SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 60
วิทยาศาสตร์ (ว23102)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
โรงเรียนสา อาเภอเวียงสา จังหวัดน่าน
คุณครูจริยา ใจยศ
วิชาวิทยาศาสตร์
เรียน 3 คาบ ต่อ สัปดาห์ จานวน 1.5 หน่วยกิต
เวลาเรียนทั้งหมด 60 ชั่วโมง
เนื้อหาวิชา มีดังนี้
1. เอกภพ
2. พันธุกรรมและความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
3. ชีวิตและสิ่งแวดล้อม

การเก็บคะแนน

ระหว่างภาค : ปลายภาค = 70 : 30 คะแนน
ระหว่างภาค ได้จาก การตรวจงานในสมุดบันทึก , สอบเก็บคะแนน
หน่วยย่อย, ความตั้งใจ ความสนใจในการเรียนในห้องเรียน
ปลายภาค ได้จาก การสอบ
ตัวชี้วัด
หน่วยที่ 1 เอกภพ
1. สืบค้นและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างดวงอาทิตย์ โลก ดวง
จันทร์และดาวเคราะห์อื่นๆ และผลที่เกิดขึ้นต่อสิ่งแวดล้อมและ
สิ่งมีชีวิตบนโลก
2. สืบค้นและอธิบายองค์ประกอบของเอกภพ กาแล็กซี และระบบ
สุริยะ
3. ระบุตาแหน่งของกลุ่มดาว และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
4. สืบค้นและอภิปรายความก้าวหน้าของเทคโนโลยีอวกาศที่ใช้
สารวจอวกาศ วัตถุ ท้องฟ้า สภาวะอากาศ
ทรัพยากรธรรมชาติ การเกษตร และการสื่อสาร
หน่วยที่ 2 พันธุกรรมและความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตและ
สิ่งแวดล้อม
1. สังเกตและอธิบายลักษณะของโครโมโซมที่มีหน่วยพันธุกรรมหรือยีน
ในนิวเคลียส
2. อธิบายความสาคัญของสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอ และกระบวนการ
ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
3. อภิปรายโรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากความผิดปกติของยีนและ
โครโมโซมและนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
4. สารวจและอธิบายความหลากหลายทางชีวภาพในท้องถิ่นที่ทาให้
สิ่งมีชีวิตดารงชีวิตอยู่ได้อย่างสมดุล
5. อธิบายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์ สัตว์ พืช
และสิ่งแวดล้อม
6. อภิปรายผลของเทคโนโลยีชีวภาพต่อการดารงชีวิตของมนุษย์และ
สิ่งแวดล้อม
หน่วยที่ 3 ชีวิตและสิ่งแวดล้อม
1. สารวจระบบนิเวศต่างๆในท้องถิ่นและอธิบายความสัมพันธ์ของ
องค์ประกอบภายในระบบนิเวศ
2. วิเคราะห์และอธิบายความสัมพันธ์ของการถ่ายทอดพลังงาน
ของสิ่งมีชีวิตในรูปของโซ่อาหารและสายใยอาหาร
3. อธิบายวัฏจักรน้า วัฏจักรคาร์บอน และความสาคัญที่มีต่อ
ระบบนิเวศ
4. อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากรใน
ระบบนิเวศ
5. วิเคราะห์สภาพปัญหาสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติใน
ท้องถิ่น และเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหา
6. อธิบายแนวทางการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ
7. อภิปรายการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
8. วิเคราะห์และอธิบายการใช้ทรัพยากรธรรมชาติตามปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง
9. อภิปรายปัญหาสิ่งแวดล้อมและเสนอแนะแนวทางแก้ปัญหา
10. อภิปรายและมีส่วนร่วมในการดูแลและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมใน
ท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
เอกภพ
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
โรงเรียนสา อาเภอเวียงสา จังหวัดน่าน
คุณครูจริยา ใจยศ
การกาเนิดเอกภพ
เอกภพ หรือ จักรวาล (Universe) เป็นระบบที่ใหญ่ที่สุดและ
ไร้ขอบเขต และเป็นห้วงอวกาศที่เต็มไปด้วยดวงดาวจานวน
มหาศาล ซึ่งเราจะเรียกดวงดาวที่เกาะกันเป็นกลุ่มว่า
กาแล็กซี และในแต่ละกาแล็กซี ก็จะมีระบบของดาวฤกษ์
กระจุกดาว เนบิวลา หลุมดา อุกกาบาต ฝุ่นผง กลุ่มก๊าซ และ
ที่ว่างอยู่รวมกันอยู่ ซึ่งก็โลกอยู่ในกาแล็กซีหนึง ที่เรียกกันว่า
่
กาแล็กซีทางช้างเผือก นั่นเอง
VDO กาเนิดจักรวาล 1
VDO กาเนิดจักรวาล 2
ดวงอาทิตย์

