SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 137
ดร . ปรีชาญ  เดชศรี สาขาประเมินมาตรฐาน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การทดสอบเพื่อการประเมินคุณภาพการเรียนการสอน เอกสารชุดที่  1
[object Object],[object Object],[object Object],เป้าหมายของการวัดผล
[object Object],1.  การประเมินความก้าวหน้าและพัฒนาการของการเรียนรู้ ช่วงเวลาของการเรียนรู้ ความก้าวหน้าและพัฒนาการ 2.  การประเมินผลสัมฤทธิ์ของการเรียนรู้ เป็นการประเมินเปรียบเทียบกับกลุ่มหรือเกณฑ์ที่กำหนด
พฤติกรรมการแสดงออกของผู้เรียน ด้านความรู้ ความคิด ด้านกระบวนการเรียนรู้ ด้านเจตคติ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การประเมินสมรรถภาพของผู้เรียน ประเมินสมรรถภาพ ประเมินแบบเดิม ทักษะการนำไปใช้ การเรียนรู้แบบร่วมมือ ประเมินตนเอง ความรู้  ( รู้และเข้าใจ ) ความคิดสร้างสรรค์ กระบวนการเรียนรู้  ( ทักษะ ) แก้ปัญหา  ( การคิด ) ตรวจสอบผลงาน อุปนิสัยในการปฏิบัติงาน พัฒนาทางร่างกาย การประยุกต์ที่เหมาะสมกับความสามารถ สภาพจริงของชีวิตและสังคม การเลียนแบบที่ยืดหยุ่นและมีความหมาย
[object Object],[object Object],[object Object],แนวปฏิบัติในการวัดผลประเมินผล การเรียนการสอน
วิธีการวัดผลการเรียนการสอน  ,[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],   ข้อสอบแบบถูกผิด    ข้อสอบจับคู่    ข้อสอบแบบเติมคำ    ข้อสอบแบบเขียนตอบ การทดสอบด้วยข้อสอบ
[object Object],[object Object],[object Object],ข้อสอบแบบเลือกตอบ ข้อสอบแบบเลือกตอบ  ประกอบด้วยส่วนสำคัญ  2  ส่วน
คำถาม ลักษณะของคำถามและตัวเลือกของข้อสอบแบบเลือกตอบ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ตัวเลือก ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ตัวอย่างข้อสอบเลือกตอบที่เป็นคำถามเดี่ยว วิชาวิทยาศาสตร์ ตัวอย่างที่  1 พืชชนิดใดที่ใช้เมล็ดในการขยายพันธุ์ ก .  อ้อย  ข .  กล้วย  ค .  ฟักทอง  *  ง .  มันเทศ  ช่วงชั้นที่  1
พืชชนิดใดที่ใช้เมล็ดในการขยายพันธุ์   ( p = .5 5   r = . 04 ) ก .  อ้อย  ( 1 7 .8 ) ข .  กล้วย  ( 12.9 ) ค .  ฟักทอง  *  ( 55.4 ) ง .  มันเทศ  ( 13.9 )
สัตว์กลุ่มใดออกลูกเป็นตัว  ก .  สุนัข  เสือ  *  ข .  งูเหลือม  ไก่  ค .  ม้าน้ำ  จระเข้  ง .  ค้างคาว  เต่าทะเล  ตัวอย่างที่  2
สัตว์กลุ่มใดออกลูกเป็นตัว  ( p = . 90   r = . 18 ) ก .  สุนัข  เสือ  *  ( 90.0 ) ข .  งูเหลือม  ไก่  ( 4.2 ) ค .  ม้าน้ำ  จระเข้  ( 4.2 ) ง .  ค้างคาว  เต่าทะเล  ( 1.7 )
การเปลี่ยนแปลงใดจัดเป็นการระเหยของน้ำ  ก .  น้ำกลายเป็นน้ำแข็ง  ข .  น้ำกลายเป็นไอน้ำ  * ค .  น้ำแข็งกลายเป็นน้ำ  ง .  ไอน้ำกลายเป็นน้ำ  ตัวอย่างที่  3
การเปลี่ยนแปลงใดจัดเป็นการระเหยของน้ำ  ( p = . 41   r =  0 . 0 ) ก .  น้ำกลายเป็นน้ำแข็ง  ( 11.7 ) ข .  น้ำกลายเป็นไอน้ำ  *  (41.5 ) ค .  น้ำแข็งกลายเป็นน้ำ  ( 35.1 ) ง .  ไอน้ำกลายเป็นน้ำ  ( 11.7 )
วิชาวิทยาศาสตร์ ตัวอย่างที่  1 การเปลี่ยนแปลงของหินลักษณะใดแตกต่างจากข้ออื่น ก .  หินงอกหินย้อย  *   ข .  คลื่นทะเลซัดหน้าผาหิน ค .  การเลื่อนไถลของธารน้ำแข็ง ง .  การตกของหินจากแรงโน้มถ่วงของโลก ช่วงชั้นที่  2
การเปลี่ยนแปลงของหินลักษณะใดแตกต่างจากข้ออื่น  ( p = .27  r = .12) ก .  หินงอกหินย้อย  *   (27.2) ข .  คลื่นทะเลซัดหน้าผาหิน  (21.1) ค .  การเลื่อนไถลของธารน้ำแข็ง   (27.2) ง .  การตกของหินจากแรงโน้มถ่วงของโลก  (21.9)
สารทำความสะอาดภาชนะใส่อาหารควรมีสมบัติอย่างไร ก .  มีความเป็นกรดสูง ข .  เกิดฟองจำนวนมาก ค .  ทำให้ไขมันละลายในน้ำได้  * ง .  เกิดการหลอมเหลวที่อุณหภูมิต่ำ ตัวอย่างที่  2
สารทำความสะอาดภาชนะใส่อาหารควรมีสมบัติอย่างไร  ( p = .46  r = .12) ก .  มีความเป็นกรดสูง  (14.0) ข .  เกิดฟองจำนวนมาก  (17.5) ค .  ทำให้ไขมันละลายในน้ำได้  *  (46.5) ง .  เกิดการหลอมเหลวที่อุณหภูมิต่ำ  (21.9)
ปรากฏการณ์ใดจะมีผลต่อการคมนาคมทุกประเภท ก .  การเกิดเมฆ   ข .  การเกิดหมอก  * ค .  การเกิดน้ำค้าง   ง .  การเกิดรุ้งกินน้ำ ตัวอย่างที่  3
ปรากฏการณ์ใดจะมีผลต่อการคมนาคมทุกประเภท  ( p = .43  r = .41) ก .  การเกิดเมฆ  (15.9)  ข .  การเกิดหมอก  *  (43.4) ค .  การเกิดน้ำค้าง  (15.9)   ง .  การเกิดรุ้งกินน้ำ  (24.8)
วิชาวิทยาศาสตร์ พื้นที่แบบใดต่อไปนี้ น่าจะมีน้ำใต้ดินอยู่ มากที่สุด  ก .  มีอากาศหนาวจัด    ข .  ป่าที่ต้นไม้ขึ้นหนาแน่น  *  ค .  มีสัตว์ป่าอาศัยอยู่มาก ง .  มีแร่ธาตุในดินปริมาณมาก   ตัวอย่างที่  1 ช่วงชั้นที่  3
พื้นที่แบบใดต่อไปนี้ น่าจะมีน้ำใต้ดินอยู่ มากที่สุด  (p =  0.72  r = 0.35) ก .  มีอากาศหนาวจัด  ( 11 .5)  ข .  ป่าที่ต้นไม้ขึ้นหนาแน่น  * ( 72.1) ค .  มีสัตว์ป่าอาศัยอยู่มาก  (3.3)   ง .  มีแร่ธาตุในดินปริมาณมาก ( 13.1)
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ตัวอย่างที่  2
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ตัวอย่างที่  3
สารเนื้อเดียวมีลักษณะอย่างไร  (p = 0. 40   r = 0. 22 ) ก .  วางทิ้งไว้จะเกิดตะกอน  ( 3.3 ) ข .  แยกออกจากกันไม่ได้  ( 32.2 ) ค .  มีลักษณะเนื้อสารเหมือนกันทุกส่วน  *  ( 40.5 ) ง .  ประกอบด้วยสารที่อยู่ในสถานะเดียวกัน  ( 24.0 )
ผสมน้ำ  2  ถังที่มีปริมาณเท่ากันโดยถังที่  1  มีอุณหภูมิ  40  องศาเซลเซียส  เมื่อน้ำผสมกันแล้วมีอุณหภูมิ  30  องศาเซลเซียส  น้ำถังที่  2  มีอุ ณ หภูมิ ประมาณเท่าใด ก .  10  องศาเซลเซียส ข .  20  องศาเซลเซียส  * ค .  30  องศาเซลเซียส ง .  40  องศาเซลเซียส ตัวอย่างที่  4
ผสมน้ำ  2  ถังที่มีปริมาณเท่ากันโดยถังที่  1  มีอุณหภูมิ  40  องศาเซลเซียส  เมื่อน้ำผสมกันแล้วมีอุณหภูมิ  30  องศาเซลเซียส  น้ำถังที่  2  มีอุหภูมิประมาณ เท่าใด  ( p = 0.29  r = 0.25) ก .  10  องศาเซลเซียส (45.1) ข .  20  องศาเซลเซียส  * (29.3) ค .  30  องศาเซลเซียส (15.8)  ง .  40  องศาเซลเซียส (9.8)
วิชาคณิตศาสตร์ ตัวอย่างที่  1 ช่วงชั้นที่  1 สิ่งของใด มีส่วนประกอบเป็นรูปวงกลม ก .  พัดลม  *    ข .  หนังสือ ค .  กล่องนม     ง .  แปรงลบกระดาน
สิ่งของใด มีส่วนประกอบเป็นรูปวงกลม   ( p = .85  r = .45) ก .  พัดลม  *  (85.5)   ข .  หนังสือ  (6.3) ค .  กล่องนม  (4.7)   ง .  แปรงลบกระดาน  (3.5)
“ พี่มีเงินเป็น  3  เท่าของน้อง ถ้าน้อง มีเงินเป็น  250  บาท  พี่มีเงินกี่บาท”  เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ได้อย่างไร ก .  250 + 3  = ข .  250  3  = ค .  250  3 = * ง .  250 + 250 =  ตัวอย่างที่  2
“ พี่มีเงินเป็น  3  เท่าของน้อง ถ้าน้อง มีเงินเป็น  250  บาท  พี่มีเงินกี่บาท”  เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ได้อย่างไร  (p = .62  r = .48) ก .  250 + 3  =   (15.1) ข .  250  3 =  (15.3) ค .  250  3 =   *   (62.3) ง .  250 + 250 =  (7.4)
เชือกยาว   44  เซนติเมตร จะนำมาขดเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวด้านละ  2  เซนติเมตร ได้ มากที่สุด กี่รูป ก .  5  รูป  *   ข .  6  รูป ค .  10  รูป  ง .  11  รูป  ตัวอย่างที่  1 วิชาคณิตศาสตร์ ช่วงชั้นที่  2
เชือกยาว   44  เซนติเมตร จะนำมาขดเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาว ด้านละ  2  เซนติเมตร ได้ มากที่สุด กี่รูป  (p = .26  r = .14) ก .  5  รูป  * (26.3)   ข .  6  รูป  (21.2) ค .  10  รูป  (10.2) ง .  11  รูป  (42.4)
ถ้านำเลขโดดในหลักสิบและหลักร้อยของจำนวน  4,816  มาสลับที่กัน จำนวนใหม่จะมีค่าแตกต่างจากจำนวนเดิมประมาณเท่าใด ก .  มากกว่าประมาณ  600  ข .  น้อยกว่าประมาณ  600 * ค .  มากกว่าประมาณ  700 ง .  น้อยกว่าประมาณ  700  ตัวอย่างที่  2
ถ้านำเลขโดดในหลักสิบและหลักร้อยของจำนวน  4,816  มาสลับที่กัน  จำนวนใหม่จะมีค่าแตกต่างจากจำนวนเดิมประมาณเท่าใด  (  p = .27  r = .04) ก .  มากกว่าประมาณ  600  (31.1)  ข .  น้อยกว่าประมาณ  600 *  (27.2) ค .  มากกว่าประมาณ  700  (21.4)   ง .  น้อยกว่าประมาณ  700  (20.4)
มีเงินอยู่  400  บาท ซื้อรองเท้าเป็นเงิน  ของจำนวนเงินที่มี และซื้อถุงเท้าเป็นเงิน  ของจำนวนเงินที่เหลือ  ถุงเท้าราคากี่บาท ก .  20  บาท  *   ข .  30  บาท ค .  60  บาท ง .  80  บาท  ตัวอย่างที่  3
มีเงินอยู่  400  บาท ซื้อรองเท้าเป็นเงิน  ของจำนวนเงินที่มี และซื้อถุงเท้าเป็นเงิน  ของจำนวนเงินที่เหลือ ถุงเท้าราคากี่บาท  ( p =.28  r = .07) ก .  20  บาท  *   (28.3) ข .  30  บาท  (19.6) ค .  60  บาท   (27.2) ง .  80  บาท  (25.0)
มีค่าเท่าใด ก .  1   ข .  25 *  ค .  30  ง .  40 วิชาคณิตศาสตร์ ตัวอย่างที่  1 ช่วงชั้นที่  3
  มีค่าเท่าใด   ( p = .58  r = .36) ก .  1   (7.0) ข .  25*  (58.0) ค .  30  (10) ง .  40  (26)
ปลูกต้นไม้  3  ชนิด  ในอัตราส่วนมะม่วงต่อส้มเป็น  3  :  2  และ ส้มต่อกล้วยเป็น  3  :   4   ถ้าปลูกต้นไม้รวมกันได้  1,656  ต้น  จะปลูกส้มได้กี่ต้น   ก .  276  ต้น   ข .  386  ต้น ค .  414  ต้น  ง .  432  ต้น * ตัวอย่างที่  2
ปลูกต้นไม้  3  ชนิด  ในอัตราส่วนมะม่วงต่อส้มเป็น  3  :  2  และ ส้มต่อกล้วยเป็น  3  :   4   ถ้าปลูกต้นไม้รวมกันได้  1,656  ต้น  จะปลูกส้มได้กี่ต้น   ( p = .20  r = .06) ก .  276  ต้น   (23.0) ข .  386  ต้น  (30.0) ค .  414  ต้น  (28.0) ง .  432  ต้น *  (20.0)
