SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 26
Baixar para ler offline
บทที่ 3
กําหนดการเชิงเสน
(10 ชั่วโมง)
กําหนดการเชิงเสนเปนวิธีการอยางหนึ่งที่ใชในการตัดสินใจและการแกปญหาที่เกี่ยวกับ
การจัดสรรทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด วิธีการนี้นําไปประยุกตใชใน
หลายๆดาน เชน ธุรกิจ อุตสาหกรรม เกษตรกรรม การผลิต และการขนสง เปนตน การแกปญหา
โดยวิธีการของกําหนดการเชิงเสน อาศัยความรูทางคณิตศาสตรในการสรางแบบจําลองที่ใชสมการ
และอสมการเชิงเสนเพื่อหาคําตอบ ในการหาคําตอบนั้นสามารถกระทําไดหลายวิธี แตสําหรับใน
บทนี้จะกลาวถึงเฉพาะกรณีที่หาคําตอบโดยใชกราฟของสมการและอสมการที่มีสองตัวแปรเทานั้น
ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
แกปญหาโดยสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตรและใชวิธีการของกําหนดการเชิงเสน
ที่ใชกราฟของสมการและอสมการที่มีสองตัวแปรได
ผลการเรียนรูที่คาดหวังดังกลาวเปนผลการเรียนรูที่สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู
ชวงชั้นที่ 4 ทางดานความรู และในการจัดการเรียนรูผูสอนตองคํานึงถึงมาตรฐานการเรียนรูดาน
ทักษะ/ กระบวนการทางคณิตศาสตรดวยการสอดแทรกกิจกรรมหรือโจทยปญหาที่จะสงเสริมให
ผูเรียนเกิดทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตรที่จําเปนอันไดแกความสามารถในการแกปญหา
การใหเหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตรและการนําเสนอ การเชื่อมโยง
ความรูตาง ๆ ทางคณิตศาสตรและเชื่อมโยงคณิตศาสตรกับศาสตรอื่น และการคิดริเริ่มสรางสรรค
นอกจากนั้น กิจกรรมการเรียนรูควรสงเสริมใหผูเรียนตระหนักในคุณคาและมีเจตคติที่ดีตอวิชา
คณิตศาสตร ตลอดจนฝกใหผูเรียนทํางานอยางเปนระบบ มีระเบียบวินัย รอบคอบ มีความ
รับผิดชอบ มีวิจารณญาณและมีความเชื่อมั่นในตนเอง
สาระการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติมเปนสาระการเรียนรูสําหรับการศึกษาตอและอาชีพ
ดังนั้นในการจัดการเรียนรูในสาระนี้ ผูสอนควรสงเสริมใหผูเรียนไดฝกทักษะการคิดวิเคราะห
โดยคํานึงถึงความสมเหตุสมผลของขอมูล ดังนั้น ในการสอนแตละสาระผูสอนจําเปนตองศึกษา
สาระนั้น ๆ ใหเขาใจถองแทเสียกอนแลวเลือกวิธีสอนใหเหมาะสม เพื่อทําใหการจัดการเรียนรู
ไดผลดี
180
ขอเสนอแนะ
1. การศึกษาเรื่องกําหนดการเชิงเสนในบทนี้เปนการศึกษาขั้นพื้นฐานเทานั้น โดยมี
จุดประสงคเพียงเพื่อใหผูเรียนไดเห็นการประยุกตและประโยชนของคณิตศาสตรในชีวิตจริงบาง
เนื้อหาในบทนี้อาศัยความรูพื้นฐานเรื่องสมการ อสมการ และกราฟ ในการแกปญหา ปญหาที่
ใชวิธีการของกําหนดการเชิงเสนในบทนี้จะเนนเฉพาะปญหาที่สามารถนํามาเขียนในรูปสมการและ
อสมการเชิงเสนสองตัวแปรเทานั้น เพื่อตองการใหผูเรียนเห็นรูปแบบและแนวทางในการแกปญหา
ผูสอนควรบอกผูเรียนวา ปญหาในชีวิตจริงอาจมีความซับซอนและมีตัวแปรมากกวาสองตัว อาจ
เปนหลายรอยตัว ซึ่งการแกปญหาดังกลาวสามารถใชความรูเรื่องเมตริกซและคอมพิวเตอรมาชวย
หาคําตอบได
2. ประเภทของปญหาที่ใชวิธีการกําหนดการเชิงเสน โดยทั่วไปไดแกปญหาประเภท
ตอไปนี้
1) การมอบหมายงาน (assignment) ปญหาการมอบหมายงานนั้นจะเกี่ยวของกับ
การจัดคนหรือเครื่องจักร ใหทํางานประเภทตาง ๆ โดยแตละคนและแตละเครื่องจะทํางานเพียง
ประเภทเดียวโดยมีจุดประสงคของการกําหนดลักษณะดังกลาวเพื่อใหไดผลดีที่สุดหรือเสียคาใชจาย
ต่ําสุด
2) การผสมอาหาร (blending) ปญหาในเรื่องการผสมอาหารนั้นจะเกี่ยวของกับการ
หาสวนผสมวัตถุดิบเพื่อใหสอดคลองตามเกณฑตางๆที่ระบุ วัตถุดิบชนิดหนึ่งๆจะมีคาใชจายใน
ระดับหนึ่ง จุดประสงคของการดําเนินการนี้จึงมักจะเปนการกําหนดวาจะผสมในลักษณะใดเพื่อ
ที่จะใหเสียคาใชจายต่ําสุด หรือใหไดผลดีที่สุดเปนไปตามเกณฑตาง ๆ ที่ตองการดวย
3) การวางแผนดําเนินการ (planning and scheduling) เนนการตัดสินใจที่จะทํา
โครงการตาง ๆ ในอนาคตเพื่อใหเปนไปตามจุดมุงหมายที่ตั้งไวโดยมีขอจํากัดในเรื่องของระยะเวลา
ในการทําโครงการนั้น ๆ โดยใหผลประโยชนสูงสุดหรือเสียคาใชจายต่ําสุด
4) การจัดสรรทรัพยากร (resource allocation) ปญหาการจัดสรรทรัพยากรสวนมาก
จะมีโครงการที่ตองตัดสินใจตาง ๆ ซึ่งการดําเนินการของโครงการนี้จะทําใหทรัพยากรลดนอยลง
โครงการหนึ่ง ๆ จะสงผลตอจุดประสงคในปริมาณหนึ่งจึงตองการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยางจํากัด
ทามกลางโครงการเหลานี้เพื่อใหไดผลประโยชนที่ดีที่สุด
5) การขนสง (transportation) ปญหาการขนสงนั้นเปนการขนสงสินคาหรือบริการ
จากแหลงผลิตไปยังผูบริโภคทั้งหลาย แหลงผลิตแตละแหลงตางก็มีสินคาเปนปริมาณจํากัดและ
ผูบริโภคตางก็มีความตองการในระดับที่ตางกัน นอกจากนี้ยังมีคาใชจายตอหนวยที่แตกตางกันไป
ในการขนสงสินคาจากแหลงผลิตหนึ่งไปยังผูบริโภคในที่ตาง ๆ ดวย ดังนั้น ปญหาในลักษณะนี้จึง
เปนการหารูปแบบการขนสินคาที่จะทําใหคาใชจายรวมต่ําสุด หรือเกิดประโยชนสูงสุด โดย
เปนไปตามเงื่อนไขของการผลิตและการบริโภค
181
3. การเรียนการสอนในบทนี้แบงเปนสองสวนที่สําคัญ สวนแรกคือการเขียนกราฟของ
ระบบอสมการขอจํากัดเพื่อระบุอาณาบริเวณที่หาคําตอบได สวนที่สองคือการแปลงสถานการณ
ปญหาใหเปนระบบอสมการและการกําหนดฟงกชันจุดประสงคของปญหา ผูสอนควรให
ความสําคัญกับทั้งสองสวน
4. ในเบื้องตน ผูสอนควรตรวจสอบความรูพื้นฐานของผูเรียนในเรื่องสมการและ
อสมการกอน ทบทวนความรูเรื่องสมการและอสมการเชิงเสน การหาจุดตัดของเสนตรงสองเสน
ตลอดจนการเขียนกราฟของระบบอสมการเชิงเสนเทาที่จําเปน โดยอาจเลือกใชแนวทางตาม
หนังสือเรียน ในสวนนี้ ผูสอนอาจใหผูเรียนอานทําความเขาใจเนื้อหาในหนังสือเรียนหนา
181 – 182 เกี่ยวกับการใชจุดทดสอบ (test point) เองดวย
5. แบบฝกหัด 3.2 ขอ 2 ไมไดแสดงจุดตัดของเสนตรงกับแกน X และแกน Y และ
จุดตัดของเสนตรงที่กําหนดให เพราะมีเจตนาใหผูเรียนไดใชแบบฝกหัดนี้ทบทวนการหาจุดตัด
ดวยตนเอง ทั้งนี้หากผูสอนประเมินวาผูเรียนมีพื้นฐานเกี่ยวกับเรื่องนี้ไมเพียงพอ ผูสอนอาจ
กําหนดจุดตัดตาง ๆ ในตอนเริ่มตนเพื่อนําผูเรียนใหเขาใจมโนทัศนของอาณาบริเวณที่ถูกปดลอม
กอน โดยผูสอนอาจใชชวงเวลาและวิธีการที่เหมาะสมในการทบทวนเรื่องการเขียนกราฟเสนตรง
และการหาจุดตัดของเสนตรงเพิ่มเติมใหแกผูเรียน
6. แนวทางการเรียนการสอนของบทนี้อาจมีหลายแนวทางที่แตกตางกัน แนวทางหนึ่ง
คือแนวทางตามลําดับเนื้อหาในหนังสือเรียนโดยเริ่มจากการเขียนกราฟ แลวนําเสนอวิธีการแกปญหา
กําหนดการเชิงเสนผานสถานการณปญหาในตัวอยางที่ 1 (หนา 188 – 193) สวนอีกแนวทางหนึ่ง
ที่ผูสอนอาจทําไดคือ เริ่มตนดวยการใหหาคาสูงสุดหรือคาต่ําสุดของฟงกชันที่กําหนดใหในอาณา
บริเวณที่เปนไปได โดยยังไมนําเสนอสถานการณปญหา ผูสอนอธิบายวา คาของ 6x + 7y – 9
คือฟงกชันของ x และ y ซึ่งสามารถเขียนในรูป f(x, y) = 6x + 7y – 9
สังเกตวา f(x, y) ก็คือ ฟงกชันจุดประสงค นั่นเอง ดังนั้น f(3, 5) คือคาของฟงกชัน
f เมื่อ x = 3 และ y = 5 ซึ่งเทากับ (6)(3) + (7)(5) – 9 = 44 จากนั้นผูสอนอธิบายวา ในบางครั้ง
เราอาจตองการทราบคาสูงสุดหรือคาต่ําสุดของฟงกชันภายใตเงื่อนไขที่กําหนดให
ตัวอยางเชน หาคาสูงสุดและคาต่ําสุดของ f(x, y) = 5x – 3y โดยมีเงื่อนไขตอไปนี้
–x + y ≤ 2
x + y ≤ 6
0 ≤ x ≤ 5
y ≥ 0
เมื่อเขียนกราฟแลว ผูสอนใชแนวทางตามหนังสือเรียนหนา 191 – 193 เพื่อนําไปสู
ขอสรุปที่วา คาสูงสุดหรือคาต่ําสุดจะอยูที่จุดมุมของรูปหลายเหลี่ยมที่ถูกกําหนดโดยเงื่อนไข จาก
ตัวอยางขางตน จุดมุมอยูที่ (0, 0), (0, 2), (2, 4 ), (5, 1) และ (5, 0)
182
f(x, y) = 5x – 3y
f(0, 0) = (5)(0) – (3)(0) = 0
f(0, 2) = (5)(0) – (3)(2) = –6
f(2, 4 ) = (5)(2) – (3)(4) = –2
f(5, 1) = (5)(5) – (3)(1) = 22
f(5, 0) = (5)(5) – (3)(0) = 25
ดังนั้น คาสูงสุดและคาต่ําสุดของ f(x, y) คือ 25 และ –6 ตามลําดับ
ถาผูสอนจะดําเนินการสอนตามแนวทางที่สองนี้ก็อาจใหผูเรียนฝกตามแนวทางของ
แบบฝกหัด 3.3 ขอ 1 และขอ 2 กอนจนชํานาญ แลวจึงคอยนําเขาสูเรื่องสถานการณปญหาตอไป
7. การสรางระบบอสมการขอจํากัดจากสถานการณปญหา อาจไดตัวเลขที่มีหลายหลัก
ซึ่งทําใหลําบากในการเขียนกราฟ ผูสอนควรอธิบายกับผูเรียนวากอนการเขียนกราฟ อาจลดทอน
ตัวเลขที่มีหลายหลักใหงายขึ้น การทําเชนนี้ไมไดกระทบตอระบบอสมการขอจํากัดแตอยางใด เชน
ระบบอสมการ 1 1
x y
5 10
+ ≤ 9
800000x + 500000y ≤ 40000000
ลดทอนตัวเลขใหงายขึ้นเปน 2x + y ≤ 90
8x + 5y ≤ 400
ผูสอนอาจใหผูเรียนทดลองเขียนกราฟของระบบอสมการทั้งสองแลวตรวจสอบดูกราฟ
ที่ไดวาเหมือนกันหรือไม
