SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 2
Baixar para ler offline
คู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง
นางสาวปารวี พิสิฐเสนากุล พนักงานคดีปกครองชานาญการ
กลุ่มเผยแพร่ข้อมูลทางวิชาการและวารสาร สานักวิจยและวิชาการ
ั
สานักงานศาลปกครอง

“สั ญ ญาทางปกครอง” แม้ จ ะเกิ ด ขึ้ น จากการแสดงเจตนาเสนอสนองที่ ต้ องตรงกั น
ของคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายเช่นเดียวกับในสัญญาทางแพ่ง แต่สัญญาทางปกครองเป็นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์หลัก
เกี่ยวกับการบริการสาธารณะ หลักกฎหมายที่จ ะนามาใช้บังคับกับสัญญาทางปกครองจึงมีความแตกต่าง
กับหลักกฎหมายที่ใช้บังคับกับสัญญาทางแพ่งในบางประการ โดยหลักกฎหมายเกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง
ที่สาคัญคือ คู่สัญญาฝ่ายปกครองมีเอกสิทธิ์เหนือคู่สัญญาฝ่ายเอกชนหลายประการ เช่น การบอกเลิก
สัญญาซึ่งฝ่ายปกครองมีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้ฝ่ายเดียว ส่วนคู่สัญญาฝ่ายเอกชนจะถือสิทธิตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์เพื่อบอกเลิกสัญญาทางปกครองได้หรือไม่ ? เพียงใด ? คาพิพากษาศาลปกครอง
สูงสุดที่ อ. ๓๑๔/๒๕๕๔ วินิจฉัย ดังนี้
คดีนี้ ผู้ฟ้องคดีฟ้องว่า ผู้ถูกฟ้องคดี (องค์การบริหารส่วนตาบล) ได้ทาสัญญาจ้างผู้ฟ้องคดี
ขุดเจาะบ่อน้าบาดาลและติดตั้งเครื่องสูบน้าซัมเมอร์ซิเบิ้ล ต่อมา ได้รับแจ้งจากทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้ อมจังหวัดให้ทาการย้ายเครื่องขุดเจาะบ่อน้าบาดาลออกจากพื้นที่เนื่องจากไม่ได้ยื่นขออนุญาต
ขุดเจาะจากกรมทรัพยากรน้าบาดาล ผู้ฟ้องคดีจึงมีหนังสือแจ้ง ให้ผู้ถูกฟ้องคดีดาเนินการขอใบอนุญาต
ให้ถูกต้อง แต่ ผู้ถูกฟ้องคดีไม่สามารถแสดงใบอนุญาตให้ ขุดเจาะน้าบาดาลได้ ผู้ฟ้องคดี จึงได้มีห นังสื อ
บอกเลิกสัญญา และเมื่อครบกาหนดระยะเวลาตามสัญญาจ้างแล้ว ผู้ถูกฟ้องคดีได้มีหนังสือแจ้งให้ผู้ฟ้องคดี
เสียค่าปรับ แต่ผู้ฟ้องคดีได้นาคดีมาฟ้องขอให้ผู้ถูกฟ้องคดีชาระเงินค่าใช้จ่ายต่างๆ ในการดาเนินการขุดเจาะ
บ่อน้าบาดาล และคืนหนังสือค้าประกัน
ศาลปกครองสูงสุดได้วินิจฉัยว่า สัญญาจ้างขุดเจาะบ่อน้าบาดาลและติดตั้งเครื่องสูบน้า
ซัมเมอร์ซิเบิ้ลเป็นสัญญาที่มีคู่สัญญาฝ่ายหนึ่ง เป็นหน่วยงานทางปกครองโดยมีวัตถุประสงค์ให้ผู้ฟ้องคดี
ทาการขุดเจาะบ่อน้าบาดาลและติดตั้งเครื่องสูบ น้าซัมเมอร์ซิเบิ้ล อันเป็นทรัพย์สินที่ผู้ถูก ฟ้องคดีในฐานะ
หน่วยงานทางปกครองใช้เป็นเครื่องมือโดยตรงในการจัดทาบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์แก่ประชาชน
ได้ใช้ในสิ่งอุ ปโภคที่จาเป็ นต่อการดาเนินชีวิต จึงเป็นสัญญาจัดให้มีสิ่งสาธารณูปโภค อันมีลักษณะเป็น
สัญญาทางปกครองตามมาตรา ๓ แห่งพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดี ปกครอง
พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่ ง การปฏิ บั ติ ต ามสั ญ ญาทางปกครองเพื่ อ ให้ ก ารบริ ก ารสาธารณะบรรลุ ผ ล คู่ สั ญ ญา
ฝ่ายปกครองจะมีอานาจพิเศษหรือเอกสิทธิ์เหนือคู่สัญญาฝ่ายเอกชนหลายประการ โดยเอกชนคู่สัญญา
ต้องยอมรั บ อ านาจพิ เศษหรื อเอกสิ ท ธิ์ ข องฝ่ ายปกครอง ส าหรั บการบอกเลิ กสั ญญาทางปกครองนั้ น
แม้ คู่ สั ญ ญาฝ่ า ยปกครองจะมี เ อกสิ ท ธิ์ เ หนื อ คู่ สั ญ ญาอี ก ฝ่ า ยหนึ่ ง ที่ จ ะบอกเลิ ก สั ญ ญาได้ ฝ่ า ยเดี ย ว
ก็เนื่องมาจากฝ่ายปกครองมีภาระหน้าที่ในการจัดทาบริการสาธารณะเพื่อตอบสนองต่อความต้องการ
ของประชาชนเป็น หลั ก และการคุ้มครองประโยชน์ของมหาชนหรือประโยชน์ส่ ว นรวมในการปฏิบัติ
