SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 6
Baixar para ler offline
มาตรฐานการศึกษา
                              โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา
                                                                                                              ค่าน้าหนัก
                                                                                                               คะแนน
     มาตรฐานการศึกษา                                               ตัวชี้วัด
                                                                                                                 ( 100
                                                                                                               คะแนน)
มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน
มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนเป็นพลโลกทีมี
                                ่    1.1 ร้อยละของผู้เรียนที่มสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพและออกกาลังกาย
                                                               ี                                                  5
สุขภาวะที่ดี มีสุนทรียภาพ และร่วม    สม่าเสมอ
รับผิดชอบต่อสังคมโลก                 1.2 ร้อยละของผู้เรียนที่มีน้าหนัก ส่วนสูง และมีสมรรถภาพทางกายตาม
                                     เกณฑ์มาตรฐาน
                                     1.3 ร้อยละของผู้เรียนที่ป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติดให้โทษและหลีกเลี่ยง
                                     ตนเองจากสภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง โรค ภัย อุบัติเหตุ และปัญหาทาง
                                     เพศ
                                     1.4 ร้อยละของผู้เรียนที่เห็นคุณค่าในตนเอง มีความมั่นใจ กล้าแสดงออก
                                     อย่างเหมาะสม
                                     1.5 ร้อยละของผู้เรียนที่มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและให้เกียรติผู้อื่น
                                     1.6 ร้อยละของผู้เรียนที่สร้างผลงานจากเข้าร่วมกิจกรรมด้านศิลปะ
                                     ดนตรี/นาฏศิลป์ กีฬา/นันทนาการตามจินตนาการ
                                     1.7 ร้อยละของผู้เรียนที่มีความเคารพในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของผู้อื่น
                                     1.8 ร้อยละของผู้เรียนที่มีความรู้ความเข้าใจ และยึดมั่นในสิทธิมนุษยชน
                                     1.9 ร้อยละของผู้เรียนที่มีความรู้ ความเข้าใจยอมรับและตระหนักในความ
                                     หลากหลายทางเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ สังคม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม
                                     ประเพณี รวมทั้งความหลากหลายทางชีวภาพ ตลอดจนผลกระทบของ
                                     สภาพแวดล้อมที่มต่อเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
                                                      ี
                                     1.10 ร้อยละของผู้เรียนที่มีความรู้ ความเข้าใจ หรือความจาเป็นในการ
                                     จรรโลง รักษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยปราศจากการทาลายโลกใบนี้
                                     เพื่อความอยู่รอดของชีวิตในรุ่นต่อไป โดยคานึงถึงการพัฒนาอย่างยั่งยืน
                                     1.11 ร้อยละของผู้เรียนที่มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและ
                                     สถาบัน จาเป็นต้องมีบทบาทเกี่ยวข้องในฐานะสมาชิกของสังคมทั้งใน
                                     ระดับท้องถิ่น ประเทศ และระดับโลก มีบทบาทและมีส่วนร่วมรับผิดชอบ
                                     ในฐานะพลเมืองดีของสังคมที่คานึงถึงสิทธิมนุษยชนและอุดมการณ์
                                     ประชาธิปไตย
ค่าน้าหนัก
                                                                                                            คะแนน
     มาตรฐานการศึกษา                                              ตัวชี้วัด
                                                                                                              ( 100
                                                                                                            คะแนน)
มาตรฐานที่ 2 ผู้เรียนมีคุณธรรม     2.1 ร้อยละของผู้เรียนที่มีคณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร
                                                                  ุ                                            5
จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ มี   2.2 ร้อยละของผู้เรียนที่เอื้ออาทรผู้อื่นและกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ
ความเป็นไทย มีจิตสานึกในการ        2.3 ร้อยละของผู้เรียนที่ยอมรับความคิดและวัฒนธรรมที่แตกต่าง
อนุรักษ์ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และ   2.4 ร้อยละของผู้เรียนที่ตระหนัก รู้คุณค่า ร่วมอนุรักษ์และพัฒนา
ภูมิปัญญาไทย                       สิ่งแวดล้อม
                                   2.5 ร้อยละของผู้เรียนที่มีการยิ้ม ไหว้ การทักทาย การต้อนรับ และ
                                   สนทนาอย่างมีสมมาคารวะ
                                                     ั
                                   2.6 ร้อยละของผู้เรียนที่มีการใช้ภาษา พูด อ่าน เขียน ได้ถูกต้องเหมาะสม
                                   กับกาลเทศะ
                                   2.7 ร้อยละของผู้เรียนที่มีการตอบคาถาม สนทนาสะท้อนให้เห็นการได้รับ
                                   การปลูกฝังด้านคุณธรรม จริยธรรม ความเพียงพอ อย่างมีเหตุผล
                                   2.8 ร้อยละของผู้เรียนที่มีการแต่งกายสะอาด เหมาะสม
                                   2.9 ร้อยละของผู้เรียนที่มผลงานหรือกิจกรรมที่แสดงสะท้อนการรักษา
                                                                ี
                                   ประเพณี ศิลปวัฒนธรรมไทยและท้องถิ่น