8. การสอนใหผูเรียนจําลําดับขั้นตอนการแกปญหาไปใชไดทันทีไมใชเรื่องยาก อยางไร
ก็ตามผูสอนควรพยายามชวยใหผูเรียนเขาใจใหไดวา ทําไมคําตอบของปญหาจะตองพิจารณาจาก
จุดยอดของรูปหลายเหลี่ยมของอาณาบริเวณของคําตอบที่เปนไปไดเทานั้น
9. ในกรณีที่จุดมุมสองจุดใหคาสูงสุด (หรือต่ําสุด) เชนในแบบฝกหัด 3.3 ขอ 1(2)
ผูสอนควรพยายามชี้ใหผูเรียนเขาใจวายังมีอีกหลายจุดที่เปนคําตอบ และคําตอบของปญหาทั้งหมด
คือจุดที่อยูบนสวนของเสนตรงที่เชื่อมจุดมุมทั้งสองจุดนั่นเอง
X
Y
x + y = 6 –x + y = 2
(2, 4)
(0, 2)
(5, 1)
(5, 0)O
x = 5
183
ตัวอยางแบบทดสอบประจําบท
1. จงแสดงอาณาบริเวณซึ่งถูกกําหนดดวยระบบอสมการตอไปนี้
(1) x + 3y ≤ 15 (2) 2x + 3y ≥ 6
4x + y ≤ 16 3x – 2y ≤ 9
x ≥ 0 x + 5y ≤ 20
y ≥ 0 x ≥ 0
y ≥ 0
2. จงเขียนระบบอสมการซึ่งมีกราฟดังที่กําหนดใหตอไปนี้
(1)
(2)
3. จงหาคาต่ําสุด และสูงสุดของ M ที่สอดคลองตามอสมการขอจํากัดที่กําหนดใหตอไปนี้
(1) M = x + 2y (2) M = 2x + y
3x + 2y ≥ 12 x + 2y ≤ 48
x + 3y ≥ 11 x + y ≤ 30
x ≥ 0 2x + y ≤ 50
y ≥ 0 x ≥ 0
y ≥ 0
Y
X
(10, 38)
x + 5y = 200
2x + 3y = 134
(0, 40)
(67, 0)
O
x + 2y = 193x + 2y = 29
(19, 0)
(5, 7)
29
(0, )
2
Y
XO
184
4. โรงงานไอศกรีมผลิตไอศกรีมสามรส ไดแก รสสตรอเบอรี่ รสช็อกโกแลต และรสวานิลา
โดยผลิตไดวันละ 200 ถัง ไอศกรีมรสสตรอเบอรี่ กําไรถังละ50บาท ไอศกรีมรสช็อกโกแลต
กําไรถังละ 40 บาท และไอศกรีมรสวานิลา กําไรถังละ 30 บาท ตามปกติความตองการของ
ตลาดในแตละวัน ไอศกรีมรสวานิลาขายไดไมเกิน 60 ถัง และไอศกรีมรสช็อกโกแลตขายได
มากกวาไอศกรีมรสสตรอเบอรี่เสมอ แตโรงงานก็ผลิตไอศกรีมช็อกโกแลตไดเต็มที่วันละ
ไมเกิน 80 ถัง
(1) ถาโรงงานผลิตไอศกรีมรสสตรอเบอรี่และไอศกรีมรสช็อกโกแลตวันละ x และ y ถัง
ตามลําดับ จงเขียนอสมการขอจํากัด
(2) ถาโรงงานตองการกําไรสูงสุด จงเขียนฟงกชันจุดประสงค และหากําไรสูงสุด
เฉลยตัวอยางแบบทดสอบประจําบท
1. (1) (2)
2. (1) x + 5y ≤ 200 (2) x + 2y ≥ 19
2x + 3y ≤ 134 3x + 2y ≥ 29
x ≥ 0 x ≥ 0
y ≥ 0 y ≥ 0
3. (1) กราฟของอสมการขอจํากัดคือ
Y
X
(0, 6)
3x + 2y = 12
(2, 3)
O
x + 3y = 11
(11, 0)
Y
(0, 5)
(3, 4)
(4, 0)
O
x + 3y = 15
4x + y = 16
X
(0, 4)
(5, 3)
(3, 0)
O
3x – 2y = 9x + 5y = 20
Y
X
2x + 3y = 6
(0, 2)
185
จากกราฟจะเห็นวา ไมสามารถหาคาสูงสุดของฟงกชันจุดประสงคที่สอดคลองกับ
อสมการขอจํากัดได คาต่ําสุดของฟงกชันจุดประสงคหาไดจากการพิจารณาจุดมุม (0, 6),
(2, 3) และ (11, 0) เมื่อแทนคาพิกัดของจุดมุมขางตนในฟงกชันจุดประสงค จะไดคา 8
เปนคาต่ําสุดของ M ดังนี้
(x, y) M = x + 2y
(0, 6)
(2, 3)
(11, 0)
12
8
11
(2) กราฟของอสมการขอจํากัดคือ
จุดมุมที่ไดจากอสมการขางตนคือ (0, 0), (0, 24), (12, 18 ), (20, 10) และ (25, 0)
เมื่อแทนคาพิกัดของจุดมุมขางตนในฟงกชันจุดประสงค จะไดคา M ดังนี้
(x, y) M = 2x + y
(0, 0)
(0, 24)
(12, 18)
(20, 10)
(25, 0)
0
24
42
50
50
คาต่ําสุดของ M คือ 0 เมื่อ x = 0 และ y = 0
ทุกจุด (x, y) บนเสนตรง 2x + y = 50 เมื่อ x ∈ (20, 25) ใหคาสูงสุดของ M เทากับ 50
Y
X
x + 2y = 48
(12, 18)
2x + y = 50
(0, 24)
(20, 10)
O
(25, 0)
x + y = 30
186
4. (1) อสมการขอจํากัด คือ
200 – x – y ≤ 60 (ไอศกรีมรสวานิลาขายไดไมเกิน 60 ถัง )
y ≥ x (ไอศกรีมรสช็อกโกแลตขายไดมากกวารสสตรอเบอรี่)
y ≤ 80 (ผลิตไอศกรีมช็อกโกแลตไดไมเกิน 80 ถังตอวัน)
(2) ฟงกชันจุดประสงค คือ P = 50x + 40y + 30(200 – x – y ) = 6000 + 20x + 10y
กราฟของอสมการขอจํากัดคือ
จุดมุมที่ไดจากอสมการขางตนคือ (60, 80), (70, 70) และ (80, 80)
เมื่อแทนคาพิกัดของจุดมุมขางตนในฟงกชันจุดประสงค จะไดคา P ดังนี้
(x, y) P = 6000 + 20x + 10y
(60, 80)
(70, 70)
(80, 80)
8000
8100
8400
จุดมุม (80, 80 ) ใหคา P สูงสุด
ดังนั้น โรงงานควรผลิตไอศกรีมรสสตรอเบอรี่ 80 ถัง ไอศกรีมรสช็อกโกแลต 80 ถัง
และไอศกรีมรสวานิลา 200 – 80 – 80 = 40 ถัง ซึ่งจะไดกําไรวันละ 8400 บาท
(60, 80) (80, 80)
(70, 70)
140
120
100
80
60
40
20
20 40 60 80 100 120 140O
Y
X
x = y
y = 80
200 – x – y = 60
หรือ y = –x + 140
187
เฉลยแบบฝกหัด 3.1
1. (1, 1) อยูในกราฟของอสมการ 2x + y > 2
(–1, 3), 1 1
( , )
4 2
อยูในกราฟของอสมการ 2x + y < 2
(2, –2) อยูบนเสนตรงซึ่งเปนกราฟของ 2x + y = 2
2. (1) x < 2 (2) y > 3
(3) y ≤ 3 (4) x ≥ –1
(5) 2x + 2y < 4 (6) y + 2x > 2
(7) 3y – x ≤ 6 (8) x ≤ 2y – 2
X
Y
x = 2
X
Y
y = 3
O O
X
Y
y = 3
O X
Yx = –1
O
X
Y
(0, 2)
O
(2, 0) X
Y
(1, 0)O
(0, 2)
X
Y
(–6, 0)
O
(0, 2)
X
Y
O
(–2, 0) (0, 1)
188
เฉลยแบบฝกหัด 3.2
1. (1) (2)
(3) (4)
(5) (6) ไมมีบริเวณที่ซอนทับกันของ
อสมการ 0 ≤ x ≤ 2 และ
y ≥ 0 และ 2x – 3y ≥ 12
2. (1) 2x + y ≤ 4 (2) x – y ≥ 1
x ≥ 0 x + 2y ≤ 6
y ≥ 0 y ≥ 0
(3) 2x + y ≤ 10 (4) 4x + y ≤ 16
4x – y ≤ 8 x + 3y ≤ 15
x ≥ 0 x ≥ 0
y ≥ 0
(5) 3x + 2y ≥ 12 (6) 3x + y ≥ 180
x + 3y ≥ 11 x + y ≥ 100
x ≥ 0 2x + 5y ≥ 260
y ≥ 0 x ≥ 0
y ≥ 0
X
Y
x = 1
O
x = –1
X
Y
O
y = 2
X
Y
O
x = y
(0, 1)
3 3
( , )
4 4
(3, 0)
x + 3y = 3
X
Y
O
y – 2x = 2
(0, 2)
(–1, 0)
X
Y
O
(0, 1)
(1, 0)
y = –2
x + y = 1
189
เฉลยแบบฝกหัด 3.3
1. (1) P = 5x + 3y
2x + 4y ≤ 80
5x + 2y ≤ 80
x ≥ 0
y ≥ 0
กราฟของอสมการขอจํากัด คือ
จุดมุมที่ไดจากอสมการขอจํากัดคือ (0, 0), (0, 20), (10, 15) และ (16, 0)
เมื่อแทนคาพิกัดของจุดมุมขางตนในฟงกชันจุดประสงค จะไดคา P ดังนี้
(x, y) 5x 3y P = 5x + 3y
(0, 0)
(0, 20)
(10, 15)
(16, 0)
0
0
50
80
0
60
45
0
0
60
95
80
ดังนั้น จุดมุม (10, 15) ใหคา P มากที่สุด
นั่นคือ คาสูงสุดของ P คือ 95 เมื่อ x = 10 และ y = 15
Y
XO
(0, 40)
5x + 2y = 80
(10, 15)
(40, 0)
2x + 4y = 80
(16, 0)
(0, 20)
190
(2) P = 15x + 10y
3x + 2y ≤ 80
2x + 3y ≤ 70
x ≥ 0
y ≥ 0
กราฟของอสมการขอจํากัด คือ
จุดมุมที่ไดจากอสมการขอจํากัดคือ (0, 0), (0, 1
23
3
), (20, 10) และ ( 2
26
3
, 0)
เมื่อแทนคาพิกัดของจุดมุมขางตนในฟงกชันจุดประสงค จะไดคา P ดังนี้
(x, y) 15x 10y P = 15x +10y
(0, 0) 0 0 0
(0, 1
23
3
) 0 233.33 233.33
(20, 10) 300 100 400
( 2
26
3
, 0) 400 0 400
ดังนั้น จุดมุม (20, 10) หรือ ( 2
26
3
, 0) จะใหคา P เทากันคือ 400
นั่นคือ คาสูงสุดของ P คือ 400 เมื่อ x = 20 และ y = 10 หรือ x = 2
26
3
และ y = 0 แตสังเกตวา เสนตรงที่ผานจุด (20, 10) และจุด ( 2
26
3
, 0) คือ
สมการ 3x + 2y = 80 หรือ 15x + 10y = 400 แสดงวายังมีอีกหลายจุดที่เปนคําตอบ
Y
X
3x + 2y = 80 หรือ 15x + 10y = 400
(0, 40)
2x + 3y = 70(20, 10)
(35, 0)
(0, 1
23
3
)
2
(26 , 0)
3
O
191
(3) P = 35x1 – 25x2
2x1 + 3x2 ≤ 15
3x1 + x2 ≤ 12
x1 ≥ 0
x2 ≥ 0
กราฟของอสมการขอจํากัด คือ
จุดมุมที่ไดจากอสมการขอจํากัดคือ (0, 0), (0, 5), (3, 3) และ (4, 0)
เมื่อแทนคาพิกัดของจุดมุมขางตนในฟงกชันจุดประสงค จะไดคา P ดังนี้
(x1, x2) 35x1 25x2 P = 35x1 – 25x2
(0, 0) 0 0 0
(0, 5) 0 125 –125
(3, 3) 105 75 30
(4, 0) 140 0 140
ดังนั้น จุดมุม (4, 0) ใหคา P มากที่สุด
นั่นคือ คาสูงสุดของ P คือ 140 เมื่อ x1 = 4 และ x2 = 0
X1
X2
3x1 + x2 = 12
2x1 + 3x2 = 15
(0, 12)
(0, 5)
O
(3, 3)
(15
2
, 0)
(4, 0)
192
(4) P = 2x + 3y
x + y ≥ 4
5x + 2y ≤ 25
x ≤ 4
y ≤ 5
x ≥ 0
y ≥ 0
กราฟของอสมการขอจํากัด คือ
จุดมุมที่ไดจากอสมการขอจํากัดคือ (0, 4), (0, 5), (3, 5), (4, 5
2
) และ (4, 0)
เมื่อแทนคาพิกัดของจุดมุมขางตนในฟงกชันจุดประสงค จะไดคา P ดังนี้
(x, y) 2x 3y P = 2x + 3y
(0, 4) 0 12 12
(0, 5) 0 15 15
(3, 5) 6 15 21
(4, 5
2
) 8 7.5 15.5
(4, 0) 8 0 8
ดังนั้น จุดมุม (3, 5) ใหคา P มากที่สุด
นั่นคือ คาสูงสุดของ P คือ 21 เมื่อ x = 3 และ y = 5
X
Y
25
(0, )
2
5x + 2y = 25
y = 5
x = 4
(0, 4)
x + y = 4
(0, 5) (3, 5)
(5, 0)
(4, 0)
(4, 5
2
)
O
193
(5) P = 100x + 80y
x + 2y ≤ 800
3x + 2y ≤ 1200
x ≥ 0
y ≥ 0
กราฟของอสมการขอจํากัด คือ
จุดมุมที่ไดจากอสมการขอจํากัดคือ (0, 400), (200, 300), (400, 0), และ (0, 0)
เมื่อแทนคาพิกัดของจุดมุมขางตนในฟงกชันจุดประสงค จะไดคา P ดังนี้
(x, y) 100x 80y P = 100x + 80y
(0, 0) 0 0 0
(0, 400) 0 32000 32000
(200, 300) 20000 24000 44000
(400, 0) 40000 0 40000
ดังนั้น จุดมุม (200, 300) ใหคา P สูงสุด
นั่นคือ คาสูงสุดของ P คือ 44000 เมื่อ x = 200 และ y = 300
X
Y
(0, 600)
3x + 2y = 1200
(0, 400)
x + 2y = 800