ขนมชนิดหนึ่ง ใช้แป้งต่อน้ำตาลเป็น  2 : 3  และนมต่อน้ำตาล  3 : 4  อัตราส่วนของ นม  :  แป้ง  :  น้ำตาล ในการทำขนมชนิดนี้เป็นเท่าใด  ก .  3  : 2 : 4    ข .  2 : 3 : 4   ค .  8 : 9 : 12   ง .  9 : 8 : 12  * ตัวอย่างที่  3
ขนมชนิดหนึ่ง ใช้แป้งต่อน้ำตาลเป็น  2 : 3  และนมต่อน้ำตาล  3 : 4  อัตราส่วนของ นม  :  แป้ง  :  น้ำตาล ในการทำขนมชนิดนี้เป็นเท่าใด  (p = 0. 19 r = 0.3 7 ) ก .  3  : 2 : 4  (36.6)   ข .  2 : 3 : 4   (26.0) ค .  8 : 9 : 12 ( 1 8.3)   ง .  9 : 8 : 12  * (19.1   )
ถ้า  A x 99 = (12 x 23) + (12 x 35) + (12 x 41)  แล้ว  A  มีค่าเท่าใด   ก .  12  *     ข .  23  ค .  35   ง .  41 ตัวอย่างที่  4
ถ้า  A x 99 = (12 x 23) + (12 x 35) + (12 x 41)  แล้ว  A  มีค่าเท่าใด   (p = 0. 76   r = 0. 41 ) ก .  12  *  ( 76.3 ) ข .  23  ( 10.7 ) ค .  35  ( 7.6 ) ง .  41  ( 5.3 )
ข้อสอบเลือกตอบ  2  ตอน 1)  ใส่สารละลาย  KCl  2 cm 3  ลงในหลอดทดลองแล้วเติมสารละลาย   AgNO 3   ลงไป   2  cm 3  มีตะกอนสีขาวเกิดขึ้น 1.1  ตะกอนสีขาวที่เกิดขึ้นคือสารใด ก .  AgCl ข .  KNO 3   ค .  AgCl  และ  KNO 3   ตอนที่  1   เป็นคำถามที่มีตัวเลือกให้เลือกตอบ 2 ข้อหรือมากกว่า ตอนที่  2   เป็นคำถามที่ต้องการให้อธิบายและให้เหตุผลต่อเนื่องจากตอนที่ 1  ตัวอย่าง
1.2  จากคำตอบ  1.1  เพราะเหตุใดจึงตอบเช่นนั้น ก .  AgCl  เป็นสารประกอบไอออนิก  ส่วนสารอื่น ๆ  เป็นสารโคเวเลนต์ ข .  สารประกอบ  KNO 3   และ  AgCl  เป็นของแข็งสีขาว ค . Ag + (aq )  รวมกับ  Cl -  ( aq )  ได้เป็นผลิตภัณฑ์ที่เป็นของแข็ง นอกจากนี้ ข้อสอบแบบเลือกตอบที่มี  2  ตอน  อาจเป็น ลักษณะผสมผสานที่มีทั้งการเลือกตอบและการเขียนตอบ
ตัวอย่างข้อสอบแบบผสมผสานที่มีทั้งเลือกตอบและเขียนตอบ 1)  ทดลองวัดความดันโลหิตของชาย  5  คน  และหญิง  5  คน  ที่มีอายุตั้งแต่  15 - 70  ปี  และบันทึกผลการทดลองไว้ 1.1  สมมติฐานของการทดลองนี้  คืออะไร ก.  ความดันโลหิตสัมพันธ์กับเพศ ข.  ความดันโลหิตสัมพันธ์กับเพศและอายุ ค.  ความดันโลหิตของหญิงและชายวัยเดียวกันไม่แตกต่างกัน 1.2  จงแสดงเหตุผลในการเลือกตอบ  (1)  เหตุผลที่เลือก  ข้อ ก คือ  (2)  เหตุผลที่เลือก  ข้อ ข คือ  (3)  เหตุผลที่เลือก  ข้อ ค คือ
ข้อสอบแบบถูกผิด การสร้างข้อสอบแบบถูกผิด  มีหลักเกณฑ์ดังนี้ (1)  ข้อความที่ต้องการให้พิจารณาว่าถูกหรือผิดต้องเป็นแนวความคิดเดียว (2)  ศัพท์และคำทางวิทยาศาสตร์ที่นำมาใช้ต้องเหมาะสมกับระดับผู้เรียน (3)  ใช้ภาษาถูกต้อง  เข้าใจง่าย  และไม่ทำให้เกิดความสับสนหรือเข้าใจผิด  (4)   ไม่ใช้ คำหรือข้อความที่เป็นการชี้นำคำตอบทั้งที่อยู่ในข้อเดียวกันหรืออยู่ในข้ออื่น (5)   ไม่ใช้ คำปฏิเสธหรือใช้คำปฏิเสธซ้อนปฏิเสธ
ตัวอย่าง จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้และทำเครื่องหมาย  /  หน้าข้อความที่ถูก  หรือ  x  หน้าข้อความที่ผิด การย่อยอาหารของระบบย่อยอาหารในร่างกายคน  มีลักษณะอย่างไร …… 1.  การย่อยทางเคมีของแป้งเริ่มต้นในกระเพาะอาหาร …… 2.  โปรตีนจะถูกย่อยในกระเพาะอาหารโดยเอนไซม์เพปซิน ...….3.  น้ำดีมีสมบัติเป็นเบส  จึงช่วยลดความเป็นกรดของอาหารได้ …… 4.  เอนไซม์ลิเพสจากตับอ่อนจะย่อยไขมันให้เป็นกรดไขมันและกลีเซอรอล
ข้อสอบแบบจับคู่ ข้อสอบแบบจับคู่  ประกอบด้วยส่วนสำคัญ  2  ส่วน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ตัวอย่าง นำตัวอักษรของข้อความทางขวามือเขียนลงในช่องว่างทางซ้ายมือให้สัมพันธ์กัน สิ่งมีชีวิตและไฟลัมของอาณาจักรสัตว์มีความสัมพันธ์ที่ถูกต้องอย่างไร (………)  1.  ไฟลัมพอริเฟอรา ก .  ไส้เดือนดิน (………)  2.  ไฟลัมนีมาโทดา   ข .  หอยกาบ (………)  3.  ไฟลัมมอลลัสกา ค .  ปลาช่อน (………)  4.  ไฟลัมแอนนีลิดา ง .  กุ้งก้ามกราม (………)  5.  ไฟลัมคอร์ดาตา จ .  พยาธิเส้นด้าย ฉ .  ฟองน้ำ
ลากเส้นตรงเชื่อมโยงระหว่างภาพหมายเลข  1, 2, 3, 4  และ  5  กับข้อความ ก  ข  ค  ง  และ จ ส่วนต่าง ๆ ของพืช หน้าที่ของส่วนต่าง ๆ ของพืช 1  ดอก 2  ใบ 5  ราก 3  ผล 4  ลำต้น ก.  ยึดลำต้น ข.  ขยายพันธุ์พืช ค.  สร้างผลและเมล็ด ง.  ชูกิ่งก้าน  ใบ  และดอก จ.  รับแสงและสร้างอาหาร
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ข้อสอบแบบเติมคำ การสร้างข้อสอบแบบเติมคำ มีหลักเกณฑ์ดังนี้
ตัวอย่าง จงเติมคำหรือข้อความลงในช่องว่างเพื่อให้ได้คำตอบที่ถูกต้องสมบูรณ์ ระบบสุริยะประกอบด้วยดาวฤกษ์และมีบริวารคือดาวเคราะห์ ดังรูป ดวงอาทิตย์
1.  ดาวฤกษ์ในระบบสุริยะ  คือ 2.  โลกมีบริวารเพียงดวงเดียว  คือ  3.  ดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าโลก  เรียกว่า 4.  ดาวที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์มากที่สุดและมีขนาดเล็กที่สุด คือ 5.  ดาวที่มีอุณหภูมิสูงสุด  มีความสว่างที่สุด  ชั้นบรรยากาศเป็นแก๊ส  คาร์บอนไดออกไซด์  จึงทำให้เกิดการสะสมความร้อนไว้เหมือน ปรากฏการณ์เรือนกระจก  คือ
ข้อสอบแบบเขียนตอบ 2.  ข้อสอบเขียนตอบแบบบรรยาย 1.  ข้อสอบแบบเขียนตอบอย่างสั้น 3.  ข้อสอบแบบเขียนตอบโดยการสร้างผังมโนทัศน์ 4.  ข้อสอบเขียนตอบโดยการสร้างผังแนวคิดรูปตัววี
1.  ข้อสอบแบบเขียนตอบอย่างสั้น (1)  ผู้เรียนมีโอกาสแสดงความรู้ความสามารถมากกว่าการทำข้อสอบ แบบเลือกตอบ  ถูกผิด  จับคู่  และเติมคำ (2)  เหมาะกับการวัดความรู้ความเข้าใจมากกว่าความสามารถด้านการ ประยุกต์  การวิเคราะห์  การสังเคราะห์  และประเมินค่า
ตัวอย่าง จงใช้สถานการณ์ที่กำหนดให้ตอบคำถามข้อ  1 - 3   สภาพแวดล้อมแห่งหนึ่งมีสิ่งมีชีวิต  ประกอบด้วย  ต้นข้าว  หนอน  นก  งู  ตั๊กแตน  ซึ่งอาศัยอยู่ร่วมกันได้ดี 1)  โซ่อาหารของสิ่งมีชีวิตที่กำหนดให้เป็นอย่างไร 2)  สายใยอาหารของสิ่งมีชีวิตที่กำหนดให้เป็นอย่างไร 3)  สิ่งมีชีวิตชนิดใดในสภาพแวดล้อมแห่งนี้จัดเป็นผู้ผลิต  ผู้บริโภค  ผู้ล่า  เหยื่อ  และเป็นทั้งผู้ล่าและเหยื่อ
2.  ข้อสอบเขียนตอบแบบบรรยาย มีลักษณะที่สำคัญ  คือ   ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ขั้นตอนการสร้างข้อสอบเขียนตอบแบบบรรยา ย การกำหนดเนื้อหาสาระเพื่อใช้เป็นปัญหาหรือคำถาม การตั้งปัญหาหรือคำถามควรหลีกเลี่ยงคำถามที่ให้เขียนสิ่งที่จดจำได้ การกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน   ข้อสอบแบบเขียนตอบทุกข้อควรมีแนวการตอบ  เพื่อนำไปใช้ในการกำหนดเกณฑ์การประเมิน
ตัวอย่าง จงตอบคำถามตามสถานการณ์ที่กำหนดให้ต่อไปนี้ ถ้าประชาชนที่อาศัยอยู่ในละแวกชุมชนแออัดแห่งหนึ่ง  เทน้ำมันเหลือใช้ จากการทำอาหารในครัวเรือนลงในท่อน้ำทิ้ง  ซึ่งไหลสู่แหล่งน้ำหลังบ้านเป็น ระยะเวลานาน ๆ  จะเกิดผลต่อสิ่งมีชีวิตในแหล่งน้ำและสิ่งแวดล้อมอย่างไร  เพราะเหตุใด
แนวการตอบ ,[object Object],สิ่งมีชีวิตในแหล่งน้ำ ไม่สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้และตายลงในที่สุด  เหตุผล คือ  พืชและสัตว์ไม่มีก๊าซออกซิเจนใช้ในการหายใจ  รวมทั้งพืชไม่สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้  ทั้งนี้เพราะน้ำมันหรือไขมันที่ทิ้งจากครัวเรือนสะสมมากขึ้นจนปกคลุมผิวหน้าแหล่งน้ำทำให้ไม่มีก๊าซออกซิเจนและแสงแดดผ่านลงไปในน้ำ ,[object Object],สิ่งแวดล้อม เกิดภาวะน้ำเสียและอากาศเสีย  เหตุผล คือสิ่งมีชีวิตตายลงปริมาณมากในเวลารวดเร็ว  แบคทีเรียตามธรรมชาติไม่สามารถย่อยสลายให้หมดไปได้  จึงเกิดการทับถมเน่าเสียและมีกลิ่นเหม็น  เป็นมลพิษทางน้ำและอากาศ
[object Object],เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การให้คะแนนอาจกำหนดในลักษณะมาตราส่วนประมาณค่า  4  ระดับ รายการประเมิน ระดับคุณภาพ ,[object Object],ต้องปรับปรุง  หรือ  1 ดี  หรือ  3 พอใช้  หรือ  2 ดีมาก  หรือ  4 ,[object Object],[object Object]
3.  ข้อสอบแบบเขียนตอบโดยการสร้างผังมโนทัศน์ มีลักษณะที่สำคัญ  คือ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การสร้างผังมโนทัศน์มีขั้นตอนที่สำคัญ  ดังนี้ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
แนวทางการให้คะแนนผังมโนทัศน์ 1.  มโนทัศน์ที่เชื่อมโยงกันในผังมโนทัศน์ซึ่งสร้างได้ถูกต้อง  ควรกำหนดให้ คะแนน   1  มโนทัศน์  ต่อ  1  คะแนน   ถ้ามีการยกตัวอย่างหรือเหตุการณ์ประกอบก็ควรให้คะแนนเพิ่มขึ้นด้วย 2.  การจัดลำดับขั้นตอนของการเชื่อมโยงระหว่างมโนทัศน์ได้ถูกต้อง  ควรกำหนด คะแนนแต่ละขั้นอยู่ในช่วง   3 - 5  คะแนน 3.  การเชื่อมโยงมโนทัศน์ระหว่างกลุ่มหรือใช้คำที่กำกับการเชื่อมโยงได้ถูกต้อง แสดงว่าผู้เรียนสามารถคิดได้อย่างซับซ้อน  จึงควรกำหนด คะแนนการเชื่อมโยงระหว่างกลุ่มมโนทัศน์เป็น   5  -  10  คะแนน
ตัวอย่าง จงเติมคำที่เหมาะสมลงในช่องว่างที่กำหนดหมายเลขในผังมโนทัศน์เรื่อง วัฏจักรของน้ำ พลังงานความร้อน แหล่งน้ำตามธรรมชาติ 5 1 2 3 4 ฝนตกลงมา รวมตัวเป็น ระเหย ทำให้น้ำเป็น เมฆ
แนวการตอบ คำที่เติมในผังมโนทัศน์ตามหมายเลขต่าง ๆ  มีดังนี้ (1)  มหาสมุทร (2)  แม่น้ำ  (3)  ทะเลสาบ   (4)  คลอง  (5)  ไอน้ำ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนนมโนทัศน์  5  คะแนน   กำหนดการให้คะแนน  ดังนี้ มโนทัศน์ละ  1  คะแนน  โดยมโนทัศน์ที่ 1, 2, 3  และ 4  สลับที่กันได้ ส่วนมโนทัศน์ที่ 5  ต้องจำเพาะกับหมายเลข
