SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 74
Baixar para ler offline
ลูก
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 (ปทุมธานี)
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 (ปทุมธานี)
คานา
งานวิจัยเรื่องการติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน : กิจกรรมตลาดนัดอาชีพ
ของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา เป็นการติดตามและประเมินผลการดาเนินงานกิจกรรม
ตลาดนัดอาชีพ โดยมีวัตถุประสงค์ของการประเมินคือ 1. เพื่อศึกษาแนวคิดและประสบการณ์ในการประกอบ
อาชีพหลักหรืออาชีพเสริมในอนาคตของนักเรียน 2. เพื่อประเมินกระบวนการหลักการบริหารจัดการร้านของ
นักเรียน 3. เพื่อประเมินคุณลักษณะของนักเรียนในด้านการประกอบอาชีพ
สาหรับผลการประเมินพบว่าการจัดกิจกรรมตลาดนัดอาชีพ สาหรับนักเรียนทุกระดับชั้นในครั้งนี้
สาเร็จและเรียบร้อยผ่านไปด้วยดี ก็ด้วยความร่วมมือและความสามัคคีของคณะครูผู้จัดกิจกรรม อีกทั้งยังได้รับ
ความร่วมมือจากทางโรงเรียนให้จัดกิจกรรมดังกล่าว และที่สาคัญนักเรียนทุกคนได้ให้ความร่วมมือในการ
ดาเนินกิจกรรม ทาให้กิจกรรมตลาดนัดอาชีพไปด้วยความเรียบร้อย และไม่มีเหตุการณ์ผิดปกติ อันตราย หรือ
ผลลัพธ์ที่ไม่ดีกับนักเรียน ครู
และการประเมินผลการจัดกิจกรรมตลาดนัดอาชีพ โดยนักเรียนและครูเป็นผู้ทาการประเมิน ซึ่งมีผล
การประเมินอยู่ในระดับมากที่สุด คือ นักเรียนและครูมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมนี้และได้รับความรู้จาก
การจัดกิจกรรมตลาดนัดอาชีพมากที่สุด
ในส่วนของข้อเสนอแนะนั้น ความเห็นของนักเรียนส่วนใหญ่คืออยากให้มีการจัดกิจกรรมตลาดนัด
อาชีพทุกภาคเรียน เพราะเห็นว่าเป็นกิจกรรมที่นักเรียนทุกคนในโรงเรียนมีส่วนร่วมและเกิดประโยชน์ต่อ
นักเรียนอย่างแท้จริง
สารบัญ
หน้า
บทที่ 1 บทนา 1
ความสาคัญของปัญหา 1
คาถามการประเมิน 2
วัตถุประสงค์การประเมิน 3
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 3
ขอบเขตการประเมิน 4
นิยามศัพท์ 5
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 7
โครงการหารายได้ระหว่างเรียน : กิจกรรมตลาดนัดอาชีพ 8
แนวคิดเกี่ยวกับการประเมินโครงการ 13
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 35
บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย 42
กลุ่มประชากร 42
กลุ่มตัวอย่าง 42
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 43
การรวบรวมข้อมูล 44
การวิเคราะห์ข้อมูล 44
บทที่ 4 ผลการวิจัยและข้อวิจารณ์ 45
ผลการวิจัย 45
บทที่ 5 สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ 49
ภาคผนวก 50
ภาคผนวก ก การดาเนินกิจกรรม 51
ภาคผนวก ข คาสั่งโรงเรียน 57
ภาคผนวก ค ผู้จัดทา 68
1
บทที่ 1
บทนา
ความสาคัญของปัญหา
การประกอบอาชีพเป็นที่มาของรายได้ เพื่อนาไปใช้จ่ายในการดารงชีวิต ซึ่งจาเป็นต้อง
อาศัยปัจจัยสี่ ได้แก่ อาหาร ที่อยู่อาศัย เครื่องนุ่งห่ม และยารักษาโรค ในอดีตสิ่งของต่าง ๆ
เหล่านี้เป็นหน้าที่ของพ่อแม่เป็นผู้จัดหาให้แก่สมาชิก ด้วยการผลิตขึ้นใช้เองในครอบครัว โดยไม่
จาเป็นต้องใช้เงินซื้อหา ปัจจุบันการดารงชีวิตในสังคมได้เปลี่ยนแปลงไป ประชาชนมีการศึกษามาก
ขึ้น ความรู้ที่ได้รับจะเป็นพื้นฐานในการประกอบอาชีพ เพื่อให้มีรายได้มาซื้อปัจจัยสี่และสิ่งของอื่น ๆ
ในการดารงชีวิตและสร้างมาตรฐานที่ดีให้แก่ตนเอง ครอบครัว และสังคม อาชีพมีอยู่มากมาย ควร
พิจารณาเลือกประกอบอาชีพที่มีความถนัดและความสนใจ สุจริต มีความมั่นคงในชีวิตและมีรายได้
เพียงพอความจาเป็นของการประกอบอาชีพ
โครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน : กิจกรรมตลาดนัดอาชีพ เป็นกิจกรรมที่
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา ได้ดาเนินการทุกปีการศึกษา เนื่องจากเป็นกิจกรรมที่
นักเรียนทุกคนในโรงเรียนมีส่วนร่วม นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดงานมาโดยตลอด และที่สาคัญ
เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีรายได้ และพัฒนาทักษะทางอาชีพของตนเอง แต่ทั้งนี้การสอบถาม
ความพึงพอใจต่อโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน : กิจกรรมตลาดนัดอาชีพ ยังเป็นการสอบถาม
ความพึงพอใจของนักเรียน ครู และผู้ปกครองเท่านั้น ยังไม่มีการประเมินผลและติดตามผลหลังจาก
กิจกรรมดาเนินเสร็จสิ้นแล้ว ทาให้ยังไม่มีข้อมูลและสารสนเทศเพื่อหาข้อสรุปว่านักเรียนส่วนใหญ่
สามารถนาความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ที่ได้จากกิจกรรมตลาดนัดอาชีพนี้ไปใช้ในการประกอบ
อาชีพเสริมเพื่อหารายได้ระหว่างเรียนได้หรือไม่ ดังนั้นคณะผู้จัดทาโครงการจึงไม่สามารถขยายงานได้
ในภาพรวม และไม่มีข้อมูลที่เป็นสิ่งยืนยันจากการจัดโครงการว่าควรจะดาเนินการอย่างต่อเนื่องต่อไป
ในภายภาคหน้าหรือไม่ รวมทั้งการจัดโครงการนี้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ครบทุกประเด็นหรือไม่
จากความสาคัญของการประเมินโครงการ ที่จะช่วยทาให้การใช้ทรัพยากรเป็นไปอย่างคุ้มค่า
หรือเกิดประโยชน์เต็มที่ เพราะการประเมินโครงการจะต้องวิเคราะห์ทุกส่วนของโครงการ ข้อมูลใด
หรือปัจจัยใดที่เป็นปัญหาจะได้รับการปรับปรุงแก้ไข เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสมคุ้มค่า
2
ช่วยให้แผนงานบรรลุวัตถุประสงค์ ช่วยแก้ปัญหาอันเกิดจากผลกระทบของโครงการ และทาให้
โครงการมีข้อที่ทาให้เกิดความเสียหายลดน้อยลง ช่วยในการควบคุมคุณภาพของงาน มีส่วนในการ
สร้างขวัญและกาลังใจให้ผู้ปฏิบัติงานตามโครงการ และที่สาคัญคือช่วยในการตัดสินใจในการบริหาร
โครงการ เพราะการประเมินโครงการทาให้ผู้บริหารได้ทราบถึงอุปสรรค ปัญหา ข้อดี ข้อเสีย ความ
เป็นไปได้ และแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขการดาเนินการโครงการ ทาให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจ
ไดว่าจะดาเนินโครงการนั้นต่อไปอย่างไร นอกจากนั้นผลของการประเมินโครงการยังอาจะเป็นข้อมูล
สาคัญในการวางแผนหรือกาหนดนโยบายของผู้บริหารอีกด้วย
จากปัญหาและความสาคัญของการประเมินโครงการข้างต้น ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะทา
การติดตามผลโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน : กิจกรรมตลาดนัดอาชีพ ของโรงเรียนเตรียม
อุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา เพื่อศึกษาในด้านผลที่เกิดจากการจัดทาโครงการว่าเป็นไปตาม
วัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้หรือไม่ และเป็นสารสนเทศสาหรับผู้จัดทาโครงการ กลุ่มบริหารวิชาการ ใน
การจัดโครงการเพื่อส่งเสริมการมีรายได้ระหว่างเรียนที่เหมาะสม ตรงกับความต้องการต่อไป
คาถามการประเมิน
1. โครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน : กิจกรรมตลาดนัดอาชีพ ส่งผลให้นักเรียนมีแนวคิด
และประสบการณ์ในการประกอบอาชีพหลักหรืออาชีพเสริมในอนาคตหรือไม่ โดยมีประเด็นคาถาม
ย่อย ดังนี้
1.1 นักเรียนได้รับประสบการณ์ในการประกอบอาชีพจากกิจกรรมตลาดนัดอาชีพ
หรือไม่ อย่างไร
1.2 นักเรียนมีแนวคิดหรือแนวทางในการประกอบอาชีพหลักหรืออาชีพเสริมใน
อนาคตหรือไม่ อย่างไร
2. นักเรียนมีหลักการบริหารจัดการร้านอย่างเป็นระบบหรือไม่ โดยมีประเด็นคาถามย่อย
ดังนี้
3
2.1 นักเรียนมีการทาบัญชีการเงิน บัญชีรายรับ รายจ่าย อย่างเป็นระบบหรือไม่
อย่างไร
2.2 นักเรียนมีการคิดกาไร ต้นทุน และจาหน่ายสินค้าในราคาที่เหมาะสมหรือไม่
อย่างไร
3. นักเรียนมีคุณลักษณะที่ดีในการประกอบอาชีพหรือไม่ โดยมีประเด็นคาถามย่อย ดังนี้
3.1 นักเรียนเห็นคุณค่าของการประกอบอาชีพสุจริตหรือไม่ อย่างไร
3.2 นักเรียนเห็นคุณค่าของเงินในการประกอบอาชีพหรือไม่ อย่างไร
วัตถุประสงค์การประเมิน
1. เพื่อศึกษาแนวคิดและประสบการณ์ในการประกอบอาชีพหลักหรืออาชีพเสริมในอนาคต
ของนักเรียน
2. เพื่อประเมินกระบวนการหลักการบริหารจัดการร้านของนักเรียน
3. เพื่อประเมินคุณลักษณะของนักเรียนในด้านการประกอบอาชีพ
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
คณะผู้จัดทาโครงการ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี และฝ่ายวิชาการ
ของโรงเรียน ได้สารสนเทศสาหรับใช้ในการวางแผนการจัดกิจกรรมตลาดนัดอาชีพในครั้งต่อไป โดย
หากโครงการนี้ประสบความสาเร็จ ก็จะดาเนินการต่อ โดยปรับปรุงในส่วนที่ต้องแก้ไขตามคาแนะนา
และข้อเสนอแนะของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง หากโครงการนี้ประสบความล้มเหลว ฝ่ายที่เกี่ยวข้องจะได้หา
แนวทางหรือเครื่องมืออื่นๆ มาใช้ในการอบรมและพัฒนาบุคลากรต่อไป เพื่อให้สอดคล้องและ
เหมาะสมกับสภาพนักเรียน เพื่อให้นักเรียนได้เกิดการเรียนรู้มากที่สุด
4
ขอบเขตการประเมิน
การประเมินครั้งนี้กาหนดขอบเขตไว้ดังนี้
1. แหล่งข้อมูลในการประเมิน ได้แก่
1.1 บุคลากรภายในโรงเรียนจานวน 40 คน ได้แก่ ครูที่เข้าร่วมโครงการหารายได้
ระหว่างเรียน : กิจกรรมตลาดนัดอาชีพ โดยจาแนกเป็นครูในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้แก่ กลุ่ม
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กลุ่ม
สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ กลุ่มสาระการเรียนรู้
สุขศึกษาและพลศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาต่างประเทศ จานวนกลุ่มสาระการเรียนรู้ละ 5 คน
1.2 นักเรียนโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา โดยเป็นนักเรียนที่
เรียนที่เข้าร่วมโครงการหารายได้ระหว่างเรียนทุกห้องเรียน ห้องเรียนละ 5 คน
2. ตัวแปรสาคัญในการติดตามผลโครงการหารายได้ระหว่างเรียน : กิจกรรมตลาดนัด
อาชีพ
ตัวแปรสาคัญในการติดตามผลตามโครงการหารายได้ระหว่างเรียน : กิจกรรมตลาด
นัดอาชีพ แบ่งตามคาถามการประเมินเป็น 2 ด้าน ดังนี้
1.1 ด้านครูผู้เข้าร่วมโครงการ
ตัวบ่งชี้ คือ
1. ร้อยละของครูที่ส่งเสริมและให้คาแนะนากับนักเรียนในการหารายได้
ระหว่างเรียน
1.2 ด้านนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ
ตัวบ่งชี้ คือ
5
1. ร้อยละของนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการหารายได้ระหว่างเรียน :
กิจกรรมตลาดนัดอาชีพ
1.3 ด้านผลกระทบที่เกิดกับนักเรียน
ตัวบ่งชี้คือ
1. ร้อยละของนักเรียนที่ได้รับประสบการณ์ในการประกอบอาชีพจาก
กิจกรรมตลาดนัดอาชีพ
2. ร้อยละของนักเรียนที่มีแนวคิดหรือแนวทางในการประกอบอาชีพหลัก
หรืออาชีพเสริมในอนาคต
3. ร้อยละของนักเรียนที่มีการทาบัญชีการเงิน บัญชีรายรับ รายจ่าย อย่าง
เป็นระบบ
4. ร้อยละของนักเรียนที่มีการคิดกาไร ต้นทุน และจาหน่ายสินค้าในราคาที่
เหมาะสม
5. ร้อยละของผู้เรียนที่เห็นคุณค่าของการประกอบอาชีพสุจริต
6. ร้อยละของนักเรียนที่เห็นคุณค่าของเงินที่ได้จากการประกอบอาชีพ
นิยามศัพท์
โครงการหารายได้ระหว่างเรียน หมายถึง โครงการที่ส่งเสริมให้นักเรียนรู้และเข้าใจ
กระบวนการในการบริหารจัดการ และพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อนาไปจาหน่ายและหารายได้ระหว่างเรียน
เพื่อนาเงินที่ได้มาใช้จ่ายในการเรียนรู้ของตนเอง โดยมีกิจกรรมต่างๆ เช่น กิจกรรมตลาดนัดอาชีพ
กิจกรรมเรียนรู้กับวิทยากรท้องถิ่น เป็นต้น
กิจกรรมตลาดนัดอาชีพ หมายถึง กิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อให้นักเรียนทุกคนในโรงเรียนได้มีส่วน
ร่วมในการพัฒนาและจัดหาผลิตภัณฑ์ทั้งที่จัดหามาหรือผลิตขึ้นได้ด้วยตนเองมาจัดจาหน่ายในงานวัน
6
ตลาดนัดอาชีพ เพื่อเป็นการส่งเสริมผลิตภัณฑ์ของตนเองและหารายได้เพื่อนามาใช้ในการเรียนของ
ตนเอง
7
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ตามลาดับดังนี้
1. โครงการหารายได้ระหว่างเรียน : กิจกรรมตลาดนัดอาชีพ
2. แนวคิดเกี่ยวกับการประเมินโครงการ
3. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
8
โครงการหารายได้ระหว่างเรียน : กิจกรรมตลาดนัดอาชีพ
โครงการ ส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน (Mini Company)
กิจกรรมตลาดนัดอาชีพ ตามรอยพ่อ พา ต.อ.พ.ล. พอเพียง
สนองนโยบาย กลยุทธ์ สพฐ. ข้อที่ 1 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ
ตามหลักสูตร และส่งเสริมความสามารถด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่
2. ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์
3. ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักเรียนรู้
และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
4. ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์
ตัดสินใจ แก้ปัญหาได้อย่างมีสติสมเหตุผล
5. ผู้เรียน มีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร
6. ผู้เรียนมีทักษะในการทางาน รักการทางาน สามารถทางาน
ร่วมกับผู้อื่นได้
ลักษณะกิกรรมตาม OUCP กิจกรรมรอง รหัสกิจกรรม 21
ลักษณะโครงการ ต่อเนื่อง
กลุ่มบริหารที่รับผิดชอบ กลุ่มบริหารงานวิชาการ และฝ่ายกิจการนักเรียน
ผู้รับผิดชอบ ครูอนงค์ มีปัญญา และคณะกรรมการนักเรียน
ระยะเวลา 1 ก.ย. 2554 ถึง 30 ส.ค. 2555
1. หลักการและเหตุผล
เนื่องจากสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบันนี้เกิดปัญหามากทาให้คนในสังคมส่วนใหญ่มีการว่างงาน
กันเป็นจานวนมาก เพราะฉะนั้นทางโรงเรียนจึงจัดโครงการ Mini Company ขึ้นเพื่อเป็นการแสดง
หรือจัดการสาธิตในเรื่องการฝึกอาชีพต่างๆให้ผู้เรียนได้รู้จัก และได้ฝึกฝน หรือฝึกปฏิบัติ และไม่ลืมที่
จะปลูกฝังเรื่องอาชีพที่สุจริต เพื่อปลูกฝังให้ผู้เรียนให้สานึกในการประกอบอาชีพสุจริตต่อไปในอนาคต
2. วัตถุประสงค์
2.1 ผลลัพธ์ (Outcomes)
1. นักเรียนมีทักษะในการปฏิบัติ/ฝึกอาชีพที่ตนเองสนใจ
2. นักเรียนมีจิตสานึกในการประกอบอาชีพสุจริต
3. นักเรียนเกิดความตระหนักมีความภาคภูมิใจงานศิลปหัตถกรรม และอาชีพในชุมชน
9
4. นักเรียนมีทักษะในการประกอบอาชีพตามความสนใจของตนเอง และนาไปประยุกต์ใช้ให้
เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวัน
5. นักเรียนมีความตระหนักในการเป็นผู้ผลิตมากกว่าผู้บริโภค
6. นักเรียนน้อมนาและตอบสนองหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง “พระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัว” มาใช้ในชีวิตประจาวัน
2.2 ผลผลิต (Outputs)
1. นักระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ร้อยละ80 มีทักษะในการปฏิบัติงาน
ได้ฝึกอาชีพที่ตนเองสนใจ
2. นักเรียน ร้อยละ80 มีมีจิตสานึกในการประกอบอาชีพสุจริต
3. เป้าหมาย
3.1 ผลลัพธ์ (Outcomes)
1. นักเรียนมีความรู้และทักษะการทางานในอาชีพที่ตนสนใจ
2. นักเรียนมีความรู้ มีทักษะด้านงานอาชีพ และเทคโนโลยี มีคุณลักษณะตามจุดเน้น
ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สามารถนาคุณธรรมและหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้
3. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกรายวิชาของกลุ่มสาระการเรียนรู้การงาน
อาชีพและเทคโนโลยีสูงขึ้น
4. กิจกรรม และขั้นตอนการดาเนินงาน
ลาดับที่ รายการกิจกรรม ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ
1 ขั้นเตรียม
1.1 เสนอโครงการต่อผู้บริหารเพื่อ
ขออนุมัติ
1.2 ประชุมชี้แจงโครงการให้คณะ
ครูทราบถึงวิธีการดาเนินงานของ