(200, 300)
(800, 0)
(400, 0)O
194
(6) P = 300x + 200y
6x + 6y ≤ 420
3x + 6y ≤ 300
4x + 2y ≤ 240
x ≥ 0
y ≥ 0
กราฟของอสมการขอจํากัด คือ
จุดมุมที่ไดจากอสมการขอจํากัดคือ (0, 50), (40, 30), (50, 20), (60, 0) และ (0, 0)
เมื่อแทนคาพิกัดของจุดมุมขางตนในฟงกชันจุดประสงค จะไดคา P ดังนี้
(x, y) 300x 200y P = 300x + 200y
(0, 0) 0 0 0
(0, 50) 0 10000 10000
(40, 30) 12000 6000 18000
(50, 20) 15000 4000 19000
(60, 0) 18000 0 18000
ดังนั้น จุดมุม (50, 20) ใหคา P สูงสุด
นั่นคือ คาสูงสุดของ P คือ 19000 เมื่อ x = 50 และ y = 20
X
Y
(60, 0)O
(0, 50)
4x + 2y = 240
6x + 6y = 420
3x+ 6y = 300
(40, 30)
(50, 20)
(0, 120)
(0, 70)
(70, 0) (100, 0)
195
2. (1) C = 9x + 15y
3x + 4y ≥ 25
x + 3y ≥ 15
x ≥ 0
y ≥ 0
กราฟของอสมการขอจํากัด คือ
จุดมุมที่ไดจากอสมการขอจํากัดคือ (0, 25
4
), (3, 4) และ (15, 0)
เมื่อแทนคาพิกัดของจุดมุมขางตนในฟงกชันจุดประสงค จะไดคา C ดังนี้
(x, y) 9x 15y C = 9x + 15y
(0, 25
4
) 0 93.75 93.75
(3, 4) 27 60 87
(15, 0) 135 0 135
ดังนั้น จุดมุม (3, 4) ใหคา C ต่ําสุด
นั่นคือ คาต่ําสุดของ C คือ 87 เมื่อ x = 3 และ y = 4
X
Y
O
3x + 4y = 25
x + 3y = 15(3, 4)
(15, 0)
25
( , 0)
3
25
(0, )
4
(0, 5)
196
(2) C = 28x1 + 35x2
2x1 + x2 ≥ 110
2x1 + 3x2 ≥ 170
x1 ≥ 0
x2 ≥ 0
กราฟของอสมการขอจํากัด คือ
จุดมุมที่ไดจากอสมการขอจํากัดคือ (0, 110), (40, 30) และ (85, 0)
เมื่อแทนคาพิกัดของจุดมุมขางตนในฟงกชันจุดประสงค จะไดคา C ดังนี้
(x1, x2) 28x1 35x2 C = 28x1 + 35x2
(0, 110) 0 3850 3850
(40, 30) 1120 1050 2170
(85, 0) 2380 0 2380
ดังนั้น จุดมุม (40, 30) ใหคา C ต่ําสุด
นั่นคือ คาต่ําสุดของ C คือ 2170 เมื่อ x1 = 40 และ x2 = 30
X1
X2
O
2x1 + x2 = 110
2x1 + 3x2 = 170
(85, 0)
(40, 30)
(55, 0)
170
(0, )
3
(0, 110)
197
(3) C = 40000y1 + 32000y2
6y1 + 2y2 ≥ 12
2y1 + 2y2 ≥ 8
4y1 + 12y2 ≥ 24
y1 ≥ 0
y2 ≥ 0
กราฟของอสมการขอจํากัด คือ
จุดมุมที่ไดจากอสมการขอจํากัดคือ (0, 6), (1, 3), (3, 1) และ (6, 0)
เมื่อแทนคาพิกัดของจุดมุมขางตนในฟงกชันจุดประสงค จะไดคา C ดังนี้
(y1, y2) 40000y1 32000y2 C = 40000y1 + 32000y2
(0, 6) 0 192000 192000
(1, 3) 40000 96000 136000
(3, 1) 120000 32000 152000
(6, 0) 240000 0 240000
ดังนั้น จุดมุม (1, 3) ใหคา C ต่ําสุด
นั่นคือ คาต่ําสุดของ C คือ 136000 เมื่อ y1 = 1 และ y2 = 3
Y1
Y2
O
(0, 6) 6y1 + 2y2 = 12
(1, 3)
(3, 1)
(6, 0)(2, 0)
(0, 2) 4y1 + 12y2 = 24
2y1 + 2y2 = 8
(0, 4)
(4, 0)
198
3. (1) 160000x + 80000y ≤ 2720000 (เงินลงทุนซื้อเครื่องจักร)
90x + 54y ≤ 1620 (พื้นที่สําหรับวางเครื่องจักร)
หรือ
2x + y ≤ 34
5x + 3y ≤ 90
(2) รายไดตอวัน P = 7500x + 4200y
(x, y) 7500x 4200x P = 7500x + 4200y
(0, 0)
(0, 30)
(12, 10)
(17, 0)
0
0
90000
127500
0
126000
42000
0
0
126000
132000
127500
โรงงานนี้ควรซื้อเครื่องจักรชนิด A และเครื่องจักรชนิด B อยางละ 12 เครื่อง
และ 10 เครื่อง ตามลําดับ รายไดตอวันสูงสุดคือ 132000 บาท
Y
XO
2x + y = 34
5x + 3y = 90
(0, 30)
(17, 0)
(12, 10)
(0, 34)
(18, 0)
199
4. (1) x + y ≤ 10 (จํานวนพนักงาน)
10x + 30y ≤ 180 (เวลาที่ใชในการจัดกลองขึ้นรถ)
หรือ
x + y ≤ 10
x + 3y ≤ 18
(2) จํานวนกลองที่ขนสงไดตอวัน P = 30x + 70y
(x, y) 30x 70y P = 30x + 70y
(0, 0)
(0, 6)
(6, 4)
(10, 0)
0
0
180
300
0
420
280
0
0
420
460
300
บริษัทควรใชรถบรรทุกขนาดเล็กและขนาดใหญอยางละ 6 คัน และ 4 คัน ตามลําดับ
จึงจะขนสงผลิตภัณฑใหไดจํานวนกลองมากที่สุด
X
Y
O
x + y = 10
x + 3y = 18(6, 4)(0, 6)
(10, 0)
(0, 10)
(18, 0)
200
5. (1) 1 1
x y
5 10
+ ≤ 9 (เนื้อที่โครงการ)
800000x + 500000y ≤ 40000000 (เงินทุนสรางบานทั้งสองแบบ)
หรือ 2x + y ≤ 90
8x + 5y ≤ 400
(2) กําไร P = 100000x + 70000y
(x, y) 100000x 70000y P = 100000x + 70000y
(0, 0)
(0, 80)
(25, 40)
(45, 0)
0
0
2500000
4500000
0
5600000
2800000
0
0
5600000
5300000
4500000
เจาของโครงการหมูบานจัดสรรควรตัดสินใจสรางทาวนเฮาสอยางเดียว จํานวน 80 หลัง
จึงจะไดผลกําไรสูงสุด ผลกําไรสูงสุดคือ 5,600,000 บาท
X
Y
(0, 80)
(25, 40)
O (45, 0)
2x + y = 90
8x + 5y = 400
(0, 90)
(50, 0)
201
6. ให P เปนกําไร
x เปนจํานวนเกาอี้ขาสั้นที่ผลิตในแตละวัน
และ y เปนจํานวนเกาอี้ขายาวที่ผลิตในแตละวัน
จะเขียนฟงกชันจุดประสงคและอสมการขอจํากัดไดดังนี้
P = 30x + 50y
และ x + 2y ≤ 8 (เวลาที่ตองใชในการผลิตขั้นตน)
2x + 2y ≤ 10 (เวลาที่ตองใชในการผลิตขั้นที่สอง)
x ≥ 0
y ≥ 0
โดยที่ x และ y เปนจํานวนเต็ม
เขียนกราฟของอสมการขอจํากัดโดยใช x และ y เปนจํานวนจริงไดดังรูป
จุดมุมที่ไดจากอสมการขอจํากัดคือ จุด (0, 0), (0, 4), (2, 3) และ (5, 0)
เมื่อแทนคาพิกัดของจุดมุมขางตนในฟงกชันจุดประสงค จะไดคา P ดังนี้
(x, y) 30x 50y P = 30x + 50y
(0, 0)
(0, 4)
(2, 3)
(5, 0)
0
0
60
150
0
200
150
0
0
200
210
150
จุดมุม (2, 3) ใหคา P มากที่สุด
ดังนั้น ในแตละวันถาใหไดกําไรมากที่สุดควรจะผลิตเกาอี้ขาสั้น จํานวน 2 ตัว และเกาอี้
ขายาว จํานวน 3 ตัว และจะไดกําไร 210 บาท
X
Y
O
2x + 2y = 10
x + 2y = 8
(5, 0)
(0, 4)
(2, 3)
(0, 5)
(8, 0)
202
7. ให P เปนกําไร
x เปนจํานวนจอภาพธรรมดาที่ควรผลิตตอสัปดาห
และ y เปนจํานวนจอภาพแบนที่ควรผลิตตอสัปดาห
จะเขียนฟงกชันจุดประสงคและอสมการขอจํากัดไดดังนี้
P = 1800x + 2200y
และ x + y ≤ 300 (จํานวนจอภาพทั้งสองชนิดที่ผลิต)
3600x + 5400y ≤ 1,296,000 (ตนทุนการผลิต)
x ≥ 0
y ≥ 0
โดยที่ x และ y เปนจํานวนเต็ม
เขียนกราฟของอสมการขอจํากัดโดยใช x และ y เปนจํานวนจริงไดดังรูป
จุดมุมที่ไดจากอสมการขอจํากัดคือ จุด (0, 0), (0, 240), (180, 120) และ (300, 0)
และเมื่อแทนคาพิกัดของจุดมุมขางตนในฟงกชันจุดประสงค จะไดคา P ดังนี้
(x, y) 1800x 2200y P = 1800x + 2200y
(0, 0)
(0, 240)
(180, 120)
(300, 0)
0
0
324,000
540,000
0
528,000
264,000
0
0
528,000
588,000
540,000
จุดมุม (180, 120) ใหคา P มากที่สุด
ดังนั้น ในแตละสัปดาหควรจะผลิตจอภาพธรรมดา จํานวน 180 ชิ้น
และจอภาพแบนจํานวน 120 ชิ้น จึงไดกําไรมากที่สุดคือไดกําไร 588,000 บาท
Y
X
(180, 120)
x + y = 300
3600x + 5400y = 1296000
O
(0, 240)
(300, 0)
(0, 300)
(360, 0)
203
8. ให P เปนกําไร
x เปนจํานวนชุดกลางวันที่ควรจะตัด
y เปนจํานวนชุดราตรีที่ควรจะตัด
จะเขียนฟงกชันจุดประสงคและอสมการขอจํากัดไดดังนี้
P = 300x + 500y
และ 2x + y ≤ 16 (ผาสีพื้นที่ตองใช)
x + 3y ≤ 15 (ผาลายดอกที่ตองใช)
x + 2y ≤ 11 (ผาลูกไมที่ตองใช)
x ≥ 0
y ≥ 0
โดยที่ x และ y เปนจํานวนเต็ม
เขียนกราฟของอสมการขอจํากัดโดยใช x และ y เปนจํานวนจริงไดดังรูป
จุดมุมที่ไดจากอสมการขอจํากัดคือ จุด (0, 0), (0, 5), (3, 4), (7, 2) และ (8, 0)
และเมื่อแทนคาพิกัดของจุดมุมขางตนในฟงกชันจุดประสงค จะไดคา P ดังนี้
(x, y) 300x 500y P = 300x + 500y
(0, 0)
(0, 5)
(3, 4)
(7, 2)
(8, 0)
0
0
900
2100
2400
0
2500
2000
1000
0
0
2500
2900
3100
2400
จุดมุม (7, 2) ใหคา P มากที่สุด
ดังนั้น ชางตัดเสื้อควรจะตัดชุดกลางวัน 7 ชุด และชุดราตรี 2 ชุด จึงจะไดกําไรมากที่สุด
คือมีกําไร 3,100 บาท
Y
XO
2x + y = 16
x + 2y = 11
x + 3y = 15
(7, 2)
(8, 0) (11, 0)
(0, 5)
11
(0, )
2
(3, 4)
(0, 16)
(15, 0)
204
9. ให C แทนคาแรงที่ตองจายใหคนงาน 2 คน
x แทนจํานวนชั่วโมงในการทํางานของคนงานคนแรก
และ y แทนจํานวนชั่วโมงในการทํางานของคนงานคนที่สอง
จะเขียนฟงกชันจุดประสงคและอสมการขอจํากัดไดดังนี้
C = 25x + 22y
และ x + y ≥ 5 (จํานวนตู)
3x + 2y ≥ 12 (จํานวนโตะ)
3x + 6y ≥ 18 (จํานวนชั้นวางหนังสือ)
x ≥ 0
y ≥ 0
โดยที่ x และ y เปนจํานวนเต็ม
เขียนกราฟของอสมการขอจํากัดโดยใช x และ y เปนจํานวนจริงไดดังรูป
จุดมุมที่ไดจากอสมการขอจํากัดคือ จุด (0, 6), (2, 3), (4, 1) และ (6, 0)
เมื่อแทนคาพิกัดของจุดมุมขางตนในฟงกชันจุดประสงค จะไดคา C ดังนี้
(x, y) 25x 22y C = 25x + 22y
(0, 6)
(2, 3)
(4, 1)
(6, 0)
0
50
100
150
132
66
22
0
132
116
122
150
จุดมุม (2, 3) ใหคา C ต่ําที่สุด
ดังนั้น ถาตองการใหเสียคาแรงนอยที่สุดเขาควรจะจางคนงานคนที่หนึ่งทํางาน 2 ชั่วโมง
และจางคนงานคนที่สองทํางาน 3 ชั่วโมง
X
Y
3x + 2y = 12
x + y = 5
(2, 3)
3x + 6y = 18
(4, 1)
(6, 0)
(0, 3)
(0, 5)
(0, 6)
O (4, 0) (5, 0)

