire) ทั่วประเทศ นอกจากนี้ยังไดพยายาม ทําการศึกษาและพูดคุยกับผูคนทุกกลุม เพศ ระดับการศึกษาและอาชีพ ในทุกภูมิภาคของประเทศ ไมวา คน เหลานั้นจะคิดวาตนเปนคนเสื้อสีใด หรือไมมีสีก็ตาม กลาวโดยเฉพาะการวิจัยแบบสอบถาม แรกทีเดียวคณะวิจัยวางแผนที่จะทํา แบบสอบถามสุมเก็บ ตัวอยางทั่วทั้งประเทศ เพื่อความนาเชื่อถือของขอมูลและการวิเคราะห โดยไดรับการตอบรับจากหนวยงาน ดานสถิติที่สําคัญของประเทศ แตเนื่องจากบางประเด็นของการวิจัย โดยเฉพาะเรื่องทัศนะคติทางการเมือ ง กลายเปนประเด็นคําถามที่หนวยงานราชการเห็นวามีความออนไหวทางการเมือง จึงไมรับทําแบบสอบถาม ให ทายที่สุดคณะวิจัยจึงจําเปนตองเก็บตัวอยางในปริมาณที่นอยลงและไมครอบคลุมทั่วประเทศ ปญหานี้ แสดงใหเห็นถึงขอจํากัดของงานวิจัยที่ตองพึ่งหนวยงานของรัฐ และตอเนื่องไปถึงประเด็นเสรีภาพในการ แสดงความคิดเห็น (freedom of speech) อันเปนประเด็นที่จะกลาวถึงขางหนาตอไป 13 | รายงานการวิจัยโครงการ: ทบทวนภูมิทัศนการเมืองไทย
  • 18. ขอมูลเรื่องการซื้อเสียง แมวาคณะวิจัยจะคนพบวาเงินไมใชปจจัยชี้ขาดในการกําหนดผลรวมของการเลือกตั้ง หากมีเงื่อนไข อื่นอีกมากมายที่ทําใหการเลือกตั้ง โดยเฉพาะในระดับชาติ เปนเรื่องที่ซับซอนและมีพลวัตอยูเสมอ คณะวิจัย ตระหนักดีวาคําถาม "เงินและการซื้อเสียง" เปนประเด็นที่ออนไหวและมีแนวโนมที่ผูตอบคําถามจะไมต อบ ตามความเปนจริง อยางไรก็ตามคณะวิจัยไดพยายามตรวจสอบความถูกตองของขอ มูลชุดนี้ โดยใชการ พูดคุย สอบถามกับคนหลายกลุม ทั้งในชุมชนและนอกชุมชน และกับผูใหขอมูลบางคนทีมีความไวว างใจใน ่ คณะวิจัย จึงเชื่อวาขอมูลที่ปรากฏในการศึกษานี้ โดยเฉพาะในหัวขอเรื่อง “ความสัมพันธระหวางผูลงคะแนน กับผูสมัคร” มีความถูกตองและเชื่อถือได ประเด็นสถาบันกษัตริย การวิจัยครั้งนี้ดําเนินไปทามกลางความขัดแยงทางการเมืองที่ยังไมยุติ และยิ่งเมื่อประเด็นคําถาม หลักของการวิจัยคือการทําความเขา ใจความขัดแยงดังกลา ว เพื่อใหทันทวงทีกับสถานการณของความ ขัดแยง งานวิจัยนี้เองจึงเลี่ยงไมไดที่จะกลายเปนสวนหนึ่งของความขัดแยงไปดวย ประเด็นปญหาสํา คัญ ประการหนึ่งของความขัดแยงในปจจุบันเกี่ยวของกับบทบาททางการเมือ งและความคาดหวังที่ประชาชนมี ตอ สถาบันกษัต ริย ตลอดจนปญ หาของการที่ส ถาบันกษัต ริยถูกนํามาใชเปนเครื่องมือ ทางการเมือ ง ซึ่ง นับเปนการดึงเอาสถาบันนี้เขามาเปนคูขัดแยงทางการเมืองดวย อยา งไรก็ดี ประเด็นปญหานี้ไมส ามารถ ไดรับอภิปรายถึงไดอยา งตรงไปตรงมาแมในทางวิชาการ เนื่อ งจากประเทศไทยยังมีกฎหมายและแนว