โครงการ
1.3 แต่งตั้งคณะกรรมการ
การดาเนินงาน
เมษายน
พฤษภาคม
มิถุนายน
ครูอนงค์ มีปัญญา และ
คณะกรรมการนักเรียน
2 ขั้นดาเนินการ
2.1 ชี้แจงให้ผู้ปกครองทราบ
เกี่ยวกับโครงการ
กรกฎาคม
ครูอนงค์ มีปัญญา และ
คณะกรรมการนักเรียน
10
ลาดับที่ รายการกิจกรรม ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ
2.2 เริ่มดาเนินการ
- กิจกรรมตลาดนัดอาชีพ สิงหาคม
กันยายน
3 ขั้นสรุป
3.1 รายงานผล
3.2 สรุปผล
3.3 ประเมินผล
ตุลาคม
พฤศจิกายน
ครูอนงค์ มีปัญญา และ
คณะกรรมการนักเรียน
สถานที่ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา
5. งบประมาณ 15,000 บาท
รายการ/ กิจกรรม/คาชี้แจง/ในการใช้เงินงบประมาณ
งบ
ประมาณ
นอก
งบประมาณ
รวม
ไตรมาศที่
ใช้งบ
1. ตกแต่งสถานที่ 5,000 5,000 5,000
4. ตู้จาหน่ายสินค้า 5,000 x 3 10,000 10,000
15,000
6. การติดตามประเมินผล
แบบสังเกต แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม แบบสารวจอาชีพเพื่อหารายได้ระหว่างเรียน
ตัวชี้วัด
ความสาเร็จ
เป้าหมายตัวชี้วัด วิธีการประเมิน เครื่องมือที่ใช้
1. นักเรียนมีทักษะ
ในการปฏิบัติ/ฝึก
อาชีพที่ตนเองสนใจ
1. เพื่อให้นักเรียนมีทักษะ
ในการปฏิบัติ/ฝึกอาชีพที่
ตนเองสนใจ
อย่างน้อย จานวน ร้อย
ละ80 คน
1. ประเมินกระบวนการ
อบรมจากกิจกรรม และผ่าน
เกณฑ์ร้อยละ 80 โดย
พิจารณาจาก
- การประเมินการเข้ารับ
การฝึกอบรมการเรียนรู้กับ
วิทยากรท้องถิ่น
แบบประเมิน
11
ตัวชี้วัด
ความสาเร็จ
เป้าหมายตัวชี้วัด วิธีการประเมิน เครื่องมือที่ใช้
2. นักเรียนมีจิตสานึก
ในการประกอบอาชีพ
สุจริต
2. นักเรียนมีจิตสานึกในการ
ประกอบอาชีพสุจริตเพิ่มขึ้น
อย่างน้อย ร้อยละ80
คน
1. ประเมินกระบวนการ
จากกิจกรรมและผ่านเกณฑ์
ร้อยละ 80 โดยพิจารณา
จาก
- การประเมินการเข้าร่วม
กิจกรรม
แบบประเมิน
3. นักเรียนเกิดความ
ตระหนักมีความ
ภาคภูมิใจงาน
ศิลปหัตถกรรม และ
อาชีพ ใน
ชุมชน
5. เพื่อให้นักเรียนเกิดความ
ตระหนักมีความภาคภูมิใจ
งานศิลปหัตถกรรม และ
อาชีพในชุมชนอย่างน้อย
จานวน ร้อยละ80 คน
1. ประเมินกระบวนการจาก
กิจกรรมและผ่านเกณฑ์ร้อย
ละ 80 โดย
พิจารณาจาก
- การประเมิน
การเข้าร่วมกิจกรรม
แบบประเมิน
4. นักเรียนมีทักษะใน
การประกอบอาชีพตาม
ความสนใจของตนเอง
และนาไปประยุกต์
ใช้ให้เกิดประโยชน์ใน
ชีวิตประจาวัน
เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการ
ประกอบอาชีพตามความสนใจ
ของ ตนเอง และนาไป
ประยุกต์ ใช้ให้เกิดประโยชน์
ในชีวิตประจาวัน อย่างน้อย
จานวนร้อยละ80 คน
1. ประเมินกระบวนการจาก
กิจกรรมและผ่านเกณฑ์ร้อย
ละ 80 โดย
พิจารณาจาก
- การประเมิน
การส่งแบบสรุปบัญชี
แบบประเมิน
5. นักเรียนมีความ
ตระหนักใน การเป็น
ผู้ผลิตมากกว่าผู้บริโภค
5. เพื่อให้นักเรียนมีความ
ตระหนัก ในการเป็นผู้ผลิต
มากกว่าผู้บริโภค
อย่างน้อยจานวนร้อยละ80
คน
1. ประเมินกระบวนการจาก
กิจกรรมและผ่านเกณฑ์ร้อย
ละ 80 โดย
พิจารณาจาก
- การประเมิน
การเข้าร่วมกิจกรรม
แบบประเมิน
12
ตัวชี้วัด
ความสาเร็จ
เป้าหมายตัวชี้วัด วิธีการประเมิน เครื่องมือที่ใช้
6. นักเรียนน้อมนาและ
ตอบ สนองหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง
“พระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัว” มาใช้ใน
ชีวิตประจาวัน
6. เพื่อให้นักเรียนน้อมนาและ
ตอบ สนองหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง
“พระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัว” มาใช้ใน
ชีวิตประจาวัน
อย่างน้อยจานวนร้อยละ80
คน
1. ประเมินกระบวนการจาก
กิจกรรมและผ่านเกณฑ์ร้อย
ละ 80 โดย
พิจารณาจาก
- การประเมิน
จากแบบสอบถาม
แบบสอบถาม
13
แนวคิดเกี่ยวกับการประเมินโครงการ
การประเมินโครงการเป็น “ศาสตร์ประยุกต์ (Applied Science)” หรือเป็น “วิทยาการประยุกต์ที่
เกิดจากการผสมผสานของศาสตร์หลายแขนง โดยเฉพาะอย่างยิ่งมีแนวคิดและวิธีการที่ผูกพันกับ
วิชาการสาขาเศรษฐศาสตร์เป็นอย่างมาก อย่างไรก็ดีถ้าพิจารณาเฉพาะคาว่า “การประเมินโครงการ”
แล้ว อาจบอกได้ว่าเป็นคาผสมของคาสองคาคือคาว่า “การประเมิน” กับคาว่า “โครงการ” ซึ่งทั้ง
สองคาต่างก็มีความหมายหรือคาจากัดความเฉพาะของตนเอง
ความหมายของการประเมินโครงการ
นักวิชาการการศึกษาหลายท่าน ให้ความหมายของคาว่า “การประเมิน” ไว้ดังนี้
Stake (1973) ได้ให้ความหมายของการประเมินว่า เป็นการบรรยายและตัดสินคุณค่า
โครงการศึกษา ซึ่งเน้นเรื่องการบรรยายสิ่งที่จะถูกประเมินโดยอาศัยผู้ทรงคุณวุฒิหรือผู้เชี่ยวชาญใน
การตัดสินคุณค่า
Stufflebeam (1971) ได้กล่าวไว้ว่า การประเมินผลเป็นกระบวนการของการกาจัดข้อมูล
การได้รับและการให้ข้อมูลสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ เพื่อตัดสินทางเลือกที่แน่นอน
Rossi and Freeman (1985) ให้ความหมายของคาว่าประเมินผล ว่าหมายถึงแบบแผนใน
การกากับควบคุมการดาเนินการใช้โครงการ และการประเมินค่าคุณประโยชน์ของโครงการ
Cronbach (1980) ให้ความหมายของคาว่าประเมินผลว่าหมายถึงการตรวจสอบหรือสอบวัด
อย่างเป็นระบบของสิ่งที่เกิดขึ้นอันเนื่องมากจากโครงการ เพื่อที่จะรวบรวมสิ่งที่ได้จากการตรวจสอบนี้
ไปปรับปรุงโครงการ
สมหวัง, พิริยานุวัฒน์ (2544) การประเมินโครงการ หมายถึง กระบวนการที่ก่อให้เกิด
สารนิเทศในการปรับปรุงโครงการ และสารนิเทศในการตัดสินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
เยาวดี รางชัยกุล (2546) การประเมินโครงการ หมายถึง กระบวนการรวบรวมและวิเคราะห์
ข้อมูลอย่างเป็นระบบเพื่อสรุปผลว่าโครงการนั้นๆ ได้บรรลุวัตถุประสงค์/เป้าหมาย และมี
ประสิทธิภาพเพียงใด
14
จากความหมายดังกล่าวแล้วอาจสรุปได้ว่า การประเมินโครงการหมายถึง กระบวนการใน
การเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลของการดาเนินโครงการ และพิจารณาบ่งชี้ให้ทราบถึงจุดเด่นหรือ
จุดด้อยของโครงการนั้นอย่างมีระบบแล้วตัดสินใจว่าจะปรับปรุงแก้ไขโครงการนั้นเพื่อการดาเนินงาน
ต่อไปหรือจะยุติการดาเนินงานโครงการนั้น
ทาไมต้องประเมินโครงการ
ในการประเมินโครงการมีเป้าประสงค์หลักคือ ต้องการข้อมูลที่บ่งชี้ว่าโครงการที่
ดาเนินการนั้นเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้หรือไม่หรือเป็นโครงการที่คุ้มค่าต่อการตัดสินใจในการ
ดาเนินการหรือไม่ รวมถึงการศึกษาว่าในการดาเนินการโครงการมีปัญหาที่ต้องปรับปรุงเปลี่ยนแปลง
หรือแก้ไขในเรื่องอะไรบ้าง และเป็นโครงการที่มีคุณค่ามากน้อยเพียงใด
ประเภทของการประเมินโครงการ
การแบ่งประเภทการประเมินโครงการคงมิใช่เป็นการกาหนดเกณฑ์เด็ดขาด แต่
จาเป็นต้องอาศัยเกณฑ์หลายชนิดมาจาแนกประเภท เช่น ใช้เวลา วัตถุประสงค์ วิธีการ และรูปแบบ
การประเมินมาบ่งบอกถึงประเภทของการประเมิน ซึ่งในที่นี้อาจจาแนกการประเมินโครงการออกเป็น
4 ประเภท ดังนี้
1. การประเมินโครงการก่อนดาเนินการ (Preliminary Evaluation) เป็นการศึกษา
ประเมินความเป็นไปได้ (Feasibility Study) ก่อนที่เริ่มโครงการใดๆ โดยอาจทาการศึกษาถึง
ประสิทธิภาพของปัจจัยป้อน ความเหมาะสมของกระบวนการที่คาดว่าจะนามาใช้ในการบริหาร
จัดการโครงการ ปัญหา อุปสรรค ความเสี่ยงของโครงการ ตลอดจนผลลัพธ์ หรือประสิทธิผลที่คาด
ว่าจะได้รับ ในขณะเดียวกันก็อาจจะศึกษาปลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในด้านต่าง ๆ เช่น
- การประเมินผลกระทบด้านสังคม Social Impact Assessment-SIA)
- การประเมินผลกระทบด้านนิเวศ (Ecological Impact Assessment-
EIA)
- การประเมินผลกระทบด้านการเมือง (Political Impact Assessment-
PIA)
15
- การประเมินผลกระทบด้านเทคโนโลยี (Technological Impact
Assessment-TIA)
- การประเมินผลกระทบด้านประชากร (Population Impact
Assessment-PIA)
- การประเมินผลกระทบด้านนโยบาย (Policy Impact Assessment-
POIA)
- การประเมินผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจ (Economic Impact
Assessment)
การประเมินโครงการก่อนการดาเนินการนี้มีประโยชน์สาหรับนักลงทุน เพื่อศึกษาดู
ว่าก่อนลงมือโครงการใดๆ นั้น จะเกิดความคุ้มค่าแก่การลงทุน (Cost effectiveness) หรือจะเกิด
ผลกระทบต่อระบบสิ่งแวดล้อมทั้งด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ประชากร เทคโนโลยี และระดับ
นโยบายหรือไม่ หากได้ทาการศึกษารอบคอบแล้วอาจจะได้ผลการคาดการณ์ล่วงหน้าว่า จะได้เกิด
ประโยชน์หรือโทษอย่างไร ปัญหา อุปสรรค เป็นอย่างไร เพื่อผู้เป็นเจ้าของโครงการจะได้ตัดสิน
ล่วงหน้าว่าจะเลิกล้มโครงการหรือปรับปรุงองค์ประกอบ และกระบวนการบริหารจัดการโครงการ
เพียงใดเพื่อให้เกิดผลดี
2. การประเมินระหว่างดาเนินการโครงการ (Formative evaluation) เป็นการ
ประเมินผลเพื่อการปรับปรุงเป็นสาคัญซึ่งมักจะใช้ประเมินผลระหว่างแผนหรือระหว่างพัฒนาโครงการ
ผลที่ได้จาก Formative evaluation นั้น จะช่วยตั้งวัตถุประสงค์ของโครงการให้เป็นไปตาม
เป้าหมายที่แท้จริง นอกจากนั้น Formative evaluation อาจใช้ในระหว่างดาเนินโครงการ จะช่วย
ตรวจสอบว่า โครงการได้ดาเนินไปตามแผนของโครงการอย่างไร อาจเรียกชื่อเฉพาะว่า
Implementation evaluation หรือ Formative evaluation อาจตรวจสอบความก้าวหน้าของ
โครงการว่าดาเนินได้ผลเพียงไร เรียกว่า Progress evaluation
โดยทั่วไปแล้ว Formative evaluation อาจใช้ประเมินสิ่งต่อไปนี้
1. ทบทวนแผนของโครงการ
2. การสร้างแผนของโครงการ
16
3. การพัฒนาแบบสอบถาม (Questionnaire) หรือรายการ (Check list)
สาหรับรวบรวมข้อมูลตามเรื่องที่ต้องการ
4. การคัดเลือกวิธีการวัดผลที่เหมาะสม
5. การกาหนดตารางเวลาการประเมินผลให้สอดคล้องกับการดาเนินโครงการ
6. การเตรียมข้อมูลที่จะเป็นข่าวสารสาหรับการรายงานและเสนอแนะสาหรับ
การตัดสินเกี่ยวกับการดาเนินโครงการ
7. การแนะนาแนวทางปรับปรุง การแก้ปัญหา และการเปลี่ยนแปลงการ
ปฏิบัติของโครงการ
3. การประเมินเมื่อสิ้นสุดโครงการหรือประเมินผลผลิต (Summative
Evaluation) เป็นการประเมินผลรวมสรุป มักจะใช้ประเมินหลังสิ้นสุดโครงการ สาหรับโครงการที่มี
การดาเนินระยะยาวก็อาจใช้ Summative Evaluation ในการสรุปย่อความระยะยาวต่างๆ ข้อมูลที่
ได้จากระยะต่างๆ จะช่วยให้มีการประเมินสรุปรวมนั้น ส่วนใหญ่จะรวบรวมจากผลของ Formative
evaluationเป็น Summative Evaluation ซึ่งผลสรุปที่ได้จะนาสู่การรายงายว่า โครงการได้บรรลุ
เป้าหมาย (Goals) หรือไม่อย่างไร ตลอดจนการรายงานถึงสถานภาพของโครงการว่าประสบ
ความสาเร็จหรือล้มเหลวเพียงไร มีปัญหาหรืออุปสรรคใดที่ต้องแก้ไขปรับปรุงข้อมูลเหล่านี้จะช่วยให้
ผู้บริหารโครงการสามารถนาไปสู่การตัดสินว่า โครงการนั้นควรดาเนินการต่อหรือยกเลิก
4. การประเมินประสิทธิภาพ การประเมินโครงการโดยทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน
ประเทศไทยที่ผ่านมา ยังจากัดอยู่ตาเพียงการประเมินผลผลิต โดยมุ่งที่จะทราบความสาเร็จหรือความ
ล้มเหลวของโครงการเท่านั้น ทั้งนี้เพื่อประกอบการตัดสินใจของผู้ให้บริการหรือผู้ให้ทุนในการยุติหรือ
ขยายโครงการ แต่ในปัจจุบันนักประเมินและผู้บริหารโครงการ ได้ตระหนักถึงความสาคัญของการ
ประเมินประสิทธิภาพของโครงการด้วย โดยถือว่าเป็นประเภทของการประเมินที่จาเป็นสาหรับ
โครงการบริการทั่วไป เพราะจะช่วยเสริมให้โครงการเหล่านั้น สามารถดาเนินการอย่างสอดคล้องกับ
สภาวการณ์ของสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง โครงการที่เอื้ออานวยต่อการพัฒนาท้องถิ่น หรือโครงการที่
เป็นตัวกาหนดเกณฑ์สาคัญสาหรับประกันโครงการขนาดใหญ่ระดับชาติ ที่จะไม่ต้องสูญเสียทรัพยากร
ที่มีอยู่อย่างจากัดโดยไม่จาเป็น การดาเนินโครงการบริการสังคมนั้น จะไม่มุ่งแต่เพียงความสาเร็จของ
โครงการเท่านั้น แต่จะต้องให้คุ้มค่าในเชิงของประสิทธิภาพด้วย
17
โดยปกติการประเมินประสิทธิภาพของโครงการมักจะเริ่มจากคาถามต่างๆ กัน เช่น
1. ความสาเร็จของโครงการนั้นๆ เมื่อเทียบกับค่าใช้จ่ายแล้วมีความเหมาะสม
หรือไม่
2. ผลผลิตของโครงการเกิดจากปัจจัยที่ลงทุนไปใช่หรือไม่
3. โครงการนี้มีผลผลิตสูงกว่าโครงการอื่นๆ เมื่อลงทุนเท่ากันหรือไม่ และ
เพราะเหตุใด
การประเมินโครงการบางครั้งอาจจะไม่จาเป็นต้องประเมินแยกเป็นประเภทที่ได้กล่าวมา
ข้างต้น แต่สามารถทาการประเมินตลอดช่วงของโครงการก็ได้ โดยทาการประเมินก่อนดาเนินการ
จนถึงดาเนินโครงการเสร็จสิ้น แต่หากผู้ประเมินต้องการศึกษาและต้องการสารสนเทศสาหรับพัฒนา
โครงการในช่วงใด ก็อาจจะทาการประเมินในช่วงนั้นเพียงอย่างเดียวก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความ
เหมาะสมและความต้องการของเจ้าของโครงการ
รูปแบบการประเมินโครงการ
1. แนวคิดและโมเดิลซิปในการประเมินของสตัฟเฟิลบีม (Srufflebeam’s CIPP
Model)
ในปี ค.ศ. 1971 สตัฟเฟิลบีมและคณะได้เขียนหนังสือทางการประเมินออกมาหนึ่งเล่ม ชื่อ
“Educational Evaluation and decision Making” หนังสือเล่มนี้ได้เป็นที่ยอมรับกันอย่าง
กว้างขวางในวงการศึกษาของไทยเพราะได้ให้แนวคิดและวิธีการทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
ได้อย่างน่าสนใจและทันสมัยด้วย นอกจากนั้น สตัฟเฟิลบีมก็ได้เขียนหนังสือเกี่ยวกับการประเมินและ
รูปแบบของการประเมินอีกหลายเล่มอย่างต่อเนื่อง จึงกล่าวได้ว่า ท่านผู้นี้เป็นผู้มีบทบาทสาคัญในการ
พัฒนาทฤษฎีการประเมิน จนเป็นที่ยอมรับกันทั่วไปในปัจจุบัน เรียกว่า CIPP Model
18
รูปแบบการประเมินแบบซิป (CIPP Model) เป็นการประเมนภาพรวมของ
โครงการ ตั้งแต่บริบท ปัจจัยป้อน กระบวนการ และผลผลิต (Context, Input, Process and
product) โดยจะใช้วิธีการสร้างเกณฑ์และประสิทธิภาพของโครงการ ทั้งภาพรวมหรือรายปัจจัยเป็น
สาคัญ ซึ่งพออธิบายได้ดังนี้
การประเมินด้านบริบท หรือประเมินเนื้อความ (context Evaluation ) เป็น
การศึกษาปัจจัยพื้นฐานที่นาไปสู่การพัฒนาเป้าหมายของโครงการ ได้แก่ บริบทของสภาพแวดล้อม
นโยบาย วิสัยทัศน์ ปัญหา แหล่งทุน สภาพความผันผวนทางด้านสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง
ตลอดจนแนวโน้มการก่อตัวของปัญหาที่อาจจะเป็นอุปสรรคต่อการดาเนินโครงการ เป็นต้น
การประเมินปัจจัยป้อน (Input Evaluation) เพื่อต้นหาประสิทธิภาพของ
องค์ประกอบที่นามาเป็นปัจจัยป้อน ซึ่งในด้านการท่องเที่ยวอาจจะจาแนกเป็นบุคคล สิ่งอานวยความ
สะดวก เครื่องมือ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ ศักยภาพการบริหารงาน ซึ่งแต่ละปัจจัยก็ยังจาแนกย่อยออกไป
อีก เช่น บุคคล อาจพิจารณาเป็น เพศ อายุ มีสถานภาพทางสังคมและเศรษฐกิจ ความพึงพอใจ
ความคาดหวัง ทัศนคติ ศักยภาพ ความสามารถ ประสบการณ์ ความรู้ คุณวุฒิทางการศึกษา ถิ่นที่
อยู่และลักษณะกระบวนการกลุ่ม เป็นต้น
การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation) เป็นการศึกษาต่อจากการ
ประเมินบริบทและปัจจัยป้อนว่า กระบวนการเป็นไปตามแผนที่วางไว้ เป็นการศึกษาค้นหา
ข้อบกพร่อง จุดอ่อน หรือจุดแข็งของกระบวนการบริหารจัดการโครงการที่จะนาโครงการบรรลุ
วัตถุประสงค์ที่วางไว้ว่ามีประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใด
การประเมินสภาวะแวดล้อม
(Context Evaluation)
การประเมินปัจจัยเบื้องต้น/ตัวป้อน
(Input Evaluation)
การประเมินกระบวนการ
(Process Evaluation)
การประเมินผลผลิต
(Product Evaluation)
19