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาบทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาpop Jaturong
 
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรีเอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรีครูเย็นจิตร บุญศรี
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาพ31101สุขศึกษาและพลศึกษา1ม
เอกสารประกอบการเรียนวิชาพ31101สุขศึกษาและพลศึกษา1มเอกสารประกอบการเรียนวิชาพ31101สุขศึกษาและพลศึกษา1ม
เอกสารประกอบการเรียนวิชาพ31101สุขศึกษาและพลศึกษา1มWoraphon Tungsiri
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6teerachon
 
รูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdf
รูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdfรูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdf
รูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdfssuser29b0ec
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เครื่องสกรีนลายแก้ว
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เครื่องสกรีนลายแก้วโครงงานสิ่งประดิษฐ์เครื่องสกรีนลายแก้ว
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เครื่องสกรีนลายแก้วstampmin
 
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วนโครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วนMai Natthida
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1gchom
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในamixdouble
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติพัน พัน
 
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคสมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคNinnin Ja
 
เฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสเฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสkrurutsamee
 
ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วน
ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วนชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วน
ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วนพิทักษ์ ทวี
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สองSathuta luamsai
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาAon Narinchoti
 
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนโจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนNok Yupa
 
คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่Thunrada Sukkaseam
 

Mais procurados (20)

บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาบทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
 
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรีเอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาพ31101สุขศึกษาและพลศึกษา1ม
เอกสารประกอบการเรียนวิชาพ31101สุขศึกษาและพลศึกษา1มเอกสารประกอบการเรียนวิชาพ31101สุขศึกษาและพลศึกษา1ม
เอกสารประกอบการเรียนวิชาพ31101สุขศึกษาและพลศึกษา1ม
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
 
รูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdf
รูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdfรูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdf
รูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdf
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เครื่องสกรีนลายแก้ว
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เครื่องสกรีนลายแก้วโครงงานสิ่งประดิษฐ์เครื่องสกรีนลายแก้ว
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เครื่องสกรีนลายแก้ว
 
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วนโครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
 
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
 
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคสมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
 
เฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสเฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัส
 
ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วน
ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วนชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วน
ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วน
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนโจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
 
คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่
 

Semelhante a Add m6-2-chapter3

เอกสารประกอบ ทศนิยม
เอกสารประกอบ ทศนิยมเอกสารประกอบ ทศนิยม
เอกสารประกอบ ทศนิยมwarijung2012
 
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไปแนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไปประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไปแนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไปประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไปแนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไปประพันธ์ เวารัมย์
 
สอบ 7 วิชา
สอบ 7 วิชาสอบ 7 วิชา
สอบ 7 วิชาComearly Cover
 
7 130630012816-phpapp01
7 130630012816-phpapp017 130630012816-phpapp01
7 130630012816-phpapp01loveyouatlast
 
รวม 7 วิชาสามัญ
รวม 7 วิชาสามัญรวม 7 วิชาสามัญ
รวม 7 วิชาสามัญScott Tape
 
3.คณิตศาสตร์ ป.3
3.คณิตศาสตร์ ป.33.คณิตศาสตร์ ป.3
3.คณิตศาสตร์ ป.3ink3828
 
3.คณิตศาสตร์
3.คณิตศาสตร์3.คณิตศาสตร์
3.คณิตศาสตร์ink3828
 
9 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 2561
9 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 25619 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 2561
9 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 25619GATPAT1
 
ข้อสอบปลายภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3
ข้อสอบปลายภาค  คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3ข้อสอบปลายภาค  คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3
ข้อสอบปลายภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3คุณครูพี่อั๋น
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...บ.ชีทราม จก.
 