ทางการปฏิบัติต ามกฎหมายที่ลิ ดรอนสิท ธิเ สรีภ าพในการแสดงความคิ ด เห็นต อ ประเด็น เรื่อ งสถาบั น พระมหากษัตริย ที่สําคัญคือประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 หรือที่รูจักกันในนาม "กฎหมายหมิ่น" หรือ "ม.112” การกลาวถึงประเด็นนี้ ณ ที่นี้ไมใชเพื่อที่จะถกเถียงถึงปญหาของม.112 โดยตรง หากแตตอ งการ ชี้ใหเห็นวา ม.112 กลายเปนอุปสรรคสําคัญตอการศึกษาครั้งนี้ในหลายประการดวยกัน ที่สําคัญคือ ประการแรก ประชาชนผูตอบแบบสอบถามและผูแสดงความเห็นในการใหสัมภาษณ ไมกลาแสดง ความเห็นอยางตรงไปตรงมา โดยเฉพาะอยา งยิ่งกรณีแบบสอบถาม ซึ่งผูทําการสํา รวจเก็บขอมูลยอมไม สามารถสรา งความคุนเคยและความไวเ นื้อ เชื่อ ใจใหกับผูตอบแบบสอบถามได ประเด็นบางประเด็นที่ เกี่ยวของกับสถาบันฯ จึงไมแสดงผลออกมาอยางตรงไปตรงมา ประการตอมา ในการอภิปรายผลการศึกษา แมวาผูใหขอมูล เมื่อผานการเขารวมกิจกรรมวิจัยในเชิง คุณภาพมาอยางยาวนาน จนทําใหผูใหขอมูลหลายทานมีความคุนเคยกับคณะผูวิจัยเปนอยางดี จนพวกเขา กลาแสดงความคิดเห็นตอประเด็นปญหาสําคัญๆ ที่พวกเขารับรู หรือคิดเห็น แมวาผูวิจยจะไดขอมูลมาอยาง ั ดี และสามารถตรวจสอบได หรือขอมูลจํา นวนมากแสดงใหเห็นถึงทัศนคติ ความคิดเห็นที่ผูใหขอมูลมีตอ สถาบันฯ แตขอมูลเหลานั้นก็ไมสามารถถูกนําเสนออยางตรงไปตรงมาได เนื่องจากอาจมีผลถูกนําไปใชเปน เครื่องมือทางการเมือง หรือถูกนําไปใชกลั่นแกลงในภายหนาได แมวาเจตนาของผูใหขอมูลจะไมไดเปนไป 14 | รายงานการวิจัยโครงการ: ทบทวนภูมิทัศนการเมืองไทย
  • 19. เพื่อการหมิ่นประมาท ดูหมิ่น หรืออาฆาตมาดรา ยพระมหากษัตริย พระราชินี หรือองครัชทายาทก็ตาม ปญหานี้จึงเปนอุปสรรคสําคัญที่ทําใหการศึกษาทางวิชาการในครั้งนี้ไมอาจตอบโจทยสําคัญของความขัดแยง ในสังคมไทยปจจุบนไดอยางตรงไปตรงมา ั 2. ปริทัศนวรรณกรรม คณะผูวิจัยไดสํารวจวรรณกรรมใน 2 ดานดวยกัน คือดานการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ และดา น การเปลี่ ย นแปลงทางการเมื อ ง ข อ เสนอสํ า คัญ คื อ คณะผู วิ จั ย เห็ น ว า ขอ เสนอใหญ ๆ เกี่ย วกั บ การ เปลี่ยนแปลงของสังคมไทยในระยะ 20 ปที่ผา นมาไมสามารถใชทําความเขาใจปรากฏการณความขัดแยง ทางการเมืองในปจจุบันไดอีกตอไป อยางไรก็ดี คณะผูวิจัยพบรองรอยของความเปลี่ยนแปลงที่แสดงตัว อยู ในงานวิจัยใหมๆ ในระยะ 10 กวาปที่ผานมาก หากแตยังไมมีใครนําเสนอภาพรวมของการเปลี่ยนแปลงของ สังคมไทยดังที่คณะผูวิจัยไดเสนอมากอน 2.1 การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ ประกอบไปดว