5
°C = (°F - 32)
9
แบบฝึกหัด
จงนาตัวอักษรมาเติมหน้าข้อความที่มีความสัมพันธ์กัน
1. พบบนผิวดวงอาทิตย์เป็นจุดสีเข้ม มีความเข้มของสนามแม่เหล็ก

สูงมาก
2. อุณหภูมิที่ใจกลางของดวงอาทิตย์
3. บรรยากาศชั้นที่อยู่เหนือทรงกลมแสงของดวงอาทิตย์
4. เวลาที่แสงอาทิตย์เดินทางมาถึงโลก
5. อายุของดวงอาทิตย์
6. เป็นชั้นบรรยากาศของดวงอาทิตย์ที่ส่องสว่าง ทาให้เรามองเห็น
แสงอาทิตย์
7. แสงเหนือแสงใต้ที่เกิดในบรรยากาศชั้นบนของโลกบริเวณขั้วโลก
8. การระเบิดจ้าที่เกิดบนพื้นผิวดวงอาทิตย์ ทาให้อนุภาคต่าง ๆ
หลุดออกจากดวงอาทิตย์ไปสู่อวกาศ
9. บรรยากาศชั้นนอกสุดของดวงอาทิตย์ที่ปรากฎแสงเรืองรอง
คล้ายมงกุฎที่สวมโดยรอบของดวงอาทิตย์
10. ที่ใจกลางของดวงอาทิตย์จะเกิดการรวมนิวเคลียสของ
ไฮโดรเจน 4 อะตอมเป็นฮีเลียม 1 อะตอม และปลดปล่อย
พลังงานมหาศาลออกมา
ก.
ข.
ค.
ง.
จ.
ฉ.
ช.
ซ.
ฌ.
ญ.

ปฏิกิริยาฟิวชัน
โพโตสเฟียร์
ลมสุริยะ
แสงออโรรา
โคโรนา
Sunspot
โครโมสเฟียร์
5,000 ล้านปี
8 นาที
15 ล้าน 0C
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ ประกอบด้วย
ดวงอาทิตย์และวัตถุอื่นๆ ที่โคจรรอบดวงอาทิตย์เนื่องจาก
แรงโน้มถ่วง ได้แก่ ดาวเคราะห์ 8 ดวงกับดวงจันทร์บริวารที่
ค้นพบแล้ว 166 ดวง ดาวเคราะห์แคระ 5 ดวงกับดวงจันทร์บริวาร
ที่ค้นพบแล้ว 4 ดวง กับวัตถุขนาดเล็กอื่นๆ อีกนับล้านชิ้น ซึ่ง
รวมถึง ดาวเคราะห์น้อย วัตถุในแถบไคเปอร์ ดาวหาง สะเก็ดดาว
และฝุ่นระหว่างดาวเคราะห์
เนบิวลา เป็นกลุ่มเมฆหมอกของฝุ่น แก๊ส และพลาสมาใน
อวกาศ
ดวงจันทร์ เป็นดาวบริวารเพียงดวงเดียวของโลก จัดเป็น
ดาวบริวารขนาดใหญ่ลาดับที่ 5 ในระบบสุริยะ
ดาวเคราะห์น้อย วัตถุทางดาราศาสตร์ขนาดเล็กกว่าดาว
เคราะห์ แต่ใหญ่กว่าสะเก็ดดาว
ดาวหาง คือ วัตถุชนิดหนึ่งในระบบสุริยะที่โคจรรอบดวง
อาทิตย์ มีส่วนที่ระเหิดเป็นแก๊สเมื่อเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ ทา
ให้เกิดชั้นฝุ่นและแก๊สที่ฝ้ามัวล้อมรอบ และทอดเหยียด
ออกไปภายนอกจนดูเหมือนหาง ใจกลางดาวหางเป็น
"ก้อนหิมะสกปรก"
โลก
o โลกหมุนรอบตัวเอง