มาตรฐานที่ 3 ผู้เรียนความสามารถใน 3.1 มีนิสัยรักการอ่านและแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากห้องสมุด แหล่ง              5
การสื่อสาร มีทักษะในการแสวงหา      เรียนรู้ และสื่อต่าง ๆ รอบตัว
ความรู้ด้วยตนเอง รักเรียนรู้ พัฒนา 3.2 มีทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียน และตั้งคาถามเพื่อค้นคว้าหา
ตนเองอย่างต่อเนื่อง และใช้         ความรู้เพิ่มเติม
เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร      3.3 เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้
                                                              ่
                                   ระหว่างกัน
                                   3.4 ใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนาเสนอผลงาน
                                   3.5 ร้อยละของผู้เรียนที่สามารถใช้ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และ
                                   ภาษาต่างประเทศที่สองในการฟัง พูด อ่าน เขียน และการสื่อสารอื่นๆ ได้
                                   ดี
                                   3.6 ร้อยละของผู้เรียนที่มีทักษะสือสารปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น สามารถสื่อ
                                                                      ่
                                   ความหมายแลกเปลี่ยนข้อมูล ความคิด ผ่านสื่อ เครื่องมือ และวิธีการ
                                   สื่อสารที่ใช้อยูในปัจจุบันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
                                                   ่
                                   3.7 ใช้คอมพิวเตอร์ มีอีเมล์ และสือสารผ่านระบบ ICT เรียนรู้ผานระบบ
                                                                        ่                         ่
                                   e-learning
                                   3.8 มีข้อมูลหรือผลงานที่แสดงถึงการค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ แหล่งข้อมูล
                                   ที่หลากหลาย ผลงานสะท้อนการคิดวิเคราะห์และนาเสนอผ่านระบบ ICT
                                   3.9 สามารถหาวิธีการแก้ปัญหาหรือแสวงหาคาตอบ
มาตรฐานที่ 4 ผู้เรียนมีความสามารถ 4.1 สรุปความคิดจากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู และสื่อสารโดยการพูดหรือ            4
ในการคิดประดิษฐ์สร้างสรรค์ การคิด เขียนตามความคิดของตนเอง
อย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์        4.2 นาเสนอวิธีคิด วิธีแก้ปัญหาด้วยภาษาหรือวิธีการของตนเอง
ค่าน้าหนัก
                                                                                                               คะแนน
     มาตรฐานการศึกษา                                                ตัวชี้วัด
                                                                                                                 ( 100
                                                                                                               คะแนน)
ตัดสินใจ แก้ปญหาได้อย่างมีสติ สม
             ั                       4.3 กาหนดเป้าหมาย คาดการณ์ ตัดสินใจแก้ปญหาโดยมีเหตุผลประกอบ
                                                                                   ั
เหตุผล                               4.4 มีความคิดริเริ่ม และสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจ
                                     4.5 ร้อยละของผู้เรียนที่มีความคิดสร้างสรรค์ กล้าเผชิญความเสี่ยง
                                     สามารถใช้ความคิดระดับสูง มีเหตุผลและวางแผนจัดการสูเ่ ป้าหมายได้
                                     4.6 ร้อยละของผู้เรียนที่มีความสามารถประดิษฐ์ คิดค้น ออกแบบ
                                     สร้างสรรค์ สื่อสาร เผยแพร่ด้วยวิธีการ เครื่องมือและเทคโนโลยีที่
                                     เหมาะสม
มาตรฐานที่ 5 ผู้เรียน มีความรู้และ   5.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละกลุ่มสาระเป็นไปตามเกณฑ์                        4
ทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร            5.2 ผลการประเมินสมรรถนะสาคัญตามหลักสูตรเป็นไปตามเกณฑ์
                                     5.3 ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนเป็นไปตามเกณฑ์
                                     5.4 ผลการทดสอบระดับชาติเป็นไปตามเกณฑ์
มาตรฐานที่ 6 ผู้เรียนมีทักษะในการ 6.1 วางแผนการทางานและดาเนินการจนสาเร็จ                                          4
ทางาน รักการทางาน สามารถทางาน 6.2 ทางานอย่างมีความสุข มุ่งมั่นพัฒนางาน และภูมิใจในผลงานของ
ร่วมกับผู้อื่นได้และมีเจตคติที่ดีต่อ ตนเอง
อาชีพสุจริต                          6.3 ทางานร่วมกับผู้อื่นได้
                                     6.4 มีความรู้สึกที่ดต่ออาชีพสุจริตและหาความรู้เกียวกับอาชีพ ที่ตนเอง
                                                         ี                            ่
                                     สนใจ
มาตรฐานที่ 7 ผู้เรียนมีความเป็นเลิศ 7.1 ร้อยละของผู้เรียนที่มีความรู้ ความสามารถทางวิชาการ โดยมี                  3
ทางวิชาการ                           ผลสัมฤทธิ์ในระดับดี
                                     7.2 ร้อยละของผู้เรียนที่มีอัตราการศึกษาต่อในระดับสูงถึง
                                     ระดับอุดมศึกษาทั้งในและต่างประเทศ
                                     7.3 ร้อยละของผู้เรียนที่มีความสามารถในการเรียนรู้ มีทักษะด้านข้อมูลที่
                                     จะทาให้สามารถวิเคราะห์ ประเมิน สังเคราะห์ และใช้ข้อมูลสารสนเทศ
                                     สามารถใช้ ICT เพื่อการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ
มาตรฐานด้านศักยภาพครูและบุคลากร
มาตรฐานที่ 8 ครูปฏิบัติงานตาม         8.1 ครูมีการกาหนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนทั้งด้านความรู้ ทักษะ               10
บทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ        กระบวนการสมรรถนะ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์
และเกิดประสิทธิผล                     8.2 ครูมีการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล และใช้ข้อมูลในการวาง
