SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 44
บทที่ 1
เริ่มต้นการใช้งาน
โปรแกรม Visual Basic (VB) เป็นโปรแกรมสำาหรับพัฒนาโปรแกรม
ประยุกต์ที่กำาลังเป็นที่ นิยมใช้อยู่ในปัจจุบัน โปรแกรม Visual Basic เป็น
โปรแกรมที่ได้เปลี่ยนรูปแบบการเขียนโปรแกรมใหม่ โดยมีชุดคำาสั่งมาสนับสนุ
นการทำางาน มีเครื่องมือต่าง ๆ ที่เรียกกันว่า คอนโทรล(Controls) ไว้สำาหรับ
ช่วยในการออกแบบโปรแกรม โดยเน้นการออกแบบหน้าจอแบบกราฟฟิก หรือ
ที่เรียกว่า Graphic User Interface (GUI) ทำาให้การจัดรูปแบบหน้าจอเป็นไป
ได้ง่าย และในการเขียนโปรแกรมนั้นจะเขียนแบบ Event - Driven
Programming คือ โปรแกรมจะทำางานก็ต่อเมื่อเหตุการณ์ (Event) เกิดขึ้น
ตัวอย่างของเหตุการณ์ได้แก่ ผู้ใช้เลื่อนเมาส์ ผู้ใช้กดปุ่มบนคีย์บอร์ด ผู้ใช้กดปุ่ม
เมาส์ เป็นต้น
เครื่องมือ หรือ คอนโทรล ต่าง ๆ ที่ Visual Basic ได้เตรียมไว้ให้ ไม่ว่า
จะเป็น Form TextBox Label ฯลฯ ถือว่าเป็นวัตถุ (Object ในที่นี้ขอใช้คำาว่า
ออบเจ็กต์) นั่นหมายความว่า ไม่ว่าจะเป็นเครื่องมือใด ๆ ใน Visual Basic จะ
เป็นออบเจ็กต์ทั้งสิ้น สามารถที่จะควบคุมการทำางาน แก้ไขคุณสมบัติของออบ
เจ็กต์นั้นได้โดยตรง ในทุกๆ ออบเจ็กต์จะมีคุณสมบัติ (properties) และเมธอด
(Methods) ประจำาตัว ซึ่งในแต่ละออบเจ็กต์ อาจจะมีคุณสมบัติและเมธอดที่
เหมือน หรือต่างกันก็ได้ ขึ้นอยู่กับชนิดของออบเจ็กต์
ในการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ด้วย Visual Basic การเขียนโค้ดจะถูก
แบ่งออกเป็นส่วนๆ เรียกว่า โพรซีเดอร์ (procedure) แต่ละโพรซีเดอร์จะ
ประกอบไปด้วย ชุดคำาสั่งที่พิมพ์เข้าไปแล้ว ทำาให้คอนโทรลหรือออบเจ็กต์นั้น ๆ
ตอบสนองการกระทำาของผู้ใช้ ซึ่งเรียกว่าการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object
Oriented Programming-OOP) แต่ตัวภาษา Visual Basic ยังไม่ถือว่า
เป็นการเขียนโปรแกรมแบบ OOP อย่างแท้จริง เนื่องจากข้อจำากัดหลายๆ อย่าง
ที่ Visual Basic ไม่สามารถทำาได้
เข้าสู่โปรแกรม Visual Basic
เมื่อเข้าสู่โปรแกรม Visual Basic จะแสดงกรอบโต้ตอบสำาหรับเลือกชนิดของ
โปรแกรมประยุกต์ ที่ต้องการ
รูปที่ 1-1 กรอบโต้ตอบเมื่อเริ่มเปิด Visual Basic
ใช้พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ทั่ว ๆ ไป
ใช้พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ที่สามาระใช้งานและเชื่อมโยงกับโปรแกรม