ใช้เวลา
23.56 ชั่วโมง หรือ 1 วัน
o โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ 1
รอบ ใช้เวลา 365 วัน หรือ 1 ปี
ปรากฏการณ์ที่โลกหมุนรอบตัวเอง
VDO การเกิดกลางวันกลางคืน

VDO พระอาทิตย์เที่ยงคืน
ปรากฏการณ์ที่โลกหมุนรอบตัวเอง
การเกิดกลางวันและกลางคืน
 การขึ้นตกของดวงอาทิตย์
 การเกิดทิศ
VDO การขึ้นตกของดวงอาทิตย์

สรุปข้อมูลจาก วิดีโอการขึ้นตกของดวงอาทิตย์
สรุปข้อมูลจาก วิดีโอการขึ้นตกของดวงอาทิตย์
ดวงอาทิตย์ขึ้นผ่านทั้ง 15 ประตูของปราสาทหินพนมรุ้ง
เกิด 2 ช่วง คือ ครั้งที่ 1 3-5 เม.ย. ครั้งที่ 2 5-7 ก.ย.
คาถาม
1. โลกหมุนรอบตัวเองจากทิศใดไปยังทิศใด
2. โลกจัดเป็นดาวเคราะห์หรือดาวฤกษ์
3. ดวงอาทิตย์จัดเป็นดาวเคราะห์หรือดาวฤกษ์
4. ดวงอาทิตย์ข้นและตกในทิศเดิมหรือไม่ ทาไมถึงเป็นเช่นนัน
ึ
้
5. วันที่ 21 มีนาคม
ดวงอาทิตย์ข้ึนทางทิศ.................
ดวงอาทิตย์ตกทางทิศ .................
6. วันที่ 21 มิถุนายน ดวงอาทิตย์ข้ึนทางทิศ.................
ดวงอาทิตย์ตกทางทิศ .................
7. วันที่ 23 กันยายน ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศ.................
ดวงอาทิตย์ตกทางทิศ .................
8. วันที่ 22 ธันวาคม ดวงอาทิตย์ข้ึนทางทิศ.................
ดวงอาทิตย์ตกทางทิศ .................
ปรากฏการณ์ที่เกิดจากโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์
ทรงกลมฟ้า
เส้นศูนย์สูตรฟ้า
ขั้วฟ้าเหนือ
ขั้วฟ้าใต้
เส้นสูตรสูตร
ขั้วโลกเหนือ
ขั้วโลกใต้
ปรากฏการณ์ที่เกิดจากโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์
VDO การเกิดฤดูกาล
ฤดูกาลของประเทศไทย
ฤดูกาลในประเทศไทย
1. ฤดูหนาว
เป็นช่วงที่ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดเข้ามาสู่ไทย ระยะเวลา
ประมาณ สี่เดือน อากาศโดยทั่วไปค่อนข้างเย็น ยกเว้นทางภาคเหนือและ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งเป็นที่สูง จะมีอากาศหนาวกว่าภาคอื่นๆ ช่วง
เดือน พฤศจิกายน-กุมภาพันธ์
2.ฤดูร้อน
เป็นช่วงที่ลมมรสุมกระแสลมทะเลจีนใต้พัดเข้ามาสู่ไทยจากทางทิศใต้และ
ทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระยะเวลาประมาณ สามเดือน ในระยะนี้ดวง
อาทิตย์ได้โคจรส่องแสงมาตั้งฉากกับประเทศพอดี ทาให้อากาศร้อนอบ
อ้าว โดยเฉพาะเดือนเมษายนจะอุณหภูมิสูงสุดของปี ช่วงเดือนมีนาคมพฤษภาคม
3.ฤดูฝน
เป็นช่วงที่ลมมรสุมตะวันตกพัดเข้ามาสู่ประเทศไทย ระยะเวลา
ประมาณ 5 เดือนอากาศโดยทั่วไปจะชุ่มชื้น และมีฝนตก
กระจายทั่วประเทศ โดยฝนตกชุกในเดือนสิงหาคม-กันยายน
หน้าฝนจะอยู่ในช่วงเดือน มิถุนายนถึงตุลาคม
กิจกรรม
1. วาดรูปภาพการโคจรรอบดวงอาทิตย์แล้วสรุปการเกิดฤดูกาลของโลก
ทางซีกโลกเหนือ
2. จงสร้างตารางเปรียบเทียบฤดูกาลระหว่างประเทศในซีกโลกเหนือ ซีก
โลกใต้ และประเทศไทย
ช่วงเวลา
ซีกโลกเหนือ

21 มิ.ย.
23 ก.ย.
22 ธ.ค.
21 มี.ค.