การประเมินผลิตผล (Product Evaluation) เป็นการตรวจสอบ
ประสิทธิผลของโครงการ โดยเฉพาะความสอดคล้องระหว่างวัตถุประสงค์กับผลลัพธ์ที่ได้แล้วนา
เกณฑ์ที่กาหนดไว้ไปตัดสิน เกณฑ์มาตรฐานนั้นอาจจะกาหนดขึ้นเองหรืออาศัยเกณฑ์ที่บุคคลหรือ
หน่วยงานอื่นกาหนดไว้ก็ได้ ซึ่งในที่นี้ผู้วิจัยจะกล่าวในตอนต่อไป
2. แนวความคิดและแบบจาลองของ R.W. Tyler
R.W. Tyler เป็นนักประเมินรุ่นแรกๆ ในปี ค.ศ. 1930 และเป็นผู้ที่เริ่มต้นบุกเบิก
แนวความคิดเห็นเกี่ยวกับการประเมินโครงการ เขามีความเห็นว่า “การประเมินคือการเปรียบเทียบ
พฤติกรรมเฉพาะอย่าง (performance) กับจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรมที่วางไว้” โดยมีความเชื่อว่า
จุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้อย่างชัดเจน รัดกุมและจาเพาะเจาะจงแล้ว จะเป็นแนวทางช่วยในการประเมินได้
เป็นอย่างดีในภายหลัง จากคาจากัดความของการประเมินดังกล่าวแล้วนี้จะเห็นได้ว่า มีแนวความคิด
เห็นว่า โครงการจะประสบผลสาเร็จหรือไม่ ดูได้จากผลผลิตของโครงการว่าตรงตามจุดมุ่งหมายที่ตั้ง
ไว้แต่แรกหรือไม่เท่านั้น แนวความคิดในลักษณะดังกล่าวนี้เรียกว่า “แบบจาลองที่ยึดความสาเร็จของ
จุดมุ่งหมายเป็นหลัก (Goal Attainment Model or Objective) เรียกว่า Tyler’s Goal
Attainment Model
ซึ่งต่อมาปี 1950 ได้มีรูปแบบ มาใช้เป็นกระบวนการตัดสินการบรรลุวัตถุประสงค์
ของสิ่งที่ทาการประเมิน (R.W. Tyler.1950) เรียกว่า “Triple Ps Model” ดังนี้
P-Philosophy & Purpose -ปรัชญา/จุดมุ่งหมาย
P-Process -กระบวนการ
P-Product -ผลผลิต
ในการประยุกต์ใช้ในการประเมินโครงการทางการศึกษาได้โดยการประเมิน
ความสัมพันธ์ของทั้ง 3 ว่า ปรัชญา/จุดมุ่งหมายของโครงการมีความสัมพันธ์กับกระบวนการและ
ผลผลิตหรือไม่ ถ้าประเมินเป็นส่วนๆ ก็จะประเมินในด้านประสิทธิภาพของปรัชญา/จุดมุ่งหมายและ
กระบวนการประเมินประสิทธิผลของผลผลิตว่าตรงกับปรัชญา/จุดมุ่งหมายหรือไม่ มีประสิทธิภาพ
เพียงใด เป็นต้น
20
3. แนวความคิดของ Stake ในการประเมิน
แนวความคิดของ Robert E. Stake นั้น คานึงถึงความต้องการสารสนเทศที่แตกต่าง
กันของบุคคลหลายๆ ฝ่าย ที่เกี่ยวข้องกับโครงการในการประเมินโครงการ ผู้เกี่ยวข้องคนหนึ่งอาจ
ต้องการทราบเกี่ยวกับความแน่นอนและสอดคล้องในการวัด เพื่อการประเมินนั้นๆในขณะที่
ผู้เกี่ยวข้องคนอื่นอาจต้องการทราบทิศทางการดาเนินงานของโครงการหรือผู้ใช้ผลผลิตของโครงการ
อาจมีความต้องการอีกรูปหนึ่ง สาหรับนักวิจัยอาจต้องการสารสนเทศที่แตกต่างไปจากผู้เกี่ยวข้อง
อื่นๆ เพราะการประเมินนั้นเพื่อที่จะรู้เรื่องราวต่างๆ ของโครงการอย่างละเอียดลึกซึ้ง เพื่อนามา
ประกอบการตัดสินใจเกี่ยวกับโครงการ
ดังนั้นการประเมินโครงการจึงต้องมีการบรรยายเกี่ยวกับโครงการอย่างละเอียด
เพื่อให้ครอบคลุมถึงสารสนเทศที่จะตองสนองความต้องการของผู้เกี่ยวข้อง เพื่อจะนาไปสู่การตัดสินใจ
เกี่ยวกับโครงการนั้น จึงเสนอรูปแบบของการประเมินโครงการอย่างมีระบบ โดยการบรรยายและ
ตัดสินคุณค่าเกี่ยวกับโครงการตามหลักการของโครงการนั้นๆ
Stake ได้ตั้งชื่อแบบจาลองในการประเมินผลของเขาว่า แบบจาลองการสนับสนุน
(Countenance Model) โดย Stake ได้เน้นว่า การประเมินโครงการจะต้องมี 2 ส่วน คือ การ
บรรยาย (Descriptive) และการตัดสินคุณค่า (Judgment)
ในภาคการบรรยายนั้น ผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ประเมินจะต้องหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ
โครงการให้ได้มากที่สุด ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ
1. เป้าหมายหรือความคาดหวัง (Goals or Intents) เป้าหมายที่ครอบคลุม
นโยบายทั้งหมด สาหรับการประเมินการศึกษาไม่ควรจะสนใจเป้าหมายเฉพาะในแง่พฤติกรรมของ
ผู้เรียนเพียงอย่างเดียว ต้องคานึงถึงองค์ประกอบอื่นๆ ด้วย ความคาดหวังนี้ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ
1.1 สิ่งนา (Antecedence) เป็นสภาพที่มีอยู่ก่อน ซึ่งอาจจะเกี่ยวพันกับ
ผลของการเรียนการสอน
1.2 ปฏิบัติการ (Transactions) เป็นผลสาเร็จของการจัดกระทางานเป็น
องค์ประกอบของขบวนการเรียนการสอน
1.3 ผลลัพธ์ (Outcomes) เป็นผลของโปรแกรมทางการศึกษา
21
2. สิ่งที่เป็นจริงหรือสังเกตได้ (Observations) เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจริงในสภาพความ
เป็นจริง มีส่วนประกอบ 3 ส่วนเช่นกัน คือ สิ่งนา ปฏิบัติการ และผลลัพธ์
ความสอดคล้องระหว่างสิ่งที่คาดหวังกับสิ่งที่เป็นจริง มิได้เป็นตัวชี้บ่งว่าข้อมูลที่เราได้
มีความเที่ยงหรือความตรง แต่เป็นเพียงสิ่งที่แสดงให้เห็นว่า สิ่งที่ตั้งใจไว้ได้เกิดขึ้นจริงเท่านั้น
ในภาคการตัดสินคุณค่า เป็นส่วนที่จะตัดสินว่า โครงการประสบความสาเร็จหรือไม่
เพียงใด นักประเมินต้องพยายามศึกษาดูว่า มาตรฐานอะไรบ้างที่เหมาะสมในการที่จะนามา
เปรียบเทียบเพื่อช่วยในการตัดสินใจโดยทั่วๆ ไป เกณฑ์ที่ใช้มี 2 ชนิด คือ
1. เกณฑ์สัมบูรณ์ (Absolute Criterion) เป็นเกณฑ์ที่เราตั้งไว้ อาจจะเกิดขึ้นก่อน
โดยมีความเป็นอิสระจากพฤติกรรมของกลุ่ม
2. เกณฑ์สัมพัทธ์ (Relative Criterion) เป็นเกณฑ์ที่ได้มาจากพฤติกรรมของกลุ่ม
ถ้าผู้ประเมินไม่สามารถหามาตรฐานที่จะนามาเปรียบเทียบได้ ก็ต้องพยายามหา
โครงการอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันมาเปรียบเทียบเพื่อช่วยในการตัดสินใจ แบบจาลองนี้มุ่งเน้น
ความสอดคล้อง และความสมเหตุสมผลของเมตริกบรรยาย และเมตริกตัดสินคุณค่า สาหรับความ
สอดคล้องนั้น มี 2 ลักษณะ คือ
1. Contingence เป็นความสอดคล้องเชิงเหตุผล จะพิจารณาความสัมพันธ์ใน
แนวตั้งตาม ของ Stake
2. Congruence เป็นความสอดคล้องที่ปรากฏขึ้นจริง หรือเป็นความสอดคล้องใน
เชิงประจักษ์ (empirical) พิจารณาความสัมพันธ์ในแนวนอนตามของ Stake
ข้อดีสาหรับรูปแบบของการประเมินของ Stake คือ เสนอวิธีการประเมินเป็นระบบ เพื่อ
จัดเตรียมข้อมูลเชิงบรรยาย และตัดสินคุณค่า มีมาตรฐานในการประเมินปรากฏชัดเจน แต่มีข้อจากัด
คือ เซลล์บางเซลล์ของเมตริกมีความคาบเกี่ยวกัน และความแตกต่างระหว่างเซลล์ไม่ชัดเจน ซึ่ง
อาจจะทาให้เกิดความขัดแย้งภายในโครงการได้
การเลือกใช้แนวคิดและโมเดลการประเมิน ผู้ประเมินควรเลือกให้เหมาะสมและเป็นโมเดลที่
สามารถตอบคาถามการประเมินได้ตรงประเด็น เพราะโมเดลการประเมินแต่ละแบบมีลักษณะและ
22
สถานการณ์ที่เหมาะสมต่างๆ กัน เช่น โมเดลการประเมินของสตัฟเฟิลบีม ที่เรียกกว่า CIPP Model
เป็นโมเดลที่มีลักษณะเป็นการประเมินตลอดช่วง ตั้งแต่การประเมินบริบท ไปจนถึงการประเมินผลิต
ดังนั้นหากโครงการที่ต้องการประเมินดาเนินการเสร็จสิ้นไปแล้ว การใช้โมเดลนี้ก็จะไม่เหมาะสม
ดังนั้นผู้ประเมินจึงควรเลือกโมเดลการประเมินที่เหมาะสมก่อนทาการประเมินทุกครั้ง
ประโยชน์ของการประเมินโครงการ
1. การประเมินจะช่วยทาให้การกาหนดวัตถุประสงค์และมาตรฐานของการดาเนินงานมีความ
ชัดเจนขึ้นกล่าวคือก่อนที่โครงการจะได้รับการสนับสนุนให้นาไปใช้ย่อมจะได้รับการตรวจสอบอย่าง
ละเอียดจากผู้บริหารและผู้ประเมิน ส่วนใดที่ไม่ชัดเจนเช่นวัตถุประสงค์หรือมาตรฐานในการ
ดาเนินงานหากขาดความแน่นอนแจ่มชัดจะต้องได้รับการปรับปรุงแก้ไขให้มีความถูกต้องชัดเจน
เสียก่อน ฉะนั้นจึงกล่าวได้ว่าการประเมินโครงการมีส่วนช่วยทาให้โครงการมีความชัดเจนและสามารถ
ที่จะนาไปปฏิบัติได้อย่างได้ผล มากกว่าโครงการที่ไม่ได้รับการประเมิน
2. การประเมินโครงการช่วยให้การใช้ทรัพยากรเป็นไปอย่างคุ้มค่าหรือเกิดประโยชน์เต็มที่
ทั้งนี้เพราะการประเมินโครงการจะต้องวิเคราะห์ทุกส่วนของโครงการ ข้อมูลใดหรือปัจจัยใดที่เป็น
ปัญหาจะได้รับการจัดสรรให้อยู่ในจานวนหรือปริมาณที่เหมาะสมเพียงพอแก่การดาเนินงาน
ทรัพยากรที่ไม่จาเป็นหรือมีมากเกินไปจะได้รับการตัดทอน และทรัพยากรใดที่ขาดก็จะได้รับการ
จัดหาเพิ่มเติม ฉะนั้นการประเมินโครงการจึงมีส่วนที่ทาให้การใช้ทรัพยากรของโครงการเป็นไปอย่าง
คุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ
3. การประเมินโครงการช่วยให้แผนงานบรรลุวัตถุประสงค์ ดังที่ได้กล่าวแล้วว่าโครงการเป็น
ส่วนหนึ่งของแผน ดังนั้นเมื่อโครงการได้รับการตรวจสอบวิเคราะห์ปรับปรุงแก้ไขให้ดาเนินการไป
ด้วยดี ย่อมจะทาให้แผนงานดาเนินไปด้วยดีและบรรลุถึงวัตถุประสงค์ที่ได้กาหนดไว้ หากโครงการใด
โครงการหนึ่งมีปัญหาในการนาไปปฏิบัติย่อมกระทบกระเทือนต่อแผนงานทั้งหมดโดยส่วนรวม ฉะนั้น
จึงอาจกล่าวได้เช่นเดียวกันว่าหากการประเมินโครงการมีส่วนช่วยให้โครงการดาเนินไปอย่างมี
ประสิทธิภาพ ย่อมหมายถึงการประเมินโครงการมีส่วนช่วยให้แผนงานบรรลุถึงวัตถุประสงค์และ
ดาเนินงานไปด้วยดีเช่นเดียวกัน
4. การประเมินโครงการมีส่วนช่วยในการแก้ปัญหาอันเกิดจากผลกระทบ (Impact) ของ
โครงการและทาให้โครงการมีข้อที่ทาให้เกิดความเสียหายลดน้อยลง ดังตัวอย่างโครงการเขื่อนน้าโจน
ซึ่งในการสร้างถนนเพื่อไปสู่สถานที่สร้างเขื่อนนั้นต้องผ่านป่าไม้ธรรมชาติ ทาให้เกิดการลักลอบตัดไม้
ทาลายป่าและสัตว์ป่าหลายชนิดอาจต้องสูญพันธ์การประเมินโครงการจะช่วยให้เกิดโครงการป้องกัน
23
รักษาป่า และโครงการอนุรักษ์และอพยพสัตว์ป่าขึ้นเพื่อการแก้ปัญหาเป็นต้น ด้วยตัวอย่างและเหตุผล
ดังกล่าวจึงถือได้ว่าการประเมินโครงการมีส่วนในการช่วยแก้ปัญหาได้
5. การประเมินโครงการมีส่วนช่วยอย่างสาคัญในการควบคุมคุณภาพของงาน ดังที่ได้กล่าว
แล้วว่าการประเมินโครงการเป็นการตรวจสอบและควบคุมชนิดหนึ่งซึ่งดาเนินงานอย่างมีระบบและมี
ความเป็นวิทยาศาสตร์อย่างมาก ทุกอย่างของโครงการและปัจจัยทุกชนิดที่ใช้ในการดาเนินงานจะ
ได้รับการวิเคราะห์อย่างละเอียดกล่าวคือทั้งข้อมูลนาเข้า(Inputs) กระบวนการ(Process) และผลงาน
(Outputs) จะได้รับการตรวจสอบประเมินผลทุกขั้นตอนส่วนใดที่เป็นปัญหาหรือไม่มีคุณภาพจะได้รับ
การพิจารณาย้อนกลับ (feedback) เพื่อให้มีการดาเนินงานใหม่จนกว่าจะเป็นไปมาตรฐานหรือ
เป้าหมายที่ต้องการ ดังนั้นจึงถือได้ว่าการประเมินผลเป็นการควบคุมคุณภาพของโครงการ
6. การประเมินโครงการมีส่วนในการสร้างขวัญและกาลังใจให้ผู้ปฏิบัติตามโครงการ เพราะ
การประเมินโครงการมิใช่เป็นการควบคุมบังคับบัญชาหรือสั่งการ แต่เป็นการศึกษาวิเคราะห์เพื่อการ
ปรับปรุงแก้ไขและเสนอแนะวิธีการใหม่ ๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติโครงการ อันย่อมจะนามาซึ่งผลงาน
ที่ดีเป็นที่ยอมรับของผู้เกี่ยวข้องทั้งปวง โดยลักษณะเช่นนี้ย่อมทาให้ผู้ปฏิบัติมีกาลังใจ มีความพึงพอใจ
และมีความตั้งใจกระตือรือร้นที่จะปฏิบัติงานต่อไปและมากขึ้น ฉะนั้นจึงกล่าวได้ว่าการประเมิน
โครงการมีส่วนอย่างสาคัญในการสร้างขวัญ กาลังใจและความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน
7. การประเมินโครงการช่วยในการตัดสินใจในการบริหารโครงการกล่าวคือ การประเมิน
โครงการจะทาให้ผู้บริหารได้ทราบถึงอุปสรรคปัญหาข้อดี ข้อเสีย ความเป็นไปได้ และแนวทางในการ
ปรับปรุงแก้ไขการดาเนินการโครงการ โดยข้อมูลดังกล่าวแล้วจะช่วยทาให้ผู้บริหารตัดสินใจว่าจะ
ดาเนินโครงการนั้นต่อไป หรือจะยุติโครงการนั้นเสีย นอกจากนั้นผลของการประเมินโครงการอาจเป็น
ข้อมูลอย่างสาคัญในการวางแผนหรือการกาหนดนโยบายของผู้บริหารและฝ่ายการเมือง
สรุปได้ว่าการประเมินโครงการมีประโยชน์สาหรับเจ้าของโครงการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อ
โครงการเป็นอย่างมาก ซึ่งจะช่วยให้ได้สารสนเทศที่เจ้าของโครงการจะนาไปใช้ในการปรับปรุง พัฒนา
โครงการ หรือหาแนวทางในการจัดทาโครงการที่ดีต่อไป
กระบวนการของการประเมินโครงการ
การประเมินโครงการเป็นกระบวนการของการตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ ของ
โครงการอย่างมีระบบโดยมีวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายเพื่อการปรับปรุงโครงการให้ดีขึ้น กระบวนการ
ในการประเมินผลโครงการอาจมีขั้นตอนและรายละเอียดของขั้นตอนแตกต่างกันไปตามแนวคิดของ
24
นักวิชาการทางการประเมินผลโครงการแต่ละบุคคลหรืออาจมีรายละเอียดที่แตกต่างเพราะรูปแบบ
หรือประเภทของการประเมินผล หรือประเมินไปตามแต่ละประเภทของโครงการ อย่างไรก็ดีการ
ประเมินผลโครงการนอกจากจะประเมินโครงการทั้งหมดโดยส่วนรวมแล้ว แต่ละส่วนของโครงการ
จะต้องได้รับการประเมินควบคู่กันไปด้วยเสมอ คือ การประเมินข้อมูลนาเข้า (Inputs) การประเมินตัว
กระบวนการ (Processor) และการประเมินผลงาน (Outputs) ซึ่งแต่ละส่วนและโดยทั้งหมดของ
โครงการจะประกอบด้วยขั้นตอนที่สาคัญ ดังนี้
1. การศึกษาและพิจารณาถึงรายละเอียดของวัตถุประสงค์โครงการ ซึ่งเป็นการประเมิน
เพื่อให้ทราบว่าโครงการที่กาหนดขึ้นนั้นมีวัตถุประสงค์หรือจุดมุ่งหมายที่สามารถดาเนินการได้หรือไม่
จะมีการปรับเปลี่ยนวัตถุประสงค์ให้มีความเฉพาะเจาะจงและปฏิบัติได้โดยลักษณะใด การประเมินผล
โครงการในขั้นตอนนี้ถือได้ว่าเป็นการประเมินก่อนที่จะลงมือปฏิบัติงานจริง เป็นการตรวจสอบและ
ทบทวนความเรียบร้อยวัตถุประสงค์โครงการเป็นสาคัญ
2. การศึกษาความเป็นไปได้ของข้อมูลซึ่งเป็นการประเมินข้อมูลและทรัพยากรต่างๆ ที่จะต้อง
ใช้ดาเนินการว่ายังมีความเหมาะสมเพียงพอที่จะใช้ปฏิบัติงานหรือไม่ข้อมูลและทรัพยากรที่มีอยู่
สามารถที่จะสนองตอบวัตถุประสงค์ได้มากน้อยเพียงใด และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นยังจะใช้
ทรัพยากรที่มีอยู่ได้หรือไม่ การประเมินในขั้นตอนนี้เป็นการตรวจสอบทบทวนความเหมาะสมของ
ทรัพยากรที่จะต้องใช้เพื่อการบริหารโครงการนั่นเอง
3. การเก็บรวบรวมและการกระทากับข้อมูลและทรัพยากร ซึ่งเป็นการวิเคราะห์ถึง
กระบวนการในการดาเนินโครงการในลักษณะเป็นการเก็บรวบรวมและจาแนกข้อมูลให้เป็นหมวดหมู่
เป็นสัดส่วน และให้มีความเป็นจริงมากที่สุด เพราะหากการดาเนินงานในขั้นตอนนี้มีปัญหาย่อมทาให้
ผลงานที่เกิดขึ้นมีปัญหาตามไปด้วย กล่าวคือ แม้ว่าผู้บริหารโครงการจะทราบถึงทรัพยากรที่จะต้อง
ใช้ทั้งปริมาณและคุณภาพเป็นอย่างดีแล้ว แต่ในขั้นตอนของการรวบรวมและจัดดาเนินการกับข้อมูล
ไม่ดีพอ ผลที่เกิดขึ้นย่อมไม่มีคุณภาพหรือด้อยคุณภาพ ตัวอย่าง เนื้อย่าง ดีย่างกับเตาที่ไฟแรงเกินไป
ย่อมได้เนื้อย่างที่ไหม้เกรียม เป็นต้น การประเมินในขั้นตอนนี้เป็นการตรวจสอบกระบวนการว่า
เหมาะสมกับข้อมูลหรือทรัพยากรที่นาเข้าหรือไม่
4. การวิเคราะห์ การแปลความหมาย และการสรุปผลซึ่งเป็นขั้นตอนที่ข้อมูลได้ผ่าน
กระบวนการเรียบร้อยแล้ว และผู้ประเมินจะต้องทาการวิเคราะห์ผลที่เกิดขึ้นว่าเป็นเช่นใด ตรงตาม
วัตถุประสงค์หรือมาตรฐานที่กาหนดไว้หรือไม่ จะมีการปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้ดียิ่งขึ้นในลักษณะใด และ
ผลที่เกิดขึ้นจะมีแนวโน้มไปในลักษณะใด การประเมินในขั้นตอนนี้เป็นการประเมินผลงานของ
โครงการที่เกิดขึ้น และรวมไปถึงการประเมินโครงการโดยทั้งหมดด้วยว่าทรัพยากรหรือข้อมูลนาเข้าที่
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดที่ 1มาณวิกา นาคนอก
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 
ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1
ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1
ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1ทับทิม เจริญตา
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดmouseza
 