ประยุกต์อื่น ๆ ที่สนับสนุนเทคโนโลยี ActiveX
เป็นโปรแกรมประยุกต์ชนิดเดียวกันกับ ActiveX.EXE แต่จะเก็บเป็น
ไฟล์ไลบราลี่ไม่สามารถประมวลผลได้ด้วยตัวมันเอง จะต้องถูกเรียกใช้
งานจากโปรแกรมประยุกต์อื่น ๆ
ใช้สร้างคอนโทรล ActiveX ขึ้นมาใช้งานเอง
2
เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้สามารถสร้างโปรแกรมประยุกต์ได้อย่างรวดเร็ว
โดยจะสร้างองค์ประกอบเบื้องต้นหลัก ๆ ของโปรแกรมประยุกต์ จากขั้น
ตอนที่ได้เลือกไว้
ใช้สำาหรับสร้างโปรแกรมการจัดการต่าง ๆ เช่น การติดต่อกับฐาน
ข้อมูล เป็นต้น
เป็นชนิดโปรเจ็กต์ที่เป็นแบบฟอร์ม เพื่อติดต่อกับฐานข้อมูลโดยผ่าน
ทางคอนโทรล ADO Data Control
โปรแกรมประยุกต์ชนิดที่ใช้กับ Web Server
ใช้สำาหรับเพิ่มเติม utility เข้าไปใน Visual Basic เพื่อเพิ่มความ
ประสิทธิภาพ
ใช้สร้างโปรแกรมประยุกต์ที่ประมวลผลบน Internet จะเก็บอยู่ในรูป
ไฟล์ .dll ไม่สามารถประมวลผลได้ด้วยตัวมันเอง ต้องให้โปรแกรม
ประยุกต์อื่น ๆ ที่สนับสนุนเทคโนโลยี ActiveX เรียกใช้งาน เช่น
Internet Explorer เป็นต้น
ใช้สร้างโปรแกรมประยุกต์ชนิดที่ประมวลผลบน Internet เช่นกัน แต่
จะเก็บอยู่ในรูปไฟล์ .exe สามารถประมวลผลได้ด้วยตัวเอง แต่ server
จะต้องสนับสนุนเทคโนโลยี ActiveX ด้วยเช่นกัน เช่น Internet
Explorer เป็นต้น
ใช้พัฒนาโปรแกรมประยุกต์รูปแบบของเอกสาร Dynamic HTML ซึ่ง
จะเป็นมาตรฐานใหม่ของการแสดงผลบน web
ใช้สำาหรับโหลด Visual Basic ในรูปแบบที่ใช้พัฒนาโปรแกรม
ประยุกต์ในระดับ Enterprise ซึ่ง Visual Basic จะเพิ่มคอนโทรล
ActiveX อีกจำานวนหนึ่งขึ้นมาโดยอัตโนมัติ
สำาหรับ แท็ป Existing ใช้สำาหรับเปิดโปรเจ็กต์ที่คุณมีอยู่แล้ว แต่ยังไม่เคยเปิด
ใช้
แท็ป Recent จะแสดงรายชื่อโปรเจ็กต์ที่เคยเรียกใช้แล้ว
3
เมื่อเลือกชนิดของโปรแกรมประยุกต์เป็นแบบ Standard EXE จะเข้าสู่หน้าต่าง
ของ Visual Basic ดังรูปที่ 1- 2
รูปที่ 1-2 หน้าต่างของ Visual Basic เมื่อเริ่มโปรแกรม
ในแต่ละส่วนของ Visual Basic จะมีหน้าที่แตกต่างกันไป ซึ่งในระหว่างการ
พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ จะต้องใช้ส่วนต่าง ๆ เหล่านี้ ในการพัฒนาโปรแกรม
ประยุกต์
ทูลบาร์ (Toolbars)
เป็นแถบสัญลักษณ์ที่ใช้สำาหรับเข้าถึงชุดคำาสั่งของ Visual Basic ได้ทันที โดย
จะนำาคำาสั่งที่ถูกใช้งานบ่อย ๆ มาแสดง