                                      แผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน
                                      8.3 ครูออกแบบและจัดการเรียนรูที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่าง
                                                                        ้
                                      บุคคลและพัฒนาการทางสติปัญญา
                                      8.4 ครูใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมผนวกกับการนาบริบทและภูมิ
                                      ปัญญาของท้องถิ่นมาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้
                                      8.5 ครูมีการวัดและประเมินผลที่มุ่งเน้นการพัฒนาการเรียนรู้ของผูเ้ รียน
                                      ด้วยวิธีการที่หลากหลาย
ค่าน้าหนัก
                                                                                                                 คะแนน
     มาตรฐานการศึกษา                                                ตัวชี้วัด
                                                                                                                   ( 100
                                                                                                                 คะแนน)
                                    8.6 ครูให้คาแนะนา คาปรึกษา และแก้ไขปัญหาให้แก่ผู้เรียนทั้งด้านการ
                                    เรียนและคุณภาพชีวิตด้วยความเสมอภาค
                                    8.7 ครูมีการศึกษา วิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในวิชาที่ตน
                                    รับผิดชอบ และใช้ผลในการปรับการสอน
                                    8.8 ครูประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี และเป็นสมาชิกที่ดีของ
                                    สถานศึกษา
                                    8.9 ครูจัดการเรียนการสอนตามวิชาที่ได้รับมอบหมายเต็มเวลา เต็ม
                                    ความสามารถ
มาตรฐานที่ 9 ผู้บริหารปฏิบัติงานตาม 9.1 ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ ภาวะผู้นา และความคิดริเริ่มทีเ่ น้นการพัฒนา          10
บทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ      ผู้เรียน
และเกิดประสิทธิผล                   9.2 ผู้บริหารใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วมและใช้ข้อมูลผลการ
                                    ประเมิน หรือผลการวิจยเป็นฐานคิดทั้งด้านวิชาการและการจัดการ
                                                            ั
                                    9.3 ผู้บริหารสามารถบริหารจัดการการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามที่
                                    กาหนดไว้ในแผนปฏิบัติการ
                                    9.4 ผู้บริหารส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้พร้อมรับการกระจาย
                                    อานาจ
                                    9.5 นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนพึงพอใจผลการบริหารการจัด
                                    การศึกษา
                                    9.6 ผู้บริหารให้คาแนะนา คาปรึกษาทางวิชาการและเอาใจใส่ การ
                                    จัดการศึกษาเต็มศักยภาพและเต็มเวลา
                                    9.7 มีทักษะและใช้ ICT ในการพัฒนาตนเอง และเพื่อการบริหารจัดการ
                                    9.8 บริหารจัดการทุกระบบมีประสิทธิภาพโดยสามารถแสดงผลเชิง
                                    คุณภาพในด้านต่างๆ อย่างสอดคล้องกับปัจจัยสนับสนุน
มาตรฐานที่ 10 คณะกรรมการ            10.1 คณะกรรมการสถานศึกษารูและปฏิบติหน้าที่ตามที่ระเบียบกาหนด
                                                                      ้      ั                                      5
สถานศึกษา และผู้ปกครอง ชุมชน        10.2 คณะกรรมการสถานศึกษากากับ ติดตาม ดูแล และขับเคลื่อนการ
ปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมี ดาเนินงานของสถานศึกษาให้บรรลุผลสาเร็จตามเป้าหมาย
ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล        10.3 ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาสถานศึกษา
มาตรฐานด้านประสิทธิภาพการบริหารจัดการ
มาตรฐานที่ 11 สถานศึกษามีการจัด      11.1 หลักสูตรสถานศึกษาเหมาะสมและสอดคล้องกับท้องถิ่น                           10
หลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ และ       11.2 จัดรายวิชาเพิ่มเติมที่หลากหลายให้ผเู้ รียนเลือกเรียนตามความถนัด
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่าง      ความสามารถและความสนใจ
รอบด้าน                              11.3 จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่สงเสริมและตอบสนองความต้องการ
                                                                     ่
                                     ความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียน
                                     11.4 สนับสนุนให้ครูจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ให้ผเู้ รียนได้ลงมือปฏิบติจริง
                                                                                                       ั
                                     จนสรุปความรูได้ด้วยตนเอง
                                                   ้
ค่าน้าหนัก
                                                                                                                   คะแนน
     มาตรฐานการศึกษา                                                  ตัวชี้วัด
                                                                                                                     ( 100
                                                                                                                   คะแนน)
                                       11.5 นิเทศภายใน กากับ ติดตามตรวจสอบ และนาผลไปปรับปรุงการ
                                       เรียนการสอนอย่างสม่าเสมอ
                                       11.6 จัดระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนที่มีประสิทธิภาพและครอบคลุมถึง