3.  ข้อสอบเขียนตอบโดยการสร้างผังแนวคิดรูปตัววี มีลักษณะที่สำคัญ  คือ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
แนวทางการประเมินการสร้างผังแนวคิดรูปตัววี รายการประเมิน ระดับคุณภาพ ต้องปรับปรุง หรือ  1 ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
รายการประเมิน ระดับคุณภาพ พอใช้ หรือ  2 ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
รายการประเมิน ระดับคุณภาพ ดี หรือ  3 ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
รายการประเมิน ระดับคุณภาพ ดีมาก หรือ  4 ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ตัวอย่าง หัวข้อปัญหา ความรู้ ความคิด กระบวนการเรียนรู้ สาระสำคัญ ส่วนประกอบที่สำคัญของเซลล์พืช และเซลล์สัตว์  ได้แก่  นิวเคลียส ไซโทพลาสซึม  เยื่อหุ้มเซลล์  ผนังเซลล์ และคลอโรพลาสต์ หลักการ 1.  สิ่งมีชีวิตทุกชนิดประกอบด้วยหลายเซลล์ 2.  เซลล์ประกอบกันเป็นโครงสร้างที่สามารถทำ กิจกรรมที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสิ่งมีชีวิต 3.  กล้องจุลทรรศน์เป็นเครื่องมือสำหรับใช้ขยายวัตถุที่มีขนาดเล็ก 4.  เทคนิคการย้อมสีช่วยให้มองเห็นส่วนประกอบของเซลล์ได้ง่าย มโนทัศน์ เซลล์  ผนังเซลล์  เยื่อหุ้มเซลล์  ไซโทพลาสซึม นิวเคลียส คลอโรพลาสต์  แวคิวโอล  กล้องจุลทรรศน์  การย้อมด้วยไอโอดีน ใช้กล้องจุลทรรศน์ดูส่วนประกอบและโครงสร้างของเซลล์ที่ย้อมสี  และวาดรูปเซลล์และชี้ส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ผลการเรียนรู้ บอกวิธีสังเกตความแตกต่างของ  รูปร่างและส่วนประกอบระหว่าง เซลล์สาหร่ายยหางกระรอกและ เซลล์เยื่อบุข้างแก้มโดยใช้ กล้องจุลทรรศน์ กิจกรรมฝึกปฏิบัติ การสำรวจและสังเกตส่วนประกอบของเซลล์ด้วยกล้องจุลทรรศน์ การเก็บรวบรวมข้อมูล 1.  เซลล์สาหร่ายหางกระรอกและเซลล์เยื่อบุข้างแก้มมีรูปร่างต่างกัน 2.  ส่วนประกอบภายในเซลล์ทั้ง  2  ชนิดแตกต่างกัน 3.  เซลล์สาหร่ายหางกระรอกมีส่วนประกอบด้านโครงสร้างของเซลล์ต่างจากเซลล์เยื่อบุข้างแก้ม การบันทึกผล วาดรูปประกอบการอธิบายความแตกต่างของเซลล์สาหร่ายหางกระรอกและเซลล์เยื่อบุข้างแก้มที่เห็นจากกล้องจุลทรรศน์
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],การประเมินผลจากการปฏิบัติงานและผลงาน ,[object Object]
การประเมินผลการสำรวจตรวจสอบและการปฏิบัติการทดลอง การสำรวจตรวจสอบ เป็นการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ด้วยการสังเกตเพื่อให้ได้ข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ  โดยใช้ทักษะต่าง ๆ การวัด การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ การจำแนกประเภท การสร้างความสัมพันธ์ การเรียงลำดับ การคำนวณ การนำเสนอผลงาน การสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้
การปฏิบัติการทดลอง เป็นกระบวนการเรียนรู้เพื่อหาคำตอบหรือตรวจสอบสมมติฐานที่ตั้งไว้  ด้วยการใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การออกแบบวิธีการทดลอง การกำหนดตัวแปร การตั้งสมมติฐาน การเลือกและใช้เครื่องมือการทดลอง การปฏิบัติการทดลอง การบันทึกผลการทดลอง การสรุปผลการทดลอง
เกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติการทดลอง แบบภาพรวม ระดับคุณภาพ รายการประเมิน ,[object Object],[object Object],ต้องปรับปรุง  หรือ   1 พอใช้ หรือ   2
เกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติการทดลอง แบบภาพรวม ระดับคุณภาพ รายการประเมิน ,[object Object],[object Object],ดี  หรือ   3 ดีมาก หรือ   4
เกณฑ์การประเมินผลแบบแยกตามองค์ประกอบย่อย  ( ด้านที่  1  การวางแผนวิธีการดำเนินการทดลอง ) ระดับคุณภาพ รายการประเมิน ไม่สามารถวางแผนและออกแบบการทดลอง ได้เอง ต้องให้ความช่วยเหลืออย่างมากใน การวางแผนและการออกแบบการทดลอง  การเลือกใช้เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์  วางแผนและออกแบบการทดลองได้ไม่ถูกต้องและไม่เหมาะสมกับเวลา ต้องให้ความช่วยเหลือในการเลือกใช้เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ 1 2
เกณฑ์การประเมินผลแบบแยกตามองค์ประกอบย่อย  ( ด้านที่  1  การวางแผนวิธีการดำเนินการทดลอง ) ระดับคุณภาพ รายการประเมิน วางแผนและออกแบบการทดลองได้ถูกต้องและเหมาะสมกับเวลา แต่การเลือกใช้เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ยังไม่เหมาะสมหรือไม่ครบถ้วน  วางแผนและออกแบบการทดลองได้ถูกต้อง เหมาะสมกับเวลา สามารถเลือกใช้เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ในการทดลองได้ถูกต้อง เหมาะสม ครบถ้วน 3 4
เกณฑ์การประเมินผลแบบแยกตามองค์ประกอบย่อย  ( ด้านที่  2  การปฏิบัติการทดลอง ) ระดับคุณภาพ รายการประเมิน ต้องให้ความช่วยเหลือตลอดเวลาในการดำเนินการทดลองและการใช้อุปกรณ์ ต้องให้ความช่วยเหลือเป็นบางครั้งในการดำเนินการทดลองและการใช้อุปกรณ์ ดำเนินการทดลองได้เอง แต่ต้องการคำแนะนำ การใช้อุปกรณ์เป็นบางครั้ง 1 2 3
เกณฑ์การประเมินผลแบบแยกตามองค์ประกอบย่อย  ( ด้านที่  2  การปฏิบัติการทดลอง ) ระดับคุณภาพ รายการประเมิน ดำเนินการทดลองเป็นขั้นตอน และใช้อุปกรณ์ ต่าง ๆ ได้เองอย่างถูกต้อง 4
เกณฑ์การประเมินผลแบบแยกตามองค์ประกอบย่อย  ( ด้านที่  3  ความคล่องแคล่วในการทำการทดลอง ) ระดับคุณภาพ รายการประเมิน ทำการทดลองไม่ทันเวลาที่กำหนด และทำอุปกรณ์เครื่องใช้บางชิ้นชำรุดเสียหาย ทำการทดลองไม่ทันเวลาที่กำหนด แต่ใช้อุปกรณ์ได้ถูกต้องและไม่มีการเสียหาย ทำการทดลองและใช้อุปกรณ์ได้ทันเวลาที่กำหนด แต่ยังต้องการคำแนะนำการใช้อุปกรณ์บ้างเป็นครั้งคราว 1 2 3
เกณฑ์การประเมินผลแบบแยกตามองค์ประกอบย่อย  ( ด้านที่  3  ความคล่องแคล่วในการทำการทดลอง ) ระดับคุณภาพ รายการประเมิน ดำเนินการทดลอง และใช้อุปกรณ์ทำการทดลองได้เหมาะสมและทำได้เสร็จทันเวลา 4
เกณฑ์การประเมินผลแบบแยกตามองค์ประกอบย่อย  ( ด้านที่  4  การนำเสนอ ) ระดับคุณภาพ รายการประเมิน ต้องให้ความช่วยเหลืออย่างมากในการบันทึกผลการทดลอง การสรุปผลการทดลอง รวมทั้งเขียนรายงานการทดลอง ต้องให้คำแนะนำเป็นบางครั้งในการบันทึกผล การทดลอง การสรุปผลการทดลอง รวมทั้งเขียนรายงานการทดลอง 1 2
เกณฑ์การประเมินผลแบบแยกตามองค์ประกอบย่อย  ( ด้านที่  4  การนำเสนอ ) ระดับคุณภาพ รายการประเมิน บันทึกผลการทดลองและสรุปผลการทดลอง ได้เอง เขียนรายงานการทดลองยังไม่เป็นขั้นตอนที่สมบูรณ์ บันทึกผลการทดลองและสรุปผลการทดลอง ถูกต้อง รัดกุม เขียนรายงานการทดลองได้อย่างสมบูรณ์เป็นขั้นตอนที่ชัดเจน 3 4
ตัวอย่าง การประเมินผลการออกแบบวิธีการทดลอง กำหนดวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ทดลองมาให้  ดังนี้ (1)  ต้นไม้ปลูกในกระถาง 2 กระถาง (3)  ปุ๋ย (2)  น้ำ (4)  ช้อนตักสาร จะ ออกแบบวิธีการทดลองอย่างไร  เพื่อแสดงให้เห็นว่า  น้ำ  แสง  และธาตุอาหารมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช กระถางที่  1 กระถางที่  2
แนวการตอบ 1)  ออกแบบวิธีทดลองที่แสดงว่า น้ำ มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช  ทำได้ดังนี้ ,[object Object],[object Object],[object Object],2)  ออกแบบวิธีทดลองที่แสดงว่า แสง มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช  ทำได้ดังนี้ ,[object Object],[object Object],[object Object],3)  ออกแบบวิธีทดลองที่แสดงว่า ธาตุอาหาร มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช  ทำได้ดังนี้ ,[object Object],[object Object],[object Object],เช้าและเย็นเหมือนกัน
[object Object],เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การให้คะแนนอาจกำหนดในลักษณะมาตราส่วนประมาณค่า  4  ระดับ รายการประเมิน ระดับคุณภาพ ,[object Object],ต้องปรับปรุง  หรือ  1 ดี  หรือ  3 พอใช้  หรือ  2 ดีมาก  หรือ  4 ,[object Object],[object Object]
การประเมินผลการตั้งสมมติฐาน (1)  ตั้งสมมติฐานการทดลองได้อย่างไรบ้าง (2)  ตัวแปรของการทดลองนี้คืออะไร มีภาชนะลักษณะเดียวกัน  ก  ข  ค  และ  ง  ซึ่งบรรจุน้ำปริมาตรเท่ากัน หย่อนวัตถุตันที่มีมวลเท่ากันลงในภาชนะทั้ง 4 ใบ  ดังรูป ก ค ง ข
แนวการตอบ 1)  สมมติฐานในการทดลอง   การตั้งสมมติฐานที่เป็นไปได้อาจเขียนเป็นข้อความที่มี  2  ลักษณะ  คือ  (1)  เขียนข้อความ “เหตุ”  และตามด้วย “ผล”  ดังนี้  “รูปร่างของวัตถุมีผลต่อการจมของวัตถุในของเหลว”   หรือ  (2)  เขียนข้อความ “ผล”  ก่อน  แล้วตามด้วย  “เหตุ”  ที่ทำให้เกิดผลนั้น  ดังนี้  “การจมของวัตถุในของเหลวขึ้นอยู่กับรูปร่างของวัตถุ” 2)  ตัวแปร ตัวแปรต้น  ( เหตุ )  คือ  รูปร่างของวัตถุ ตัวแปรตาม  ( ผล )  คือ  การจมของวัตถุ  ( ระยะเวลาในการจม ,  ลักษณะการจม ) ตัวแปรควบคุม  คือ  ชนิดของของเหลว  ปริมาตรของของเหลวในภาชนะ ภาชนะที่บรรจุของเหลว  ชนิดและมวลของวัตถุ และวิธีการปล่อยวัตถุ
[object Object],เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การให้คะแนนอาจกำหนดในลักษณะมาตราส่วนประมาณค่า  4  ระดับ รายการประเมิน ระดับคุณภาพ ,[object Object],ต้องปรับปรุง  หรือ  1 ดี  หรือ  3 พอใช้  หรือ  2 ดีมาก  หรือ  4 ,[object Object],[object Object]