4
รูปที่ 1-3 Toolbars
ทูลบาร์สามารถแบ่งออกได้เป็น 4 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ
1. Standard Toolbars เป็นทูลบาร์มาตรฐานประกอบด้วยคำาสั่งที่เกี่ยวกับการ
จัดการ Project
2. Edit Toolbars เป็นทูลบาร์ที่ประกอบไปด้วยคำาสั่งที่ใช้สำาหรับช่วยในการ
เขียนโค้ดใน code editor
3. Debug Toolbars เป็นทูลบาร์ที่ประกอบไปด้วยคำาสั่งที่ใช้สำาหรับตรวจสอบ
การทำางานการประมวลผลโปรแกรม
4. Form Editor Toolbars เป็นทูลบาร์ที่ประกอบไปด้วยคำาสั่งที่ใช้สำาหรับ
ช่วยในการปรับขนาด, ย้าย, เปลี่ยนตำาแหน่งคอนโทรลต่าง ๆ ที่อยู่บนฟอร์ม
Toolboxs
คือแถบสัญลักษณ์ Controls ต่าง ๆ ที่ใช้สำาหรับพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ แบ่ง
เป็น 2 กลุ่ม คือ
รูปที่ 1-4
Toolboxs
1. คอนโทรลภายใน (Intrinsic controls) เป็นชุด
คอนโทรลมาตรฐานของ Visual Basic ทุก ๆ ครั้งที่มีการ
เรียกใช้ Form เพื่อสร้างโปรแกรมประยุกต์ คอลโทรลชุดนี้
จะถูกเรียกขึ้นมาอัตโนมัติ สามารถเลือกใช้งานคอลโทรล
กลุ่มนี้ได้ทันที
5
รูปที่ 1-5 แสดงรายการคอนโทรล ActiveX เพิ่ม
เติม
2. คอนโทรล ActiveX
(ActiveX controls) เป็นชุด
คอนโทรลเพิ่มเติมที่ไมโคร
ซอฟท์จัดเตรียมไว้ เพื่อเพิ่มขีด
ความสามารถในการพัฒนา
โปรแกรมประยุกต์ การเพิ่ม
คอนโทรลกลุ่มนี้เข้ามาในทูล
บ๊อกซ์ทำาโดยเลือกเมนู
Project/Components (หรือ
คลิ๊กขวาตรงแถบ
ทูลบ๊อกซ์เลือกคำาสั่ง
Form Designer
เป็นส่วนที่ใช้ออกแบบการแสดงผลส่วนที่ใช้ติดต่อกับผู้ใช้ ฟอร์มเป็นออบเจ็กต์
แรกที่ถูกเตรียมไว้ให้ใช้งาน คอลโทรลทุกตัวที่ต้องการใช้งานจะต้องนำาไป
บรรจุไว้ในฟอร์ม นำาคอลโทรลมาประกอบกันขึ้นเป็นโปรแกรมประยุกต์ ทุกครั้ง
ที่เปิด Visual Basic ขึ้นมา หรือ สร้าง Project ใหม่จะมีฟอร์มว่าง 1 ฟอร์มถูก
สร้างเตรียมไว้เสมอ
6
รูปที่ 1-6 Form Designer
Project Explorer
Project Explorer ใช้สำาหรับบริหารและจัดการโปรเจ็กซ์ โดยจะแสดงองค์
ประกอบของแต่ละโปรเจ็กต์แบบโครงร่างต้นไม้ (tree-view)ตัวโปรเจ็กตจะ
หมายถึงโปรแกรมประยุกต์ซึ่งจะอยู่ส่วนบนสุด ถัดมา จะแสดงส่วนประกอบต่าง
ๆ ของโปรเจ็กต์นั้น ๆ ว่าประกอบด้วยอะไรบ้าง เช่น ฟอร์มโมดูล รายงาน
เป็นต้น ถ้ามี 2 โปรเจ็กต์ขึ้นไป ก็จะแสดง แยกออกเป็นส่วนต่างหากอีกโปร
เจ็กต์ ถ้าต้องการใช้งานส่วนใด ของโปรเจ็กต์ไหนก็สามารถคลิ๊กเลือกได้ทันที