ยการเปลี่ย นแปลงในภาคเกษตรกรรม และการเปลี่ย นแปลงนอกภาค เกษตรกรรม 1) การเปลี่ยนแปลงในภาคเกษตรกรรม จากการทบทวนวรรณกรรม เราเชื่อวาการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมในรอบ 20 ป ที่ผา นมา โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง การเปลี่ ย นแปลงในภาคชนบทนั้ นทํ า ให วิ ถีชี วิ ต ของประชากร เปลี่ยนแปลงไปมาก การผลิตแบบครอบครัว ชาวนาขนาดเล็กมิไดเปนวิถีชีวิตหลักของชนบทอีก ตอไป ตรงกันขาม มีขอมูลชี้วาภาคการเกษตรไดเปลี่ยนแปลงไปมาก โดยเฉพาะอยางยิ่ง การแตก ตัวจากการเกษตรแบบดั้งเดิมเปนการเกษตรเชิงพาณิชย การเกษตรเชิงพาณิชยมีหลายรูปแบบทั้ง แบบที่ยังเปนผูผลิตอิสระและแบบเกษตรพันธะสัญญา แตทั้งสองแบบก็มีแนวโนนใชทุนและเทคนิค การเกษตรสมัยใหมเขมขนขึ้น รวมทั้งขนาดของไรนาก็มีแนวโนมใหญขึ้นดวย ประกอบกับการที่ แรงงานรุนใหมในชนบทจํา นวนมากอพยพเขาหาแหลงงานในภาคการผลิตอื่นๆ และเขา สูระบบ การศึกษาจํานวนมากขึ้นและนานขึ้น จึงทําใหภาคเกษตรขาดแคลนแรงงาน สิ่งเหลา นี้ทําใหระดับ การใชเครื่องจักรทดแทนแรงงานเพิ่มขึ้นอยางมาก กลาวโดยรวมแลว เราเชื่อวาการผลิต ในภาค การเกษตรในปจ จุบันมีลักษณะหลักเปนการผลิต เชิงพาณิชย กลา วอีกแบบหนึ่งไดวา รูปแบบ ความสัมพันธทางการผลิตเพื่อการตลาดไดกลายเปนแบบแผนหลักในการผลิตของภาคเกษตรกรรม ในแงนี้ ผูผลิตเชิงพาณิชยในภาคเกษตรจึงมีวิถีชีวิตและความสัมพันธทางเศรษฐกิจในการประกอบ กิจการไมแตกตางไปจากผูประกอบการทางธุรกิจในภาคการผลิตสินคาอุตสาหกรรม หรือธุรกิจการ บริการอื่นๆ 15 | รายงานการวิจัยโครงการ: ทบทวนภูมิทัศนการเมืองไทย
  • 20. ในอีกดานหนึ่ง ผูผลิตสินคาเกษตรแบบดังเดิมทั้งในความหมายเชิงเทคนิคการผลิตและ เปาหมายการผลิตที่อาจจะเนนการบริโภคของตนเองเปนหลัก นอกจากจะมีความสํา คัญตอภาค เกษตรนอยลงแลวผูผลิตประเภทนี้ก็มีความสัมพันธทางเศรษฐกิจเชิงพาณิชยสูงขึ้น ดว ยสังเกตได จากสัดสวนของรายไดนอกภาคการเกษตร (non-farm income) ตอรายไดทั้งหมดของครอบครัว ชนบทมีคาสูงกวารายไดจากภาคการเกษตร การที่สัดสวนรายไดนอกภาคเกษตรกรรมมีคาสูงยอม มีนัย ยะวา หนึ่ง แรงงานในชนบทหันไปประกอบอาชีพอื่ นๆ เชน หัต ถกรรม รับจางทั่วไป ผลิต อาหารปรุงสําเร็จเรขาย ฯลฯ ซึ่งอาจจะเปนอาชีพหลักหรืออาชีพเสริมก็ได สอง สมาชิกในครอบครัว บางสว นอพยพออกจากงานในภาคเกษตรสูภ าคการผลิต อื่น ๆ แลว สง รายได กลับมาอุด หนุ น ครอบครัวดั้งเดิมของตน แตไมวาจะเปนลักษณะใดก็อาจสรุปไดวาความสัมพันธทางเศรษฐกิจใน