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯโครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯศิริพัฒน์ ธงยศ
 
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญบทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญneeranuch wongkom
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 
ใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการtassanee chaicharoen
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1Jutarat Bussadee
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...ssuser858855
 
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมเรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมพัน พัน
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนwaranyuati
 
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013Kruthai Kidsdee
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7ekroojaja
 
โครงงานวิทยาศาสตร
โครงงานวิทยาศาสตร โครงงานวิทยาศาสตร
โครงงานวิทยาศาสตร Patcharida Nun'wchph
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านaapiaa
 

Mais procurados (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดที่ 1
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1
ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1
ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
 
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯโครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
 
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญบทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
ใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการ
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมเรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
 
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
 
โครงงานวิทยาศาสตร
โครงงานวิทยาศาสตร โครงงานวิทยาศาสตร
โครงงานวิทยาศาสตร
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้าน
 

Destaque

สรุปผลการดำเนินโครงงาน
สรุปผลการดำเนินโครงงานสรุปผลการดำเนินโครงงาน
สรุปผลการดำเนินโครงงานSirilag Maknaka
 
โครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพโครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพratchadaphun
 
7.หลักสูตรการงานอาชีพ
7.หลักสูตรการงานอาชีพ7.หลักสูตรการงานอาชีพ
7.หลักสูตรการงานอาชีพnang_phy29
 
โครงงานอาชีพ ม.ต้น
โครงงานอาชีพ ม.ต้นโครงงานอาชีพ ม.ต้น
โครงงานอาชีพ ม.ต้นratchadaphun
 
หลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น (ครูสอนดีอุดรธานี)
หลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น (ครูสอนดีอุดรธานี)หลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น (ครูสอนดีอุดรธานี)
หลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น (ครูสอนดีอุดรธานี)Pinmanas Kotcha
 
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003charinruarn
 

Destaque (6)

สรุปผลการดำเนินโครงงาน
สรุปผลการดำเนินโครงงานสรุปผลการดำเนินโครงงาน
สรุปผลการดำเนินโครงงาน
 
โครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพโครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพ
 
7.หลักสูตรการงานอาชีพ
7.หลักสูตรการงานอาชีพ7.หลักสูตรการงานอาชีพ
7.หลักสูตรการงานอาชีพ
 
โครงงานอาชีพ ม.ต้น
โครงงานอาชีพ ม.ต้นโครงงานอาชีพ ม.ต้น
โครงงานอาชีพ ม.ต้น
 
หลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น (ครูสอนดีอุดรธานี)
หลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น (ครูสอนดีอุดรธานี)หลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น (ครูสอนดีอุดรธานี)
หลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น (ครูสอนดีอุดรธานี)
 
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
 

Semelhante a การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน

ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555Nattapon
 
แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]kvlovelove
 
Greeen bus plan green shop beleaf 15 june 2014
Greeen bus plan   green shop beleaf 15 june 2014Greeen bus plan   green shop beleaf 15 june 2014
Greeen bus plan green shop beleaf 15 june 2014Utai Sukviwatsirikul
 
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัยการวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัยบีน้อย สุชาดา
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552Nattapon
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552Nattapon
 
ครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการTaii Wasana
 
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริงเอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริงtalktomongkol
 
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตากfantayuya
 
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตากfantayuya
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 

Semelhante a การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน (20)

ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
 
แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]
 
Greeen bus plan green shop beleaf 15 june 2014
Greeen bus plan   green shop beleaf 15 june 2014Greeen bus plan   green shop beleaf 15 june 2014
Greeen bus plan green shop beleaf 15 june 2014
 
แบบสรุปโครงการ สอดคล้องกับกลยุทธ์
แบบสรุปโครงการ   สอดคล้องกับกลยุทธ์แบบสรุปโครงการ   สอดคล้องกับกลยุทธ์
แบบสรุปโครงการ สอดคล้องกับกลยุทธ์
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัยการวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
 
ครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการ
 
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริงเอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
 
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
 
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
หน่วยที่๖
หน่วยที่๖หน่วยที่๖
หน่วยที่๖
 

Mais de Nattapon

About Python
About PythonAbout Python
About PythonNattapon
 
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีมาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีNattapon
 
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorNattapon
 
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...Nattapon
 
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8Nattapon
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...Nattapon
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potNattapon
 
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meNattapon
 
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorNattapon
 
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorNattapon
 
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationNattapon
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationNattapon
 
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010Nattapon
 

Mais de Nattapon (20)

Resume
ResumeResume
Resume
 
About Python
About PythonAbout Python
About Python
 
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีมาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
 