รูปที่ 1-7 Project Explorer แบบโปรเจ็กต์เดียว และ แบบหลายโปรเจ็กต์
ส่วนประกอบของโปรเจ็กต์
Project(
n)
คือโปรแกรมประยุกต์ที่พัฒนาอยู่ มีนามสกุล .vbp
Form(n)
เป็นฟอร์มที่มีอยู่ในโปรเจ็กต์นั้น ๆ ใน 1 โปรเจ็กต์อาจมีมากกว่า 1
ฟอร์มก็ได้ มีนามสกุล .frm
7
Modules
เป็นที่เก็บชุดคำาสั่งที่คุณเขียนขึ้นมา โดยจะเก็บชุดคำาสั่งที่ใช้บ่อย ๆมี
นามสกุล .bas
Class
Modules
เป็นโมดูลชนิดพิเศษที่มีลักษณะเป็นอ๊อบเจ็กต์ ที่สามารถสร้างขึ้นมา
ได้ จะมีนามสกุล .cls
User
controls
เป็นส่วนที่เก็บคอนโทรล ActiveX ที่คุณสร้างขึ้นมา มีนามสกุล .ctl
Designe
rs
เป็นส่วนของรายงานที่ถูกสร้างขึ้นมีนามสกุลเป็น .dsr
Properties Window
หน้าต่างคุณสมบัติเป็นส่วนที่ใช้กำาหนดคุณสมบัติของออบเจ็กต์ที่ถูกเลือก
(adtive) หรือได้รับความสนใจ (focus) อยู่ขณะนั้น ซึ่งสามารถที่จะปรับ
เปลี่ยนค่าต่าง ๆ ของคอลโทรลเพื่อให้เกิดความเหมาะสมและตรงกับความ
ต้องการใช้งานได้ทันที
รูปที่ 1-8 Properties Window
ในหน้าต่างคุณสมบัติ จะประกอบไปด้วยแท็ป 2 แท็ป คือ
1. แท็ป Alphabetic เป็นแท็ปที่แสดงรายการคุณสมบัติ เรียงตามตัวอักษรใน
ภาษาอังกฤษ
2. แท็ป Categorized เป็นแท็ปที่แสดงรายการคุณสมบัติ โดยการจัดกลุ่มของ
คุณสมบัติที่มีหน้าที่คล้ายกัน หรือมีความสัมพันธ์กัน
หน้าต่าง Form Layout
8
เป็นส่วนที่แสดงให้เห็นตำาแหน่งของฟอร์ม และสามารถกำาหนดตำาแหน่งของ
ฟอร์ม ที่ปรากฎบนจอภาพในขณะประมวลผลได้ โดยการเคลื่อนย้ายฟอร์ม
จำาลอง ที่อยู่ในจอภาพจำาลองด้วยการ drag เมาส์ ไปยังตำาแหน่งทีคุณต้องการ
โดยจะมีผลในขณะประมวลผลเท่านั้น
รูปที่ 1-9 Form Layout
Immediate Window
เป็นหน้าต่างที่ให้ประโยชน์ ในกรณีทีคุณต้องการทราบผล การประมวลผลโดย
ทันที เช่น การทดสอบโปรแกรมย่อย ต่าง ๆ เป็นต้น เมื่อคุณสั่งประมวลผลโปร
เจ็กต์ หน้าต่างนี้จะปรากฎขึ้นโดยอัตโนมัติ
รูปที่ 1-10 Immediate Window
หน้าต่าง New Project
หน้าต่าง New Project จะปรากฎขึ้นมาเมื่อเลือกเมนู File/New Project
กรอบโต้ตอบนี้ จะแสดงชนิดของโปรแกรมประยุกต์ ที่คุณต้องการพัฒนา ซึ่งจะ
9
คล้ายกับตอนที่เปิดโปรแกรม Visual Basic ขึ้นมาครั้งแรก
รูปที่ 1-11 กรอบโต้ตอบ New Project
หน้าต่าง Code Editor
เป็นส่วนที่ใช้ในการเขียนชุดคำาสั่งสำาหรับการประมวลผล และควบคุมการ
ทำางานของคอลโทรลต่าง ๆ
รูปที่ 1-12 Code Editor