ฤดู
ซีกโลกใต้

ประเทศไทย
3. ทาไมประเทศไทยไม่มีฤดูใบไม้ผลิและฤดูใบไม้ร่วงเหมือน
ประเทศทางซีกโลกเหนือและใต้ จงอธิบาย
4. ประเทศไทยได้รับอิทธิพลของลมอะไรบ้างที่ทาให้เกิดฤดูกาล
เปลี่ยนแปลง แล้วอิทธิพลของลมแต่ละชนิดทาให้เกิดฤดูกาลใด
5. แกนของโลกเอียงทามุมกี่องศา แล้วมีอิทธิพลอย่างไรต่อการ
เกิดฤดูของโลก จงอธิบาย
ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในระบบโลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์
1. ข้างขึ้นข้างแรม หรือ ดิถีจันทร์ คือ ปรากฏการณ์ที่เห็นดวง
จันทร์มีเสี้ยวสว่างแตกต่างกัน
VDO การเกิดข้างขึ้นข้างแรม
คาศัพท์ที่ควรรู้จัก
ดวงจันทร์ใช้เวลาโคจรรอบโลกประมาณ 29.5 วัน
ข้างแรม(waning) คือ การสังเกตเห็นดวงจันทร์สว่างเต็มดวง
แล้วส่วนสว่างค่อยๆลดลง จนกระทั่งมืดทั้งดวง
จันทร์ดับ (new moon) คือ วันที่ดวงจันทร์มืดทั้งดวง เรียกว่า
วันแรม 15 ค่าหรือวันแรม 14 ค่า
คาศัพท์ที่ควรรู้จัก
ข้างขึ้น(waxing) คือ การสังเกตเห็นดวงจันทร์สว่างมืดทั้งดวง
แล้วส่วนที่มืดค่อยๆสว่าง จนกระทั่งสว่างทั้งดวง
จันทร์เพ็ญ(full moon) คือ วันที่ดวงจันทร์สว่างเต็มดวง
เรียกว่า วันขึ้น 15 ค่า
คาถาม... เมื่อมองดูดวงจันทร์ดังภาพ แสดงว่าเป็นช่วง
ข้างขึ้นหรือข้างแรม

ภาพ 1

ภาพ 2
คาถาม... เมื่อมองดูดวงจันทร์ดังภาพ แสดงว่าเป็นช่วง
ข้างขึ้นหรือข้างแรม

ภาพ 1 ช่วงข้างแรม เห็น
ส่วนสว่างทางทิศตะวันออก

ภาพ 2 ช่วงข้างขึ้น
เห็นส่วนสว่างทางทิศ
ตะวันตก
คาถาม....
1. โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ ใช้เวลาเท่าไร..................
2. ดวงจันทร์โคจรรอบโลก 1 รอบใช้เวลา............
3. วันจันทร์เพ็ญ คนบนโลกจะสังเกตเห็นดวงจันทร์มีลักษณะ
อย่างไร.............................
4. วันจันทร์ดับ คนบนโลกจะสังเกตเห็นดวงจันทร์มีลักษณะ
อย่างไร.............................
จากภาพต่อไปนี้ใช้ตอบคาถามข้อ 5-6
ภาพที่ 1

ภาพที่ 2

5. ภาพที่ 1 เป็นปรากฏการณ์ข้างขึนหรือข้างแรม.........................
้
ถ้าโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์อยู่ในระนาบเดียวกันจะเกิดปรากฎการณ์ใด
6. ภาพที่ 2 เป็นปรากฏการณ์ข้างขึนหรือข้างแรม.........................
้
ถ้าโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์อยู่ในระนาบเดียวกันจะเกิดปรากฎการณ์ใด
7. จากภาพ จันทร์ดับ
ดวงจันทร์อยู่ในตาแหน่งใด
8. จากภาพ จันทร์เพ็ญ
ดวงจันทร์อยู่ในตาแหน่งใด