Semelhante a Add m6-2-chapter3 (20)

Preliminary number theory
Preliminary number theoryPreliminary number theory
Preliminary number theory
 
เอกสารประกอบ ทศนิยม
เอกสารประกอบ ทศนิยมเอกสารประกอบ ทศนิยม
เอกสารประกอบ ทศนิยม
 
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไปแนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
 
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไปแนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
 
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไปแนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
 
สอบ 7 วิชา
สอบ 7 วิชาสอบ 7 วิชา
สอบ 7 วิชา
 
7 130630012816-phpapp01
7 130630012816-phpapp017 130630012816-phpapp01
7 130630012816-phpapp01
 
สอบ 7 วิชา
สอบ 7 วิชาสอบ 7 วิชา
สอบ 7 วิชา
 
7 130630105522-phpapp02
7 130630105522-phpapp027 130630105522-phpapp02
7 130630105522-phpapp02
 
รวม 7 วิชาสามัญ
รวม 7 วิชาสามัญรวม 7 วิชาสามัญ
รวม 7 วิชาสามัญ
 
3.คณิตศาสตร์ ป.3
3.คณิตศาสตร์ ป.33.คณิตศาสตร์ ป.3
3.คณิตศาสตร์ ป.3
 
3.คณิตศาสตร์
3.คณิตศาสตร์3.คณิตศาสตร์
3.คณิตศาสตร์
 
Add m1-1-chapter2
Add m1-1-chapter2Add m1-1-chapter2
Add m1-1-chapter2
 
Pat1 52-07+key
Pat1 52-07+keyPat1 52-07+key
Pat1 52-07+key
 
Analyze o net-math-m3_2
Analyze o net-math-m3_2Analyze o net-math-m3_2
Analyze o net-math-m3_2
 
9 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 2561
9 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 25619 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 2561
9 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 2561
 
60 real
60 real60 real
60 real
 
ข้อสอบปลายภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3
ข้อสอบปลายภาค  คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3ข้อสอบปลายภาค  คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3
ข้อสอบปลายภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3
 