                                       ผู้เรียนทุกคน
                                       11.7 ส่งเสริมการเรียนรู้จากการร่วมกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต
มาตรฐานที่ 12 สถานศึกษามีการจัด        12.1 ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อาคารเรียนมั่นคง สะอาดและปลอดภัย มี             10
สภาพแวดล้อมและการบริการที่             สิ่งอานวยความสะดวก พอเพียง อยู่ในสภาพใช้การได้ดี สภาพแวดล้อมร่ม
ส่งเสริมให้ผเู้ รียนพัฒนาเต็มศักยภาพ   รื่น และมีแหล่งเรียนรูสาหรับผูเ้ รียน
                                                             ้
                                       12.2 จัดโครงการ กิจกรรมที่ส่งเสริมสุขภาพอนามัยและความปลอดภัย
                                       ของผู้เรียน
                                       12.3 จัดห้องสมุดที่ให้บริการสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อให้ผเู้ รียน
                                       เรียนรูด้วยตนเอง และหรือเรียนรูแบบมีส่วนร่วม
                                              ้                           ้
มาตรฐานที่ 13 สถานศึกษามีการ           13.1 กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา                                          5
ประกันคุณภาพภายในของ                   13.2 จัดทาและดาเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษาตามที่กาหนดใน                 สถานศึกษาที่มุ่งพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
กฎกระทรวง และเพิ่มระดับคุณภาพ          13.3 จัดระบบข้อมูลสารสนเทศและใช้สารสนเทศในการบริหารจัดการ
มาตรฐานสูงขึ้น                         เพื่อพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา
                                       13.4 ติดตามตรวจสอบ และประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐาน
                                       การศึกษาของสถานศึกษา
                                       13.5 นาผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปใช้วางแผน
                                       พัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
                                       13.6 จัดทารายงานประจาปีที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายใน
                                       13.7 ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพของ สมศ.
                                       13.8 ข้อมูลด้านคุณภาพของนักเรียนมีแนวโน้มสูงขึ้น
มาตรฐานด้านสร้างสังคมและเครือข่ายเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
มาตรฐานที่ 14 สถานศึกษามีการ           14.1 มีการสร้างและพัฒนาแหล่งเรียนรูภายในสถานศึกษา และใช้
                                                                            ้                                        10
สร้าง ส่งเสริม สนับสนุน ให้            ประโยชน์จากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา เพื่อ
สถานศึกษาเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้      พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนและบุคลากรของสถานศึกษา รวมทั้งผู้ที่
เพิ่มศักยภาพในการใช้เทคโนโลยี          เกี่ยวข้อง
สารสนเทศและแหล่งเรียนรู้เพื่อ          14.2 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรูระหว่างบุคลากรภายในสถานศึกษา ระหว่าง
                                                                   ้
พัฒนาคุณภาพนักเรียน                    สถานศึกษากับครับครัว ชุมชน และองค์กรที่เกี่ยวข้อง
                                       14.3 มีภาคีเครือข่ายสนับสนุนการบริหารจัดการ สื่ออุปกรณ์ แหล่งเรียนรู้
                                       14.4 นา computer และระบบ ict มาใช้เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน
                                       และการบริหารจัดการ
ค่าน้าหนัก
                                                                                                       คะแนน
     มาตรฐานการศึกษา                                           ตัวชี้วัด
                                                                                                         ( 100
                                                                                                       คะแนน)
                                  14.5 ระบบ e-learning มีประสิทธิภาพ
                                  14.6 สภาพบริเวณ อาคาร สถานที่ สะอาด ร่มรื่นปลอดภัย บรรยากาศ
                                  อบอุ่น ส่งเสริมให้นักเรียนอยากมาเรียน รักโรงเรียน
                                  14.7 มีมาตรการในการดูแล ซ่อมบารุง และเพิมขีดความสามารถในการ
                                                                              ่
                                  ให้บริการ
                                  14.8 ห้องสมุดมีสื่อสนับสนุนการสืบค้นข้อมูลอย่างหลากหลาย เพียงพอ
                                  ทั้งสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อ ICT
                                  14.9 ใช้ระบบ ICT ในการบริหารจัดการห้องสมุด
                                  14.10 ครูผู้รับผิดชอบมีความรู้ ความสามารถในการบริหารจัดการ
                                  ห้องสมุดโดยระบบ ICT
มาตรฐานด้านอัตลักษณ์
มาตรฐานที่ 15 การพัฒนา            15.1 จัดโครงการ กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผเู้ รียนบรรลุตามเป้าหมาย          5
สถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตาม      วิสัยทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้นของสถานศึกษา
วิสัยทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้นที่   15.2 ผลการดาเนินงานส่งเสริมให้ผู้เรียนบรรลุตามเป้าหมาย วิสัยทัศน์
กาหนดขึ้น                         ปรัชญา และจุดเน้นของสถานศึกษา
มาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม
มาตรฐานที่ 16 การจัดกิจกรรมตาม 16.1 จัดโครงการ กิจกรรมพิเศษ เพื่อตอบสนองนโยบาย จุดเน้น ตาม                5
นโยบาย จุดเน้น แนวทางการปฏิรป แนวทางการปฏิรูปการศึกษา
                               ู
การศึกษา เพื่อพัฒนาและส่งเสริม   16.2 ผลการดาเนินงานบรรลุตามเป้าหมาย
สถานศึกษาให้ยกระดับคุณภาพสูงขึ้น