เชิงพาณิชยไดกลายเปนรูปแบบความสัมพันธหลักของครอบครัวผูผลิตสินคาการเกษตรแบบดั้งเดิม เชนกัน ยิ่งไปกวานั้น หากเราพิจารณาเปรียบเทียบแบบแผนการบริโภคสินคา คงทนระหวางคน เมืองและชนบทก็พบวามีความแตกตางนอยมาก กลาวในแงนี้แลวจึงอาจสรุปไดวา ชุมชนสวนใหญ ในชนบทมิไดมีวิถีชีวิตทางเศรษฐกิจและการบริโภคแบบสังคมชาวนาอิสระรายยอ ย (no longer a peasant society) อีกตอไป อยางไรก็ดี แมวาภาคเกษตรกรรมโดยรวมไดเปลี่ยนโฉมหนาเปนภาคเกษตรเชิงพาณิชย สมัยแลว แตสิ่งนี้มิไดมีนัยยะวา ภาคเกษตรจะมีความสําคัญมากขึ้น ตรงกันขาม อัตราสวนของภาค เกษตรตอ GDP ลดลงโดยตลอดจนกระทั่งต่ํากวา 10% ในปจจุบัน ในขณะเดีย วกัน แมวาขนาด ของกําลังแรงงานในภาคนี้จะลดลงดวย แตก็ลดชากวาอัตราสว นขางตนมาก ปจจุบัน ภาคเกษตร ยังคงโอบอุมรองรับแรงงานไวมากถึง 38% ของกําลังแรงงานทั้งหมด ในแงนี้แลว การถายโอน กํา ลังแรงงานออกจากภาคเกษตรสูภาคเศรษฐกิจอื่นๆ เปนไปอยา งเชื่อ งชา มาก เมื่อ เทียบกับ ประเทศที่มีรายไดระดับเดียวกัน จึงไมแปลกเลยที่ความเปนอยูของเกษตรกรโดยเฉลี่ยจะต่ํากวา ภาคอื่นๆ แตนี้ก็มิไดหมายความวา สวนใหญของเกษตรกร-คนชนบทเปนคนยากคนจน เนื่อ งจาก อัต ราสว นของคนจนในชนบท (และระดับประเทศดว ย—poverty incidence) ลดต่ํา ลงตลอด จนกระทั่งปจจุบันมีเพียงหนึ่งในสิบของครอบครัวชนบทเทานั้นที่เปนคนจน (UNDP, 2010) สรุปแลว เราเชื่อวา สวนใหญของเกษตรกร-คนชนบทมิใชคนยากจน-ขนแคน เชนภาพใน อดีต เขามีวิถีชีวิตทางเศรษฐกิจแบบสมัยใหม เปนผูประกอบการรายยอ ยเฉกเชนเดีย วกับภาค เศรษฐกิจอื่น แนนอนวา คนเหลานี้มีฐานะความเปนอยูโดยเปรีย บเทียบต่ํา กวาภาคอื่น สะทอนได จากตัวเลขความเหลื่อมล้ําของการกระจายรายได-ทรัพยสินระหวางเมืองและชนบท 16 | รายงานการวิจัยโครงการ: ทบทวนภูมิทัศนการเมืองไทย
  • 21. 2) เศรษฐกิจนอกภาคเกษตรกรรม ในชวงเวลาเดียวกัน การเปลี่ยนผานของโครงสรางทางเศรษฐกิจ (structural change) จาก สังคมเกษตรกรรมเปนสังคมอุตสาหกรรมไดเพิ่มขึ้นในอัตราเรง การเติบโตของภาคอุตสาหกรรมที่ เนนตลาดสงออกกลายเปนหัว รถจักรของเศรษฐกิจไทย ในทา มกลางกระบวนการเปลี่ยนผา นที่ โครงสรางการผลิตของไทยมีความหลากหลายเพิ่มขึ้นสูงมาก อุตสาหกรรมการผลิตเนนการสงออก ของไทยมิไดกระจุกตัว อยูเพียงสินคาไมกี่ชนิดเทา นั้น แตกระจายตัว ไปทั้งในอุตสาหกรรมที่ใช เทคโนโลยีต่ําใชแรงงานเขมขนเชน อุตสาหกรรมสิ่งทอ เครื่องประดับ และอุตสาหกรรมไฮเทคใชทุน เขมขน เชนอุต สาหกรรม hard disk drives ซึ่ งไทยเปนผูสง ออกรายใหญที่สุดในโลก หรื อ อุ ต สาหกรรมรถยนต ที่ เ ป น