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
 
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
 
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
 
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
 
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
 
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
 
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
 
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
 
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
 
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
 
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
 

การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน

  • 3. คานา งานวิจัยเรื่องการติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน : กิจกรรมตลาดนัดอาชีพ ของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา เป็นการติดตามและประเมินผลการดาเนินงานกิจกรรม ตลาดนัดอาชีพ โดยมีวัตถุประสงค์ของการประเมินคือ 1. เพื่อศึกษาแนวคิดและประสบการณ์ในการประกอบ อาชีพหลักหรืออาชีพเสริมในอนาคตของนักเรียน 2. เพื่อประเมินกระบวนการหลักการบริหารจัดการร้านของ นักเรียน 3. เพื่อประเมินคุณลักษณะของนักเรียนในด้านการประกอบอาชีพ สาหรับผลการประเมินพบว่าการจัดกิจกรรมตลาดนัดอาชีพ สาหรับนักเรียนทุกระดับชั้นในครั้งนี้ สาเร็จและเรียบร้อยผ่านไปด้วยดี ก็ด้วยความร่วมมือและความสามัคคีของคณะครูผู้จัดกิจกรรม อีกทั้งยังได้รับ ความร่วมมือจากทางโรงเรียนให้จัดกิจกรรมดังกล่าว และที่สาคัญนักเรียนทุกคนได้ให้ความร่วมมือในการ ดาเนินกิจกรรม ทาให้กิจกรรมตลาดนัดอาชีพไปด้วยความเรียบร้อย และไม่มีเหตุการณ์ผิดปกติ อันตราย หรือ ผลลัพธ์ที่ไม่ดีกับนักเรียน ครู และการประเมินผลการจัดกิจกรรมตลาดนัดอาชีพ โดยนักเรียนและครูเป็นผู้ทาการประเมิน ซึ่งมีผล การประเมินอยู่ในระดับมากที่สุด คือ นักเรียนและครูมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมนี้และได้รับความรู้จาก การจัดกิจกรรมตลาดนัดอาชีพมากที่สุด ในส่วนของข้อเสนอแนะนั้น ความเห็นของนักเรียนส่วนใหญ่คืออยากให้มีการจัดกิจกรรมตลาดนัด อาชีพทุกภาคเรียน เพราะเห็นว่าเป็นกิจกรรมที่นักเรียนทุกคนในโรงเรียนมีส่วนร่วมและเกิดประโยชน์ต่อ นักเรียนอย่างแท้จริง
  • 4. สารบัญ หน้า บทที่ 1 บทนา 1 ความสาคัญของปัญหา 1 คาถามการประเมิน 2 วัตถุประสงค์การประเมิน 3 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 3 ขอบเขตการประเมิน 4 นิยามศัพท์ 5 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 7 โครงการหารายได้ระหว่างเรียน : กิจกรรมตลาดนัดอาชีพ 8 แนวคิดเกี่ยวกับการประเมินโครงการ 13 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 35 บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย 42 กลุ่มประชากร 42 กลุ่มตัวอย่าง 42 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 43 การรวบรวมข้อมูล 44 การวิเคราะห์ข้อมูล 44 บทที่ 4 ผลการวิจัยและข้อวิจารณ์ 45 ผลการวิจัย 45 บทที่ 5 สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ 49 ภาคผนวก 50 ภาคผนวก ก การดาเนินกิจกรรม 51 ภาคผนวก ข คาสั่งโรงเรียน 57 ภาคผนวก ค ผู้จัดทา 68
  • 5. 1 บทที่ 1 บทนา ความสาคัญของปัญหา การประกอบอาชีพเป็นที่มาของรายได้ เพื่อนาไปใช้จ่ายในการดารงชีวิต ซึ่งจาเป็นต้อง อาศัยปัจจัยสี่ ได้แก่ อาหาร ที่อยู่อาศัย เครื่องนุ่งห่ม และยารักษาโรค ในอดีตสิ่งของต่าง ๆ เหล่านี้เป็นหน้าที่ของพ่อแม่เป็นผู้จัดหาให้แก่สมาชิก ด้วยการผลิตขึ้นใช้เองในครอบครัว โดยไม่ จาเป็นต้องใช้เงินซื้อหา ปัจจุบันการดารงชีวิตในสังคมได้เปลี่ยนแปลงไป ประชาชนมีการศึกษามาก ขึ้น ความรู้ที่ได้รับจะเป็นพื้นฐานในการประกอบอาชีพ เพื่อให้มีรายได้มาซื้อปัจจัยสี่และสิ่งของอื่น ๆ ในการดารงชีวิตและสร้างมาตรฐานที่ดีให้แก่ตนเอง ครอบครัว และสังคม อาชีพมีอยู่มากมาย ควร พิจารณาเลือกประกอบอาชีพที่มีความถนัดและความสนใจ สุจริต มีความมั่นคงในชีวิตและมีรายได้ เพียงพอความจาเป็นของการประกอบอาชีพ โครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน : กิจกรรมตลาดนัดอาชีพ เป็นกิจกรรมที่ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา ได้ดาเนินการทุกปีการศึกษา เนื่องจากเป็นกิจกรรมที่ นักเรียนทุกคนในโรงเรียนมีส่วนร่วม นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดงานมาโดยตลอด และที่สาคัญ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีรายได้ และพัฒนาทักษะทางอาชีพของตนเอง แต่ทั้งนี้การสอบถาม ความพึงพอใจต่อโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน : กิจกรรมตลาดนัดอาชีพ ยังเป็นการสอบถาม ความพึงพอใจของนักเรียน ครู และผู้ปกครองเท่านั้น ยังไม่มีการประเมินผลและติดตามผลหลังจาก กิจกรรมดาเนินเสร็จสิ้นแล้ว ทาให้ยังไม่มีข้อมูลและสารสนเทศเพื่อหาข้อสรุปว่านักเรียนส่วนใหญ่ สามารถนาความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ที่ได้จากกิจกรรมตลาดนัดอาชีพนี้ไปใช้ในการประกอบ อาชีพเสริมเพื่อหารายได้ระหว่างเรียนได้หรือไม่ ดังนั้นคณะผู้จัดทาโครงการจึงไม่สามารถขยายงานได้ ในภาพรวม และไม่มีข้อมูลที่เป็นสิ่งยืนยันจากการจัดโครงการว่าควรจะดาเนินการอย่างต่อเนื่องต่อไป ในภายภาคหน้าหรือไม่ รวมทั้งการจัดโครงการนี้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ครบทุกประเด็นหรือไม่ จากความสาคัญของการประเมินโครงการ ที่จะช่วยทาให้การใช้ทรัพยากรเป็นไปอย่างคุ้มค่า หรือเกิดประโยชน์เต็มที่ เพราะการประเมินโครงการจะต้องวิเคราะห์ทุกส่วนของโครงการ ข้อมูลใด หรือปัจจัยใดที่เป็นปัญหาจะได้รับการปรับปรุงแก้ไข เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสมคุ้มค่า
  • 6. 2 ช่วยให้แผนงานบรรลุวัตถุประสงค์ ช่วยแก้ปัญหาอันเกิดจากผลกระทบของโครงการ และทาให้ โครงการมีข้อที่ทาให้เกิดความเสียหายลดน้อยลง ช่วยในการควบคุมคุณภาพของงาน มีส่วนในการ สร้างขวัญและกาลังใจให้ผู้ปฏิบัติงานตามโครงการ และที่สาคัญคือช่วยในการตัดสินใจในการบริหาร โครงการ เพราะการประเมินโครงการทาให้ผู้บริหารได้ทราบถึงอุปสรรค ปัญหา ข้อดี ข้อเสีย ความ เป็นไปได้ และแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขการดาเนินการโครงการ ทาให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจ ไดว่าจะดาเนินโครงการนั้นต่อไปอย่างไร นอกจากนั้นผลของการประเมินโครงการยังอาจะเป็นข้อมูล สาคัญในการวางแผนหรือกาหนดนโยบายของผู้บริหารอีกด้วย จากปัญหาและความสาคัญของการประเมินโครงการข้างต้น ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะทา การติดตามผลโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน : กิจกรรมตลาดนัดอาชีพ ของโรงเรียนเตรียม อุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา เพื่อศึกษาในด้านผลที่เกิดจากการจัดทาโครงการว่าเป็นไปตาม วัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้หรือไม่ และเป็นสารสนเทศสาหรับผู้จัดทาโครงการ กลุ่มบริหารวิชาการ ใน การจัดโครงการเพื่อส่งเสริมการมีรายได้ระหว่างเรียนที่เหมาะสม ตรงกับความต้องการต่อไป คาถามการประเมิน 1. โครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน : กิจกรรมตลาดนัดอาชีพ ส่งผลให้นักเรียนมีแนวคิด และประสบการณ์ในการประกอบอาชีพหลักหรืออาชีพเสริมในอนาคตหรือไม่ โดยมีประเด็นคาถาม ย่อย ดังนี้ 1.1 นักเรียนได้รับประสบการณ์ในการประกอบอาชีพจากกิจกรรมตลาดนัดอาชีพ หรือไม่ อย่างไร 1.2 นักเรียนมีแนวคิดหรือแนวทางในการประกอบอาชีพหลักหรืออาชีพเสริมใน อนาคตหรือไม่ อย่างไร 2. นักเรียนมีหลักการบริหารจัดการร้านอย่างเป็นระบบหรือไม่ โดยมีประเด็นคาถามย่อย ดังนี้
  • 7. 3 2.1 นักเรียนมีการทาบัญชีการเงิน บัญชีรายรับ รายจ่าย อย่างเป็นระบบหรือไม่ อย่างไร 2.2 นักเรียนมีการคิดกาไร ต้นทุน และจาหน่ายสินค้าในราคาที่เหมาะสมหรือไม่ อย่างไร 3. นักเรียนมีคุณลักษณะที่ดีในการประกอบอาชีพหรือไม่ โดยมีประเด็นคาถามย่อย ดังนี้ 3.1 นักเรียนเห็นคุณค่าของการประกอบอาชีพสุจริตหรือไม่ อย่างไร 3.2 นักเรียนเห็นคุณค่าของเงินในการประกอบอาชีพหรือไม่ อย่างไร วัตถุประสงค์การประเมิน 1. เพื่อศึกษาแนวคิดและประสบการณ์ในการประกอบอาชีพหลักหรืออาชีพเสริมในอนาคต ของนักเรียน 2. เพื่อประเมินกระบวนการหลักการบริหารจัดการร้านของนักเรียน 3. เพื่อประเมินคุณลักษณะของนักเรียนในด้านการประกอบอาชีพ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ คณะผู้จัดทาโครงการ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี และฝ่ายวิชาการ ของโรงเรียน ได้สารสนเทศสาหรับใช้ในการวางแผนการจัดกิจกรรมตลาดนัดอาชีพในครั้งต่อไป โดย หากโครงการนี้ประสบความสาเร็จ ก็จะดาเนินการต่อ โดยปรับปรุงในส่วนที่ต้องแก้ไขตามคาแนะนา และข้อเสนอแนะของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง หากโครงการนี้ประสบความล้มเหลว ฝ่ายที่เกี่ยวข้องจะได้หา แนวทางหรือเครื่องมืออื่นๆ มาใช้ในการอบรมและพัฒนาบุคลากรต่อไป เพื่อให้สอดคล้องและ เหมาะสมกับสภาพนักเรียน เพื่อให้นักเรียนได้เกิดการเรียนรู้มากที่สุด
  • 8. 4 ขอบเขตการประเมิน การประเมินครั้งนี้กาหนดขอบเขตไว้ดังนี้ 1. แหล่งข้อมูลในการประเมิน ได้แก่ 1.1 บุคลากรภายในโรงเรียนจานวน 40 คน ได้แก่ ครูที่เข้าร่วมโครงการหารายได้ ระหว่างเรียน : กิจกรรมตลาดนัดอาชีพ โดยจาแนกเป็นครูในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้แก่ กลุ่ม สาระการเรียนรู้ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กลุ่ม สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ จานวนกลุ่มสาระการเรียนรู้ละ 5 คน 1.2 นักเรียนโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา โดยเป็นนักเรียนที่ เรียนที่เข้าร่วมโครงการหารายได้ระหว่างเรียนทุกห้องเรียน ห้องเรียนละ 5 คน 2. ตัวแปรสาคัญในการติดตามผลโครงการหารายได้ระหว่างเรียน : กิจกรรมตลาดนัด อาชีพ ตัวแปรสาคัญในการติดตามผลตามโครงการหารายได้ระหว่างเรียน : กิจกรรมตลาด นัดอาชีพ แบ่งตามคาถามการประเมินเป็น 2 ด้าน ดังนี้ 1.1 ด้านครูผู้เข้าร่วมโครงการ ตัวบ่งชี้ คือ 1. ร้อยละของครูที่ส่งเสริมและให้คาแนะนากับนักเรียนในการหารายได้ ระหว่างเรียน 1.2 ด้านนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ตัวบ่งชี้ คือ
  • 9. 5 1. ร้อยละของนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการหารายได้ระหว่างเรียน : กิจกรรมตลาดนัดอาชีพ 1.3 ด้านผลกระทบที่เกิดกับนักเรียน ตัวบ่งชี้คือ 1. ร้อยละของนักเรียนที่ได้รับประสบการณ์ในการประกอบอาชีพจาก กิจกรรมตลาดนัดอาชีพ 2. ร้อยละของนักเรียนที่มีแนวคิดหรือแนวทางในการประกอบอาชีพหลัก หรืออาชีพเสริมในอนาคต 3. ร้อยละของนักเรียนที่มีการทาบัญชีการเงิน บัญชีรายรับ รายจ่าย อย่าง เป็นระบบ 4. ร้อยละของนักเรียนที่มีการคิดกาไร ต้นทุน และจาหน่ายสินค้าในราคาที่ เหมาะสม 5. ร้อยละของผู้เรียนที่เห็นคุณค่าของการประกอบอาชีพสุจริต 6. ร้อยละของนักเรียนที่เห็นคุณค่าของเงินที่ได้จากการประกอบอาชีพ นิยามศัพท์ โครงการหารายได้ระหว่างเรียน หมายถึง โครงการที่ส่งเสริมให้นักเรียนรู้และเข้าใจ กระบวนการในการบริหารจัดการ และพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อนาไปจาหน่ายและหารายได้ระหว่างเรียน เพื่อนาเงินที่ได้มาใช้จ่ายในการเรียนรู้ของตนเอง โดยมีกิจกรรมต่างๆ เช่น กิจกรรมตลาดนัดอาชีพ กิจกรรมเรียนรู้กับวิทยากรท้องถิ่น เป็นต้น กิจกรรมตลาดนัดอาชีพ หมายถึง กิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อให้นักเรียนทุกคนในโรงเรียนได้มีส่วน ร่วมในการพัฒนาและจัดหาผลิตภัณฑ์ทั้งที่จัดหามาหรือผลิตขึ้นได้ด้วยตนเองมาจัดจาหน่ายในงานวัน
  • 11. 7 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ตามลาดับดังนี้ 1. โครงการหารายได้ระหว่างเรียน : กิจกรรมตลาดนัดอาชีพ 2. แนวคิดเกี่ยวกับการประเมินโครงการ 3. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
  • 12. 8 โครงการหารายได้ระหว่างเรียน : กิจกรรมตลาดนัดอาชีพ โครงการ ส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน (Mini Company) กิจกรรมตลาดนัดอาชีพ ตามรอยพ่อ พา ต.อ.พ.ล. พอเพียง สนองนโยบาย กลยุทธ์ สพฐ. ข้อที่ 1 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ตามหลักสูตร และส่งเสริมความสามารถด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ 2. ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ 3. ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 4. ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจ แก้ปัญหาได้อย่างมีสติสมเหตุผล 5. ผู้เรียน มีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร 6. ผู้เรียนมีทักษะในการทางาน รักการทางาน สามารถทางาน ร่วมกับผู้อื่นได้ ลักษณะกิกรรมตาม OUCP กิจกรรมรอง รหัสกิจกรรม 21 ลักษณะโครงการ ต่อเนื่อง กลุ่มบริหารที่รับผิดชอบ กลุ่มบริหารงานวิชาการ และฝ่ายกิจการนักเรียน ผู้รับผิดชอบ ครูอนงค์ มีปัญญา และคณะกรรมการนักเรียน ระยะเวลา 1 ก.ย. 2554 ถึง 30 ส.ค. 2555 1. หลักการและเหตุผล เนื่องจากสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบันนี้เกิดปัญหามากทาให้คนในสังคมส่วนใหญ่มีการว่างงาน กันเป็นจานวนมาก เพราะฉะนั้นทางโรงเรียนจึงจัดโครงการ Mini Company ขึ้นเพื่อเป็นการแสดง หรือจัดการสาธิตในเรื่องการฝึกอาชีพต่างๆให้ผู้เรียนได้รู้จัก และได้ฝึกฝน หรือฝึกปฏิบัติ และไม่ลืมที่ จะปลูกฝังเรื่องอาชีพที่สุจริต เพื่อปลูกฝังให้ผู้เรียนให้สานึกในการประกอบอาชีพสุจริตต่อไปในอนาคต 2. วัตถุประสงค์ 2.1 ผลลัพธ์ (Outcomes) 1. นักเรียนมีทักษะในการปฏิบัติ/ฝึกอาชีพที่ตนเองสนใจ 2. นักเรียนมีจิตสานึกในการประกอบอาชีพสุจริต 3. นักเรียนเกิดความตระหนักมีความภาคภูมิใจงานศิลปหัตถกรรม และอาชีพในชุมชน
  • 13. 9 4. นักเรียนมีทักษะในการประกอบอาชีพตามความสนใจของตนเอง และนาไปประยุกต์ใช้ให้ เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวัน 5. นักเรียนมีความตระหนักในการเป็นผู้ผลิตมากกว่าผู้บริโภค 6. นักเรียนน้อมนาและตอบสนองหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง “พระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัว” มาใช้ในชีวิตประจาวัน 2.2 ผลผลิต (Outputs) 1. นักระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ร้อยละ80 มีทักษะในการปฏิบัติงาน ได้ฝึกอาชีพที่ตนเองสนใจ 2. นักเรียน ร้อยละ80 มีมีจิตสานึกในการประกอบอาชีพสุจริต 3. เป้าหมาย 3.1 ผลลัพธ์ (Outcomes) 1. นักเรียนมีความรู้และทักษะการทางานในอาชีพที่ตนสนใจ 2. นักเรียนมีความรู้ มีทักษะด้านงานอาชีพ และเทคโนโลยี มีคุณลักษณะตามจุดเน้น ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สามารถนาคุณธรรมและหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ 3. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกรายวิชาของกลุ่มสาระการเรียนรู้การงาน อาชีพและเทคโนโลยีสูงขึ้น 4. กิจกรรม และขั้นตอนการดาเนินงาน ลาดับที่ รายการกิจกรรม ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ 1 ขั้นเตรียม 1.1 เสนอโครงการต่อผู้บริหารเพื่อ ขออนุมัติ 1.2 ประชุมชี้แจงโครงการให้คณะ ครูทราบถึงวิธีการดาเนินงานของ โครงการ 1.3 แต่งตั้งคณะกรรมการ การดาเนินงาน เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน ครูอนงค์ มีปัญญา และ คณะกรรมการนักเรียน 2 ขั้นดาเนินการ 2.1 ชี้แจงให้ผู้ปกครองทราบ เกี่ยวกับโครงการ กรกฎาคม ครูอนงค์ มีปัญญา และ คณะกรรมการนักเรียน