3
33
3
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
 

Mais de กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

Mais de กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 

Add m6-2-chapter3

  • 1. บทที่ 3 กําหนดการเชิงเสน (10 ชั่วโมง) กําหนดการเชิงเสนเปนวิธีการอยางหนึ่งที่ใชในการตัดสินใจและการแกปญหาที่เกี่ยวกับ การจัดสรรทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด วิธีการนี้นําไปประยุกตใชใน หลายๆดาน เชน ธุรกิจ อุตสาหกรรม เกษตรกรรม การผลิต และการขนสง เปนตน การแกปญหา โดยวิธีการของกําหนดการเชิงเสน อาศัยความรูทางคณิตศาสตรในการสรางแบบจําลองที่ใชสมการ และอสมการเชิงเสนเพื่อหาคําตอบ ในการหาคําตอบนั้นสามารถกระทําไดหลายวิธี แตสําหรับใน บทนี้จะกลาวถึงเฉพาะกรณีที่หาคําตอบโดยใชกราฟของสมการและอสมการที่มีสองตัวแปรเทานั้น ผลการเรียนรูที่คาดหวัง แกปญหาโดยสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตรและใชวิธีการของกําหนดการเชิงเสน ที่ใชกราฟของสมการและอสมการที่มีสองตัวแปรได ผลการเรียนรูที่คาดหวังดังกลาวเปนผลการเรียนรูที่สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู ชวงชั้นที่ 4 ทางดานความรู และในการจัดการเรียนรูผูสอนตองคํานึงถึงมาตรฐานการเรียนรูดาน ทักษะ/ กระบวนการทางคณิตศาสตรดวยการสอดแทรกกิจกรรมหรือโจทยปญหาที่จะสงเสริมให ผูเรียนเกิดทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตรที่จําเปนอันไดแกความสามารถในการแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตรและการนําเสนอ การเชื่อมโยง ความรูตาง ๆ ทางคณิตศาสตรและเชื่อมโยงคณิตศาสตรกับศาสตรอื่น และการคิดริเริ่มสรางสรรค นอกจากนั้น กิจกรรมการเรียนรูควรสงเสริมใหผูเรียนตระหนักในคุณคาและมีเจตคติที่ดีตอวิชา คณิตศาสตร ตลอดจนฝกใหผูเรียนทํางานอยางเปนระบบ มีระเบียบวินัย รอบคอบ มีความ รับผิดชอบ มีวิจารณญาณและมีความเชื่อมั่นในตนเอง สาระการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติมเปนสาระการเรียนรูสําหรับการศึกษาตอและอาชีพ ดังนั้นในการจัดการเรียนรูในสาระนี้ ผูสอนควรสงเสริมใหผูเรียนไดฝกทักษะการคิดวิเคราะห โดยคํานึงถึงความสมเหตุสมผลของขอมูล ดังนั้น ในการสอนแตละสาระผูสอนจําเปนตองศึกษา สาระนั้น ๆ ใหเขาใจถองแทเสียกอนแลวเลือกวิธีสอนใหเหมาะสม เพื่อทําใหการจัดการเรียนรู ไดผลดี
  • 2. 180 ขอเสนอแนะ 1. การศึกษาเรื่องกําหนดการเชิงเสนในบทนี้เปนการศึกษาขั้นพื้นฐานเทานั้น โดยมี จุดประสงคเพียงเพื่อใหผูเรียนไดเห็นการประยุกตและประโยชนของคณิตศาสตรในชีวิตจริงบาง เนื้อหาในบทนี้อาศัยความรูพื้นฐานเรื่องสมการ อสมการ และกราฟ ในการแกปญหา ปญหาที่ ใชวิธีการของกําหนดการเชิงเสนในบทนี้จะเนนเฉพาะปญหาที่สามารถนํามาเขียนในรูปสมการและ อสมการเชิงเสนสองตัวแปรเทานั้น เพื่อตองการใหผูเรียนเห็นรูปแบบและแนวทางในการแกปญหา ผูสอนควรบอกผูเรียนวา ปญหาในชีวิตจริงอาจมีความซับซอนและมีตัวแปรมากกวาสองตัว อาจ เปนหลายรอยตัว ซึ่งการแกปญหาดังกลาวสามารถใชความรูเรื่องเมตริกซและคอมพิวเตอรมาชวย หาคําตอบได 2. ประเภทของปญหาที่ใชวิธีการกําหนดการเชิงเสน โดยทั่วไปไดแกปญหาประเภท ตอไปนี้ 1) การมอบหมายงาน (assignment) ปญหาการมอบหมายงานนั้นจะเกี่ยวของกับ การจัดคนหรือเครื่องจักร ใหทํางานประเภทตาง ๆ โดยแตละคนและแตละเครื่องจะทํางานเพียง ประเภทเดียวโดยมีจุดประสงคของการกําหนดลักษณะดังกลาวเพื่อใหไดผลดีที่สุดหรือเสียคาใชจาย ต่ําสุด 2) การผสมอาหาร (blending) ปญหาในเรื่องการผสมอาหารนั้นจะเกี่ยวของกับการ หาสวนผสมวัตถุดิบเพื่อใหสอดคลองตามเกณฑตางๆที่ระบุ วัตถุดิบชนิดหนึ่งๆจะมีคาใชจายใน ระดับหนึ่ง จุดประสงคของการดําเนินการนี้จึงมักจะเปนการกําหนดวาจะผสมในลักษณะใดเพื่อ ที่จะใหเสียคาใชจายต่ําสุด หรือใหไดผลดีที่สุดเปนไปตามเกณฑตาง ๆ ที่ตองการดวย 3) การวางแผนดําเนินการ (planning and scheduling) เนนการตัดสินใจที่จะทํา โครงการตาง ๆ ในอนาคตเพื่อใหเปนไปตามจุดมุงหมายที่ตั้งไวโดยมีขอจํากัดในเรื่องของระยะเวลา ในการทําโครงการนั้น ๆ โดยใหผลประโยชนสูงสุดหรือเสียคาใชจายต่ําสุด 4) การจัดสรรทรัพยากร (resource allocation) ปญหาการจัดสรรทรัพยากรสวนมาก จะมีโครงการที่ตองตัดสินใจตาง ๆ ซึ่งการดําเนินการของโครงการนี้จะทําใหทรัพยากรลดนอยลง โครงการหนึ่ง ๆ จะสงผลตอจุดประสงคในปริมาณหนึ่งจึงตองการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยางจํากัด ทามกลางโครงการเหลานี้เพื่อใหไดผลประโยชนที่ดีที่สุด 5) การขนสง (transportation) ปญหาการขนสงนั้นเปนการขนสงสินคาหรือบริการ จากแหลงผลิตไปยังผูบริโภคทั้งหลาย แหลงผลิตแตละแหลงตางก็มีสินคาเปนปริมาณจํากัดและ ผูบริโภคตางก็มีความตองการในระดับที่ตางกัน นอกจากนี้ยังมีคาใชจายตอหนวยที่แตกตางกันไป ในการขนสงสินคาจากแหลงผลิตหนึ่งไปยังผูบริโภคในที่ตาง ๆ ดวย ดังนั้น ปญหาในลักษณะนี้จึง เปนการหารูปแบบการขนสินคาที่จะทําใหคาใชจายรวมต่ําสุด หรือเกิดประโยชนสูงสุด โดย เปนไปตามเงื่อนไขของการผลิตและการบริโภค
  • 3. 181 3. การเรียนการสอนในบทนี้แบงเปนสองสวนที่สําคัญ สวนแรกคือการเขียนกราฟของ ระบบอสมการขอจํากัดเพื่อระบุอาณาบริเวณที่หาคําตอบได สวนที่สองคือการแปลงสถานการณ ปญหาใหเปนระบบอสมการและการกําหนดฟงกชันจุดประสงคของปญหา ผูสอนควรให ความสําคัญกับทั้งสองสวน 4. ในเบื้องตน ผูสอนควรตรวจสอบความรูพื้นฐานของผูเรียนในเรื่องสมการและ อสมการกอน ทบทวนความรูเรื่องสมการและอสมการเชิงเสน การหาจุดตัดของเสนตรงสองเสน ตลอดจนการเขียนกราฟของระบบอสมการเชิงเสนเทาที่จําเปน โดยอาจเลือกใชแนวทางตาม หนังสือเรียน ในสวนนี้ ผูสอนอาจใหผูเรียนอานทําความเขาใจเนื้อหาในหนังสือเรียนหนา 181 – 182 เกี่ยวกับการใชจุดทดสอบ (test point) เองดวย 5. แบบฝกหัด 3.2 ขอ 2 ไมไดแสดงจุดตัดของเสนตรงกับแกน X และแกน Y และ จุดตัดของเสนตรงที่กําหนดให เพราะมีเจตนาใหผูเรียนไดใชแบบฝกหัดนี้ทบทวนการหาจุดตัด ดวยตนเอง ทั้งนี้หากผูสอนประเมินวาผูเรียนมีพื้นฐานเกี่ยวกับเรื่องนี้ไมเพียงพอ ผูสอนอาจ กําหนดจุดตัดตาง ๆ ในตอนเริ่มตนเพื่อนําผูเรียนใหเขาใจมโนทัศนของอาณาบริเวณที่ถูกปดลอม กอน โดยผูสอนอาจใชชวงเวลาและวิธีการที่เหมาะสมในการทบทวนเรื่องการเขียนกราฟเสนตรง และการหาจุดตัดของเสนตรงเพิ่มเติมใหแกผูเรียน 6. แนวทางการเรียนการสอนของบทนี้อาจมีหลายแนวทางที่แตกตางกัน แนวทางหนึ่ง คือแนวทางตามลําดับเนื้อหาในหนังสือเรียนโดยเริ่มจากการเขียนกราฟ แลวนําเสนอวิธีการแกปญหา กําหนดการเชิงเสนผานสถานการณปญหาในตัวอยางที่ 1 (หนา 188 – 193) สวนอีกแนวทางหนึ่ง ที่ผูสอนอาจทําไดคือ เริ่มตนดวยการใหหาคาสูงสุดหรือคาต่ําสุดของฟงกชันที่กําหนดใหในอาณา บริเวณที่เปนไปได โดยยังไมนําเสนอสถานการณปญหา ผูสอนอธิบายวา คาของ 6x + 7y – 9 คือฟงกชันของ x และ y ซึ่งสามารถเขียนในรูป f(x, y) = 6x + 7y – 9 สังเกตวา f(x, y) ก็คือ ฟงกชันจุดประสงค นั่นเอง ดังนั้น f(3, 5) คือคาของฟงกชัน f เมื่อ x = 3 และ y = 5 ซึ่งเทากับ (6)(3) + (7)(5) – 9 = 44 จากนั้นผูสอนอธิบายวา ในบางครั้ง เราอาจตองการทราบคาสูงสุดหรือคาต่ําสุดของฟงกชันภายใตเงื่อนไขที่กําหนดให ตัวอยางเชน หาคาสูงสุดและคาต่ําสุดของ f(x, y) = 5x – 3y โดยมีเงื่อนไขตอไปนี้ –x + y ≤ 2 x + y ≤ 6 0 ≤ x ≤ 5 y ≥ 0 เมื่อเขียนกราฟแลว ผูสอนใชแนวทางตามหนังสือเรียนหนา 191 – 193 เพื่อนําไปสู ขอสรุปที่วา คาสูงสุดหรือคาต่ําสุดจะอยูที่จุดมุมของรูปหลายเหลี่ยมที่ถูกกําหนดโดยเงื่อนไข จาก ตัวอยางขางตน จุดมุมอยูที่ (0, 0), (0, 2), (2, 4 ), (5, 1) และ (5, 0)
  • 4. 182 f(x, y) = 5x – 3y f(0, 0) = (5)(0) – (3)(0) = 0 f(0, 2) = (5)(0) – (3)(2) = –6 f(2, 4 ) = (5)(2) – (3)(4) = –2 f(5, 1) = (5)(5) – (3)(1) = 22 f(5, 0) = (5)(5) – (3)(0) = 25 ดังนั้น คาสูงสุดและคาต่ําสุดของ f(x, y) คือ 25 และ –6 ตามลําดับ ถาผูสอนจะดําเนินการสอนตามแนวทางที่สองนี้ก็อาจใหผูเรียนฝกตามแนวทางของ แบบฝกหัด 3.3 ขอ 1 และขอ 2 กอนจนชํานาญ แลวจึงคอยนําเขาสูเรื่องสถานการณปญหาตอไป 7. การสรางระบบอสมการขอจํากัดจากสถานการณปญหา อาจไดตัวเลขที่มีหลายหลัก ซึ่งทําใหลําบากในการเขียนกราฟ ผูสอนควรอธิบายกับผูเรียนวากอนการเขียนกราฟ อาจลดทอน ตัวเลขที่มีหลายหลักใหงายขึ้น การทําเชนนี้ไมไดกระทบตอระบบอสมการขอจํากัดแตอยางใด เชน ระบบอสมการ 1 1 x y 5 10 + ≤ 9 800000x + 500000y ≤ 40000000 ลดทอนตัวเลขใหงายขึ้นเปน 2x + y ≤ 90 8x + 5y ≤ 400 ผูสอนอาจใหผูเรียนทดลองเขียนกราฟของระบบอสมการทั้งสองแลวตรวจสอบดูกราฟ ที่ไดวาเหมือนกันหรือไม 8. การสอนใหผูเรียนจําลําดับขั้นตอนการแกปญหาไปใชไดทันทีไมใชเรื่องยาก อยางไร ก็ตามผูสอนควรพยายามชวยใหผูเรียนเขาใจใหไดวา ทําไมคําตอบของปญหาจะตองพิจารณาจาก จุดยอดของรูปหลายเหลี่ยมของอาณาบริเวณของคําตอบที่เปนไปไดเทานั้น 9. ในกรณีที่จุดมุมสองจุดใหคาสูงสุด (หรือต่ําสุด) เชนในแบบฝกหัด 3.3 ขอ 1(2) ผูสอนควรพยายามชี้ใหผูเรียนเขาใจวายังมีอีกหลายจุดที่เปนคําตอบ และคําตอบของปญหาทั้งหมด คือจุดที่อยูบนสวนของเสนตรงที่เชื่อมจุดมุมทั้งสองจุดนั่นเอง X Y x + y = 6 –x + y = 2 (2, 4) (0, 2) (5, 1) (5, 0)O x = 5