ผู ส ง ออกรายใหญ สุ ด ของเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต เปน ต น ส ว น อุต สาหกรรมการทองเที่ยวก็เปนที่ทราบกันดีวาเปนภาคบริการที่นําเงินตราเขาประเทศสูงสุดใน ปจ จุ บั น รายได จ ากการเติ บ โตของภาคส ง ออกข า งต น ขั บ เคลื่ อ นให ต ลาดสิ น ค า และบริ ก าร ภายในประเทศเติ บ โตตามอี ก ระลอกหนึ่ ง (secondary boom) เชน การเติบ โตของธุ ร กิ จ อสังหาริมทรัพย อุตสาหกรรมสื่อสารและความบันเทิง ฯลฯ แมวาวิกฤตเศรษฐกิจป 2540 จะทําให แนวโนมทั้งหมดขางตนสะดุดหยุดลงบางก็ตาม แตแนวโนมนี้ก็เปนไปอยางตอเนื่องในปจจุบัน เปน ที่แนนอนวาการเติบโตและความหลากหลายของภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการนี้ ยอมเรียกรอ ง ตองการแรงงานที่มีความหลากหลายสูงตามมาดวย ตั้งแตนักวิชาชีพ (professional) ในสาขาตา งๆ แรงงานมีฝมือมีทักษะสูง ตลอดจนแรงงานกึ่งฝมือ และแรงงานทักษะต่ํา แตในอีก ดา นหนึ่ง กํา ลังแรงงานที่ถูกปลดปลอ ยจากภาคการเกษตรก็ไ มสามารถเขา สู ตํา แหนงงานในภาคทางการ (formal sector) ที่มีส ภาพการจา งงานมั่นคงได แตกลับกลายเปน แรงงานนอกระบบ (informal sector) สาเหตุที่ภาคแรงงานนอกระบบมีขนาดใหญสืบเนื่อ งจาก ลักษณะการเติบโตของภาคอุตสาหกรรมไทยในรอบสิบกวาปที่ผานมาภาคอุตสาหกรรมเนนการ สง ออกของไทยเติบโตอยา งรวดเร็ว ตั้งแตประมาณป 2530 เนื่ อ งจากมีความไดเปรีย บดา น ทรัพยากรธรรมชาติและแรงงานราคาถูกในสายตาของบริษัทขามชาติที่ตอ งการใชไทยเปนฐานใน การผลิตเพื่อตลาดโลก อยางไรก็ตาม นับแตปลายทศวรรษ 2533 เปนตนมาความไดเปรียบนี้ก็เริ่ม ลดลงจากการแขงขันของประเทศรอบขา ง เชน จีน ในขณะที่บริษัทภายในประเทศที่เปนหวงโซ อุปทานของบริษัทสงออกขามชาติกลับมิไดมีการลงทุนเพื่อยกระดับผลิตภาพการผลิต (productivity) อยางเพียงพอในชวงที่มีอัตราการเติบโตสูง และเมื่อถูกซ้ําเติมดวยวิกฤตเศรษฐกิจในป 2540 ทําให บริษัทในประเทศเหลานี้ออนแอลงมาก ผลของเสนทางการเติบโตทางอุตสาหกรรมเชนนี้จึงทําให ภาคการผลิตสมัยใหมไมสามารถสรางตําแหนงงานในระบบจํานวนมากพอเพื่อรองรับแรงงานที่หลุด ออกจากภาคเกษตรกรรม แรงงานเหลานี้จึงกลายเปนแรงงานนอกระบบที่มีขนาดใหญ เมื่อรวมกับ แรงงานนอกระบบในภาคเกษตรแลวจึงสูงถึง 73 % ของกําลังแรงงานทั้งหมดในป 2550 ซึ่งมีรายได 17 | รายงานการวิจัยโครงการ: ทบทวนภูมิทัศนการเมืองไทย