การประเมินผลการออกแบบการทดลอง จากผลการสังเกตข้างต้น  ถ้าตั้งสมมติฐานว่า “ การ ให้อาหารแก่ไฮดราเพิ่มขึ้นเป็น  2  เท่า  ไฮดราจะมีจำนวนเพิ่มขึ้นเป็น  2  เท่า ในเวลา  5  วัน”  จะออกแบบการทดลองได้เป็นอย่างไร จงศึกษาการเจริญเติบโตของไฮดรา  โดยสังเกตไฮดราทุกวันเป็นเวลา 10 วัน ในแต่ละวันมีการบันทึกจำนวนไฮดราทั้งหมดไว้  ผลที่สังเกตได้เป็นดังนี้ 20  ตัว  20  ตัว   20  ตัว   40  ตัว
แนวการตอบ ผู้เรียนสามารถออกแบบการทดลองได้หลายแนวทาง  ดังนี้ 1)  จัดให้มีการเลี้ยงไฮดรา  2  กลุ่ม  กลุ่มที่ 1  ให้อาหารตามปกติ  และกลุ่มที่ 2  ให้อาหารเพิ่มเป็น  2  เท่า  เปรียบเทียบผลการทดลองเมื่อใช้เวลาทดลอง  5  วัน 2)  จัดให้มีการเลี้ยงไฮดรา  2  กลุ่ม  ให้อาหารแตกต่างกัน  โดยให้กลุ่มที่ 1  มากกว่า กลุ่มที่ 2  เป็น  2  เท่า  สังเกตผลภายในเวลา  5  วัน 3)  จัดให้มีการเลี้ยงไฮดรา  โดยให้อาหารมากกว่าเดิม  และนำออกมาสังเกตผลหลังจาก  5  วัน 4)  จัดให้มีการเลี้ยงไฮดราและให้อาหารน้อยกว่าเดิมในเวลา  5  วัน  บันทึกปริมาณ  อาหารที่ให้แก่ไฮดราขนาดเล็กและขนาดใหญ่
[object Object],เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การให้คะแนนอาจกำหนดในลักษณะมาตราส่วนประมาณค่า  4  ระดับ รายการประเมิน ระดับคุณภาพ ,[object Object],ต้องปรับปรุง  หรือ  1 ดี  หรือ  3 พอใช้  หรือ  2 ดีมาก  หรือ  4 ,[object Object],[object Object]
การประเมินผลการทำโครงงาน ประเภทของโครงงาน 1)  โครงงานประเภทสำรวจ 2)  โครงงานประเภททดลอง 3)  โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ 4)  โครงงานประเภททฤษฎี
ขั้นตอนสำคัญในการทำโครงงาน 1)  การกำหนดปัญหาและการทำความเข้าใจกับปัญหา 2)  การวางแผนการทำโครงงาน 3)  การลงมือทำโครงงาน 4)  การเขียนรายงาน 5)  การแสดงผลงาน
ตัวอย่างการบันทึกการทำโครงงานวิทยาศาสตร์  ระดับประถมศึกษา 1.  ประเภทและชื่อโครงงาน 1.1  ประเภทโครงงาน โครงงานประเภททดลอง 1.2  ชื่อโครงงาน การแยกสีจากดอกกระเจี๊ยบเพื่อใช้ทำเป็นเครื่องดื่ม 2.  สาระความรู้ (1)  ดอกกระเจี๊ยบที่มีสีแดงนำมาสกัดสีได้ (2)  น้ำที่อุณหภูมิต่างกันสกัดสีจากดอกกระเจี๊ยบได้ต่างกัน 3.  ปัญหา สกัดสีจากดอกกระเจี๊ยบเพื่อนำมาทำเครื่องดื่มได้อย่างไร 3.1  จุดประสงค์ สามารถทำเครื่องดื่มจากดอกกระเจี๊ยบได้ 3.2  สมมติฐาน น้ำร้อนสามารถสกัดสีแดงจากดอกกระเจี๊ยบได้ดีกว่าน้ำเย็น
4.  วิธีทดลอง 4.1  อุปกรณ์ที่ใช้ ดอกกระเจี๊ยบ บีกเกอร์ ที่จับภาชนะ ตะเกียงแอลกอฮอล์ ที่กั้นลม แท่งแก้วคน น้ำสะอาด เครื่องชั่ง ผ้าขาวบาง  โกร่งบดหรือครกบด 4.2  ขั้นตอบการทดลอง (1)  นำดอกกระเจี๊ยบมาตำในโกร่งบดหรือครกบดให้ละเอียด (2)  ชั่งดอกกระเจี๊ยบที่บดละเอียด  20  กรัม  ใส่ลงในบีกเกอร์  3  ใบ  ที่บรรจุน้ำ  50  มิลลิลิตร  ซึ่งมีอุณหภูมิแตกต่างกัน  ดังนี้ บีกเกอร์ใบที่  1   วางไว้ในบรรยากาศปกติหรืออุณหภูมิห้อง บีกเกอร์ใบที่  2   เติมน้ำแข็งลงไป  2 - 3  ก้อน บีกเกอร์ใบที่  3   นำไปตั้งไฟให้เดือดประมาณ  5  นาที
(3)  คนดอกกระเจี๊ยบในน้ำทั้ง  3  บีกเกอร์  ประมาณ  5  นาที  แล้วกรองด้วยผ้าขาวบาง (4)  นำสารละลายที่กรองได้มาเปรียบเทียบความแตกต่างของสี 5.   บันทึกผลการทดลอง สารละลายของดอกกระเจี๊ยบในน้ำ การเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้ 1.  น้ำที่มีอุณหภูมิปกติ  ( อุณหภูมิห้อง )   น้ำในบีกเกอร์มีสีแดง 2.  น้ำที่มีน้ำแข็งอยู่ด้วย น้ำในบีกเกอร์มีสีส้ม 3.  น้ำที่ต้มเดือด น้ำในบีกเกอร์มีสีแดงเข้ม
6.  สรุปผลการทดลอง น้ำที่มีอุณหภูมิสูงสามารถสกัดสีแดงจากดอกกระเจี๊ยบได้ดีกว่าน้ำที่มีอุณหภูมิต่ำ 7.  ประโยชน์ที่ได้รับ ได้เรียนรู้ถึงวิธีการที่เหมาะสมในการสกัดสีแดงจากดอกกระเจี๊ยบ 8.  ข้อเสนอแนะ ควรศึกษาเพิ่มเติมถึงวิธีการสกัดสีจากพืชชนิดอื่น  โดยนำส่วนประกอบต่าง ๆ ของพืชมาใช้สกัดสี  เช่น  ใบ  ดอก  ราก  ลำต้น  ผล 9.  เอกสารอ้างอิง  ( แหล่งค้นคว้าความรู้ ) หนังสือเกี่ยวกับการสกัดสีจากส่วนประกอบต่าง ๆ ของพืช
แนวทางการให้คะแนน การให้คะแนนการทำโครงงานวิทยาศาสตร์มีเกณฑ์การประเมิน  2  แบบ 1.  การให้คะแนนแบบภาพรวม   เป็นการให้คะแนนในลักษณะของการสรุปผลการเรียนรู้ในส่วนที่เป็นประเด็นสำคัญ  โดยไม่พิจารณาถึงองค์ประกอบย่อย 2.  การให้คะแนนแบบแยกองค์ประกอบย่อย การให้คะแนนแบบนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินพัฒนาการเรียนรู้ของ  ผู้เรียนในระหว่างการทำกิจกรรม  จึงให้คะแนนแยกออกเป็นองค์ประกอบย่อยครอบคลุมทุกจุดประสงค์
[object Object],รายการประเมิน ระดับคุณภาพ ,[object Object],ต้องปรับปรุง  หรือ  1 ดี  หรือ  3 พอใช้ หรือ  2 ดีมาก  หรือ  4 ,[object Object],[object Object],ตัวอย่าง เกณฑ์รวม ที่ใช้ประเมินโครงงานวิทยาศาสตร์
รายการประเมิน ระดับคุณภาพ 1.  การกำหนดปัญหาและการตั้งสมมติฐาน  ตัวอย่าง เกณฑ์ย่อย ที่ใช้ประเมินโครงงานวิทยาศาสตร์ -  สมมติฐานไม่สอดคล้องกับปัญหา 1 -  สมมติฐานสอดคล้องกับปัญหา  แต่ไม่แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง เหตุและผล   2 -  สมมติฐานสอดคล้องกับปัญหาและแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผล แต่ยังไม่ชัดเจน   3 -  สมมติฐานสอดคล้องกับปัญหาและแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผล อย่างชัดเจน   4 2.  ข้อมูลหรือข้อเท็จจริงประกอบการทำโครงงาน 3.  การออกแบบการทดลอง
4.  อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง 5.  การดำเนินการทดลอง 6.  การบันทึกข้อมูล 7.  การจัดกระทำข้อมูล 8.  การแปลความหมายข้อมูลและการสรุปผลของข้อมูล 9.  ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 10.  การเขียนรายงานหรือการแสดงผลงาน
การประเมินผลการทำแฟ้มสะสมงาน วัตถุประสงค์ของการจัดทำแฟ้มสะสมงาน 1.  เพื่อจัดเก็บข้อมูลและสะสมงานของผู้เรียน 2.  เพื่อใช้เป็นเครื่องมือประเมินการเรียนรู้ของผู้เรียน 3.  เพื่อให้ผู้เรียนและผู้สอนได้เรียนรู้ร่วมกัน 4.  เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ประเมินตนเองและรู้จักตนเอง 5.  เพื่อส่งเสริมให้มีการบูรณาการหลักสูตร  กระบวนการ เรียนรู้  และการวัดผลประเมินผล
ประเภทของแฟ้ม สะสมงาน 1.  แฟ้มสะสมงานทั่วไป 2.  แฟ้มสะสมงานเฉพาะ
1.  แฟ้มสะสมงานทั่วไป เป็นแฟ้มสะสมงานที่เก็บรวบรวมผลงานที่ได้ทุกภาระงาน  มีขั้นตอนในการจัดทำที่สำคัญ  ดังนี้ 1)  การรวบรวมผลงาน  ( collection ) 2)  การคัดเลือกผลงานเพื่อจัดประเภท  ( selection ) 3)  การประเมินผลงานที่สะท้อนให้เห็นสมรรถภาพตามมาตรฐาน  ( reflection ) 4)  การวางแผนการทำงานต่อไป  ( projection )
2.  แฟ้มสะสมงานเฉพาะ เป็นแฟ้มสะสมงานที่ประกอบด้วยผลงานที่มีลักษณะเฉพาะเรื่องใด  เรื่องหนึ่งหรือเป็นพิเศษ  มีขั้นตอนในการจัดทำที่สำคัญ  ดังนี้ 1)  การวางแผนดำเนินงาน  ( investigation ) 2)  การปฏิบัติการ  ( research ) 3)  การนำไปใช้  ( application ) 4)  การขยายผลต่อเนื่อง  ( open choice )
ตัวอย่างแบบบันทึกการปฏิบัติงานที่จัดเก็บในแฟ้มสะสมงาน ชื่อผู้เรียน วันที่ ชื่อผลงานจากแฟ้มสะสมงาน คำชี้แจง  (1)  ใส่เครื่องหมาย  / ใน  เพื่อระบุประเภทของแฟ้มสะสมงานและ ประเภทของผลงาน (2)  ศึกษาทบทวนการปฏิบัติงานและผลงานที่จัดไว้ในแฟ้มสะสมงานแล้ว   ตอบคำถาม ประเภทของแฟ้มสะสมงาน   แฟ้มสะสมงานทั่วไป    แฟ้มสะสมงานเฉพาะ
ประเภทของผลงาน ( กรณีเป็นแฟ้มสะสมงานเฉพาะ ) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],1.  ลักษณะของงาน   :  ให้อธิบายลักษณะของงาน อธิบาย 2.  การมีส่วนร่วม   :  ผลงานสำเร็จได้โดยมีการร่วมมือจากบุคลากรหรือหน่วยงานใด  และถ้าทำงานเป็นกลุ่มได้กำหนดบทบาทหน้าที่หรือความรับผิดชอบของสมาชิก อย่างไร อธิบาย
3.  แหล่งความรู้  :   แหล่งข้อมูลความรู้ที่นำมาใช้เพื่อทำผลงานมีอะไรบ้างและนำมาใช้ อย่างไร อธิบาย 4.  ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ความเข้าใจ   :  ความรู้หรือประสบการณ์จากการทำงาน คืออะไร อธิบาย 5.  ผลการเรียนรู้ด้านกระบวนการ  :  กระบวนการสืบเสาะหาความรู้  การแก้ปัญหาที่ได้ นำไปใช้มีอะไรบ้าง  ให้อธิบายโดยการบอกปัญหาแต่ละปัญหาพร้อมขั้นตอนการ แก้ปัญหา อธิบาย
6.  ทักษะการสื่อสาร  :   ให้สรุปผลเพื่อบอกให้ผู้อื่นรู้ว่าได้เรียนรู้อะไร  และเรียนรู้อย่างไร อธิบาย 7.  ความสามารถทางการเชื่อมโยงกับสังคม   :  ผลงานนี้เชื่อมโยงกับชีวิตประจำวันหรือ สาขาวิชาอื่นด้วยหรือไม่  อย่างไร อธิบาย 8.  ข้อคิดเห็นเพิ่มเติม
แนวทางการให้คะแนน การประเมินแฟ้มสะสมงาน ,[object Object],[object Object]
การให้คะแนนการทำแฟ้มสะสมงานทำได้  2  รูปแบบ ,[object Object],[object Object],เป็นการให้คะแนนในลักษณะสรุปผลของงานในแฟ้มสะสมงานที่มีลักษณะเดียวกัน  และให้คะแนนในช่วงเวลาของการจัดเก็บเป็นระยะ ๆ  อย่างสม่ำเสมอ  เช่น  สรุปผลงานในเวลา 1 เดือน  หรือ  1  ภาคเรียน  หรือ  1 ปีการศึกษา การประเมินลักษณะนี้จะประเมินผลงานทีละชิ้นหรือทีละส่วนอย่างละเอียด  เพื่อให้สามารถกระทำได้อย่างครอบคลุมสมรรถภาพของผู้ทำผลงาน จึงต้องมีการสร้างเกณฑ์การประเมินให้ครอบคลุมด้านต่าง ๆ  ที่ต้องการประเมินและกำหนด  คุณภาพของงานแตกต่างกัน
[object Object]
วิทยาศาสตรื
วิทยาศาสตรื
วิทยาศาสตรื
วิทยาศาสตรื
วิทยาศาสตรื
วิทยาศาสตรื
วิทยาศาสตรื
วิทยาศาสตรื
วิทยาศาสตรื
วิทยาศาสตรื
วิทยาศาสตรื
วิทยาศาสตรื
วิทยาศาสตรื
วิทยาศาสตรื
วิทยาศาสตรื