  • 5. 183 ตัวอยางแบบทดสอบประจําบท 1. จงแสดงอาณาบริเวณซึ่งถูกกําหนดดวยระบบอสมการตอไปนี้ (1) x + 3y ≤ 15 (2) 2x + 3y ≥ 6 4x + y ≤ 16 3x – 2y ≤ 9 x ≥ 0 x + 5y ≤ 20 y ≥ 0 x ≥ 0 y ≥ 0 2. จงเขียนระบบอสมการซึ่งมีกราฟดังที่กําหนดใหตอไปนี้ (1) (2) 3. จงหาคาต่ําสุด และสูงสุดของ M ที่สอดคลองตามอสมการขอจํากัดที่กําหนดใหตอไปนี้ (1) M = x + 2y (2) M = 2x + y 3x + 2y ≥ 12 x + 2y ≤ 48 x + 3y ≥ 11 x + y ≤ 30 x ≥ 0 2x + y ≤ 50 y ≥ 0 x ≥ 0 y ≥ 0 Y X (10, 38) x + 5y = 200 2x + 3y = 134 (0, 40) (67, 0) O x + 2y = 193x + 2y = 29 (19, 0) (5, 7) 29 (0, ) 2 Y XO
  • 6. 184 4. โรงงานไอศกรีมผลิตไอศกรีมสามรส ไดแก รสสตรอเบอรี่ รสช็อกโกแลต และรสวานิลา โดยผลิตไดวันละ 200 ถัง ไอศกรีมรสสตรอเบอรี่ กําไรถังละ50บาท ไอศกรีมรสช็อกโกแลต กําไรถังละ 40 บาท และไอศกรีมรสวานิลา กําไรถังละ 30 บาท ตามปกติความตองการของ ตลาดในแตละวัน ไอศกรีมรสวานิลาขายไดไมเกิน 60 ถัง และไอศกรีมรสช็อกโกแลตขายได มากกวาไอศกรีมรสสตรอเบอรี่เสมอ แตโรงงานก็ผลิตไอศกรีมช็อกโกแลตไดเต็มที่วันละ ไมเกิน 80 ถัง (1) ถาโรงงานผลิตไอศกรีมรสสตรอเบอรี่และไอศกรีมรสช็อกโกแลตวันละ x และ y ถัง ตามลําดับ จงเขียนอสมการขอจํากัด (2) ถาโรงงานตองการกําไรสูงสุด จงเขียนฟงกชันจุดประสงค และหากําไรสูงสุด เฉลยตัวอยางแบบทดสอบประจําบท 1. (1) (2) 2. (1) x + 5y ≤ 200 (2) x + 2y ≥ 19 2x + 3y ≤ 134 3x + 2y ≥ 29 x ≥ 0 x ≥ 0 y ≥ 0 y ≥ 0 3. (1) กราฟของอสมการขอจํากัดคือ Y X (0, 6) 3x + 2y = 12 (2, 3) O x + 3y = 11 (11, 0) Y (0, 5) (3, 4) (4, 0) O x + 3y = 15 4x + y = 16 X (0, 4) (5, 3) (3, 0) O 3x – 2y = 9x + 5y = 20 Y X 2x + 3y = 6 (0, 2)
  • 7. 185 จากกราฟจะเห็นวา ไมสามารถหาคาสูงสุดของฟงกชันจุดประสงคที่สอดคลองกับ อสมการขอจํากัดได คาต่ําสุดของฟงกชันจุดประสงคหาไดจากการพิจารณาจุดมุม (0, 6), (2, 3) และ (11, 0) เมื่อแทนคาพิกัดของจุดมุมขางตนในฟงกชันจุดประสงค จะไดคา 8 เปนคาต่ําสุดของ M ดังนี้ (x, y) M = x + 2y (0, 6) (2, 3) (11, 0) 12 8 11 (2) กราฟของอสมการขอจํากัดคือ จุดมุมที่ไดจากอสมการขางตนคือ (0, 0), (0, 24), (12, 18 ), (20, 10) และ (25, 0) เมื่อแทนคาพิกัดของจุดมุมขางตนในฟงกชันจุดประสงค จะไดคา M ดังนี้ (x, y) M = 2x + y (0, 0) (0, 24) (12, 18) (20, 10) (25, 0) 0 24 42 50 50 คาต่ําสุดของ M คือ 0 เมื่อ x = 0 และ y = 0 ทุกจุด (x, y) บนเสนตรง 2x + y = 50 เมื่อ x ∈ (20, 25) ใหคาสูงสุดของ M เทากับ 50 Y X x + 2y = 48 (12, 18) 2x + y = 50 (0, 24) (20, 10) O (25, 0) x + y = 30
  • 8. 186 4. (1) อสมการขอจํากัด คือ 200 – x – y ≤ 60 (ไอศกรีมรสวานิลาขายไดไมเกิน 60 ถัง ) y ≥ x (ไอศกรีมรสช็อกโกแลตขายไดมากกวารสสตรอเบอรี่) y ≤ 80 (ผลิตไอศกรีมช็อกโกแลตไดไมเกิน 80 ถังตอวัน) (2) ฟงกชันจุดประสงค คือ P = 50x + 40y + 30(200 – x – y ) = 6000 + 20x + 10y กราฟของอสมการขอจํากัดคือ จุดมุมที่ไดจากอสมการขางตนคือ (60, 80), (70, 70) และ (80, 80) เมื่อแทนคาพิกัดของจุดมุมขางตนในฟงกชันจุดประสงค จะไดคา P ดังนี้ (x, y) P = 6000 + 20x + 10y (60, 80) (70, 70) (80, 80) 8000 8100 8400 จุดมุม (80, 80 ) ใหคา P สูงสุด ดังนั้น โรงงานควรผลิตไอศกรีมรสสตรอเบอรี่ 80 ถัง ไอศกรีมรสช็อกโกแลต 80 ถัง และไอศกรีมรสวานิลา 200 – 80 – 80 = 40 ถัง ซึ่งจะไดกําไรวันละ 8400 บาท (60, 80) (80, 80) (70, 70) 140 120 100 80 60 40 20 20 40 60 80 100 120 140O Y X x = y y = 80 200 – x – y = 60 หรือ y = –x + 140
  • 9. 187 เฉลยแบบฝกหัด 3.1 1. (1, 1) อยูในกราฟของอสมการ 2x + y > 2 (–1, 3), 1 1 ( , ) 4 2 อยูในกราฟของอสมการ 2x + y < 2 (2, –2) อยูบนเสนตรงซึ่งเปนกราฟของ 2x + y = 2 2. (1) x < 2 (2) y > 3 (3) y ≤ 3 (4) x ≥ –1 (5) 2x + 2y < 4 (6) y + 2x > 2 (7) 3y – x ≤ 6 (8) x ≤ 2y – 2 X Y x = 2 X Y y = 3 O O X Y y = 3 O X Yx = –1 O X Y (0, 2) O (2, 0) X Y (1, 0)O (0, 2) X Y (–6, 0) O (0, 2) X Y O (–2, 0) (0, 1)
  • 10. 188 เฉลยแบบฝกหัด 3.2 1. (1) (2) (3) (4) (5) (6) ไมมีบริเวณที่ซอนทับกันของ อสมการ 0 ≤ x ≤ 2 และ y ≥ 0 และ 2x – 3y ≥ 12 2. (1) 2x + y ≤ 4 (2) x – y ≥ 1 x ≥ 0 x + 2y ≤ 6 y ≥ 0 y ≥ 0 (3) 2x + y ≤ 10 (4) 4x + y ≤ 16 4x – y ≤ 8 x + 3y ≤ 15 x ≥ 0 x ≥ 0 y ≥ 0 (5) 3x + 2y ≥ 12 (6) 3x + y ≥ 180 x + 3y ≥ 11 x + y ≥ 100 x ≥ 0 2x + 5y ≥ 260 y ≥ 0 x ≥ 0 y ≥ 0 X Y x = 1 O x = –1 X Y O y = 2 X Y O x = y (0, 1) 3 3 ( , ) 4 4 (3, 0) x + 3y = 3 X Y O y – 2x = 2 (0, 2) (–1, 0) X Y O (0, 1) (1, 0) y = –2 x + y = 1
  • 11. 189 เฉลยแบบฝกหัด 3.3 1. (1) P = 5x + 3y 2x + 4y ≤ 80 5x + 2y ≤ 80 x ≥ 0 y ≥ 0 กราฟของอสมการขอจํากัด คือ จุดมุมที่ไดจากอสมการขอจํากัดคือ (0, 0), (0, 20), (10, 15) และ (16, 0) เมื่อแทนคาพิกัดของจุดมุมขางตนในฟงกชันจุดประสงค จะไดคา P ดังนี้ (x, y) 5x 3y P = 5x + 3y (0, 0) (0, 20) (10, 15) (16, 0) 0 0 50 80 0 60 45 0 0 60 95 80 ดังนั้น จุดมุม (10, 15) ใหคา P มากที่สุด นั่นคือ คาสูงสุดของ P คือ 95 เมื่อ x = 10 และ y = 15 Y XO (0, 40) 5x + 2y = 80 (10, 15) (40, 0) 2x + 4y = 80 (16, 0) (0, 20)
  • 12. 190 (2) P = 15x + 10y 3x + 2y ≤ 80 2x + 3y ≤ 70 x ≥ 0 y ≥ 0 กราฟของอสมการขอจํากัด คือ จุดมุมที่ไดจากอสมการขอจํากัดคือ (0, 0), (0, 1 23 3 ), (20, 10) และ ( 2 26 3 , 0) เมื่อแทนคาพิกัดของจุดมุมขางตนในฟงกชันจุดประสงค จะไดคา P ดังนี้ (x, y) 15x 10y P = 15x +10y (0, 0) 0 0 0 (0, 1 23 3 ) 0 233.33 233.33 (20, 10) 300 100 400 ( 2 26 3 , 0) 400 0 400 ดังนั้น จุดมุม (20, 10) หรือ ( 2 26 3 , 0) จะใหคา P เทากันคือ 400 นั่นคือ คาสูงสุดของ P คือ 400 เมื่อ x = 20 และ y = 10 หรือ x = 2 26 3 และ y = 0 แตสังเกตวา เสนตรงที่ผานจุด (20, 10) และจุด ( 2 26 3 , 0) คือ สมการ 3x + 2y = 80 หรือ 15x + 10y = 400 แสดงวายังมีอีกหลายจุดที่เปนคําตอบ Y X 3x + 2y = 80 หรือ 15x + 10y = 400 (0, 40) 2x + 3y = 70(20, 10) (35, 0) (0, 1 23 3 ) 2 (26 , 0) 3 O
  • 13. 191 (3) P = 35x1 – 25x2 2x1 + 3x2 ≤ 15 3x1 + x2 ≤ 12 x1 ≥ 0 x2 ≥ 0 กราฟของอสมการขอจํากัด คือ จุดมุมที่ไดจากอสมการขอจํากัดคือ (0, 0), (0, 5), (3, 3) และ (4, 0) เมื่อแทนคาพิกัดของจุดมุมขางตนในฟงกชันจุดประสงค จะไดคา P ดังนี้ (x1, x2) 35x1 25x2 P = 35x1 – 25x2 (0, 0) 0 0 0 (0, 5) 0 125 –125 (3, 3) 105 75 30 (4, 0) 140 0 140 ดังนั้น จุดมุม (4, 0) ใหคา P มากที่สุด นั่นคือ คาสูงสุดของ P คือ 140 เมื่อ x1 = 4 และ x2 = 0 X1 X2 3x1 + x2 = 12 2x1 + 3x2 = 15 (0, 12) (0, 5) O (3, 3) (15 2 , 0) (4, 0)
  • 14. 192 (4) P = 2x + 3y x + y ≥ 4 5x + 2y ≤ 25 x ≤ 4 y ≤ 5 x ≥ 0 y ≥ 0 กราฟของอสมการขอจํากัด คือ จุดมุมที่ไดจากอสมการขอจํากัดคือ (0, 4), (0, 5), (3, 5), (4, 5 2 ) และ (4, 0) เมื่อแทนคาพิกัดของจุดมุมขางตนในฟงกชันจุดประสงค จะไดคา P ดังนี้ (x, y) 2x 3y P = 2x + 3y (0, 4) 0 12 12 (0, 5) 0 15 15 (3, 5) 6 15 21 (4, 5 2 ) 8 7.5 15.5 (4, 0) 8 0 8 ดังนั้น จุดมุม (3, 5) ใหคา P มากที่สุด นั่นคือ คาสูงสุดของ P คือ 21 เมื่อ x = 3 และ y = 5 X Y 25 (0, ) 2 5x + 2y = 25 y = 5 x = 4 (0, 4) x + y = 4 (0, 5) (3, 5) (5, 0) (4, 0) (4, 5 2 ) O
  • 15. 193 (5) P = 100x + 80y x + 2y ≤ 800 3x + 2y ≤ 1200 x ≥ 0 y ≥ 0 กราฟของอสมการขอจํากัด คือ จุดมุมที่ไดจากอสมการขอจํากัดคือ (0, 400), (200, 300), (400, 0), และ (0, 0) เมื่อแทนคาพิกัดของจุดมุมขางตนในฟงกชันจุดประสงค จะไดคา P ดังนี้ (x, y) 100x 80y P = 100x + 80y (0, 0) 0 0 0 (0, 400) 0 32000 32000 (200, 300) 20000 24000 44000 (400, 0) 40000 0 40000 ดังนั้น จุดมุม (200, 300) ใหคา P สูงสุด นั่นคือ คาสูงสุดของ P คือ 44000 เมื่อ x = 200 และ y = 300 X Y (0, 600) 3x + 2y = 1200 (0, 400) x + 2y = 800 (200, 300) (800, 0) (400, 0)O