9. คืนจันทร์เพ็ญ และคืนเดือนดับ มีระยะเวลาห่างกันกี่วัน................
10. ดวงจันทร์ขึ้นช้าไปวันละประมาณกี่นาที...............และตกช้าไปวันละ
ประมาณกี่นาที.......................
2. น้าขึ้นน้าลง เป็นผลมาจากแรงโน้มถ่วงที่กระทาระหว่างโลก
และดวงจันทร์ มีค่าไม่เท่ากันในแต่ละตาแหน่งบนพื้นโลก
เรียกว่า แรงไทดัล
แรงไทดัล(Tidal Force) นอกจากเกิดจากอิทธิพลของดวง
จันทร์ แล้วยังเกิดจากอิทธิพลของดวงอาทิตย์อีกด้วย
วันข้างแรม 14 ค่าหรือ 15 ค่า ระดับน้าทะเลจะขึ้นสูงสุด
วันข้างแรม 8 ค่าและข้างขึ้น 8 ค่า ระดับน้าทะเลจะขึ้นต่าสุด
วันน้าเกิด(Spring tide) คือ วันที่น้าทะเลมีการขึ้นหรือลงสูงสุด
วันน้าตาย(Neap) คือ วันที่น้าทะเลมีการขึ้นหรือลงน้อยที่สุด
วันข้างแรม 14 ค่าหรือ 15 ค่า วันน้าเกิด

วันข้างแรม 8 ค่าและข้างขึ้น 8 ค่า วันน้าตาย
3. อุปราคา เกิดจากการที่โลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ โคจร
มาอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกันและระนายเดียวกัน มี 2 แบบ คือ
สุริยุปราคา และ จันทรุปราคา
สุริยุปราคา เกิดในเวลากลางวัน ประมาณวันแรม 14 - 15 ค่า
จันทรุปราคา เกิดในเวลากลางคืน ของวันขึ้น 15 ค่า
คาถาม...ภาพใดคือภาพแสดงการเกิดสุริยุปราคา
ดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ

VDO แนะนาดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
กิจกรรม…ให้นักเรียนวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารที่ได้รับแล้ว ให้
นักเรียนคัดลอกข้อมูลลงในสมุด แล้วตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
กิจกรรม…ให้นักเรียนวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารที่ได้รับแล้ว ให้
นักเรียนคัดลอกข้อมูลลงในสมุด แล้วตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
1. พิจารณาข้อมูลดาวเคราะห์ชั้นในและดวงจันทร์ในตารางและ
ตอบคาถามต่อไปนี้
-ดาวเคราะห์ใดมีขนาดเล็กที่สุดและใหญ่ที่สุด
-ดาวเคราะห์ใดใช้เวลาโคจรรอบดวงอาทิตย์น้อยที่สุดและมากที่สุด
-ดาวเคราะห์ใดใช้เวลาหมุนรอบตัวเองน้อยที่สุด
2. พิจารณาข้อมูลดาวเคราะห์ชั้นนอกและดวงจันทร์ในตารางและ
ตอบคาถามต่อไปนี้
-ดาวเคราะห์ทุกดวงมีส่วนประกอบเหมือนกันหรือไม่ อย่างไร
-ดาวเคราะห์ใดมีขนาดเล็กที่สุดและใหญ่ที่สุด
3. ข้อมูลใดที่แสดงถึงความแตกต่างกันระหว่างดาวเคราะห์ชั้นนอก
และชั้นในคืออะไร แตกต่างกันอย่างไร
4. ระยะเวลาของการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ มี
ความสัมพันธ์กับระยะห่างจากดวงอาทิตย์อย่างไร เหตุใดจึงเป็น
เช่นนั้น
5.เหตุใดโลกเราจึงมีสิ่งมีชีวิตอยู่ได้

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะTa Lattapol
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
การสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงการสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงพัน พัน
 
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)Jariya Jaiyot
 
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5Worrachet Boonyong
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศdnavaroj
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1Jariya Jaiyot
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศPinutchaya Nakchumroon
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4Ngamsiri Prasertkul
 

Mais procurados (20)

โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
1 nervesys plan
1 nervesys plan1 nervesys plan
1 nervesys plan
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
การสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงการสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสง
 
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
 
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะเอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
 

Semelhante a ดาราศาสตร์และอวกาศ 2013

แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 36
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 36เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 36
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 36krupornpana55
 
ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5
ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5
ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5Worrachet Boonyong
 
โครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้า
โครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้าโครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้า
โครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้าkrupornpana55
 
อิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลก
อิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลกอิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลก
อิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลกwattumplavittayacom
 
บทที่ 3 ระบบสุริยะ
บทที่ 3 ระบบสุริยะ บทที่ 3 ระบบสุริยะ
บทที่ 3 ระบบสุริยะ narongsakday
 