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

20แบบประเมิน พฐ15มฐมีค56
20แบบประเมิน พฐ15มฐมีค5620แบบประเมิน พฐ15มฐมีค56
20แบบประเมิน พฐ15มฐมีค56Pochchara Tiamwong
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stadnangnut
 
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2sarawut chaicharoen
 
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯPpt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯIct Krutao
 
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคล
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคลบทความการศึกษาเป็นรายบุคคล
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคลwattanaka
 
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙QA Bpi
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนsmellangel
 
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55Decode Ac
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนwaranyuati
 
ดาวน์โหลดเอกสารเลือกตั้งประธานคณะสี
ดาวน์โหลดเอกสารเลือกตั้งประธานคณะสีดาวน์โหลดเอกสารเลือกตั้งประธานคณะสี
ดาวน์โหลดเอกสารเลือกตั้งประธานคณะสีwaranyuati
 
โรงเรียนบ้านบ่อไทยประเมินภายใน
โรงเรียนบ้านบ่อไทยประเมินภายในโรงเรียนบ้านบ่อไทยประเมินภายใน
โรงเรียนบ้านบ่อไทยประเมินภายในแอมป์ ไชโย
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาtassanee chaicharoen
 

Mais procurados (20)

20แบบประเมิน พฐ15มฐมีค56
20แบบประเมิน พฐ15มฐมีค5620แบบประเมิน พฐ15มฐมีค56
20แบบประเมิน พฐ15มฐมีค56
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
 
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯPpt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
 
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคล
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคลบทความการศึกษาเป็นรายบุคคล
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคล
 
งานนำเสนอ Sar
งานนำเสนอ Sarงานนำเสนอ Sar
งานนำเสนอ Sar
 
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
งานนำเสนอ Sar
งานนำเสนอ Sarงานนำเสนอ Sar
งานนำเสนอ Sar
 
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
 
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบวิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
 
วิธีสอนวิทยาศาสตร์
วิธีสอนวิทยาศาสตร์วิธีสอนวิทยาศาสตร์
วิธีสอนวิทยาศาสตร์
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
 
ดาวน์โหลดเอกสารเลือกตั้งประธานคณะสี
ดาวน์โหลดเอกสารเลือกตั้งประธานคณะสีดาวน์โหลดเอกสารเลือกตั้งประธานคณะสี
ดาวน์โหลดเอกสารเลือกตั้งประธานคณะสี
 
ส่วนที่ ๒
ส่วนที่  ๒ส่วนที่  ๒
ส่วนที่ ๒
 
แบบประเม น
แบบประเม นแบบประเม น
แบบประเม น
 
โรงเรียนบ้านบ่อไทยประเมินภายใน
โรงเรียนบ้านบ่อไทยประเมินภายในโรงเรียนบ้านบ่อไทยประเมินภายใน
โรงเรียนบ้านบ่อไทยประเมินภายใน
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
 
Standard54
Standard54Standard54
Standard54
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
 

Semelhante a มาตรฐานการศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลำลูกกา

ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนNattayaporn Dokbua
 
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3Yodhathai Reesrikom
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์supanyasaengpet
 
Asean section2
Asean section2Asean section2
Asean section2Ict Krutao
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑rampasri
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมAiphie Sonia Haji
 
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนPitima Boonprasit
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่วิจัยบทที่
วิจัยบทที่Natmol Thedsanabun
 
ประเมินสมศรอบ1
ประเมินสมศรอบ1ประเมินสมศรอบ1
ประเมินสมศรอบ1Montree Jareeyanuwat
 
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรกผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรกsukanyalanla
 

Semelhante a มาตรฐานการศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลำลูกกา (20)

ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
 
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
 
Asean section2
Asean section2Asean section2
Asean section2
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
 
มาตรฐาน
มาตรฐานมาตรฐาน
มาตรฐาน
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
แนวทาง Tok
แนวทาง Tokแนวทาง Tok
แนวทาง Tok
 
World class
World classWorld class
World class
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
 
ประเมินสมศรอบ1
ประเมินสมศรอบ1ประเมินสมศรอบ1
ประเมินสมศรอบ1
 
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรกผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
 

Mais de Nattapon

About Python
About PythonAbout Python
About PythonNattapon
 
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorNattapon
 
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...Nattapon
 
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8Nattapon
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...Nattapon
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potNattapon
 
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meNattapon
 
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorNattapon
 
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorNattapon
 
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationNattapon
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationNattapon
 
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่ายใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่ายNattapon
 

Mais de Nattapon (20)

Resume
ResumeResume
Resume
 
About Python
About PythonAbout Python
About Python
 
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
 
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
 
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
 
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
 
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
 
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
 
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
 
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
 
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
 
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
 
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่ายใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่าย
 

มาตรฐานการศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลำลูกกา

  • 1. มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา ค่าน้าหนัก คะแนน มาตรฐานการศึกษา ตัวชี้วัด ( 100 คะแนน) มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนเป็นพลโลกทีมี ่ 1.1 ร้อยละของผู้เรียนที่มสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพและออกกาลังกาย ี 5 สุขภาวะที่ดี มีสุนทรียภาพ และร่วม สม่าเสมอ รับผิดชอบต่อสังคมโลก 1.2 ร้อยละของผู้เรียนที่มีน้าหนัก ส่วนสูง และมีสมรรถภาพทางกายตาม เกณฑ์มาตรฐาน 1.3 ร้อยละของผู้เรียนที่ป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติดให้โทษและหลีกเลี่ยง ตนเองจากสภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง โรค ภัย อุบัติเหตุ และปัญหาทาง เพศ 1.4 ร้อยละของผู้เรียนที่เห็นคุณค่าในตนเอง มีความมั่นใจ กล้าแสดงออก อย่างเหมาะสม 1.5 ร้อยละของผู้เรียนที่มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและให้เกียรติผู้อื่น 1.6 ร้อยละของผู้เรียนที่สร้างผลงานจากเข้าร่วมกิจกรรมด้านศิลปะ ดนตรี/นาฏศิลป์ กีฬา/นันทนาการตามจินตนาการ 1.7 ร้อยละของผู้เรียนที่มีความเคารพในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของผู้อื่น 1.8 ร้อยละของผู้เรียนที่มีความรู้ความเข้าใจ และยึดมั่นในสิทธิมนุษยชน 1.9 ร้อยละของผู้เรียนที่มีความรู้ ความเข้าใจยอมรับและตระหนักในความ หลากหลายทางเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ สังคม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี รวมทั้งความหลากหลายทางชีวภาพ ตลอดจนผลกระทบของ สภาพแวดล้อมที่มต่อเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ี 1.10 ร้อยละของผู้เรียนที่มีความรู้ ความเข้าใจ หรือความจาเป็นในการ จรรโลง รักษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยปราศจากการทาลายโลกใบนี้ เพื่อความอยู่รอดของชีวิตในรุ่นต่อไป โดยคานึงถึงการพัฒนาอย่างยั่งยืน 1.11 ร้อยละของผู้เรียนที่มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและ สถาบัน จาเป็นต้องมีบทบาทเกี่ยวข้องในฐานะสมาชิกของสังคมทั้งใน ระดับท้องถิ่น ประเทศ และระดับโลก มีบทบาทและมีส่วนร่วมรับผิดชอบ ในฐานะพลเมืองดีของสังคมที่คานึงถึงสิทธิมนุษยชนและอุดมการณ์ ประชาธิปไตย
  • 2. ค่าน้าหนัก คะแนน มาตรฐานการศึกษา ตัวชี้วัด ( 100 คะแนน) มาตรฐานที่ 2 ผู้เรียนมีคุณธรรม 2.1 ร้อยละของผู้เรียนที่มีคณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร ุ 5 จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ มี 2.2 ร้อยละของผู้เรียนที่เอื้ออาทรผู้อื่นและกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ ความเป็นไทย มีจิตสานึกในการ 2.3 ร้อยละของผู้เรียนที่ยอมรับความคิดและวัฒนธรรมที่แตกต่าง อนุรักษ์ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และ 2.4 ร้อยละของผู้เรียนที่ตระหนัก รู้คุณค่า ร่วมอนุรักษ์และพัฒนา ภูมิปัญญาไทย สิ่งแวดล้อม 2.5 ร้อยละของผู้เรียนที่มีการยิ้ม ไหว้ การทักทาย การต้อนรับ และ สนทนาอย่างมีสมมาคารวะ ั 2.6 ร้อยละของผู้เรียนที่มีการใช้ภาษา พูด อ่าน เขียน ได้ถูกต้องเหมาะสม กับกาลเทศะ 2.7 ร้อยละของผู้เรียนที่มีการตอบคาถาม สนทนาสะท้อนให้เห็นการได้รับ การปลูกฝังด้านคุณธรรม จริยธรรม ความเพียงพอ อย่างมีเหตุผล 2.8 ร้อยละของผู้เรียนที่มีการแต่งกายสะอาด เหมาะสม 2.9 ร้อยละของผู้เรียนที่มผลงานหรือกิจกรรมที่แสดงสะท้อนการรักษา ี ประเพณี ศิลปวัฒนธรรมไทยและท้องถิ่น มาตรฐานที่ 3 ผู้เรียนความสามารถใน 3.1 มีนิสัยรักการอ่านและแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากห้องสมุด แหล่ง 5 การสื่อสาร มีทักษะในการแสวงหา เรียนรู้ และสื่อต่าง ๆ รอบตัว ความรู้ด้วยตนเอง รักเรียนรู้ พัฒนา 3.2 มีทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียน และตั้งคาถามเพื่อค้นคว้าหา ตนเองอย่างต่อเนื่อง และใช้ ความรู้เพิ่มเติม เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร 3.3 เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ ่ ระหว่างกัน 3.4 ใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนาเสนอผลงาน 3.5 ร้อยละของผู้เรียนที่สามารถใช้ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และ ภาษาต่างประเทศที่สองในการฟัง พูด อ่าน เขียน และการสื่อสารอื่นๆ ได้ ดี 3.6 ร้อยละของผู้เรียนที่มีทักษะสือสารปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น สามารถสื่อ ่ ความหมายแลกเปลี่ยนข้อมูล ความคิด ผ่านสื่อ เครื่องมือ และวิธีการ สื่อสารที่ใช้อยูในปัจจุบันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ่ 3.7 ใช้คอมพิวเตอร์ มีอีเมล์ และสือสารผ่านระบบ ICT เรียนรู้ผานระบบ ่ ่ e-learning 3.8 มีข้อมูลหรือผลงานที่แสดงถึงการค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ แหล่งข้อมูล ที่หลากหลาย ผลงานสะท้อนการคิดวิเคราะห์และนาเสนอผ่านระบบ ICT 3.9 สามารถหาวิธีการแก้ปัญหาหรือแสวงหาคาตอบ มาตรฐานที่ 4 ผู้เรียนมีความสามารถ 4.1 สรุปความคิดจากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู และสื่อสารโดยการพูดหรือ 4 ในการคิดประดิษฐ์สร้างสรรค์ การคิด เขียนตามความคิดของตนเอง อย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ 4.2 นาเสนอวิธีคิด วิธีแก้ปัญหาด้วยภาษาหรือวิธีการของตนเอง