  • 16. 194 (6) P = 300x + 200y 6x + 6y ≤ 420 3x + 6y ≤ 300 4x + 2y ≤ 240 x ≥ 0 y ≥ 0 กราฟของอสมการขอจํากัด คือ จุดมุมที่ไดจากอสมการขอจํากัดคือ (0, 50), (40, 30), (50, 20), (60, 0) และ (0, 0) เมื่อแทนคาพิกัดของจุดมุมขางตนในฟงกชันจุดประสงค จะไดคา P ดังนี้ (x, y) 300x 200y P = 300x + 200y (0, 0) 0 0 0 (0, 50) 0 10000 10000 (40, 30) 12000 6000 18000 (50, 20) 15000 4000 19000 (60, 0) 18000 0 18000 ดังนั้น จุดมุม (50, 20) ใหคา P สูงสุด นั่นคือ คาสูงสุดของ P คือ 19000 เมื่อ x = 50 และ y = 20 X Y (60, 0)O (0, 50) 4x + 2y = 240 6x + 6y = 420 3x+ 6y = 300 (40, 30) (50, 20) (0, 120) (0, 70) (70, 0) (100, 0)
  • 17. 195 2. (1) C = 9x + 15y 3x + 4y ≥ 25 x + 3y ≥ 15 x ≥ 0 y ≥ 0 กราฟของอสมการขอจํากัด คือ จุดมุมที่ไดจากอสมการขอจํากัดคือ (0, 25 4 ), (3, 4) และ (15, 0) เมื่อแทนคาพิกัดของจุดมุมขางตนในฟงกชันจุดประสงค จะไดคา C ดังนี้ (x, y) 9x 15y C = 9x + 15y (0, 25 4 ) 0 93.75 93.75 (3, 4) 27 60 87 (15, 0) 135 0 135 ดังนั้น จุดมุม (3, 4) ใหคา C ต่ําสุด นั่นคือ คาต่ําสุดของ C คือ 87 เมื่อ x = 3 และ y = 4 X Y O 3x + 4y = 25 x + 3y = 15(3, 4) (15, 0) 25 ( , 0) 3 25 (0, ) 4 (0, 5)
  • 18. 196 (2) C = 28x1 + 35x2 2x1 + x2 ≥ 110 2x1 + 3x2 ≥ 170 x1 ≥ 0 x2 ≥ 0 กราฟของอสมการขอจํากัด คือ จุดมุมที่ไดจากอสมการขอจํากัดคือ (0, 110), (40, 30) และ (85, 0) เมื่อแทนคาพิกัดของจุดมุมขางตนในฟงกชันจุดประสงค จะไดคา C ดังนี้ (x1, x2) 28x1 35x2 C = 28x1 + 35x2 (0, 110) 0 3850 3850 (40, 30) 1120 1050 2170 (85, 0) 2380 0 2380 ดังนั้น จุดมุม (40, 30) ใหคา C ต่ําสุด นั่นคือ คาต่ําสุดของ C คือ 2170 เมื่อ x1 = 40 และ x2 = 30 X1 X2 O 2x1 + x2 = 110 2x1 + 3x2 = 170 (85, 0) (40, 30) (55, 0) 170 (0, ) 3 (0, 110)
  • 19. 197 (3) C = 40000y1 + 32000y2 6y1 + 2y2 ≥ 12 2y1 + 2y2 ≥ 8 4y1 + 12y2 ≥ 24 y1 ≥ 0 y2 ≥ 0 กราฟของอสมการขอจํากัด คือ จุดมุมที่ไดจากอสมการขอจํากัดคือ (0, 6), (1, 3), (3, 1) และ (6, 0) เมื่อแทนคาพิกัดของจุดมุมขางตนในฟงกชันจุดประสงค จะไดคา C ดังนี้ (y1, y2) 40000y1 32000y2 C = 40000y1 + 32000y2 (0, 6) 0 192000 192000 (1, 3) 40000 96000 136000 (3, 1) 120000 32000 152000 (6, 0) 240000 0 240000 ดังนั้น จุดมุม (1, 3) ใหคา C ต่ําสุด นั่นคือ คาต่ําสุดของ C คือ 136000 เมื่อ y1 = 1 และ y2 = 3 Y1 Y2 O (0, 6) 6y1 + 2y2 = 12 (1, 3) (3, 1) (6, 0)(2, 0) (0, 2) 4y1 + 12y2 = 24 2y1 + 2y2 = 8 (0, 4) (4, 0)
  • 20. 198 3. (1) 160000x + 80000y ≤ 2720000 (เงินลงทุนซื้อเครื่องจักร) 90x + 54y ≤ 1620 (พื้นที่สําหรับวางเครื่องจักร) หรือ 2x + y ≤ 34 5x + 3y ≤ 90 (2) รายไดตอวัน P = 7500x + 4200y (x, y) 7500x 4200x P = 7500x + 4200y (0, 0) (0, 30) (12, 10) (17, 0) 0 0 90000 127500 0 126000 42000 0 0 126000 132000 127500 โรงงานนี้ควรซื้อเครื่องจักรชนิด A และเครื่องจักรชนิด B อยางละ 12 เครื่อง และ 10 เครื่อง ตามลําดับ รายไดตอวันสูงสุดคือ 132000 บาท Y XO 2x + y = 34 5x + 3y = 90 (0, 30) (17, 0) (12, 10) (0, 34) (18, 0)
  • 21. 199 4. (1) x + y ≤ 10 (จํานวนพนักงาน) 10x + 30y ≤ 180 (เวลาที่ใชในการจัดกลองขึ้นรถ) หรือ x + y ≤ 10 x + 3y ≤ 18 (2) จํานวนกลองที่ขนสงไดตอวัน P = 30x + 70y (x, y) 30x 70y P = 30x + 70y (0, 0) (0, 6) (6, 4) (10, 0) 0 0 180 300 0 420 280 0 0 420 460 300 บริษัทควรใชรถบรรทุกขนาดเล็กและขนาดใหญอยางละ 6 คัน และ 4 คัน ตามลําดับ จึงจะขนสงผลิตภัณฑใหไดจํานวนกลองมากที่สุด X Y O x + y = 10 x + 3y = 18(6, 4)(0, 6) (10, 0) (0, 10) (18, 0)
  • 22. 200 5. (1) 1 1 x y 5 10 + ≤ 9 (เนื้อที่โครงการ) 800000x + 500000y ≤ 40000000 (เงินทุนสรางบานทั้งสองแบบ) หรือ 2x + y ≤ 90 8x + 5y ≤ 400 (2) กําไร P = 100000x + 70000y (x, y) 100000x 70000y P = 100000x + 70000y (0, 0) (0, 80) (25, 40) (45, 0) 0 0 2500000 4500000 0 5600000 2800000 0 0 5600000 5300000 4500000 เจาของโครงการหมูบานจัดสรรควรตัดสินใจสรางทาวนเฮาสอยางเดียว จํานวน 80 หลัง จึงจะไดผลกําไรสูงสุด ผลกําไรสูงสุดคือ 5,600,000 บาท X Y (0, 80) (25, 40) O (45, 0) 2x + y = 90 8x + 5y = 400 (0, 90) (50, 0)
  • 23. 201 6. ให P เปนกําไร x เปนจํานวนเกาอี้ขาสั้นที่ผลิตในแตละวัน และ y เปนจํานวนเกาอี้ขายาวที่ผลิตในแตละวัน จะเขียนฟงกชันจุดประสงคและอสมการขอจํากัดไดดังนี้ P = 30x + 50y และ x + 2y ≤ 8 (เวลาที่ตองใชในการผลิตขั้นตน) 2x + 2y ≤ 10 (เวลาที่ตองใชในการผลิตขั้นที่สอง) x ≥ 0 y ≥ 0 โดยที่ x และ y เปนจํานวนเต็ม เขียนกราฟของอสมการขอจํากัดโดยใช x และ y เปนจํานวนจริงไดดังรูป จุดมุมที่ไดจากอสมการขอจํากัดคือ จุด (0, 0), (0, 4), (2, 3) และ (5, 0) เมื่อแทนคาพิกัดของจุดมุมขางตนในฟงกชันจุดประสงค จะไดคา P ดังนี้ (x, y) 30x 50y P = 30x + 50y (0, 0) (0, 4) (2, 3) (5, 0) 0 0 60 150 0 200 150 0 0 200 210 150 จุดมุม (2, 3) ใหคา P มากที่สุด ดังนั้น ในแตละวันถาใหไดกําไรมากที่สุดควรจะผลิตเกาอี้ขาสั้น จํานวน 2 ตัว และเกาอี้ ขายาว จํานวน 3 ตัว และจะไดกําไร 210 บาท X Y O 2x + 2y = 10 x + 2y = 8 (5, 0) (0, 4) (2, 3) (0, 5) (8, 0)
  • 24. 202 7. ให P เปนกําไร x เปนจํานวนจอภาพธรรมดาที่ควรผลิตตอสัปดาห และ y เปนจํานวนจอภาพแบนที่ควรผลิตตอสัปดาห จะเขียนฟงกชันจุดประสงคและอสมการขอจํากัดไดดังนี้ P = 1800x + 2200y และ x + y ≤ 300 (จํานวนจอภาพทั้งสองชนิดที่ผลิต) 3600x + 5400y ≤ 1,296,000 (ตนทุนการผลิต) x ≥ 0 y ≥ 0 โดยที่ x และ y เปนจํานวนเต็ม เขียนกราฟของอสมการขอจํากัดโดยใช x และ y เปนจํานวนจริงไดดังรูป จุดมุมที่ไดจากอสมการขอจํากัดคือ จุด (0, 0), (0, 240), (180, 120) และ (300, 0) และเมื่อแทนคาพิกัดของจุดมุมขางตนในฟงกชันจุดประสงค จะไดคา P ดังนี้ (x, y) 1800x 2200y P = 1800x + 2200y (0, 0) (0, 240) (180, 120) (300, 0) 0 0 324,000 540,000 0 528,000 264,000 0 0 528,000 588,000 540,000 จุดมุม (180, 120) ใหคา P มากที่สุด ดังนั้น ในแตละสัปดาหควรจะผลิตจอภาพธรรมดา จํานวน 180 ชิ้น และจอภาพแบนจํานวน 120 ชิ้น จึงไดกําไรมากที่สุดคือไดกําไร 588,000 บาท Y X (180, 120) x + y = 300 3600x + 5400y = 1296000 O (0, 240) (300, 0) (0, 300) (360, 0)
  • 25. 203 8. ให P เปนกําไร x เปนจํานวนชุดกลางวันที่ควรจะตัด y เปนจํานวนชุดราตรีที่ควรจะตัด จะเขียนฟงกชันจุดประสงคและอสมการขอจํากัดไดดังนี้ P = 300x + 500y และ 2x + y ≤ 16 (ผาสีพื้นที่ตองใช) x + 3y ≤ 15 (ผาลายดอกที่ตองใช) x + 2y ≤ 11 (ผาลูกไมที่ตองใช) x ≥ 0 y ≥ 0 โดยที่ x และ y เปนจํานวนเต็ม เขียนกราฟของอสมการขอจํากัดโดยใช x และ y เปนจํานวนจริงไดดังรูป จุดมุมที่ไดจากอสมการขอจํากัดคือ จุด (0, 0), (0, 5), (3, 4), (7, 2) และ (8, 0) และเมื่อแทนคาพิกัดของจุดมุมขางตนในฟงกชันจุดประสงค จะไดคา P ดังนี้ (x, y) 300x 500y P = 300x + 500y (0, 0) (0, 5) (3, 4) (7, 2) (8, 0) 0 0 900 2100 2400 0 2500 2000 1000 0 0 2500 2900 3100 2400 จุดมุม (7, 2) ใหคา P มากที่สุด ดังนั้น ชางตัดเสื้อควรจะตัดชุดกลางวัน 7 ชุด และชุดราตรี 2 ชุด จึงจะไดกําไรมากที่สุด คือมีกําไร 3,100 บาท Y XO 2x + y = 16 x + 2y = 11 x + 3y = 15 (7, 2) (8, 0) (11, 0) (0, 5) 11 (0, ) 2 (3, 4) (0, 16) (15, 0)
  • 26. 204 9. ให C แทนคาแรงที่ตองจายใหคนงาน 2 คน x แทนจํานวนชั่วโมงในการทํางานของคนงานคนแรก และ y แทนจํานวนชั่วโมงในการทํางานของคนงานคนที่สอง จะเขียนฟงกชันจุดประสงคและอสมการขอจํากัดไดดังนี้ C = 25x + 22y และ x + y ≥ 5 (จํานวนตู) 3x + 2y ≥ 12 (จํานวนโตะ) 3x + 6y ≥ 18 (จํานวนชั้นวางหนังสือ) x ≥ 0 y ≥ 0 โดยที่ x และ y เปนจํานวนเต็ม เขียนกราฟของอสมการขอจํากัดโดยใช x และ y เปนจํานวนจริงไดดังรูป จุดมุมที่ไดจากอสมการขอจํากัดคือ จุด (0, 6), (2, 3), (4, 1) และ (6, 0) เมื่อแทนคาพิกัดของจุดมุมขางตนในฟงกชันจุดประสงค จะไดคา C ดังนี้ (x, y) 25x 22y C = 25x + 22y (0, 6) (2, 3) (4, 1) (6, 0) 0 50 100 150 132 66 22 0 132 116 122 150 จุดมุม (2, 3) ใหคา C ต่ําที่สุด ดังนั้น ถาตองการใหเสียคาแรงนอยที่สุดเขาควรจะจางคนงานคนที่หนึ่งทํางาน 2 ชั่วโมง และจางคนงานคนที่สองทํางาน 3 ชั่วโมง X Y 3x + 2y = 12 x + y = 5 (2, 3) 3x + 6y = 18 (4, 1) (6, 0) (0, 3) (0, 5) (0, 6) O (4, 0) (5, 0)