  • 22. ต่ํากวาแรงงานในภาคทางการคอนขางมาก อันเปนสาเหตุหนึ่งของความเหลื่อมล้ําสูงทางเศรษฐกิจ ในปจจุบัน ดังตัวเลขจากตารางที่ 1 ขางลางนี้ ตารางที่ 1สัดสวนแรงงานนอกระบบและในระบบของประเทศไทย ป 2550 กําลังแรงงาน (%) ภาคเกษตรกรรม (Agriculture) นอกภาคเกษตรกรรม (Non-agriculture) ภาคทางการ (Formal) 3 24 ภาคนอกระบบ (Non-formal) 34.3 38.7 ที่มา: UNDP (2010: 11) กลาวโดยสรุปแลว เราคาดวาการเปลี่ยนแปลงโครงสรางทางเศรษฐกิจในรอบยี่สิบปที่ผา น มานั้น ทําใหการกอตัวและการแตกตัวเปนชนชั้นหรือกลุมชนที่มีบุคลิกลักษณะใหมๆ เปนไปอยา ง กวางขวางและหลากหลายมากกวาในอดีตอยางมีนัยยะสําคัญ แตลักษณะรวมของทุกกลุมชนก็คือ การมีวิถีชีวิตที่สัมพันธเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจการตลาดอยา งแนบแนน ประกอบกับการที่เศรษฐกิจ ไทยเปนเศรษฐกิจขนาดเล็กแบบเปดที่เชื่อมโยงกับตลาดโลกอยางใกลชิด ดังนั้น ความผันผวนของ ภาวะเศรษฐกิจมหภาคทั้งในระดับ โลกและประเทศจึง สงผลโดยตรงตอ แรงงานนอกระบบ ซึ่ง มี จํานวนกวาสองในสามของประชากรไทย เนื่องจากไมมีระบบประกันสังคมใดๆ รองรับคนกลุมนี้ 2.2 การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ในการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ย วขอ งกับการวิจัย ครั้ง นี้ ผูวิจัย เนนสํา รวจงานวิจัย ดา น วัฒนธรรมการเมืองในชวงทศวรรษ 1990 - 2000 (ประมาณ พ.ศ. 2535 - 2553) เนื่องจากเปนชว ง ระยะเวลาที่สําคัญตอการศึกษาเก็บขอมูลของผูวิจัย สําหรับประเด็นศึกษา ผูวิจัยเนนทบทวนงาน วิชาการที่ศึกษาการเมืองของการเลือกตั้งทอ งถิ่นและการเมืองในระบบรัฐสภา เพราะเชื่อวาสอง ทศวรรษที่ผานมาแสดงใหเห็นอยางชัดเจนวาการเมืองแบบทางการผานการเลือกตั้งกอใหเกิดความ ตื่น ตัว ทางการเมือ งอยา งยิ่ง ผูตื่นตัว ทางการเมือ งลวนแลวแตมีป ฏิกิริย าตอ การเมือ งแบบเปน ทางการไมวาจะเปนการสนับสนุน (ที่สําคัญคือ กลุม นปช.) หรือตอตานการเมืองทางการก็ตาม (ที่ สําคัญคือ กลุมพันธมิตรฯ) อันที่จริงหลังการเติบโตของการเมืองนอกระบบราชการ (extra-bureaucratic polity) ที่ แสดงออกใหเห็นไดชัดจากการทาทายอํานาจรัฐราชการในทศวรรษ 2510 และความเปลี่ย นแปลง ทางการเมืองป 2535 แลว (Anek 1993) การเมืองไทยตั้งแตทศวรรษ 2530 เปนตนมาชี้ใหเห็นถึง เกิดการเติบโตของอํานาจนอกระบบราชการ ที่นํา มาซึ่ง ความเคลื่อ นไหวใหมๆ ที่สํา คัญหลาย ประการ ประการแรก เห็นไดชัดวา ชนชั้นกลางที่มีอํา นาจตอ รองในปริมณฑลสาธารณะ (public sphere) มากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะอยา งยิ่ง สื่อ สารมวลชน นัก วิชาการ นักพัฒนาเอกชน และนัก 18 | รายงานการวิจัยโครงการ: ทบทวนภูมิทัศนการเมืองไทย