ตามสัญญาทางปกครองจะอยู่เหนือประโยชน์ของปัจเจกบุคคลเสมอ แต่หากการบอกเลิกสัญญาก่อให้เกิด
ความเสียหายแก่คู่สัญญาฝ่ายเอกชน คู่สัญญาฝ่ายเอกชนก็มีสิทธิเรียกร้องให้ฝ่ายปกครองชดใช้เยียวยา
ความเสียหายที่เกิดขึ้นได้ เพราะฉะนั้น การบอกเลิกสัญญาทางปกครองของคู่สัญญาฝ่ายเอกชนซึ่งจะทาให้
การบริการสาธารณะต้องหยุดชะงักไม่บรรลุวัตถุประสงค์จึงไม่อาจกระทาได้ และตามหลักกฎหมายทั่วไป
เกี่ยวกับการสิ้นสุดของสัญญาทางปกครอง สัญญาทางปกครองอาจสิ้นสุดลงได้ด้วยเงื่ อนไขอย่างใด
๒
อย่างหนึ่งใน ๒ ประการ ประการแรก สิ้นสุด ลงตามปกติเมื่อคู่สัญญาบรรลุวัตถุประสงค์ของสัญญา
และประการที่สอง สิ้นสุดลงด้วยการเลิกสัญญา ซึ่งเกิดขึ้นได้ใน ๔ กรณี คือ (๑) โดยความยินยอมของ
คู่สัญญาทั้งสองฝ่า ย (๒) เมื่อสัญญาเลิกกัน โดยปริ ยาย เช่น มีเ หตุสุดวิ สัยทาให้วัตถุประสงค์ของ
สัญญาหมดไป (๓) เมื่อศาลมีคาพิพากษาหรือคาสั่งให้เลิกสัญญา และ (๔) โดยคู่สัญญาฝ่ายปกครอง
เลิ ก สั ญ ญาฝ่ า ยเดี ย ว ดั ง นั้ น การเลิ ก สั ญ ญาทางปกครองจึ ง ไม่ ต กอยู่ ภ ายใต้ บั ง คั บ มาตรา ๓๘๙
แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
เมื่อสัญญาจ้างขุดเจาะบ่อน้าบาดาลมิได้มีข้อกาหนดให้ผู้ฟ้องคดีมีสิทธิบอกเลิกสัญญา
และผู้ฟ้องคดีไม่อาจอ้างบทบัญญัติมาตรา ๓๘๙ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ได้ เนื่องจาก
หลักกฎหมายทั่วไปเกี่ยวกับสัญญาทางปกครองกาหนดให้ฝ่ายปกครองมีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้ฝ่ายเดียว
ดังนั้น การกล่าวอ้างเหตุที่จะไม่ดาเนินการขุดเจาะบ่อบาดาลต่อไปเนื่องจากผู้ถูกฟ้องคดีไม่สามารถแสดง
ใบอนุญาตให้ ขุดเจาะบ่ อน้ าบาดาลโดยถือสิทธิตามบทบัญญัติ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิช ย์
จึงไม่ชอบด้วยข้อกาหนดในสั ญญาและหลักกฎหมายทั่วไปเกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง และผู้ฟ้องคดี
ประกอบกิจการเกี่ยวกับการขุดเจาะบ่อน้าบาดาลมานานย่อมมีความเข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์ในการขุดเจาะ
บ่อน้าบาดาลตามพระราชบัญญัติน้าบาดาล พ.ศ. ๒๕๒๐ เป็นอย่างดี หากจะกล่าวอ้างเหตุดังกล่าวเพื่อไม่ต้อง
ปฏิบัติตามสัญญา ย่อมที่จะต้องกล่าวอ้างเสียตั้งแต่ก่อนเข้าทาสัญญาหรือปฏิเสธที่จะเข้าทาสัญญาเสีย
ตั้งแต่ต้น และกรณีดังกล่าวเป็นกรณีที่สามารถแก้ไขให้ถูกต้องโดยการยื่นขอรับใบอนุญาตจากผู้มีอานาจได้
ผู้ฟ้องคดีจึงไม่อาจถือเป็นเหตุที่จะไม่ปฏิบัติตามสัญญาและบอกเลิกสัญญาได้ พิพากษายกฟ้อง
กล่ าวโดยสรุ ป คดีนี้ ศาลปกครองสู งสดได้ ว างหลั กกฎหมายทั่วไปเกี่ยวกับการสิ้ นสุ ด
ของสั ญ ญาทางปกครองไว้ อ ย่ า งชั ด เจนว่ า สั ญ ญาทางปกครองสิ้ น สุ ด ลงด้ ว ยเหตุ ๒ ประการ คื อ
เมื่อคู่สัญญาบรรลุวัตถุประสงค์และโดยการบอกเลิกสัญญา และการเลิกสัญญาทางปกครองก็ไม่อยู่ภายใต้
มาตรา ๓๘๙ แห่ งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิช ย์ ดังนั้น หากข้อสั ญญาไม่ได้กาหนดให้ คู่สั ญญา
ฝ่ายเอกชนมีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้ ในกรณีใด คู่สัญญาฝ่ายเอกชนก็ไม่มีสิทธิบอกเลิกสัญญาทางปกครอง
โดยอ้างสิทธิตามกฎหมายดังกล่าวได้ และถึงแม้ฝ่ายปกครองจะมีเอกสิทธิ์ เหนือกว่าที่จะบอกเลิกสัญญาได้
เนื่ อ งจากฝ่ า ยปกครองมี ภ าระหน้ า ที่ ใ นการจั ด ท าบริ ก ารสาธารณะเพื่ อ ตอบสนองต่ อ ความต้ อ งการ
ของประชาชนเป็ น หลั กและคุ้มครองประโยชน์ของมหาชนหรือประโยชน์ส่ ว นรวมก็ตาม แต่หากการ
บอกเลิ กสั ญญาของฝ่ ายปกครองก่ อให้ เ กิดความเสี ย หายแก่ ฝ่ า ยเอกชน คู่สั ญญาฝ่ ายเอกชนก็มี สิ ท ธิ
เรียกค่าเสียหายได้