  • 14. 10 ลาดับที่ รายการกิจกรรม ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ 2.2 เริ่มดาเนินการ - กิจกรรมตลาดนัดอาชีพ สิงหาคม กันยายน 3 ขั้นสรุป 3.1 รายงานผล 3.2 สรุปผล 3.3 ประเมินผล ตุลาคม พฤศจิกายน ครูอนงค์ มีปัญญา และ คณะกรรมการนักเรียน สถานที่ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา 5. งบประมาณ 15,000 บาท รายการ/ กิจกรรม/คาชี้แจง/ในการใช้เงินงบประมาณ งบ ประมาณ นอก งบประมาณ รวม ไตรมาศที่ ใช้งบ 1. ตกแต่งสถานที่ 5,000 5,000 5,000 4. ตู้จาหน่ายสินค้า 5,000 x 3 10,000 10,000 15,000 6. การติดตามประเมินผล แบบสังเกต แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม แบบสารวจอาชีพเพื่อหารายได้ระหว่างเรียน ตัวชี้วัด ความสาเร็จ เป้าหมายตัวชี้วัด วิธีการประเมิน เครื่องมือที่ใช้ 1. นักเรียนมีทักษะ ในการปฏิบัติ/ฝึก อาชีพที่ตนเองสนใจ 1. เพื่อให้นักเรียนมีทักษะ ในการปฏิบัติ/ฝึกอาชีพที่ ตนเองสนใจ อย่างน้อย จานวน ร้อย ละ80 คน 1. ประเมินกระบวนการ อบรมจากกิจกรรม และผ่าน เกณฑ์ร้อยละ 80 โดย พิจารณาจาก - การประเมินการเข้ารับ การฝึกอบรมการเรียนรู้กับ วิทยากรท้องถิ่น แบบประเมิน
  • 15. 11 ตัวชี้วัด ความสาเร็จ เป้าหมายตัวชี้วัด วิธีการประเมิน เครื่องมือที่ใช้ 2. นักเรียนมีจิตสานึก ในการประกอบอาชีพ สุจริต 2. นักเรียนมีจิตสานึกในการ ประกอบอาชีพสุจริตเพิ่มขึ้น อย่างน้อย ร้อยละ80 คน 1. ประเมินกระบวนการ จากกิจกรรมและผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 80 โดยพิจารณา จาก - การประเมินการเข้าร่วม กิจกรรม แบบประเมิน 3. นักเรียนเกิดความ ตระหนักมีความ ภาคภูมิใจงาน ศิลปหัตถกรรม และ อาชีพ ใน ชุมชน 5. เพื่อให้นักเรียนเกิดความ ตระหนักมีความภาคภูมิใจ งานศิลปหัตถกรรม และ อาชีพในชุมชนอย่างน้อย จานวน ร้อยละ80 คน 1. ประเมินกระบวนการจาก กิจกรรมและผ่านเกณฑ์ร้อย ละ 80 โดย พิจารณาจาก - การประเมิน การเข้าร่วมกิจกรรม แบบประเมิน 4. นักเรียนมีทักษะใน การประกอบอาชีพตาม ความสนใจของตนเอง และนาไปประยุกต์ ใช้ให้เกิดประโยชน์ใน ชีวิตประจาวัน เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการ ประกอบอาชีพตามความสนใจ ของ ตนเอง และนาไป ประยุกต์ ใช้ให้เกิดประโยชน์ ในชีวิตประจาวัน อย่างน้อย จานวนร้อยละ80 คน 1. ประเมินกระบวนการจาก กิจกรรมและผ่านเกณฑ์ร้อย ละ 80 โดย พิจารณาจาก - การประเมิน การส่งแบบสรุปบัญชี แบบประเมิน 5. นักเรียนมีความ ตระหนักใน การเป็น ผู้ผลิตมากกว่าผู้บริโภค 5. เพื่อให้นักเรียนมีความ ตระหนัก ในการเป็นผู้ผลิต มากกว่าผู้บริโภค อย่างน้อยจานวนร้อยละ80 คน 1. ประเมินกระบวนการจาก กิจกรรมและผ่านเกณฑ์ร้อย ละ 80 โดย พิจารณาจาก - การประเมิน การเข้าร่วมกิจกรรม แบบประเมิน
  • 16. 12 ตัวชี้วัด ความสาเร็จ เป้าหมายตัวชี้วัด วิธีการประเมิน เครื่องมือที่ใช้ 6. นักเรียนน้อมนาและ ตอบ สนองหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง “พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว” มาใช้ใน ชีวิตประจาวัน 6. เพื่อให้นักเรียนน้อมนาและ ตอบ สนองหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง “พระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัว” มาใช้ใน ชีวิตประจาวัน อย่างน้อยจานวนร้อยละ80 คน 1. ประเมินกระบวนการจาก กิจกรรมและผ่านเกณฑ์ร้อย ละ 80 โดย พิจารณาจาก - การประเมิน จากแบบสอบถาม แบบสอบถาม
  • 17. 13 แนวคิดเกี่ยวกับการประเมินโครงการ การประเมินโครงการเป็น “ศาสตร์ประยุกต์ (Applied Science)” หรือเป็น “วิทยาการประยุกต์ที่ เกิดจากการผสมผสานของศาสตร์หลายแขนง โดยเฉพาะอย่างยิ่งมีแนวคิดและวิธีการที่ผูกพันกับ วิชาการสาขาเศรษฐศาสตร์เป็นอย่างมาก อย่างไรก็ดีถ้าพิจารณาเฉพาะคาว่า “การประเมินโครงการ” แล้ว อาจบอกได้ว่าเป็นคาผสมของคาสองคาคือคาว่า “การประเมิน” กับคาว่า “โครงการ” ซึ่งทั้ง สองคาต่างก็มีความหมายหรือคาจากัดความเฉพาะของตนเอง ความหมายของการประเมินโครงการ นักวิชาการการศึกษาหลายท่าน ให้ความหมายของคาว่า “การประเมิน” ไว้ดังนี้ Stake (1973) ได้ให้ความหมายของการประเมินว่า เป็นการบรรยายและตัดสินคุณค่า โครงการศึกษา ซึ่งเน้นเรื่องการบรรยายสิ่งที่จะถูกประเมินโดยอาศัยผู้ทรงคุณวุฒิหรือผู้เชี่ยวชาญใน การตัดสินคุณค่า Stufflebeam (1971) ได้กล่าวไว้ว่า การประเมินผลเป็นกระบวนการของการกาจัดข้อมูล การได้รับและการให้ข้อมูลสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ เพื่อตัดสินทางเลือกที่แน่นอน Rossi and Freeman (1985) ให้ความหมายของคาว่าประเมินผล ว่าหมายถึงแบบแผนใน การกากับควบคุมการดาเนินการใช้โครงการ และการประเมินค่าคุณประโยชน์ของโครงการ Cronbach (1980) ให้ความหมายของคาว่าประเมินผลว่าหมายถึงการตรวจสอบหรือสอบวัด อย่างเป็นระบบของสิ่งที่เกิดขึ้นอันเนื่องมากจากโครงการ เพื่อที่จะรวบรวมสิ่งที่ได้จากการตรวจสอบนี้ ไปปรับปรุงโครงการ สมหวัง, พิริยานุวัฒน์ (2544) การประเมินโครงการ หมายถึง กระบวนการที่ก่อให้เกิด สารนิเทศในการปรับปรุงโครงการ และสารนิเทศในการตัดสินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ เยาวดี รางชัยกุล (2546) การประเมินโครงการ หมายถึง กระบวนการรวบรวมและวิเคราะห์ ข้อมูลอย่างเป็นระบบเพื่อสรุปผลว่าโครงการนั้นๆ ได้บรรลุวัตถุประสงค์/เป้าหมาย และมี ประสิทธิภาพเพียงใด
  • 18. 14 จากความหมายดังกล่าวแล้วอาจสรุปได้ว่า การประเมินโครงการหมายถึง กระบวนการใน การเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลของการดาเนินโครงการ และพิจารณาบ่งชี้ให้ทราบถึงจุดเด่นหรือ จุดด้อยของโครงการนั้นอย่างมีระบบแล้วตัดสินใจว่าจะปรับปรุงแก้ไขโครงการนั้นเพื่อการดาเนินงาน ต่อไปหรือจะยุติการดาเนินงานโครงการนั้น ทาไมต้องประเมินโครงการ ในการประเมินโครงการมีเป้าประสงค์หลักคือ ต้องการข้อมูลที่บ่งชี้ว่าโครงการที่ ดาเนินการนั้นเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้หรือไม่หรือเป็นโครงการที่คุ้มค่าต่อการตัดสินใจในการ ดาเนินการหรือไม่ รวมถึงการศึกษาว่าในการดาเนินการโครงการมีปัญหาที่ต้องปรับปรุงเปลี่ยนแปลง หรือแก้ไขในเรื่องอะไรบ้าง และเป็นโครงการที่มีคุณค่ามากน้อยเพียงใด ประเภทของการประเมินโครงการ การแบ่งประเภทการประเมินโครงการคงมิใช่เป็นการกาหนดเกณฑ์เด็ดขาด แต่ จาเป็นต้องอาศัยเกณฑ์หลายชนิดมาจาแนกประเภท เช่น ใช้เวลา วัตถุประสงค์ วิธีการ และรูปแบบ การประเมินมาบ่งบอกถึงประเภทของการประเมิน ซึ่งในที่นี้อาจจาแนกการประเมินโครงการออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้ 1. การประเมินโครงการก่อนดาเนินการ (Preliminary Evaluation) เป็นการศึกษา ประเมินความเป็นไปได้ (Feasibility Study) ก่อนที่เริ่มโครงการใดๆ โดยอาจทาการศึกษาถึง ประสิทธิภาพของปัจจัยป้อน ความเหมาะสมของกระบวนการที่คาดว่าจะนามาใช้ในการบริหาร จัดการโครงการ ปัญหา อุปสรรค ความเสี่ยงของโครงการ ตลอดจนผลลัพธ์ หรือประสิทธิผลที่คาด ว่าจะได้รับ ในขณะเดียวกันก็อาจจะศึกษาปลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในด้านต่าง ๆ เช่น - การประเมินผลกระทบด้านสังคม Social Impact Assessment-SIA) - การประเมินผลกระทบด้านนิเวศ (Ecological Impact Assessment- EIA) - การประเมินผลกระทบด้านการเมือง (Political Impact Assessment- PIA)
  • 19. 15 - การประเมินผลกระทบด้านเทคโนโลยี (Technological Impact Assessment-TIA) - การประเมินผลกระทบด้านประชากร (Population Impact Assessment-PIA) - การประเมินผลกระทบด้านนโยบาย (Policy Impact Assessment- POIA) - การประเมินผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจ (Economic Impact Assessment) การประเมินโครงการก่อนการดาเนินการนี้มีประโยชน์สาหรับนักลงทุน เพื่อศึกษาดู ว่าก่อนลงมือโครงการใดๆ นั้น จะเกิดความคุ้มค่าแก่การลงทุน (Cost effectiveness) หรือจะเกิด ผลกระทบต่อระบบสิ่งแวดล้อมทั้งด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ประชากร เทคโนโลยี และระดับ นโยบายหรือไม่ หากได้ทาการศึกษารอบคอบแล้วอาจจะได้ผลการคาดการณ์ล่วงหน้าว่า จะได้เกิด ประโยชน์หรือโทษอย่างไร ปัญหา อุปสรรค เป็นอย่างไร เพื่อผู้เป็นเจ้าของโครงการจะได้ตัดสิน ล่วงหน้าว่าจะเลิกล้มโครงการหรือปรับปรุงองค์ประกอบ และกระบวนการบริหารจัดการโครงการ เพียงใดเพื่อให้เกิดผลดี 2. การประเมินระหว่างดาเนินการโครงการ (Formative evaluation) เป็นการ ประเมินผลเพื่อการปรับปรุงเป็นสาคัญซึ่งมักจะใช้ประเมินผลระหว่างแผนหรือระหว่างพัฒนาโครงการ ผลที่ได้จาก Formative evaluation นั้น จะช่วยตั้งวัตถุประสงค์ของโครงการให้เป็นไปตาม เป้าหมายที่แท้จริง นอกจากนั้น Formative evaluation อาจใช้ในระหว่างดาเนินโครงการ จะช่วย ตรวจสอบว่า โครงการได้ดาเนินไปตามแผนของโครงการอย่างไร อาจเรียกชื่อเฉพาะว่า Implementation evaluation หรือ Formative evaluation อาจตรวจสอบความก้าวหน้าของ โครงการว่าดาเนินได้ผลเพียงไร เรียกว่า Progress evaluation โดยทั่วไปแล้ว Formative evaluation อาจใช้ประเมินสิ่งต่อไปนี้ 1. ทบทวนแผนของโครงการ 2. การสร้างแผนของโครงการ
  • 20. 16 3. การพัฒนาแบบสอบถาม (Questionnaire) หรือรายการ (Check list) สาหรับรวบรวมข้อมูลตามเรื่องที่ต้องการ 4. การคัดเลือกวิธีการวัดผลที่เหมาะสม 5. การกาหนดตารางเวลาการประเมินผลให้สอดคล้องกับการดาเนินโครงการ 6. การเตรียมข้อมูลที่จะเป็นข่าวสารสาหรับการรายงานและเสนอแนะสาหรับ การตัดสินเกี่ยวกับการดาเนินโครงการ 7. การแนะนาแนวทางปรับปรุง การแก้ปัญหา และการเปลี่ยนแปลงการ ปฏิบัติของโครงการ 3. การประเมินเมื่อสิ้นสุดโครงการหรือประเมินผลผลิต (Summative Evaluation) เป็นการประเมินผลรวมสรุป มักจะใช้ประเมินหลังสิ้นสุดโครงการ สาหรับโครงการที่มี การดาเนินระยะยาวก็อาจใช้ Summative Evaluation ในการสรุปย่อความระยะยาวต่างๆ ข้อมูลที่ ได้จากระยะต่างๆ จะช่วยให้มีการประเมินสรุปรวมนั้น ส่วนใหญ่จะรวบรวมจากผลของ Formative evaluationเป็น Summative Evaluation ซึ่งผลสรุปที่ได้จะนาสู่การรายงายว่า โครงการได้บรรลุ เป้าหมาย (Goals) หรือไม่อย่างไร ตลอดจนการรายงานถึงสถานภาพของโครงการว่าประสบ ความสาเร็จหรือล้มเหลวเพียงไร มีปัญหาหรืออุปสรรคใดที่ต้องแก้ไขปรับปรุงข้อมูลเหล่านี้จะช่วยให้ ผู้บริหารโครงการสามารถนาไปสู่การตัดสินว่า โครงการนั้นควรดาเนินการต่อหรือยกเลิก 4. การประเมินประสิทธิภาพ การประเมินโครงการโดยทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน ประเทศไทยที่ผ่านมา ยังจากัดอยู่ตาเพียงการประเมินผลผลิต โดยมุ่งที่จะทราบความสาเร็จหรือความ ล้มเหลวของโครงการเท่านั้น ทั้งนี้เพื่อประกอบการตัดสินใจของผู้ให้บริการหรือผู้ให้ทุนในการยุติหรือ ขยายโครงการ แต่ในปัจจุบันนักประเมินและผู้บริหารโครงการ ได้ตระหนักถึงความสาคัญของการ ประเมินประสิทธิภาพของโครงการด้วย โดยถือว่าเป็นประเภทของการประเมินที่จาเป็นสาหรับ โครงการบริการทั่วไป เพราะจะช่วยเสริมให้โครงการเหล่านั้น สามารถดาเนินการอย่างสอดคล้องกับ สภาวการณ์ของสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง โครงการที่เอื้ออานวยต่อการพัฒนาท้องถิ่น หรือโครงการที่ เป็นตัวกาหนดเกณฑ์สาคัญสาหรับประกันโครงการขนาดใหญ่ระดับชาติ ที่จะไม่ต้องสูญเสียทรัพยากร ที่มีอยู่อย่างจากัดโดยไม่จาเป็น การดาเนินโครงการบริการสังคมนั้น จะไม่มุ่งแต่เพียงความสาเร็จของ โครงการเท่านั้น แต่จะต้องให้คุ้มค่าในเชิงของประสิทธิภาพด้วย
  • 21. 17 โดยปกติการประเมินประสิทธิภาพของโครงการมักจะเริ่มจากคาถามต่างๆ กัน เช่น 1. ความสาเร็จของโครงการนั้นๆ เมื่อเทียบกับค่าใช้จ่ายแล้วมีความเหมาะสม หรือไม่ 2. ผลผลิตของโครงการเกิดจากปัจจัยที่ลงทุนไปใช่หรือไม่ 3. โครงการนี้มีผลผลิตสูงกว่าโครงการอื่นๆ เมื่อลงทุนเท่ากันหรือไม่ และ เพราะเหตุใด การประเมินโครงการบางครั้งอาจจะไม่จาเป็นต้องประเมินแยกเป็นประเภทที่ได้กล่าวมา ข้างต้น แต่สามารถทาการประเมินตลอดช่วงของโครงการก็ได้ โดยทาการประเมินก่อนดาเนินการ จนถึงดาเนินโครงการเสร็จสิ้น แต่หากผู้ประเมินต้องการศึกษาและต้องการสารสนเทศสาหรับพัฒนา โครงการในช่วงใด ก็อาจจะทาการประเมินในช่วงนั้นเพียงอย่างเดียวก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความ เหมาะสมและความต้องการของเจ้าของโครงการ รูปแบบการประเมินโครงการ 1. แนวคิดและโมเดิลซิปในการประเมินของสตัฟเฟิลบีม (Srufflebeam’s CIPP Model) ในปี ค.ศ. 1971 สตัฟเฟิลบีมและคณะได้เขียนหนังสือทางการประเมินออกมาหนึ่งเล่ม ชื่อ “Educational Evaluation and decision Making” หนังสือเล่มนี้ได้เป็นที่ยอมรับกันอย่าง กว้างขวางในวงการศึกษาของไทยเพราะได้ให้แนวคิดและวิธีการทางการวัดและประเมินผลการศึกษา ได้อย่างน่าสนใจและทันสมัยด้วย นอกจากนั้น สตัฟเฟิลบีมก็ได้เขียนหนังสือเกี่ยวกับการประเมินและ รูปแบบของการประเมินอีกหลายเล่มอย่างต่อเนื่อง จึงกล่าวได้ว่า ท่านผู้นี้เป็นผู้มีบทบาทสาคัญในการ พัฒนาทฤษฎีการประเมิน จนเป็นที่ยอมรับกันทั่วไปในปัจจุบัน เรียกว่า CIPP Model
  • 22. 18 รูปแบบการประเมินแบบซิป (CIPP Model) เป็นการประเมนภาพรวมของ โครงการ ตั้งแต่บริบท ปัจจัยป้อน กระบวนการ และผลผลิต (Context, Input, Process and product) โดยจะใช้วิธีการสร้างเกณฑ์และประสิทธิภาพของโครงการ ทั้งภาพรวมหรือรายปัจจัยเป็น สาคัญ ซึ่งพออธิบายได้ดังนี้ การประเมินด้านบริบท หรือประเมินเนื้อความ (context Evaluation ) เป็น การศึกษาปัจจัยพื้นฐานที่นาไปสู่การพัฒนาเป้าหมายของโครงการ ได้แก่ บริบทของสภาพแวดล้อม นโยบาย วิสัยทัศน์ ปัญหา แหล่งทุน สภาพความผันผวนทางด้านสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ตลอดจนแนวโน้มการก่อตัวของปัญหาที่อาจจะเป็นอุปสรรคต่อการดาเนินโครงการ เป็นต้น การประเมินปัจจัยป้อน (Input Evaluation) เพื่อต้นหาประสิทธิภาพของ องค์ประกอบที่นามาเป็นปัจจัยป้อน ซึ่งในด้านการท่องเที่ยวอาจจะจาแนกเป็นบุคคล สิ่งอานวยความ สะดวก เครื่องมือ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ ศักยภาพการบริหารงาน ซึ่งแต่ละปัจจัยก็ยังจาแนกย่อยออกไป อีก เช่น บุคคล อาจพิจารณาเป็น เพศ อายุ มีสถานภาพทางสังคมและเศรษฐกิจ ความพึงพอใจ ความคาดหวัง ทัศนคติ ศักยภาพ ความสามารถ ประสบการณ์ ความรู้ คุณวุฒิทางการศึกษา ถิ่นที่ อยู่และลักษณะกระบวนการกลุ่ม เป็นต้น การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation) เป็นการศึกษาต่อจากการ ประเมินบริบทและปัจจัยป้อนว่า กระบวนการเป็นไปตามแผนที่วางไว้ เป็นการศึกษาค้นหา ข้อบกพร่อง จุดอ่อน หรือจุดแข็งของกระบวนการบริหารจัดการโครงการที่จะนาโครงการบรรลุ วัตถุประสงค์ที่วางไว้ว่ามีประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใด การประเมินสภาวะแวดล้อม (Context Evaluation) การประเมินปัจจัยเบื้องต้น/ตัวป้อน (Input Evaluation) การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation) การประเมินผลผลิต (Product Evaluation)