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Arocha Chaichana
 
กสพท. เคมี 2562
กสพท. เคมี 2562กสพท. เคมี 2562
กสพท. เคมี 25629GATPAT1
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์oraneehussem
 
เคมี Ent48
เคมี Ent48เคมี Ent48
เคมี Ent48Unity' Aing
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Nanmoer Tunteng
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมีcrazygno
 
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีการคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีพัน พัน
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Chicciiz Pu
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์Pipat Chooto
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีPreeyapat Lengrabam
 
1แผนที่2
1แผนที่21แผนที่2
1แผนที่2yaowaluk
 
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometryปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - StoichiometryDr.Woravith Chansuvarn
 

Mais procurados (20)

ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
3 the mole 2018
3 the  mole 20183 the  mole 2018
3 the mole 2018
 
กสพท. เคมี 2562
กสพท. เคมี 2562กสพท. เคมี 2562
กสพท. เคมี 2562
 
2 the mole
2 the  mole2 the  mole
2 the mole
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
 
ใบงานที่ 1 ปริมาณสารสัมพันธ์
ใบงานที่ 1 ปริมาณสารสัมพันธ์ใบงานที่ 1 ปริมาณสารสัมพันธ์
ใบงานที่ 1 ปริมาณสารสัมพันธ์
 
เคมี Ent48
เคมี Ent48เคมี Ent48
เคมี Ent48
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
9 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 569 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 56
 
Mole
MoleMole
Mole
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์
 
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีการคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
 
4 chem formular
4 chem formular4 chem formular
4 chem formular
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมี
 
โมล ม.4
โมล ม.4โมล ม.4
โมล ม.4
 
1แผนที่2
1แผนที่21แผนที่2
1แผนที่2
 
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometryปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
 

Semelhante a วิทยาศาสตรื

ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.1
ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.1ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.1
ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.1ทับทิม เจริญตา
 
ว เคราะห แบบทดสอบ 5 ข_อ
ว เคราะห แบบทดสอบ 5 ข_อว เคราะห แบบทดสอบ 5 ข_อ
ว เคราะห แบบทดสอบ 5 ข_อ4821010054
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557ครู กรุณา
 
ใบงานประมาณค่า
ใบงานประมาณค่าใบงานประมาณค่า
ใบงานประมาณค่าkanjana2536
 
แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์
แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์
แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์Kapong007
 
ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 2
ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 2ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 2
ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 2benjalakpitayaschool
 
ข้อสอบมาตรฐานชั้นปีวิชา-คณิตศาสตร์-ป.3.pdf
ข้อสอบมาตรฐานชั้นปีวิชา-คณิตศาสตร์-ป.3.pdfข้อสอบมาตรฐานชั้นปีวิชา-คณิตศาสตร์-ป.3.pdf
ข้อสอบมาตรฐานชั้นปีวิชา-คณิตศาสตร์-ป.3.pdfWuttipongChitchonlat
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...บ.ชีทราม จก.
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ sawed kodnara
 
ข้อสอบภาค ก-ครูผู้ช่วย-100-ข้อ-พร้อมเฉลย-
ข้อสอบภาค ก-ครูผู้ช่วย-100-ข้อ-พร้อมเฉลย-ข้อสอบภาค ก-ครูผู้ช่วย-100-ข้อ-พร้อมเฉลย-
ข้อสอบภาค ก-ครูผู้ช่วย-100-ข้อ-พร้อมเฉลย-มะดาโอะ มะเซ็ง
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์krookay2012
 
สมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากันสมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากันAon Narinchoti
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555ครู กรุณา
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551ครู กรุณา
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551ครู กรุณา
 

Semelhante a วิทยาศาสตรื (20)

ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.1
ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.1ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.1
ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.1
 
ว เคราะห แบบทดสอบ 5 ข_อ
ว เคราะห แบบทดสอบ 5 ข_อว เคราะห แบบทดสอบ 5 ข_อ
ว เคราะห แบบทดสอบ 5 ข_อ
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
 
ใบงานประมาณค่า
ใบงานประมาณค่าใบงานประมาณค่า
ใบงานประมาณค่า
 
แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์
แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์
แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์
 
ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 2
ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 2ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 2
ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 2
 
3
33
3
 
Gas genchem
Gas genchemGas genchem
Gas genchem
 
ข้อสอบมาตรฐานชั้นปีวิชา-คณิตศาสตร์-ป.3.pdf
ข้อสอบมาตรฐานชั้นปีวิชา-คณิตศาสตร์-ป.3.pdfข้อสอบมาตรฐานชั้นปีวิชา-คณิตศาสตร์-ป.3.pdf
ข้อสอบมาตรฐานชั้นปีวิชา-คณิตศาสตร์-ป.3.pdf
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
 
Satit tue134008
Satit tue134008Satit tue134008
Satit tue134008
 
Aaaa
AaaaAaaa
Aaaa
 
ข้อสอบภาค ก-ครูผู้ช่วย-100-ข้อ-พร้อมเฉลย-
ข้อสอบภาค ก-ครูผู้ช่วย-100-ข้อ-พร้อมเฉลย-ข้อสอบภาค ก-ครูผู้ช่วย-100-ข้อ-พร้อมเฉลย-
ข้อสอบภาค ก-ครูผู้ช่วย-100-ข้อ-พร้อมเฉลย-
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์
 
สมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากันสมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากัน
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 

Mais de jirapom

สังคม
สังคมสังคม
สังคมjirapom
 
อาหาร
อาหารอาหาร
อาหารjirapom
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมjirapom
 
ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยjirapom
 
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรัง
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรังสถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรัง
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรังjirapom
 
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรัง
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรังสถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรัง
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรังjirapom
 
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรัง
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรังสถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรัง
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรังjirapom
 

Mais de jirapom (7)

สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 
อาหาร
อาหารอาหาร
อาหาร
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยประชาธิปไตย
ประชาธิปไตย
 
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรัง
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรังสถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรัง
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรัง
 
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรัง
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรังสถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรัง
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรัง
 
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรัง
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรังสถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรัง
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรัง
 