(บทความ) คู่สญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง /D:นันทรัตน์_ปารวี_บทความ
ั

Mais conteúdo relacionado

Mais de Nanthapong Sornkaew

วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน 2557 1
วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน  2557 1 วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน  2557 1
วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน 2557 1 Nanthapong Sornkaew
 
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...Nanthapong Sornkaew
 
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญNanthapong Sornkaew
 
ประกาศ คณะราษฎร 1
ประกาศ คณะราษฎร 1ประกาศ คณะราษฎร 1
ประกาศ คณะราษฎร 1Nanthapong Sornkaew
 
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545Nanthapong Sornkaew
 
ดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯ
ดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯ
ดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯNanthapong Sornkaew
 
อากงปลงไม่ตก
อากงปลงไม่ตกอากงปลงไม่ตก
อากงปลงไม่ตกNanthapong Sornkaew
 
คำพิพากษาคดีอากง
คำพิพากษาคดีอากงคำพิพากษาคดีอากง
คำพิพากษาคดีอากงNanthapong Sornkaew
 
ประเทศไทยมีกี่ศาล
ประเทศไทยมีกี่ศาลประเทศไทยมีกี่ศาล
ประเทศไทยมีกี่ศาลNanthapong Sornkaew
 
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรมkจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรมNanthapong Sornkaew
 
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่Nanthapong Sornkaew
 

Mais de Nanthapong Sornkaew (20)

วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน 2557 1
วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน  2557 1 วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน  2557 1
วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน 2557 1
 
Pantipontour
PantipontourPantipontour
Pantipontour
 
Bo tmuseum
Bo tmuseumBo tmuseum
Bo tmuseum
 
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
 
Politics1
Politics1Politics1
Politics1
 
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
 
10 12-2475
10 12-247510 12-2475
10 12-2475
 
ประกาศ คณะราษฎร 1
ประกาศ คณะราษฎร 1ประกาศ คณะราษฎร 1
ประกาศ คณะราษฎร 1
 
Book inter germany
Book inter germanyBook inter germany
Book inter germany
 
บทความ+ศา..
บทความ+ศา..บทความ+ศา..
บทความ+ศา..
 
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
 
Article t2
Article t2Article t2
Article t2
 
ดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯ
ดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯ
ดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯ
 
อากงปลงไม่ตก
อากงปลงไม่ตกอากงปลงไม่ตก
อากงปลงไม่ตก
 
คำพิพากษาคดีอากง
คำพิพากษาคดีอากงคำพิพากษาคดีอากง
คำพิพากษาคดีอากง
 
ประเทศไทยมีกี่ศาล
ประเทศไทยมีกี่ศาลประเทศไทยมีกี่ศาล
ประเทศไทยมีกี่ศาล
 
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรมkจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
 