  • 3. ค่าน้าหนัก คะแนน มาตรฐานการศึกษา ตัวชี้วัด ( 100 คะแนน) ตัดสินใจ แก้ปญหาได้อย่างมีสติ สม ั 4.3 กาหนดเป้าหมาย คาดการณ์ ตัดสินใจแก้ปญหาโดยมีเหตุผลประกอบ ั เหตุผล 4.4 มีความคิดริเริ่ม และสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจ 4.5 ร้อยละของผู้เรียนที่มีความคิดสร้างสรรค์ กล้าเผชิญความเสี่ยง สามารถใช้ความคิดระดับสูง มีเหตุผลและวางแผนจัดการสูเ่ ป้าหมายได้ 4.6 ร้อยละของผู้เรียนที่มีความสามารถประดิษฐ์ คิดค้น ออกแบบ สร้างสรรค์ สื่อสาร เผยแพร่ด้วยวิธีการ เครื่องมือและเทคโนโลยีที่ เหมาะสม มาตรฐานที่ 5 ผู้เรียน มีความรู้และ 5.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละกลุ่มสาระเป็นไปตามเกณฑ์ 4 ทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร 5.2 ผลการประเมินสมรรถนะสาคัญตามหลักสูตรเป็นไปตามเกณฑ์ 5.3 ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนเป็นไปตามเกณฑ์ 5.4 ผลการทดสอบระดับชาติเป็นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานที่ 6 ผู้เรียนมีทักษะในการ 6.1 วางแผนการทางานและดาเนินการจนสาเร็จ 4 ทางาน รักการทางาน สามารถทางาน 6.2 ทางานอย่างมีความสุข มุ่งมั่นพัฒนางาน และภูมิใจในผลงานของ ร่วมกับผู้อื่นได้และมีเจตคติที่ดีต่อ ตนเอง อาชีพสุจริต 6.3 ทางานร่วมกับผู้อื่นได้ 6.4 มีความรู้สึกที่ดต่ออาชีพสุจริตและหาความรู้เกียวกับอาชีพ ที่ตนเอง ี ่ สนใจ มาตรฐานที่ 7 ผู้เรียนมีความเป็นเลิศ 7.1 ร้อยละของผู้เรียนที่มีความรู้ ความสามารถทางวิชาการ โดยมี 3 ทางวิชาการ ผลสัมฤทธิ์ในระดับดี 7.2 ร้อยละของผู้เรียนที่มีอัตราการศึกษาต่อในระดับสูงถึง ระดับอุดมศึกษาทั้งในและต่างประเทศ 7.3 ร้อยละของผู้เรียนที่มีความสามารถในการเรียนรู้ มีทักษะด้านข้อมูลที่ จะทาให้สามารถวิเคราะห์ ประเมิน สังเคราะห์ และใช้ข้อมูลสารสนเทศ สามารถใช้ ICT เพื่อการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ มาตรฐานด้านศักยภาพครูและบุคลากร มาตรฐานที่ 8 ครูปฏิบัติงานตาม 8.1 ครูมีการกาหนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนทั้งด้านความรู้ ทักษะ 10 บทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ กระบวนการสมรรถนะ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และเกิดประสิทธิผล 8.2 ครูมีการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล และใช้ข้อมูลในการวาง แผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน 8.3 ครูออกแบบและจัดการเรียนรูที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่าง ้ บุคคลและพัฒนาการทางสติปัญญา 8.4 ครูใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมผนวกกับการนาบริบทและภูมิ ปัญญาของท้องถิ่นมาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้ 8.5 ครูมีการวัดและประเมินผลที่มุ่งเน้นการพัฒนาการเรียนรู้ของผูเ้ รียน ด้วยวิธีการที่หลากหลาย
  • 4. ค่าน้าหนัก คะแนน มาตรฐานการศึกษา ตัวชี้วัด ( 100 คะแนน) 8.6 ครูให้คาแนะนา คาปรึกษา และแก้ไขปัญหาให้แก่ผู้เรียนทั้งด้านการ เรียนและคุณภาพชีวิตด้วยความเสมอภาค 8.7 ครูมีการศึกษา วิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในวิชาที่ตน รับผิดชอบ และใช้ผลในการปรับการสอน 8.8 ครูประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี และเป็นสมาชิกที่ดีของ สถานศึกษา 8.9 ครูจัดการเรียนการสอนตามวิชาที่ได้รับมอบหมายเต็มเวลา เต็ม ความสามารถ มาตรฐานที่ 9 ผู้บริหารปฏิบัติงานตาม 9.1 ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ ภาวะผู้นา และความคิดริเริ่มทีเ่ น้นการพัฒนา 10 บทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้เรียน และเกิดประสิทธิผล 9.2 ผู้บริหารใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วมและใช้ข้อมูลผลการ ประเมิน หรือผลการวิจยเป็นฐานคิดทั้งด้านวิชาการและการจัดการ ั 9.3 ผู้บริหารสามารถบริหารจัดการการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามที่ กาหนดไว้ในแผนปฏิบัติการ 9.4 ผู้บริหารส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้พร้อมรับการกระจาย อานาจ 9.5 นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนพึงพอใจผลการบริหารการจัด การศึกษา 9.6 ผู้บริหารให้คาแนะนา คาปรึกษาทางวิชาการและเอาใจใส่ การ จัดการศึกษาเต็มศักยภาพและเต็มเวลา 9.7 มีทักษะและใช้ ICT ในการพัฒนาตนเอง และเพื่อการบริหารจัดการ 9.8 บริหารจัดการทุกระบบมีประสิทธิภาพโดยสามารถแสดงผลเชิง คุณภาพในด้านต่างๆ อย่างสอดคล้องกับปัจจัยสนับสนุน มาตรฐานที่ 10 คณะกรรมการ 10.1 คณะกรรมการสถานศึกษารูและปฏิบติหน้าที่ตามที่ระเบียบกาหนด ้ ั 5 สถานศึกษา และผู้ปกครอง ชุมชน 10.2 คณะกรรมการสถานศึกษากากับ ติดตาม ดูแล และขับเคลื่อนการ ปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมี ดาเนินงานของสถานศึกษาให้บรรลุผลสาเร็จตามเป้าหมาย ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล 10.3 ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาสถานศึกษา มาตรฐานด้านประสิทธิภาพการบริหารจัดการ มาตรฐานที่ 11 สถานศึกษามีการจัด 11.1 หลักสูตรสถานศึกษาเหมาะสมและสอดคล้องกับท้องถิ่น 10 หลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ และ 11.2 จัดรายวิชาเพิ่มเติมที่หลากหลายให้ผเู้ รียนเลือกเรียนตามความถนัด กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่าง ความสามารถและความสนใจ รอบด้าน 11.3 จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่สงเสริมและตอบสนองความต้องการ ่ ความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียน 11.4 สนับสนุนให้ครูจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ให้ผเู้ รียนได้ลงมือปฏิบติจริง ั จนสรุปความรูได้ด้วยตนเอง ้