วิทยาศาสตรื

  • 1. ดร . ปรีชาญ เดชศรี สาขาประเมินมาตรฐาน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การทดสอบเพื่อการประเมินคุณภาพการเรียนการสอน เอกสารชุดที่ 1
  • 2.
  • 3.
  • 4.
  • 5. การประเมินสมรรถภาพของผู้เรียน ประเมินสมรรถภาพ ประเมินแบบเดิม ทักษะการนำไปใช้ การเรียนรู้แบบร่วมมือ ประเมินตนเอง ความรู้ ( รู้และเข้าใจ ) ความคิดสร้างสรรค์ กระบวนการเรียนรู้ ( ทักษะ ) แก้ปัญหา ( การคิด ) ตรวจสอบผลงาน อุปนิสัยในการปฏิบัติงาน พัฒนาทางร่างกาย การประยุกต์ที่เหมาะสมกับความสามารถ สภาพจริงของชีวิตและสังคม การเลียนแบบที่ยืดหยุ่นและมีความหมาย
  • 6.
  • 7.
  • 8.
  • 9.
  • 10.
  • 11.
  • 12. ตัวอย่างข้อสอบเลือกตอบที่เป็นคำถามเดี่ยว วิชาวิทยาศาสตร์ ตัวอย่างที่ 1 พืชชนิดใดที่ใช้เมล็ดในการขยายพันธุ์ ก . อ้อย ข . กล้วย ค . ฟักทอง * ง . มันเทศ ช่วงชั้นที่ 1
  • 13. พืชชนิดใดที่ใช้เมล็ดในการขยายพันธุ์ ( p = .5 5 r = . 04 ) ก . อ้อย ( 1 7 .8 ) ข . กล้วย ( 12.9 ) ค . ฟักทอง * ( 55.4 ) ง . มันเทศ ( 13.9 )
  • 14. สัตว์กลุ่มใดออกลูกเป็นตัว ก . สุนัข เสือ * ข . งูเหลือม ไก่ ค . ม้าน้ำ จระเข้ ง . ค้างคาว เต่าทะเล ตัวอย่างที่ 2
  • 15. สัตว์กลุ่มใดออกลูกเป็นตัว ( p = . 90 r = . 18 ) ก . สุนัข เสือ * ( 90.0 ) ข . งูเหลือม ไก่ ( 4.2 ) ค . ม้าน้ำ จระเข้ ( 4.2 ) ง . ค้างคาว เต่าทะเล ( 1.7 )
  • 16. การเปลี่ยนแปลงใดจัดเป็นการระเหยของน้ำ ก . น้ำกลายเป็นน้ำแข็ง ข . น้ำกลายเป็นไอน้ำ * ค . น้ำแข็งกลายเป็นน้ำ ง . ไอน้ำกลายเป็นน้ำ ตัวอย่างที่ 3
  • 17. การเปลี่ยนแปลงใดจัดเป็นการระเหยของน้ำ ( p = . 41 r = 0 . 0 ) ก . น้ำกลายเป็นน้ำแข็ง ( 11.7 ) ข . น้ำกลายเป็นไอน้ำ * (41.5 ) ค . น้ำแข็งกลายเป็นน้ำ ( 35.1 ) ง . ไอน้ำกลายเป็นน้ำ ( 11.7 )
  • 18. วิชาวิทยาศาสตร์ ตัวอย่างที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของหินลักษณะใดแตกต่างจากข้ออื่น ก . หินงอกหินย้อย * ข . คลื่นทะเลซัดหน้าผาหิน ค . การเลื่อนไถลของธารน้ำแข็ง ง . การตกของหินจากแรงโน้มถ่วงของโลก ช่วงชั้นที่ 2
  • 19. การเปลี่ยนแปลงของหินลักษณะใดแตกต่างจากข้ออื่น ( p = .27 r = .12) ก . หินงอกหินย้อย * (27.2) ข . คลื่นทะเลซัดหน้าผาหิน (21.1) ค . การเลื่อนไถลของธารน้ำแข็ง (27.2) ง . การตกของหินจากแรงโน้มถ่วงของโลก (21.9)
  • 20. สารทำความสะอาดภาชนะใส่อาหารควรมีสมบัติอย่างไร ก . มีความเป็นกรดสูง ข . เกิดฟองจำนวนมาก ค . ทำให้ไขมันละลายในน้ำได้ * ง . เกิดการหลอมเหลวที่อุณหภูมิต่ำ ตัวอย่างที่ 2
  • 21. สารทำความสะอาดภาชนะใส่อาหารควรมีสมบัติอย่างไร ( p = .46 r = .12) ก . มีความเป็นกรดสูง (14.0) ข . เกิดฟองจำนวนมาก (17.5) ค . ทำให้ไขมันละลายในน้ำได้ * (46.5) ง . เกิดการหลอมเหลวที่อุณหภูมิต่ำ (21.9)
  • 22. ปรากฏการณ์ใดจะมีผลต่อการคมนาคมทุกประเภท ก . การเกิดเมฆ ข . การเกิดหมอก * ค . การเกิดน้ำค้าง ง . การเกิดรุ้งกินน้ำ ตัวอย่างที่ 3
  • 23. ปรากฏการณ์ใดจะมีผลต่อการคมนาคมทุกประเภท ( p = .43 r = .41) ก . การเกิดเมฆ (15.9) ข . การเกิดหมอก * (43.4) ค . การเกิดน้ำค้าง (15.9) ง . การเกิดรุ้งกินน้ำ (24.8)
  • 24. วิชาวิทยาศาสตร์ พื้นที่แบบใดต่อไปนี้ น่าจะมีน้ำใต้ดินอยู่ มากที่สุด ก . มีอากาศหนาวจัด ข . ป่าที่ต้นไม้ขึ้นหนาแน่น * ค . มีสัตว์ป่าอาศัยอยู่มาก ง . มีแร่ธาตุในดินปริมาณมาก ตัวอย่างที่ 1 ช่วงชั้นที่ 3
  • 25. พื้นที่แบบใดต่อไปนี้ น่าจะมีน้ำใต้ดินอยู่ มากที่สุด (p = 0.72 r = 0.35) ก . มีอากาศหนาวจัด ( 11 .5) ข . ป่าที่ต้นไม้ขึ้นหนาแน่น * ( 72.1) ค . มีสัตว์ป่าอาศัยอยู่มาก (3.3) ง . มีแร่ธาตุในดินปริมาณมาก ( 13.1)
  • 26.
  • 27.
  • 28.
  • 29. สารเนื้อเดียวมีลักษณะอย่างไร (p = 0. 40 r = 0. 22 ) ก . วางทิ้งไว้จะเกิดตะกอน ( 3.3 ) ข . แยกออกจากกันไม่ได้ ( 32.2 ) ค . มีลักษณะเนื้อสารเหมือนกันทุกส่วน * ( 40.5 ) ง . ประกอบด้วยสารที่อยู่ในสถานะเดียวกัน ( 24.0 )
  • 30. ผสมน้ำ 2 ถังที่มีปริมาณเท่ากันโดยถังที่ 1 มีอุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส เมื่อน้ำผสมกันแล้วมีอุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส น้ำถังที่ 2 มีอุ ณ หภูมิ ประมาณเท่าใด ก . 10 องศาเซลเซียส ข . 20 องศาเซลเซียส * ค . 30 องศาเซลเซียส ง . 40 องศาเซลเซียส ตัวอย่างที่ 4
  • 31. ผสมน้ำ 2 ถังที่มีปริมาณเท่ากันโดยถังที่ 1 มีอุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส เมื่อน้ำผสมกันแล้วมีอุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส น้ำถังที่ 2 มีอุหภูมิประมาณ เท่าใด ( p = 0.29 r = 0.25) ก . 10 องศาเซลเซียส (45.1) ข . 20 องศาเซลเซียส * (29.3) ค . 30 องศาเซลเซียส (15.8) ง . 40 องศาเซลเซียส (9.8)
  • 32. วิชาคณิตศาสตร์ ตัวอย่างที่ 1 ช่วงชั้นที่ 1 สิ่งของใด มีส่วนประกอบเป็นรูปวงกลม ก . พัดลม * ข . หนังสือ ค . กล่องนม ง . แปรงลบกระดาน
  • 33. สิ่งของใด มีส่วนประกอบเป็นรูปวงกลม ( p = .85 r = .45) ก . พัดลม * (85.5) ข . หนังสือ (6.3) ค . กล่องนม (4.7) ง . แปรงลบกระดาน (3.5)
  • 34. “ พี่มีเงินเป็น 3 เท่าของน้อง ถ้าน้อง มีเงินเป็น 250 บาท พี่มีเงินกี่บาท” เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ได้อย่างไร ก . 250 + 3 = ข . 250 3 = ค . 250 3 = * ง . 250 + 250 = ตัวอย่างที่ 2
  • 35. “ พี่มีเงินเป็น 3 เท่าของน้อง ถ้าน้อง มีเงินเป็น 250 บาท พี่มีเงินกี่บาท” เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ได้อย่างไร (p = .62 r = .48) ก . 250 + 3 = (15.1) ข . 250 3 = (15.3) ค . 250 3 = * (62.3) ง . 250 + 250 = (7.4)
  • 36. เชือกยาว 44 เซนติเมตร จะนำมาขดเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวด้านละ 2 เซนติเมตร ได้ มากที่สุด กี่รูป ก . 5 รูป * ข . 6 รูป ค . 10 รูป ง . 11 รูป ตัวอย่างที่ 1 วิชาคณิตศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 2
  • 37. เชือกยาว 44 เซนติเมตร จะนำมาขดเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาว ด้านละ 2 เซนติเมตร ได้ มากที่สุด กี่รูป (p = .26 r = .14) ก . 5 รูป * (26.3) ข . 6 รูป (21.2) ค . 10 รูป (10.2) ง . 11 รูป (42.4)
  • 38. ถ้านำเลขโดดในหลักสิบและหลักร้อยของจำนวน 4,816 มาสลับที่กัน จำนวนใหม่จะมีค่าแตกต่างจากจำนวนเดิมประมาณเท่าใด ก . มากกว่าประมาณ 600 ข . น้อยกว่าประมาณ 600 * ค . มากกว่าประมาณ 700 ง . น้อยกว่าประมาณ 700 ตัวอย่างที่ 2
  • 39. ถ้านำเลขโดดในหลักสิบและหลักร้อยของจำนวน 4,816 มาสลับที่กัน จำนวนใหม่จะมีค่าแตกต่างจากจำนวนเดิมประมาณเท่าใด ( p = .27 r = .04) ก . มากกว่าประมาณ 600 (31.1) ข . น้อยกว่าประมาณ 600 * (27.2) ค . มากกว่าประมาณ 700 (21.4) ง . น้อยกว่าประมาณ 700 (20.4)
  • 40. มีเงินอยู่ 400 บาท ซื้อรองเท้าเป็นเงิน ของจำนวนเงินที่มี และซื้อถุงเท้าเป็นเงิน ของจำนวนเงินที่เหลือ ถุงเท้าราคากี่บาท ก . 20 บาท * ข . 30 บาท ค . 60 บาท ง . 80 บาท ตัวอย่างที่ 3
  • 41. มีเงินอยู่ 400 บาท ซื้อรองเท้าเป็นเงิน ของจำนวนเงินที่มี และซื้อถุงเท้าเป็นเงิน ของจำนวนเงินที่เหลือ ถุงเท้าราคากี่บาท ( p =.28 r = .07) ก . 20 บาท * (28.3) ข . 30 บาท (19.6) ค . 60 บาท (27.2) ง . 80 บาท (25.0)
  • 42. มีค่าเท่าใด ก . 1 ข . 25 * ค . 30 ง . 40 วิชาคณิตศาสตร์ ตัวอย่างที่ 1 ช่วงชั้นที่ 3
  • 43. มีค่าเท่าใด ( p = .58 r = .36) ก . 1 (7.0) ข . 25* (58.0) ค . 30 (10) ง . 40 (26)
  • 44. ปลูกต้นไม้ 3 ชนิด ในอัตราส่วนมะม่วงต่อส้มเป็น 3 : 2 และ ส้มต่อกล้วยเป็น 3 : 4 ถ้าปลูกต้นไม้รวมกันได้ 1,656 ต้น จะปลูกส้มได้กี่ต้น ก . 276 ต้น ข . 386 ต้น ค . 414 ต้น ง . 432 ต้น * ตัวอย่างที่ 2
  • 45. ปลูกต้นไม้ 3 ชนิด ในอัตราส่วนมะม่วงต่อส้มเป็น 3 : 2 และ ส้มต่อกล้วยเป็น 3 : 4 ถ้าปลูกต้นไม้รวมกันได้ 1,656 ต้น จะปลูกส้มได้กี่ต้น ( p = .20 r = .06) ก . 276 ต้น (23.0) ข . 386 ต้น (30.0) ค . 414 ต้น (28.0) ง . 432 ต้น * (20.0)
  • 46. ขนมชนิดหนึ่ง ใช้แป้งต่อน้ำตาลเป็น 2 : 3 และนมต่อน้ำตาล 3 : 4 อัตราส่วนของ นม : แป้ง : น้ำตาล ในการทำขนมชนิดนี้เป็นเท่าใด ก . 3 : 2 : 4 ข . 2 : 3 : 4 ค . 8 : 9 : 12 ง . 9 : 8 : 12 * ตัวอย่างที่ 3
  • 47. ขนมชนิดหนึ่ง ใช้แป้งต่อน้ำตาลเป็น 2 : 3 และนมต่อน้ำตาล 3 : 4 อัตราส่วนของ นม : แป้ง : น้ำตาล ในการทำขนมชนิดนี้เป็นเท่าใด (p = 0. 19 r = 0.3 7 ) ก . 3 : 2 : 4 (36.6) ข . 2 : 3 : 4 (26.0) ค . 8 : 9 : 12 ( 1 8.3) ง . 9 : 8 : 12 * (19.1 )
  • 48. ถ้า A x 99 = (12 x 23) + (12 x 35) + (12 x 41) แล้ว A มีค่าเท่าใด ก . 12 * ข . 23 ค . 35 ง . 41 ตัวอย่างที่ 4
  • 49. ถ้า A x 99 = (12 x 23) + (12 x 35) + (12 x 41) แล้ว A มีค่าเท่าใด (p = 0. 76 r = 0. 41 ) ก . 12 * ( 76.3 ) ข . 23 ( 10.7 ) ค . 35 ( 7.6 ) ง . 41 ( 5.3 )
  • 50. ข้อสอบเลือกตอบ 2 ตอน 1) ใส่สารละลาย KCl 2 cm 3 ลงในหลอดทดลองแล้วเติมสารละลาย AgNO 3 ลงไป 2 cm 3 มีตะกอนสีขาวเกิดขึ้น 1.1 ตะกอนสีขาวที่เกิดขึ้นคือสารใด ก . AgCl ข . KNO 3 ค . AgCl และ KNO 3 ตอนที่ 1 เป็นคำถามที่มีตัวเลือกให้เลือกตอบ 2 ข้อหรือมากกว่า ตอนที่ 2 เป็นคำถามที่ต้องการให้อธิบายและให้เหตุผลต่อเนื่องจากตอนที่ 1 ตัวอย่าง
  • 51. 1.2 จากคำตอบ 1.1 เพราะเหตุใดจึงตอบเช่นนั้น ก . AgCl เป็นสารประกอบไอออนิก ส่วนสารอื่น ๆ เป็นสารโคเวเลนต์ ข . สารประกอบ KNO 3 และ AgCl เป็นของแข็งสีขาว ค . Ag + (aq ) รวมกับ Cl - ( aq ) ได้เป็นผลิตภัณฑ์ที่เป็นของแข็ง นอกจากนี้ ข้อสอบแบบเลือกตอบที่มี 2 ตอน อาจเป็น ลักษณะผสมผสานที่มีทั้งการเลือกตอบและการเขียนตอบ