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
 
V2011 4
V2011 4V2011 4
V2011 4
 
V2011 3
V2011 3V2011 3
V2011 3
 

kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง

  • 1. คู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง นางสาวปารวี พิสิฐเสนากุล พนักงานคดีปกครองชานาญการ กลุ่มเผยแพร่ข้อมูลทางวิชาการและวารสาร สานักวิจยและวิชาการ ั สานักงานศาลปกครอง “สั ญ ญาทางปกครอง” แม้ จ ะเกิ ด ขึ้ น จากการแสดงเจตนาเสนอสนองที่ ต้ องตรงกั น ของคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายเช่นเดียวกับในสัญญาทางแพ่ง แต่สัญญาทางปกครองเป็นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์หลัก เกี่ยวกับการบริการสาธารณะ หลักกฎหมายที่จ ะนามาใช้บังคับกับสัญญาทางปกครองจึงมีความแตกต่าง กับหลักกฎหมายที่ใช้บังคับกับสัญญาทางแพ่งในบางประการ โดยหลักกฎหมายเกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง ที่สาคัญคือ คู่สัญญาฝ่ายปกครองมีเอกสิทธิ์เหนือคู่สัญญาฝ่ายเอกชนหลายประการ เช่น การบอกเลิก สัญญาซึ่งฝ่ายปกครองมีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้ฝ่ายเดียว ส่วนคู่สัญญาฝ่ายเอกชนจะถือสิทธิตามประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์เพื่อบอกเลิกสัญญาทางปกครองได้หรือไม่ ? เพียงใด ? คาพิพากษาศาลปกครอง สูงสุดที่ อ. ๓๑๔/๒๕๕๔ วินิจฉัย ดังนี้ คดีนี้ ผู้ฟ้องคดีฟ้องว่า ผู้ถูกฟ้องคดี (องค์การบริหารส่วนตาบล) ได้ทาสัญญาจ้างผู้ฟ้องคดี ขุดเจาะบ่อน้าบาดาลและติดตั้งเครื่องสูบน้าซัมเมอร์ซิเบิ้ล ต่อมา ได้รับแจ้งจากทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้ อมจังหวัดให้ทาการย้ายเครื่องขุดเจาะบ่อน้าบาดาลออกจากพื้นที่เนื่องจากไม่ได้ยื่นขออนุญาต ขุดเจาะจากกรมทรัพยากรน้าบาดาล ผู้ฟ้องคดีจึงมีหนังสือแจ้ง ให้ผู้ถูกฟ้องคดีดาเนินการขอใบอนุญาต ให้ถูกต้อง แต่ ผู้ถูกฟ้องคดีไม่สามารถแสดงใบอนุญาตให้ ขุดเจาะน้าบาดาลได้ ผู้ฟ้องคดี จึงได้มีห นังสื อ บอกเลิกสัญญา และเมื่อครบกาหนดระยะเวลาตามสัญญาจ้างแล้ว ผู้ถูกฟ้องคดีได้มีหนังสือแจ้งให้ผู้ฟ้องคดี เสียค่าปรับ แต่ผู้ฟ้องคดีได้นาคดีมาฟ้องขอให้ผู้ถูกฟ้องคดีชาระเงินค่าใช้จ่ายต่างๆ ในการดาเนินการขุดเจาะ บ่อน้าบาดาล และคืนหนังสือค้าประกัน ศาลปกครองสูงสุดได้วินิจฉัยว่า สัญญาจ้างขุดเจาะบ่อน้าบาดาลและติดตั้งเครื่องสูบน้า ซัมเมอร์ซิเบิ้ลเป็นสัญญาที่มีคู่สัญญาฝ่ายหนึ่ง เป็นหน่วยงานทางปกครองโดยมีวัตถุประสงค์ให้ผู้ฟ้องคดี ทาการขุดเจาะบ่อน้าบาดาลและติดตั้งเครื่องสูบ น้าซัมเมอร์ซิเบิ้ล อันเป็นทรัพย์สินที่ผู้ถูก ฟ้องคดีในฐานะ หน่วยงานทางปกครองใช้เป็นเครื่องมือโดยตรงในการจัดทาบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์แก่ประชาชน ได้ใช้ในสิ่งอุ ปโภคที่จาเป็ นต่อการดาเนินชีวิต จึงเป็นสัญญาจัดให้มีสิ่งสาธารณูปโภค อันมีลักษณะเป็น สัญญาทางปกครองตามมาตรา ๓ แห่งพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดี ปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่ ง การปฏิ บั ติ ต ามสั ญ ญาทางปกครองเพื่ อ ให้ ก ารบริ ก ารสาธารณะบรรลุ ผ ล คู่ สั ญ ญา ฝ่ายปกครองจะมีอานาจพิเศษหรือเอกสิทธิ์เหนือคู่สัญญาฝ่ายเอกชนหลายประการ โดยเอกชนคู่สัญญา ต้องยอมรั บ อ านาจพิ เศษหรื อเอกสิ ท ธิ์ ข องฝ่ ายปกครอง ส าหรั บการบอกเลิ กสั ญญาทางปกครองนั้ น แม้ คู่ สั ญ ญาฝ่ า ยปกครองจะมี เ อกสิ ท ธิ์ เ หนื อ คู่ สั ญ ญาอี ก ฝ่ า ยหนึ่ ง ที่ จ ะบอกเลิ ก สั ญ ญาได้ ฝ่ า ยเดี ย ว ก็เนื่องมาจากฝ่ายปกครองมีภาระหน้าที่ในการจัดทาบริการสาธารณะเพื่อตอบสนองต่อความต้องการ ของประชาชนเป็น หลั ก และการคุ้มครองประโยชน์ของมหาชนหรือประโยชน์ส่ ว นรวมในการปฏิบัติ ตามสัญญาทางปกครองจะอยู่เหนือประโยชน์ของปัจเจกบุคคลเสมอ แต่หากการบอกเลิกสัญญาก่อให้เกิด ความเสียหายแก่คู่สัญญาฝ่ายเอกชน คู่สัญญาฝ่ายเอกชนก็มีสิทธิเรียกร้องให้ฝ่ายปกครองชดใช้เยียวยา ความเสียหายที่เกิดขึ้นได้ เพราะฉะนั้น การบอกเลิกสัญญาทางปกครองของคู่สัญญาฝ่ายเอกชนซึ่งจะทาให้ การบริการสาธารณะต้องหยุดชะงักไม่บรรลุวัตถุประสงค์จึงไม่อาจกระทาได้ และตามหลักกฎหมายทั่วไป เกี่ยวกับการสิ้นสุดของสัญญาทางปกครอง สัญญาทางปกครองอาจสิ้นสุดลงได้ด้วยเงื่ อนไขอย่างใด