  • 23. 19 การประเมินผลิตผล (Product Evaluation) เป็นการตรวจสอบ ประสิทธิผลของโครงการ โดยเฉพาะความสอดคล้องระหว่างวัตถุประสงค์กับผลลัพธ์ที่ได้แล้วนา เกณฑ์ที่กาหนดไว้ไปตัดสิน เกณฑ์มาตรฐานนั้นอาจจะกาหนดขึ้นเองหรืออาศัยเกณฑ์ที่บุคคลหรือ หน่วยงานอื่นกาหนดไว้ก็ได้ ซึ่งในที่นี้ผู้วิจัยจะกล่าวในตอนต่อไป 2. แนวความคิดและแบบจาลองของ R.W. Tyler R.W. Tyler เป็นนักประเมินรุ่นแรกๆ ในปี ค.ศ. 1930 และเป็นผู้ที่เริ่มต้นบุกเบิก แนวความคิดเห็นเกี่ยวกับการประเมินโครงการ เขามีความเห็นว่า “การประเมินคือการเปรียบเทียบ พฤติกรรมเฉพาะอย่าง (performance) กับจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรมที่วางไว้” โดยมีความเชื่อว่า จุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้อย่างชัดเจน รัดกุมและจาเพาะเจาะจงแล้ว จะเป็นแนวทางช่วยในการประเมินได้ เป็นอย่างดีในภายหลัง จากคาจากัดความของการประเมินดังกล่าวแล้วนี้จะเห็นได้ว่า มีแนวความคิด เห็นว่า โครงการจะประสบผลสาเร็จหรือไม่ ดูได้จากผลผลิตของโครงการว่าตรงตามจุดมุ่งหมายที่ตั้ง ไว้แต่แรกหรือไม่เท่านั้น แนวความคิดในลักษณะดังกล่าวนี้เรียกว่า “แบบจาลองที่ยึดความสาเร็จของ จุดมุ่งหมายเป็นหลัก (Goal Attainment Model or Objective) เรียกว่า Tyler’s Goal Attainment Model ซึ่งต่อมาปี 1950 ได้มีรูปแบบ มาใช้เป็นกระบวนการตัดสินการบรรลุวัตถุประสงค์ ของสิ่งที่ทาการประเมิน (R.W. Tyler.1950) เรียกว่า “Triple Ps Model” ดังนี้ P-Philosophy & Purpose -ปรัชญา/จุดมุ่งหมาย P-Process -กระบวนการ P-Product -ผลผลิต ในการประยุกต์ใช้ในการประเมินโครงการทางการศึกษาได้โดยการประเมิน ความสัมพันธ์ของทั้ง 3 ว่า ปรัชญา/จุดมุ่งหมายของโครงการมีความสัมพันธ์กับกระบวนการและ ผลผลิตหรือไม่ ถ้าประเมินเป็นส่วนๆ ก็จะประเมินในด้านประสิทธิภาพของปรัชญา/จุดมุ่งหมายและ กระบวนการประเมินประสิทธิผลของผลผลิตว่าตรงกับปรัชญา/จุดมุ่งหมายหรือไม่ มีประสิทธิภาพ เพียงใด เป็นต้น
  • 24. 20 3. แนวความคิดของ Stake ในการประเมิน แนวความคิดของ Robert E. Stake นั้น คานึงถึงความต้องการสารสนเทศที่แตกต่าง กันของบุคคลหลายๆ ฝ่าย ที่เกี่ยวข้องกับโครงการในการประเมินโครงการ ผู้เกี่ยวข้องคนหนึ่งอาจ ต้องการทราบเกี่ยวกับความแน่นอนและสอดคล้องในการวัด เพื่อการประเมินนั้นๆในขณะที่ ผู้เกี่ยวข้องคนอื่นอาจต้องการทราบทิศทางการดาเนินงานของโครงการหรือผู้ใช้ผลผลิตของโครงการ อาจมีความต้องการอีกรูปหนึ่ง สาหรับนักวิจัยอาจต้องการสารสนเทศที่แตกต่างไปจากผู้เกี่ยวข้อง อื่นๆ เพราะการประเมินนั้นเพื่อที่จะรู้เรื่องราวต่างๆ ของโครงการอย่างละเอียดลึกซึ้ง เพื่อนามา ประกอบการตัดสินใจเกี่ยวกับโครงการ ดังนั้นการประเมินโครงการจึงต้องมีการบรรยายเกี่ยวกับโครงการอย่างละเอียด เพื่อให้ครอบคลุมถึงสารสนเทศที่จะตองสนองความต้องการของผู้เกี่ยวข้อง เพื่อจะนาไปสู่การตัดสินใจ เกี่ยวกับโครงการนั้น จึงเสนอรูปแบบของการประเมินโครงการอย่างมีระบบ โดยการบรรยายและ ตัดสินคุณค่าเกี่ยวกับโครงการตามหลักการของโครงการนั้นๆ Stake ได้ตั้งชื่อแบบจาลองในการประเมินผลของเขาว่า แบบจาลองการสนับสนุน (Countenance Model) โดย Stake ได้เน้นว่า การประเมินโครงการจะต้องมี 2 ส่วน คือ การ บรรยาย (Descriptive) และการตัดสินคุณค่า (Judgment) ในภาคการบรรยายนั้น ผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ประเมินจะต้องหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ โครงการให้ได้มากที่สุด ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ 1. เป้าหมายหรือความคาดหวัง (Goals or Intents) เป้าหมายที่ครอบคลุม นโยบายทั้งหมด สาหรับการประเมินการศึกษาไม่ควรจะสนใจเป้าหมายเฉพาะในแง่พฤติกรรมของ ผู้เรียนเพียงอย่างเดียว ต้องคานึงถึงองค์ประกอบอื่นๆ ด้วย ความคาดหวังนี้ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ 1.1 สิ่งนา (Antecedence) เป็นสภาพที่มีอยู่ก่อน ซึ่งอาจจะเกี่ยวพันกับ ผลของการเรียนการสอน 1.2 ปฏิบัติการ (Transactions) เป็นผลสาเร็จของการจัดกระทางานเป็น องค์ประกอบของขบวนการเรียนการสอน 1.3 ผลลัพธ์ (Outcomes) เป็นผลของโปรแกรมทางการศึกษา
  • 25. 21 2. สิ่งที่เป็นจริงหรือสังเกตได้ (Observations) เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจริงในสภาพความ เป็นจริง มีส่วนประกอบ 3 ส่วนเช่นกัน คือ สิ่งนา ปฏิบัติการ และผลลัพธ์ ความสอดคล้องระหว่างสิ่งที่คาดหวังกับสิ่งที่เป็นจริง มิได้เป็นตัวชี้บ่งว่าข้อมูลที่เราได้ มีความเที่ยงหรือความตรง แต่เป็นเพียงสิ่งที่แสดงให้เห็นว่า สิ่งที่ตั้งใจไว้ได้เกิดขึ้นจริงเท่านั้น ในภาคการตัดสินคุณค่า เป็นส่วนที่จะตัดสินว่า โครงการประสบความสาเร็จหรือไม่ เพียงใด นักประเมินต้องพยายามศึกษาดูว่า มาตรฐานอะไรบ้างที่เหมาะสมในการที่จะนามา เปรียบเทียบเพื่อช่วยในการตัดสินใจโดยทั่วๆ ไป เกณฑ์ที่ใช้มี 2 ชนิด คือ 1. เกณฑ์สัมบูรณ์ (Absolute Criterion) เป็นเกณฑ์ที่เราตั้งไว้ อาจจะเกิดขึ้นก่อน โดยมีความเป็นอิสระจากพฤติกรรมของกลุ่ม 2. เกณฑ์สัมพัทธ์ (Relative Criterion) เป็นเกณฑ์ที่ได้มาจากพฤติกรรมของกลุ่ม ถ้าผู้ประเมินไม่สามารถหามาตรฐานที่จะนามาเปรียบเทียบได้ ก็ต้องพยายามหา โครงการอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันมาเปรียบเทียบเพื่อช่วยในการตัดสินใจ แบบจาลองนี้มุ่งเน้น ความสอดคล้อง และความสมเหตุสมผลของเมตริกบรรยาย และเมตริกตัดสินคุณค่า สาหรับความ สอดคล้องนั้น มี 2 ลักษณะ คือ 1. Contingence เป็นความสอดคล้องเชิงเหตุผล จะพิจารณาความสัมพันธ์ใน แนวตั้งตาม ของ Stake 2. Congruence เป็นความสอดคล้องที่ปรากฏขึ้นจริง หรือเป็นความสอดคล้องใน เชิงประจักษ์ (empirical) พิจารณาความสัมพันธ์ในแนวนอนตามของ Stake ข้อดีสาหรับรูปแบบของการประเมินของ Stake คือ เสนอวิธีการประเมินเป็นระบบ เพื่อ จัดเตรียมข้อมูลเชิงบรรยาย และตัดสินคุณค่า มีมาตรฐานในการประเมินปรากฏชัดเจน แต่มีข้อจากัด คือ เซลล์บางเซลล์ของเมตริกมีความคาบเกี่ยวกัน และความแตกต่างระหว่างเซลล์ไม่ชัดเจน ซึ่ง อาจจะทาให้เกิดความขัดแย้งภายในโครงการได้ การเลือกใช้แนวคิดและโมเดลการประเมิน ผู้ประเมินควรเลือกให้เหมาะสมและเป็นโมเดลที่ สามารถตอบคาถามการประเมินได้ตรงประเด็น เพราะโมเดลการประเมินแต่ละแบบมีลักษณะและ
  • 26. 22 สถานการณ์ที่เหมาะสมต่างๆ กัน เช่น โมเดลการประเมินของสตัฟเฟิลบีม ที่เรียกกว่า CIPP Model เป็นโมเดลที่มีลักษณะเป็นการประเมินตลอดช่วง ตั้งแต่การประเมินบริบท ไปจนถึงการประเมินผลิต ดังนั้นหากโครงการที่ต้องการประเมินดาเนินการเสร็จสิ้นไปแล้ว การใช้โมเดลนี้ก็จะไม่เหมาะสม ดังนั้นผู้ประเมินจึงควรเลือกโมเดลการประเมินที่เหมาะสมก่อนทาการประเมินทุกครั้ง ประโยชน์ของการประเมินโครงการ 1. การประเมินจะช่วยทาให้การกาหนดวัตถุประสงค์และมาตรฐานของการดาเนินงานมีความ ชัดเจนขึ้นกล่าวคือก่อนที่โครงการจะได้รับการสนับสนุนให้นาไปใช้ย่อมจะได้รับการตรวจสอบอย่าง ละเอียดจากผู้บริหารและผู้ประเมิน ส่วนใดที่ไม่ชัดเจนเช่นวัตถุประสงค์หรือมาตรฐานในการ ดาเนินงานหากขาดความแน่นอนแจ่มชัดจะต้องได้รับการปรับปรุงแก้ไขให้มีความถูกต้องชัดเจน เสียก่อน ฉะนั้นจึงกล่าวได้ว่าการประเมินโครงการมีส่วนช่วยทาให้โครงการมีความชัดเจนและสามารถ ที่จะนาไปปฏิบัติได้อย่างได้ผล มากกว่าโครงการที่ไม่ได้รับการประเมิน 2. การประเมินโครงการช่วยให้การใช้ทรัพยากรเป็นไปอย่างคุ้มค่าหรือเกิดประโยชน์เต็มที่ ทั้งนี้เพราะการประเมินโครงการจะต้องวิเคราะห์ทุกส่วนของโครงการ ข้อมูลใดหรือปัจจัยใดที่เป็น ปัญหาจะได้รับการจัดสรรให้อยู่ในจานวนหรือปริมาณที่เหมาะสมเพียงพอแก่การดาเนินงาน ทรัพยากรที่ไม่จาเป็นหรือมีมากเกินไปจะได้รับการตัดทอน และทรัพยากรใดที่ขาดก็จะได้รับการ จัดหาเพิ่มเติม ฉะนั้นการประเมินโครงการจึงมีส่วนที่ทาให้การใช้ทรัพยากรของโครงการเป็นไปอย่าง คุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ 3. การประเมินโครงการช่วยให้แผนงานบรรลุวัตถุประสงค์ ดังที่ได้กล่าวแล้วว่าโครงการเป็น ส่วนหนึ่งของแผน ดังนั้นเมื่อโครงการได้รับการตรวจสอบวิเคราะห์ปรับปรุงแก้ไขให้ดาเนินการไป ด้วยดี ย่อมจะทาให้แผนงานดาเนินไปด้วยดีและบรรลุถึงวัตถุประสงค์ที่ได้กาหนดไว้ หากโครงการใด โครงการหนึ่งมีปัญหาในการนาไปปฏิบัติย่อมกระทบกระเทือนต่อแผนงานทั้งหมดโดยส่วนรวม ฉะนั้น จึงอาจกล่าวได้เช่นเดียวกันว่าหากการประเมินโครงการมีส่วนช่วยให้โครงการดาเนินไปอย่างมี ประสิทธิภาพ ย่อมหมายถึงการประเมินโครงการมีส่วนช่วยให้แผนงานบรรลุถึงวัตถุประสงค์และ ดาเนินงานไปด้วยดีเช่นเดียวกัน 4. การประเมินโครงการมีส่วนช่วยในการแก้ปัญหาอันเกิดจากผลกระทบ (Impact) ของ โครงการและทาให้โครงการมีข้อที่ทาให้เกิดความเสียหายลดน้อยลง ดังตัวอย่างโครงการเขื่อนน้าโจน ซึ่งในการสร้างถนนเพื่อไปสู่สถานที่สร้างเขื่อนนั้นต้องผ่านป่าไม้ธรรมชาติ ทาให้เกิดการลักลอบตัดไม้ ทาลายป่าและสัตว์ป่าหลายชนิดอาจต้องสูญพันธ์การประเมินโครงการจะช่วยให้เกิดโครงการป้องกัน
  • 27. 23 รักษาป่า และโครงการอนุรักษ์และอพยพสัตว์ป่าขึ้นเพื่อการแก้ปัญหาเป็นต้น ด้วยตัวอย่างและเหตุผล ดังกล่าวจึงถือได้ว่าการประเมินโครงการมีส่วนในการช่วยแก้ปัญหาได้ 5. การประเมินโครงการมีส่วนช่วยอย่างสาคัญในการควบคุมคุณภาพของงาน ดังที่ได้กล่าว แล้วว่าการประเมินโครงการเป็นการตรวจสอบและควบคุมชนิดหนึ่งซึ่งดาเนินงานอย่างมีระบบและมี ความเป็นวิทยาศาสตร์อย่างมาก ทุกอย่างของโครงการและปัจจัยทุกชนิดที่ใช้ในการดาเนินงานจะ ได้รับการวิเคราะห์อย่างละเอียดกล่าวคือทั้งข้อมูลนาเข้า(Inputs) กระบวนการ(Process) และผลงาน (Outputs) จะได้รับการตรวจสอบประเมินผลทุกขั้นตอนส่วนใดที่เป็นปัญหาหรือไม่มีคุณภาพจะได้รับ การพิจารณาย้อนกลับ (feedback) เพื่อให้มีการดาเนินงานใหม่จนกว่าจะเป็นไปมาตรฐานหรือ เป้าหมายที่ต้องการ ดังนั้นจึงถือได้ว่าการประเมินผลเป็นการควบคุมคุณภาพของโครงการ 6. การประเมินโครงการมีส่วนในการสร้างขวัญและกาลังใจให้ผู้ปฏิบัติตามโครงการ เพราะ การประเมินโครงการมิใช่เป็นการควบคุมบังคับบัญชาหรือสั่งการ แต่เป็นการศึกษาวิเคราะห์เพื่อการ ปรับปรุงแก้ไขและเสนอแนะวิธีการใหม่ ๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติโครงการ อันย่อมจะนามาซึ่งผลงาน ที่ดีเป็นที่ยอมรับของผู้เกี่ยวข้องทั้งปวง โดยลักษณะเช่นนี้ย่อมทาให้ผู้ปฏิบัติมีกาลังใจ มีความพึงพอใจ และมีความตั้งใจกระตือรือร้นที่จะปฏิบัติงานต่อไปและมากขึ้น ฉะนั้นจึงกล่าวได้ว่าการประเมิน โครงการมีส่วนอย่างสาคัญในการสร้างขวัญ กาลังใจและความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน 7. การประเมินโครงการช่วยในการตัดสินใจในการบริหารโครงการกล่าวคือ การประเมิน โครงการจะทาให้ผู้บริหารได้ทราบถึงอุปสรรคปัญหาข้อดี ข้อเสีย ความเป็นไปได้ และแนวทางในการ ปรับปรุงแก้ไขการดาเนินการโครงการ โดยข้อมูลดังกล่าวแล้วจะช่วยทาให้ผู้บริหารตัดสินใจว่าจะ ดาเนินโครงการนั้นต่อไป หรือจะยุติโครงการนั้นเสีย นอกจากนั้นผลของการประเมินโครงการอาจเป็น ข้อมูลอย่างสาคัญในการวางแผนหรือการกาหนดนโยบายของผู้บริหารและฝ่ายการเมือง สรุปได้ว่าการประเมินโครงการมีประโยชน์สาหรับเจ้าของโครงการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อ โครงการเป็นอย่างมาก ซึ่งจะช่วยให้ได้สารสนเทศที่เจ้าของโครงการจะนาไปใช้ในการปรับปรุง พัฒนา โครงการ หรือหาแนวทางในการจัดทาโครงการที่ดีต่อไป กระบวนการของการประเมินโครงการ การประเมินโครงการเป็นกระบวนการของการตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ ของ โครงการอย่างมีระบบโดยมีวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายเพื่อการปรับปรุงโครงการให้ดีขึ้น กระบวนการ ในการประเมินผลโครงการอาจมีขั้นตอนและรายละเอียดของขั้นตอนแตกต่างกันไปตามแนวคิดของ
  • 28. 24 นักวิชาการทางการประเมินผลโครงการแต่ละบุคคลหรืออาจมีรายละเอียดที่แตกต่างเพราะรูปแบบ หรือประเภทของการประเมินผล หรือประเมินไปตามแต่ละประเภทของโครงการ อย่างไรก็ดีการ ประเมินผลโครงการนอกจากจะประเมินโครงการทั้งหมดโดยส่วนรวมแล้ว แต่ละส่วนของโครงการ จะต้องได้รับการประเมินควบคู่กันไปด้วยเสมอ คือ การประเมินข้อมูลนาเข้า (Inputs) การประเมินตัว กระบวนการ (Processor) และการประเมินผลงาน (Outputs) ซึ่งแต่ละส่วนและโดยทั้งหมดของ โครงการจะประกอบด้วยขั้นตอนที่สาคัญ ดังนี้ 1. การศึกษาและพิจารณาถึงรายละเอียดของวัตถุประสงค์โครงการ ซึ่งเป็นการประเมิน เพื่อให้ทราบว่าโครงการที่กาหนดขึ้นนั้นมีวัตถุประสงค์หรือจุดมุ่งหมายที่สามารถดาเนินการได้หรือไม่ จะมีการปรับเปลี่ยนวัตถุประสงค์ให้มีความเฉพาะเจาะจงและปฏิบัติได้โดยลักษณะใด การประเมินผล โครงการในขั้นตอนนี้ถือได้ว่าเป็นการประเมินก่อนที่จะลงมือปฏิบัติงานจริง เป็นการตรวจสอบและ ทบทวนความเรียบร้อยวัตถุประสงค์โครงการเป็นสาคัญ 2. การศึกษาความเป็นไปได้ของข้อมูลซึ่งเป็นการประเมินข้อมูลและทรัพยากรต่างๆ ที่จะต้อง ใช้ดาเนินการว่ายังมีความเหมาะสมเพียงพอที่จะใช้ปฏิบัติงานหรือไม่ข้อมูลและทรัพยากรที่มีอยู่ สามารถที่จะสนองตอบวัตถุประสงค์ได้มากน้อยเพียงใด และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นยังจะใช้ ทรัพยากรที่มีอยู่ได้หรือไม่ การประเมินในขั้นตอนนี้เป็นการตรวจสอบทบทวนความเหมาะสมของ ทรัพยากรที่จะต้องใช้เพื่อการบริหารโครงการนั่นเอง 3. การเก็บรวบรวมและการกระทากับข้อมูลและทรัพยากร ซึ่งเป็นการวิเคราะห์ถึง กระบวนการในการดาเนินโครงการในลักษณะเป็นการเก็บรวบรวมและจาแนกข้อมูลให้เป็นหมวดหมู่ เป็นสัดส่วน และให้มีความเป็นจริงมากที่สุด เพราะหากการดาเนินงานในขั้นตอนนี้มีปัญหาย่อมทาให้ ผลงานที่เกิดขึ้นมีปัญหาตามไปด้วย กล่าวคือ แม้ว่าผู้บริหารโครงการจะทราบถึงทรัพยากรที่จะต้อง ใช้ทั้งปริมาณและคุณภาพเป็นอย่างดีแล้ว แต่ในขั้นตอนของการรวบรวมและจัดดาเนินการกับข้อมูล ไม่ดีพอ ผลที่เกิดขึ้นย่อมไม่มีคุณภาพหรือด้อยคุณภาพ ตัวอย่าง เนื้อย่าง ดีย่างกับเตาที่ไฟแรงเกินไป ย่อมได้เนื้อย่างที่ไหม้เกรียม เป็นต้น การประเมินในขั้นตอนนี้เป็นการตรวจสอบกระบวนการว่า เหมาะสมกับข้อมูลหรือทรัพยากรที่นาเข้าหรือไม่ 4. การวิเคราะห์ การแปลความหมาย และการสรุปผลซึ่งเป็นขั้นตอนที่ข้อมูลได้ผ่าน กระบวนการเรียบร้อยแล้ว และผู้ประเมินจะต้องทาการวิเคราะห์ผลที่เกิดขึ้นว่าเป็นเช่นใด ตรงตาม วัตถุประสงค์หรือมาตรฐานที่กาหนดไว้หรือไม่ จะมีการปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้ดียิ่งขึ้นในลักษณะใด และ ผลที่เกิดขึ้นจะมีแนวโน้มไปในลักษณะใด การประเมินในขั้นตอนนี้เป็นการประเมินผลงานของ โครงการที่เกิดขึ้น และรวมไปถึงการประเมินโครงการโดยทั้งหมดด้วยว่าทรัพยากรหรือข้อมูลนาเข้าที่