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 35
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 35เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 35
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 35krupornpana55
 

Semelhante a ดาราศาสตร์และอวกาศ 2013 (20)

แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
Astroplan20
Astroplan20Astroplan20
Astroplan20
 
เอกสารประกอบการเรียน โลก
เอกสารประกอบการเรียน โลกเอกสารประกอบการเรียน โลก
เอกสารประกอบการเรียน โลก
 
Astroplan13
Astroplan13Astroplan13
Astroplan13
 
Astroplan15
Astroplan15Astroplan15
Astroplan15
 
Astroplan14
Astroplan14Astroplan14
Astroplan14
 
Astroplan12
Astroplan12Astroplan12
Astroplan12
 
Sun
SunSun
Sun
 
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 36
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 36เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 36
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 36
 
ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5
ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5
ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5
 
โครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้า
โครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้าโครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้า
โครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้า
 
อิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลก
อิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลกอิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลก
อิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลก
 
บทที่ 3 ระบบสุริยะ
บทที่ 3 ระบบสุริยะ บทที่ 3 ระบบสุริยะ
บทที่ 3 ระบบสุริยะ
 
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 35
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 35เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 35
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 35
 
My project1
My project1My project1
My project1
 
Contentastrounit1
Contentastrounit1Contentastrounit1
Contentastrounit1
 
Astroplan11
Astroplan11Astroplan11
Astroplan11
 
Astro3 pdf
Astro3 pdfAstro3 pdf
Astro3 pdf
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 

Mais de Jariya Jaiyot

โครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรือง
โครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรืองโครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรือง
โครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรืองJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
สมบัติของแก๊ส
สมบัติของแก๊สสมบัติของแก๊ส
สมบัติของแก๊สJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57Jariya Jaiyot
 
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสLab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสJariya Jaiyot
 
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาJariya Jaiyot
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วJariya Jaiyot
 
อันตรายจากสัญญาณมือถือ
อันตรายจากสัญญาณมือถืออันตรายจากสัญญาณมือถือ
อันตรายจากสัญญาณมือถือJariya Jaiyot
 
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกันการกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกันJariya Jaiyot
 
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์Jariya Jaiyot
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันJariya Jaiyot
 
ไวนิล 2 จริง
ไวนิล 2 จริงไวนิล 2 จริง
ไวนิล 2 จริงJariya Jaiyot
 
ไวนิล 1 จริง
ไวนิล 1 จริงไวนิล 1 จริง
ไวนิล 1 จริงJariya Jaiyot
 
ไวนิล 3 จริง
ไวนิล 3 จริงไวนิล 3 จริง
ไวนิล 3 จริงJariya Jaiyot
 
ป้ายอบรมยุวะ
ป้ายอบรมยุวะป้ายอบรมยุวะ
ป้ายอบรมยุวะJariya Jaiyot
 

Mais de Jariya Jaiyot (20)

โครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรือง
โครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรืองโครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรือง
โครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรือง
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
สมบัติของแก๊ส
สมบัติของแก๊สสมบัติของแก๊ส
สมบัติของแก๊ส
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
Lab4
Lab4Lab4
Lab4
 
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57
 
ไวนิล 3
ไวนิล 3ไวนิล 3
ไวนิล 3
 
ไวนิล 2
ไวนิล 2ไวนิล 2
ไวนิล 2
 
ไวนิล 1
ไวนิล 1ไวนิล 1
ไวนิล 1
 
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสLab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
 
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
 
อันตรายจากสัญญาณมือถือ
อันตรายจากสัญญาณมือถืออันตรายจากสัญญาณมือถือ
อันตรายจากสัญญาณมือถือ
 
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกันการกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
 
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
ไวนิล 2 จริง
ไวนิล 2 จริงไวนิล 2 จริง
ไวนิล 2 จริง
 
ไวนิล 1 จริง
ไวนิล 1 จริงไวนิล 1 จริง
ไวนิล 1 จริง
 
ไวนิล 3 จริง
ไวนิล 3 จริงไวนิล 3 จริง
ไวนิล 3 จริง
 
ป้ายอบรมยุวะ
ป้ายอบรมยุวะป้ายอบรมยุวะ
ป้ายอบรมยุวะ
 

ดาราศาสตร์และอวกาศ 2013