  • 2. ๒ อย่างหนึ่งใน ๒ ประการ ประการแรก สิ้นสุด ลงตามปกติเมื่อคู่สัญญาบรรลุวัตถุประสงค์ของสัญญา และประการที่สอง สิ้นสุดลงด้วยการเลิกสัญญา ซึ่งเกิดขึ้นได้ใน ๔ กรณี คือ (๑) โดยความยินยอมของ คู่สัญญาทั้งสองฝ่า ย (๒) เมื่อสัญญาเลิกกัน โดยปริ ยาย เช่น มีเ หตุสุดวิ สัยทาให้วัตถุประสงค์ของ สัญญาหมดไป (๓) เมื่อศาลมีคาพิพากษาหรือคาสั่งให้เลิกสัญญา และ (๔) โดยคู่สัญญาฝ่ายปกครอง เลิ ก สั ญ ญาฝ่ า ยเดี ย ว ดั ง นั้ น การเลิ ก สั ญ ญาทางปกครองจึ ง ไม่ ต กอยู่ ภ ายใต้ บั ง คั บ มาตรา ๓๘๙ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เมื่อสัญญาจ้างขุดเจาะบ่อน้าบาดาลมิได้มีข้อกาหนดให้ผู้ฟ้องคดีมีสิทธิบอกเลิกสัญญา และผู้ฟ้องคดีไม่อาจอ้างบทบัญญัติมาตรา ๓๘๙ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ได้ เนื่องจาก หลักกฎหมายทั่วไปเกี่ยวกับสัญญาทางปกครองกาหนดให้ฝ่ายปกครองมีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้ฝ่ายเดียว ดังนั้น การกล่าวอ้างเหตุที่จะไม่ดาเนินการขุดเจาะบ่อบาดาลต่อไปเนื่องจากผู้ถูกฟ้องคดีไม่สามารถแสดง ใบอนุญาตให้ ขุดเจาะบ่ อน้ าบาดาลโดยถือสิทธิตามบทบัญญัติ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิช ย์ จึงไม่ชอบด้วยข้อกาหนดในสั ญญาและหลักกฎหมายทั่วไปเกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง และผู้ฟ้องคดี ประกอบกิจการเกี่ยวกับการขุดเจาะบ่อน้าบาดาลมานานย่อมมีความเข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์ในการขุดเจาะ บ่อน้าบาดาลตามพระราชบัญญัติน้าบาดาล พ.ศ. ๒๕๒๐ เป็นอย่างดี หากจะกล่าวอ้างเหตุดังกล่าวเพื่อไม่ต้อง ปฏิบัติตามสัญญา ย่อมที่จะต้องกล่าวอ้างเสียตั้งแต่ก่อนเข้าทาสัญญาหรือปฏิเสธที่จะเข้าทาสัญญาเสีย ตั้งแต่ต้น และกรณีดังกล่าวเป็นกรณีที่สามารถแก้ไขให้ถูกต้องโดยการยื่นขอรับใบอนุญาตจากผู้มีอานาจได้ ผู้ฟ้องคดีจึงไม่อาจถือเป็นเหตุที่จะไม่ปฏิบัติตามสัญญาและบอกเลิกสัญญาได้ พิพากษายกฟ้อง กล่ าวโดยสรุ ป คดีนี้ ศาลปกครองสู งสดได้ ว างหลั กกฎหมายทั่วไปเกี่ยวกับการสิ้ นสุ ด ของสั ญ ญาทางปกครองไว้ อ ย่ า งชั ด เจนว่ า สั ญ ญาทางปกครองสิ้ น สุ ด ลงด้ ว ยเหตุ ๒ ประการ คื อ เมื่อคู่สัญญาบรรลุวัตถุประสงค์และโดยการบอกเลิกสัญญา และการเลิกสัญญาทางปกครองก็ไม่อยู่ภายใต้ มาตรา ๓๘๙ แห่ งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิช ย์ ดังนั้น หากข้อสั ญญาไม่ได้กาหนดให้ คู่สั ญญา ฝ่ายเอกชนมีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้ ในกรณีใด คู่สัญญาฝ่ายเอกชนก็ไม่มีสิทธิบอกเลิกสัญญาทางปกครอง โดยอ้างสิทธิตามกฎหมายดังกล่าวได้ และถึงแม้ฝ่ายปกครองจะมีเอกสิทธิ์ เหนือกว่าที่จะบอกเลิกสัญญาได้ เนื่ อ งจากฝ่ า ยปกครองมี ภ าระหน้ า ที่ ใ นการจั ด ท าบริ ก ารสาธารณะเพื่ อ ตอบสนองต่ อ ความต้ อ งการ ของประชาชนเป็ น หลั กและคุ้มครองประโยชน์ของมหาชนหรือประโยชน์ส่ ว นรวมก็ตาม แต่หากการ บอกเลิ กสั ญญาของฝ่ ายปกครองก่ อให้ เ กิดความเสี ย หายแก่ ฝ่ า ยเอกชน คู่สั ญญาฝ่ ายเอกชนก็มี สิ ท ธิ เรียกค่าเสียหายได้ (บทความ) คู่สญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง /D:นันทรัตน์_ปารวี_บทความ ั