  • 5. ค่าน้าหนัก คะแนน มาตรฐานการศึกษา ตัวชี้วัด ( 100 คะแนน) 11.5 นิเทศภายใน กากับ ติดตามตรวจสอบ และนาผลไปปรับปรุงการ เรียนการสอนอย่างสม่าเสมอ 11.6 จัดระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนที่มีประสิทธิภาพและครอบคลุมถึง ผู้เรียนทุกคน 11.7 ส่งเสริมการเรียนรู้จากการร่วมกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต มาตรฐานที่ 12 สถานศึกษามีการจัด 12.1 ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อาคารเรียนมั่นคง สะอาดและปลอดภัย มี 10 สภาพแวดล้อมและการบริการที่ สิ่งอานวยความสะดวก พอเพียง อยู่ในสภาพใช้การได้ดี สภาพแวดล้อมร่ม ส่งเสริมให้ผเู้ รียนพัฒนาเต็มศักยภาพ รื่น และมีแหล่งเรียนรูสาหรับผูเ้ รียน ้ 12.2 จัดโครงการ กิจกรรมที่ส่งเสริมสุขภาพอนามัยและความปลอดภัย ของผู้เรียน 12.3 จัดห้องสมุดที่ให้บริการสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อให้ผเู้ รียน เรียนรูด้วยตนเอง และหรือเรียนรูแบบมีส่วนร่วม ้ ้ มาตรฐานที่ 13 สถานศึกษามีการ 13.1 กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 5 ประกันคุณภาพภายในของ 13.2 จัดทาและดาเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ สถานศึกษาตามที่กาหนดใน สถานศึกษาที่มุ่งพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา กฎกระทรวง และเพิ่มระดับคุณภาพ 13.3 จัดระบบข้อมูลสารสนเทศและใช้สารสนเทศในการบริหารจัดการ มาตรฐานสูงขึ้น เพื่อพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา 13.4 ติดตามตรวจสอบ และประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา 13.5 นาผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปใช้วางแผน พัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง 13.6 จัดทารายงานประจาปีที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายใน 13.7 ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพของ สมศ. 13.8 ข้อมูลด้านคุณภาพของนักเรียนมีแนวโน้มสูงขึ้น มาตรฐานด้านสร้างสังคมและเครือข่ายเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานที่ 14 สถานศึกษามีการ 14.1 มีการสร้างและพัฒนาแหล่งเรียนรูภายในสถานศึกษา และใช้ ้ 10 สร้าง ส่งเสริม สนับสนุน ให้ ประโยชน์จากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา เพื่อ สถานศึกษาเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนและบุคลากรของสถานศึกษา รวมทั้งผู้ที่ เพิ่มศักยภาพในการใช้เทคโนโลยี เกี่ยวข้อง สารสนเทศและแหล่งเรียนรู้เพื่อ 14.2 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรูระหว่างบุคลากรภายในสถานศึกษา ระหว่าง ้ พัฒนาคุณภาพนักเรียน สถานศึกษากับครับครัว ชุมชน และองค์กรที่เกี่ยวข้อง 14.3 มีภาคีเครือข่ายสนับสนุนการบริหารจัดการ สื่ออุปกรณ์ แหล่งเรียนรู้ 14.4 นา computer และระบบ ict มาใช้เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน และการบริหารจัดการ
  • 6. ค่าน้าหนัก คะแนน มาตรฐานการศึกษา ตัวชี้วัด ( 100 คะแนน) 14.5 ระบบ e-learning มีประสิทธิภาพ 14.6 สภาพบริเวณ อาคาร สถานที่ สะอาด ร่มรื่นปลอดภัย บรรยากาศ อบอุ่น ส่งเสริมให้นักเรียนอยากมาเรียน รักโรงเรียน 14.7 มีมาตรการในการดูแล ซ่อมบารุง และเพิมขีดความสามารถในการ ่ ให้บริการ 14.8 ห้องสมุดมีสื่อสนับสนุนการสืบค้นข้อมูลอย่างหลากหลาย เพียงพอ ทั้งสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อ ICT 14.9 ใช้ระบบ ICT ในการบริหารจัดการห้องสมุด 14.10 ครูผู้รับผิดชอบมีความรู้ ความสามารถในการบริหารจัดการ ห้องสมุดโดยระบบ ICT มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ มาตรฐานที่ 15 การพัฒนา 15.1 จัดโครงการ กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผเู้ รียนบรรลุตามเป้าหมาย 5 สถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตาม วิสัยทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้นของสถานศึกษา วิสัยทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้นที่ 15.2 ผลการดาเนินงานส่งเสริมให้ผู้เรียนบรรลุตามเป้าหมาย วิสัยทัศน์ กาหนดขึ้น ปรัชญา และจุดเน้นของสถานศึกษา มาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม มาตรฐานที่ 16 การจัดกิจกรรมตาม 16.1 จัดโครงการ กิจกรรมพิเศษ เพื่อตอบสนองนโยบาย จุดเน้น ตาม 5 นโยบาย จุดเน้น แนวทางการปฏิรป แนวทางการปฏิรูปการศึกษา ู การศึกษา เพื่อพัฒนาและส่งเสริม 16.2 ผลการดาเนินงานบรรลุตามเป้าหมาย สถานศึกษาให้ยกระดับคุณภาพสูงขึ้น