  • 52. ตัวอย่างข้อสอบแบบผสมผสานที่มีทั้งเลือกตอบและเขียนตอบ 1) ทดลองวัดความดันโลหิตของชาย 5 คน และหญิง 5 คน ที่มีอายุตั้งแต่ 15 - 70 ปี และบันทึกผลการทดลองไว้ 1.1 สมมติฐานของการทดลองนี้ คืออะไร ก. ความดันโลหิตสัมพันธ์กับเพศ ข. ความดันโลหิตสัมพันธ์กับเพศและอายุ ค. ความดันโลหิตของหญิงและชายวัยเดียวกันไม่แตกต่างกัน 1.2 จงแสดงเหตุผลในการเลือกตอบ (1) เหตุผลที่เลือก ข้อ ก คือ (2) เหตุผลที่เลือก ข้อ ข คือ (3) เหตุผลที่เลือก ข้อ ค คือ
  • 53. ข้อสอบแบบถูกผิด การสร้างข้อสอบแบบถูกผิด มีหลักเกณฑ์ดังนี้ (1) ข้อความที่ต้องการให้พิจารณาว่าถูกหรือผิดต้องเป็นแนวความคิดเดียว (2) ศัพท์และคำทางวิทยาศาสตร์ที่นำมาใช้ต้องเหมาะสมกับระดับผู้เรียน (3) ใช้ภาษาถูกต้อง เข้าใจง่าย และไม่ทำให้เกิดความสับสนหรือเข้าใจผิด (4) ไม่ใช้ คำหรือข้อความที่เป็นการชี้นำคำตอบทั้งที่อยู่ในข้อเดียวกันหรืออยู่ในข้ออื่น (5) ไม่ใช้ คำปฏิเสธหรือใช้คำปฏิเสธซ้อนปฏิเสธ
  • 54. ตัวอย่าง จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้และทำเครื่องหมาย / หน้าข้อความที่ถูก หรือ x หน้าข้อความที่ผิด การย่อยอาหารของระบบย่อยอาหารในร่างกายคน มีลักษณะอย่างไร …… 1. การย่อยทางเคมีของแป้งเริ่มต้นในกระเพาะอาหาร …… 2. โปรตีนจะถูกย่อยในกระเพาะอาหารโดยเอนไซม์เพปซิน ...….3. น้ำดีมีสมบัติเป็นเบส จึงช่วยลดความเป็นกรดของอาหารได้ …… 4. เอนไซม์ลิเพสจากตับอ่อนจะย่อยไขมันให้เป็นกรดไขมันและกลีเซอรอล
  • 55.
  • 56. ตัวอย่าง นำตัวอักษรของข้อความทางขวามือเขียนลงในช่องว่างทางซ้ายมือให้สัมพันธ์กัน สิ่งมีชีวิตและไฟลัมของอาณาจักรสัตว์มีความสัมพันธ์ที่ถูกต้องอย่างไร (………) 1. ไฟลัมพอริเฟอรา ก . ไส้เดือนดิน (………) 2. ไฟลัมนีมาโทดา ข . หอยกาบ (………) 3. ไฟลัมมอลลัสกา ค . ปลาช่อน (………) 4. ไฟลัมแอนนีลิดา ง . กุ้งก้ามกราม (………) 5. ไฟลัมคอร์ดาตา จ . พยาธิเส้นด้าย ฉ . ฟองน้ำ
  • 57. ลากเส้นตรงเชื่อมโยงระหว่างภาพหมายเลข 1, 2, 3, 4 และ 5 กับข้อความ ก ข ค ง และ จ ส่วนต่าง ๆ ของพืช หน้าที่ของส่วนต่าง ๆ ของพืช 1 ดอก 2 ใบ 5 ราก 3 ผล 4 ลำต้น ก. ยึดลำต้น ข. ขยายพันธุ์พืช ค. สร้างผลและเมล็ด ง. ชูกิ่งก้าน ใบ และดอก จ. รับแสงและสร้างอาหาร
  • 58.
  • 60. 1. ดาวฤกษ์ในระบบสุริยะ คือ 2. โลกมีบริวารเพียงดวงเดียว คือ 3. ดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าโลก เรียกว่า 4. ดาวที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์มากที่สุดและมีขนาดเล็กที่สุด คือ 5. ดาวที่มีอุณหภูมิสูงสุด มีความสว่างที่สุด ชั้นบรรยากาศเป็นแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ จึงทำให้เกิดการสะสมความร้อนไว้เหมือน ปรากฏการณ์เรือนกระจก คือ
  • 61. ข้อสอบแบบเขียนตอบ 2. ข้อสอบเขียนตอบแบบบรรยาย 1. ข้อสอบแบบเขียนตอบอย่างสั้น 3. ข้อสอบแบบเขียนตอบโดยการสร้างผังมโนทัศน์ 4. ข้อสอบเขียนตอบโดยการสร้างผังแนวคิดรูปตัววี
  • 62. 1. ข้อสอบแบบเขียนตอบอย่างสั้น (1) ผู้เรียนมีโอกาสแสดงความรู้ความสามารถมากกว่าการทำข้อสอบ แบบเลือกตอบ ถูกผิด จับคู่ และเติมคำ (2) เหมาะกับการวัดความรู้ความเข้าใจมากกว่าความสามารถด้านการ ประยุกต์ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และประเมินค่า
  • 63. ตัวอย่าง จงใช้สถานการณ์ที่กำหนดให้ตอบคำถามข้อ 1 - 3 สภาพแวดล้อมแห่งหนึ่งมีสิ่งมีชีวิต ประกอบด้วย ต้นข้าว หนอน นก งู ตั๊กแตน ซึ่งอาศัยอยู่ร่วมกันได้ดี 1) โซ่อาหารของสิ่งมีชีวิตที่กำหนดให้เป็นอย่างไร 2) สายใยอาหารของสิ่งมีชีวิตที่กำหนดให้เป็นอย่างไร 3) สิ่งมีชีวิตชนิดใดในสภาพแวดล้อมแห่งนี้จัดเป็นผู้ผลิต ผู้บริโภค ผู้ล่า เหยื่อ และเป็นทั้งผู้ล่าและเหยื่อ
  • 64.
  • 65. ขั้นตอนการสร้างข้อสอบเขียนตอบแบบบรรยา ย การกำหนดเนื้อหาสาระเพื่อใช้เป็นปัญหาหรือคำถาม การตั้งปัญหาหรือคำถามควรหลีกเลี่ยงคำถามที่ให้เขียนสิ่งที่จดจำได้ การกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ข้อสอบแบบเขียนตอบทุกข้อควรมีแนวการตอบ เพื่อนำไปใช้ในการกำหนดเกณฑ์การประเมิน
  • 66. ตัวอย่าง จงตอบคำถามตามสถานการณ์ที่กำหนดให้ต่อไปนี้ ถ้าประชาชนที่อาศัยอยู่ในละแวกชุมชนแออัดแห่งหนึ่ง เทน้ำมันเหลือใช้ จากการทำอาหารในครัวเรือนลงในท่อน้ำทิ้ง ซึ่งไหลสู่แหล่งน้ำหลังบ้านเป็น ระยะเวลานาน ๆ จะเกิดผลต่อสิ่งมีชีวิตในแหล่งน้ำและสิ่งแวดล้อมอย่างไร เพราะเหตุใด
  • 67.
  • 68.
  • 69.
  • 70.
  • 71. แนวทางการให้คะแนนผังมโนทัศน์ 1. มโนทัศน์ที่เชื่อมโยงกันในผังมโนทัศน์ซึ่งสร้างได้ถูกต้อง ควรกำหนดให้ คะแนน 1 มโนทัศน์ ต่อ 1 คะแนน ถ้ามีการยกตัวอย่างหรือเหตุการณ์ประกอบก็ควรให้คะแนนเพิ่มขึ้นด้วย 2. การจัดลำดับขั้นตอนของการเชื่อมโยงระหว่างมโนทัศน์ได้ถูกต้อง ควรกำหนด คะแนนแต่ละขั้นอยู่ในช่วง 3 - 5 คะแนน 3. การเชื่อมโยงมโนทัศน์ระหว่างกลุ่มหรือใช้คำที่กำกับการเชื่อมโยงได้ถูกต้อง แสดงว่าผู้เรียนสามารถคิดได้อย่างซับซ้อน จึงควรกำหนด คะแนนการเชื่อมโยงระหว่างกลุ่มมโนทัศน์เป็น 5 - 10 คะแนน
  • 72. ตัวอย่าง จงเติมคำที่เหมาะสมลงในช่องว่างที่กำหนดหมายเลขในผังมโนทัศน์เรื่อง วัฏจักรของน้ำ พลังงานความร้อน แหล่งน้ำตามธรรมชาติ 5 1 2 3 4 ฝนตกลงมา รวมตัวเป็น ระเหย ทำให้น้ำเป็น เมฆ
  • 73. แนวการตอบ คำที่เติมในผังมโนทัศน์ตามหมายเลขต่าง ๆ มีดังนี้ (1) มหาสมุทร (2) แม่น้ำ (3) ทะเลสาบ (4) คลอง (5) ไอน้ำ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนนมโนทัศน์ 5 คะแนน กำหนดการให้คะแนน ดังนี้ มโนทัศน์ละ 1 คะแนน โดยมโนทัศน์ที่ 1, 2, 3 และ 4 สลับที่กันได้ ส่วนมโนทัศน์ที่ 5 ต้องจำเพาะกับหมายเลข
  • 74.
  • 75.
  • 76.
  • 77.
  • 78.
  • 79. ตัวอย่าง หัวข้อปัญหา ความรู้ ความคิด กระบวนการเรียนรู้ สาระสำคัญ ส่วนประกอบที่สำคัญของเซลล์พืช และเซลล์สัตว์ ได้แก่ นิวเคลียส ไซโทพลาสซึม เยื่อหุ้มเซลล์ ผนังเซลล์ และคลอโรพลาสต์ หลักการ 1. สิ่งมีชีวิตทุกชนิดประกอบด้วยหลายเซลล์ 2. เซลล์ประกอบกันเป็นโครงสร้างที่สามารถทำ กิจกรรมที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสิ่งมีชีวิต 3. กล้องจุลทรรศน์เป็นเครื่องมือสำหรับใช้ขยายวัตถุที่มีขนาดเล็ก 4. เทคนิคการย้อมสีช่วยให้มองเห็นส่วนประกอบของเซลล์ได้ง่าย มโนทัศน์ เซลล์ ผนังเซลล์ เยื่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาสซึม นิวเคลียส คลอโรพลาสต์ แวคิวโอล กล้องจุลทรรศน์ การย้อมด้วยไอโอดีน ใช้กล้องจุลทรรศน์ดูส่วนประกอบและโครงสร้างของเซลล์ที่ย้อมสี และวาดรูปเซลล์และชี้ส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ผลการเรียนรู้ บอกวิธีสังเกตความแตกต่างของ รูปร่างและส่วนประกอบระหว่าง เซลล์สาหร่ายยหางกระรอกและ เซลล์เยื่อบุข้างแก้มโดยใช้ กล้องจุลทรรศน์ กิจกรรมฝึกปฏิบัติ การสำรวจและสังเกตส่วนประกอบของเซลล์ด้วยกล้องจุลทรรศน์ การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. เซลล์สาหร่ายหางกระรอกและเซลล์เยื่อบุข้างแก้มมีรูปร่างต่างกัน 2. ส่วนประกอบภายในเซลล์ทั้ง 2 ชนิดแตกต่างกัน 3. เซลล์สาหร่ายหางกระรอกมีส่วนประกอบด้านโครงสร้างของเซลล์ต่างจากเซลล์เยื่อบุข้างแก้ม การบันทึกผล วาดรูปประกอบการอธิบายความแตกต่างของเซลล์สาหร่ายหางกระรอกและเซลล์เยื่อบุข้างแก้มที่เห็นจากกล้องจุลทรรศน์
  • 80.
  • 81. การประเมินผลการสำรวจตรวจสอบและการปฏิบัติการทดลอง การสำรวจตรวจสอบ เป็นการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ด้วยการสังเกตเพื่อให้ได้ข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ โดยใช้ทักษะต่าง ๆ การวัด การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ การจำแนกประเภท การสร้างความสัมพันธ์ การเรียงลำดับ การคำนวณ การนำเสนอผลงาน การสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้
  • 82. การปฏิบัติการทดลอง เป็นกระบวนการเรียนรู้เพื่อหาคำตอบหรือตรวจสอบสมมติฐานที่ตั้งไว้ ด้วยการใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การออกแบบวิธีการทดลอง การกำหนดตัวแปร การตั้งสมมติฐาน การเลือกและใช้เครื่องมือการทดลอง การปฏิบัติการทดลอง การบันทึกผลการทดลอง การสรุปผลการทดลอง
  • 83.
  • 84.
  • 85. เกณฑ์การประเมินผลแบบแยกตามองค์ประกอบย่อย ( ด้านที่ 1 การวางแผนวิธีการดำเนินการทดลอง ) ระดับคุณภาพ รายการประเมิน ไม่สามารถวางแผนและออกแบบการทดลอง ได้เอง ต้องให้ความช่วยเหลืออย่างมากใน การวางแผนและการออกแบบการทดลอง การเลือกใช้เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ วางแผนและออกแบบการทดลองได้ไม่ถูกต้องและไม่เหมาะสมกับเวลา ต้องให้ความช่วยเหลือในการเลือกใช้เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ 1 2
  • 86. เกณฑ์การประเมินผลแบบแยกตามองค์ประกอบย่อย ( ด้านที่ 1 การวางแผนวิธีการดำเนินการทดลอง ) ระดับคุณภาพ รายการประเมิน วางแผนและออกแบบการทดลองได้ถูกต้องและเหมาะสมกับเวลา แต่การเลือกใช้เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ยังไม่เหมาะสมหรือไม่ครบถ้วน วางแผนและออกแบบการทดลองได้ถูกต้อง เหมาะสมกับเวลา สามารถเลือกใช้เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ในการทดลองได้ถูกต้อง เหมาะสม ครบถ้วน 3 4
  • 87. เกณฑ์การประเมินผลแบบแยกตามองค์ประกอบย่อย ( ด้านที่ 2 การปฏิบัติการทดลอง ) ระดับคุณภาพ รายการประเมิน ต้องให้ความช่วยเหลือตลอดเวลาในการดำเนินการทดลองและการใช้อุปกรณ์ ต้องให้ความช่วยเหลือเป็นบางครั้งในการดำเนินการทดลองและการใช้อุปกรณ์ ดำเนินการทดลองได้เอง แต่ต้องการคำแนะนำ การใช้อุปกรณ์เป็นบางครั้ง 1 2 3
  • 88. เกณฑ์การประเมินผลแบบแยกตามองค์ประกอบย่อย ( ด้านที่ 2 การปฏิบัติการทดลอง ) ระดับคุณภาพ รายการประเมิน ดำเนินการทดลองเป็นขั้นตอน และใช้อุปกรณ์ ต่าง ๆ ได้เองอย่างถูกต้อง 4
  • 89. เกณฑ์การประเมินผลแบบแยกตามองค์ประกอบย่อย ( ด้านที่ 3 ความคล่องแคล่วในการทำการทดลอง ) ระดับคุณภาพ รายการประเมิน ทำการทดลองไม่ทันเวลาที่กำหนด และทำอุปกรณ์เครื่องใช้บางชิ้นชำรุดเสียหาย ทำการทดลองไม่ทันเวลาที่กำหนด แต่ใช้อุปกรณ์ได้ถูกต้องและไม่มีการเสียหาย ทำการทดลองและใช้อุปกรณ์ได้ทันเวลาที่กำหนด แต่ยังต้องการคำแนะนำการใช้อุปกรณ์บ้างเป็นครั้งคราว 1 2 3
  • 90. เกณฑ์การประเมินผลแบบแยกตามองค์ประกอบย่อย ( ด้านที่ 3 ความคล่องแคล่วในการทำการทดลอง ) ระดับคุณภาพ รายการประเมิน ดำเนินการทดลอง และใช้อุปกรณ์ทำการทดลองได้เหมาะสมและทำได้เสร็จทันเวลา 4
  • 91. เกณฑ์การประเมินผลแบบแยกตามองค์ประกอบย่อย ( ด้านที่ 4 การนำเสนอ ) ระดับคุณภาพ รายการประเมิน ต้องให้ความช่วยเหลืออย่างมากในการบันทึกผลการทดลอง การสรุปผลการทดลอง รวมทั้งเขียนรายงานการทดลอง ต้องให้คำแนะนำเป็นบางครั้งในการบันทึกผล การทดลอง การสรุปผลการทดลอง รวมทั้งเขียนรายงานการทดลอง 1 2
  • 92. เกณฑ์การประเมินผลแบบแยกตามองค์ประกอบย่อย ( ด้านที่ 4 การนำเสนอ ) ระดับคุณภาพ รายการประเมิน บันทึกผลการทดลองและสรุปผลการทดลอง ได้เอง เขียนรายงานการทดลองยังไม่เป็นขั้นตอนที่สมบูรณ์ บันทึกผลการทดลองและสรุปผลการทดลอง ถูกต้อง รัดกุม เขียนรายงานการทดลองได้อย่างสมบูรณ์เป็นขั้นตอนที่ชัดเจน 3 4
  • 93. ตัวอย่าง การประเมินผลการออกแบบวิธีการทดลอง กำหนดวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ทดลองมาให้ ดังนี้ (1) ต้นไม้ปลูกในกระถาง 2 กระถาง (3) ปุ๋ย (2) น้ำ (4) ช้อนตักสาร จะ ออกแบบวิธีการทดลองอย่างไร เพื่อแสดงให้เห็นว่า น้ำ แสง และธาตุอาหารมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช กระถางที่ 1 กระถางที่ 2
  • 94.
  • 95.
  • 96. การประเมินผลการตั้งสมมติฐาน (1) ตั้งสมมติฐานการทดลองได้อย่างไรบ้าง (2) ตัวแปรของการทดลองนี้คืออะไร มีภาชนะลักษณะเดียวกัน ก ข ค และ ง ซึ่งบรรจุน้ำปริมาตรเท่ากัน หย่อนวัตถุตันที่มีมวลเท่ากันลงในภาชนะทั้ง 4 ใบ ดังรูป ก ค ง ข
  • 97. แนวการตอบ 1) สมมติฐานในการทดลอง การตั้งสมมติฐานที่เป็นไปได้อาจเขียนเป็นข้อความที่มี 2 ลักษณะ คือ (1) เขียนข้อความ “เหตุ” และตามด้วย “ผล” ดังนี้ “รูปร่างของวัตถุมีผลต่อการจมของวัตถุในของเหลว” หรือ (2) เขียนข้อความ “ผล” ก่อน แล้วตามด้วย “เหตุ” ที่ทำให้เกิดผลนั้น ดังนี้ “การจมของวัตถุในของเหลวขึ้นอยู่กับรูปร่างของวัตถุ” 2) ตัวแปร ตัวแปรต้น ( เหตุ ) คือ รูปร่างของวัตถุ ตัวแปรตาม ( ผล ) คือ การจมของวัตถุ ( ระยะเวลาในการจม , ลักษณะการจม ) ตัวแปรควบคุม คือ ชนิดของของเหลว ปริมาตรของของเหลวในภาชนะ ภาชนะที่บรรจุของเหลว ชนิดและมวลของวัตถุ และวิธีการปล่อยวัตถุ
  • 98.
  • 99. การประเมินผลการออกแบบการทดลอง จากผลการสังเกตข้างต้น ถ้าตั้งสมมติฐานว่า “ การ ให้อาหารแก่ไฮดราเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า ไฮดราจะมีจำนวนเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า ในเวลา 5 วัน” จะออกแบบการทดลองได้เป็นอย่างไร จงศึกษาการเจริญเติบโตของไฮดรา โดยสังเกตไฮดราทุกวันเป็นเวลา 10 วัน ในแต่ละวันมีการบันทึกจำนวนไฮดราทั้งหมดไว้ ผลที่สังเกตได้เป็นดังนี้ 20 ตัว 20 ตัว 20 ตัว 40 ตัว
  • 100. แนวการตอบ ผู้เรียนสามารถออกแบบการทดลองได้หลายแนวทาง ดังนี้ 1) จัดให้มีการเลี้ยงไฮดรา 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ให้อาหารตามปกติ และกลุ่มที่ 2 ให้อาหารเพิ่มเป็น 2 เท่า เปรียบเทียบผลการทดลองเมื่อใช้เวลาทดลอง 5 วัน 2) จัดให้มีการเลี้ยงไฮดรา 2 กลุ่ม ให้อาหารแตกต่างกัน โดยให้กลุ่มที่ 1 มากกว่า กลุ่มที่ 2 เป็น 2 เท่า สังเกตผลภายในเวลา 5 วัน 3) จัดให้มีการเลี้ยงไฮดรา โดยให้อาหารมากกว่าเดิม และนำออกมาสังเกตผลหลังจาก 5 วัน 4) จัดให้มีการเลี้ยงไฮดราและให้อาหารน้อยกว่าเดิมในเวลา 5 วัน บันทึกปริมาณ อาหารที่ให้แก่ไฮดราขนาดเล็กและขนาดใหญ่
  • 101.
  • 102. การประเมินผลการทำโครงงาน ประเภทของโครงงาน 1) โครงงานประเภทสำรวจ 2) โครงงานประเภททดลอง 3) โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ 4) โครงงานประเภททฤษฎี
  • 103. ขั้นตอนสำคัญในการทำโครงงาน 1) การกำหนดปัญหาและการทำความเข้าใจกับปัญหา 2) การวางแผนการทำโครงงาน 3) การลงมือทำโครงงาน 4) การเขียนรายงาน 5) การแสดงผลงาน
  • 104. ตัวอย่างการบันทึกการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ ระดับประถมศึกษา 1. ประเภทและชื่อโครงงาน 1.1 ประเภทโครงงาน โครงงานประเภททดลอง 1.2 ชื่อโครงงาน การแยกสีจากดอกกระเจี๊ยบเพื่อใช้ทำเป็นเครื่องดื่ม 2. สาระความรู้ (1) ดอกกระเจี๊ยบที่มีสีแดงนำมาสกัดสีได้ (2) น้ำที่อุณหภูมิต่างกันสกัดสีจากดอกกระเจี๊ยบได้ต่างกัน 3. ปัญหา สกัดสีจากดอกกระเจี๊ยบเพื่อนำมาทำเครื่องดื่มได้อย่างไร 3.1 จุดประสงค์ สามารถทำเครื่องดื่มจากดอกกระเจี๊ยบได้ 3.2 สมมติฐาน น้ำร้อนสามารถสกัดสีแดงจากดอกกระเจี๊ยบได้ดีกว่าน้ำเย็น
  • 105. 4. วิธีทดลอง 4.1 อุปกรณ์ที่ใช้ ดอกกระเจี๊ยบ บีกเกอร์ ที่จับภาชนะ ตะเกียงแอลกอฮอล์ ที่กั้นลม แท่งแก้วคน น้ำสะอาด เครื่องชั่ง ผ้าขาวบาง โกร่งบดหรือครกบด 4.2 ขั้นตอบการทดลอง (1) นำดอกกระเจี๊ยบมาตำในโกร่งบดหรือครกบดให้ละเอียด (2) ชั่งดอกกระเจี๊ยบที่บดละเอียด 20 กรัม ใส่ลงในบีกเกอร์ 3 ใบ ที่บรรจุน้ำ 50 มิลลิลิตร ซึ่งมีอุณหภูมิแตกต่างกัน ดังนี้ บีกเกอร์ใบที่ 1 วางไว้ในบรรยากาศปกติหรืออุณหภูมิห้อง บีกเกอร์ใบที่ 2 เติมน้ำแข็งลงไป 2 - 3 ก้อน บีกเกอร์ใบที่ 3 นำไปตั้งไฟให้เดือดประมาณ 5 นาที
  • 106. (3) คนดอกกระเจี๊ยบในน้ำทั้ง 3 บีกเกอร์ ประมาณ 5 นาที แล้วกรองด้วยผ้าขาวบาง (4) นำสารละลายที่กรองได้มาเปรียบเทียบความแตกต่างของสี 5. บันทึกผลการทดลอง สารละลายของดอกกระเจี๊ยบในน้ำ การเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้ 1. น้ำที่มีอุณหภูมิปกติ ( อุณหภูมิห้อง ) น้ำในบีกเกอร์มีสีแดง 2. น้ำที่มีน้ำแข็งอยู่ด้วย น้ำในบีกเกอร์มีสีส้ม 3. น้ำที่ต้มเดือด น้ำในบีกเกอร์มีสีแดงเข้ม
  • 107. 6. สรุปผลการทดลอง น้ำที่มีอุณหภูมิสูงสามารถสกัดสีแดงจากดอกกระเจี๊ยบได้ดีกว่าน้ำที่มีอุณหภูมิต่ำ 7. ประโยชน์ที่ได้รับ ได้เรียนรู้ถึงวิธีการที่เหมาะสมในการสกัดสีแดงจากดอกกระเจี๊ยบ 8. ข้อเสนอแนะ ควรศึกษาเพิ่มเติมถึงวิธีการสกัดสีจากพืชชนิดอื่น โดยนำส่วนประกอบต่าง ๆ ของพืชมาใช้สกัดสี เช่น ใบ ดอก ราก ลำต้น ผล 9. เอกสารอ้างอิง ( แหล่งค้นคว้าความรู้ ) หนังสือเกี่ยวกับการสกัดสีจากส่วนประกอบต่าง ๆ ของพืช
  • 108. แนวทางการให้คะแนน การให้คะแนนการทำโครงงานวิทยาศาสตร์มีเกณฑ์การประเมิน 2 แบบ 1. การให้คะแนนแบบภาพรวม เป็นการให้คะแนนในลักษณะของการสรุปผลการเรียนรู้ในส่วนที่เป็นประเด็นสำคัญ โดยไม่พิจารณาถึงองค์ประกอบย่อย 2. การให้คะแนนแบบแยกองค์ประกอบย่อย การให้คะแนนแบบนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินพัฒนาการเรียนรู้ของ ผู้เรียนในระหว่างการทำกิจกรรม จึงให้คะแนนแยกออกเป็นองค์ประกอบย่อยครอบคลุมทุกจุดประสงค์
  • 109.
  • 110. รายการประเมิน ระดับคุณภาพ 1. การกำหนดปัญหาและการตั้งสมมติฐาน ตัวอย่าง เกณฑ์ย่อย ที่ใช้ประเมินโครงงานวิทยาศาสตร์ - สมมติฐานไม่สอดคล้องกับปัญหา 1 - สมมติฐานสอดคล้องกับปัญหา แต่ไม่แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง เหตุและผล 2 - สมมติฐานสอดคล้องกับปัญหาและแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผล แต่ยังไม่ชัดเจน 3 - สมมติฐานสอดคล้องกับปัญหาและแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผล อย่างชัดเจน 4 2. ข้อมูลหรือข้อเท็จจริงประกอบการทำโครงงาน 3. การออกแบบการทดลอง
  • 111. 4. อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง 5. การดำเนินการทดลอง 6. การบันทึกข้อมูล 7. การจัดกระทำข้อมูล 8. การแปลความหมายข้อมูลและการสรุปผลของข้อมูล 9. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 10. การเขียนรายงานหรือการแสดงผลงาน
  • 112. การประเมินผลการทำแฟ้มสะสมงาน วัตถุประสงค์ของการจัดทำแฟ้มสะสมงาน 1. เพื่อจัดเก็บข้อมูลและสะสมงานของผู้เรียน 2. เพื่อใช้เป็นเครื่องมือประเมินการเรียนรู้ของผู้เรียน 3. เพื่อให้ผู้เรียนและผู้สอนได้เรียนรู้ร่วมกัน 4. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ประเมินตนเองและรู้จักตนเอง 5. เพื่อส่งเสริมให้มีการบูรณาการหลักสูตร กระบวนการ เรียนรู้ และการวัดผลประเมินผล
  • 113. ประเภทของแฟ้ม สะสมงาน 1. แฟ้มสะสมงานทั่วไป 2. แฟ้มสะสมงานเฉพาะ
  • 114. 1. แฟ้มสะสมงานทั่วไป เป็นแฟ้มสะสมงานที่เก็บรวบรวมผลงานที่ได้ทุกภาระงาน มีขั้นตอนในการจัดทำที่สำคัญ ดังนี้ 1) การรวบรวมผลงาน ( collection ) 2) การคัดเลือกผลงานเพื่อจัดประเภท ( selection ) 3) การประเมินผลงานที่สะท้อนให้เห็นสมรรถภาพตามมาตรฐาน ( reflection ) 4) การวางแผนการทำงานต่อไป ( projection )
  • 115. 2. แฟ้มสะสมงานเฉพาะ เป็นแฟ้มสะสมงานที่ประกอบด้วยผลงานที่มีลักษณะเฉพาะเรื่องใด เรื่องหนึ่งหรือเป็นพิเศษ มีขั้นตอนในการจัดทำที่สำคัญ ดังนี้ 1) การวางแผนดำเนินงาน ( investigation ) 2) การปฏิบัติการ ( research ) 3) การนำไปใช้ ( application ) 4) การขยายผลต่อเนื่อง ( open choice )
  • 116. ตัวอย่างแบบบันทึกการปฏิบัติงานที่จัดเก็บในแฟ้มสะสมงาน ชื่อผู้เรียน วันที่ ชื่อผลงานจากแฟ้มสะสมงาน คำชี้แจง (1) ใส่เครื่องหมาย / ใน เพื่อระบุประเภทของแฟ้มสะสมงานและ ประเภทของผลงาน (2) ศึกษาทบทวนการปฏิบัติงานและผลงานที่จัดไว้ในแฟ้มสะสมงานแล้ว ตอบคำถาม ประเภทของแฟ้มสะสมงาน แฟ้มสะสมงานทั่วไป แฟ้มสะสมงานเฉพาะ
  • 117.
  • 118. 3. แหล่งความรู้ : แหล่งข้อมูลความรู้ที่นำมาใช้เพื่อทำผลงานมีอะไรบ้างและนำมาใช้ อย่างไร อธิบาย 4. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ความเข้าใจ : ความรู้หรือประสบการณ์จากการทำงาน คืออะไร อธิบาย 5. ผลการเรียนรู้ด้านกระบวนการ : กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหาที่ได้ นำไปใช้มีอะไรบ้าง ให้อธิบายโดยการบอกปัญหาแต่ละปัญหาพร้อมขั้นตอนการ แก้ปัญหา อธิบาย
  • 119. 6. ทักษะการสื่อสาร : ให้สรุปผลเพื่อบอกให้ผู้อื่นรู้ว่าได้เรียนรู้อะไร และเรียนรู้อย่างไร อธิบาย 7. ความสามารถทางการเชื่อมโยงกับสังคม : ผลงานนี้เชื่อมโยงกับชีวิตประจำวันหรือ สาขาวิชาอื่นด้วยหรือไม่ อย่างไร อธิบาย 8. ข้อคิดเห็นเพิ่มเติม
  • 120.
  • 121.
  • 122.