บทที่
2
รู้จักออบเจ็กต์และฟอร์ม
10
จากบทที่ 1 จะเห็นว่าเครื่องมือ หรือ คอนโทรล ต่าง ๆ ที่ Visual Basic
ได้เตรียมไว้ให้ ไม่ว่าจะเป็น Form, Textbox, Label, ฯลฯ ถือว่าเป็นวัตถุ ซึ่ง
เรียกว่า Object ในบทนี้เราจะมาทำาความเข้าใจกับ Object, Properties,
Method และ Event รวมทั้งทำาความรู้จักกับ Form และประเภทของ Form
ออบเจ็กต์ พร็อพเพอร์ตี้ และเมธอดของ คืออะไร
อ็อบเจ็กต์ (objects) คือสิ่งใด ๆ ก็ตาม ซึ่งมีคุณสมบัติ (Properties) ที่บ่ง
บอกความเป็นตัวเองในขณะนั้น และสามาระแสดงพฤติกรรม (Method) ของ
ตัวเองออกมาได้ เช่น คอนโทรลต่าง ๆ
คุณสมบัติ (properties) คือสิ่งที่สามารถบ่งบอกถึงความเป็นวัตถุ และอยู่
ภายในตัววัตถุซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้เช่น รูปร่าง ลักษณะ ความกว้าง
ความยาว ฯลฯ สำาหรับในแต่ละคอนโทรล หรือออบเจ็กต์ อาจจะมีคุณสมบัติที่
เหมือนกัน หรือต่างกันก็ได้ ขึ้นอยู่กับหน้าที่ของแต่ละคอนโทรล คอนโทรลหรือ
ออบเจ็กต์หนึ่ง ๆ จะมีคุณสมบัติมากมาย หลายอย่าง ยิ่งสามารถปรับแต่ง
คุณสมบัติให้ตรงกับความต้องการมากเพียงใด โปรแกรมประยุกต์ก็จะมี
ประสิทธิภาพมากขึ้นเท่านั้น ซึ่งถือได้ว่าเป็นจุดเริ่มต้นได้ดี ในการพัฒนา
โปรแกรมประยุกต์สามารถปรับแต่ง คุณสมบัติได้จากหน้าต่าง Properties หรือ
ปรับแต่งด้วยการเขียนโค้ดก็ได้จะมีคุณสมบัติบางตัว ที่ไมโครซอฟท์แนะนำาให้
ปรับแต่งด้วยการเขียนโค้ด และบางตัวปรับแต่งด้วยการแก้ไขในหน้าต่าง
Properties และในทางปฏิบัติไม่จำาเป็นต้องปรับแต่งทุก ๆ คุณสมบัติ เพราะ
Visual Basic ได้ตั้งค่าเริ่มต้น ไว้ให้แล้ว ซึ่งก็สามารถใช้งานได้ในระดับหนึ่ง
เมธอด (methods) หมายถึง อาการที่วัตถุใด ๆ แสดงออกมาหรือถูกให้
แสดงออกมาโดยพฤติกรรมใดๆ ของวัตถุนั้น จะมีผลเชื่อมโยงไปถึงข้อมูล
คุณลักษณะภายในวัตถุเองด้วย อาจกล่าวได้ว่า เป็นการควบคุมการทำางานของ
คอนโทรล หรือออบเจ็กต์นั่นเอง จะใช้จุดเป็นตัวคั่นระหว่างชื่อคอนโทรลกับ
เมธอด ซึ่งจะเห็นได้ว่า คุณสมบัติและเมธอดมีคามใกล้เคียงกันมาก เนื่องจากจะ
ใช้จุด . เป็นตัวแยกระหว่าง ชื่อคอนโทรลกับคุณสมบัติ หรือชื่อคอนโทรลกับ
เมธอด จะมีความแตกต่างกัน ในแง่ของการควบคุมคอนโทรล หรือออบเจ็กต์ ซึ่ง
จะได้ศึกษาในหัวข้อต่อ ๆ ไป
ฟอร์ม
ฟอร์ม (Form) คือ หน้าต่างที่ใช้สำาหรับแสดงผล โดยจะมี ActiveX Controls
ต่าง ๆ บรรจุอยู่ภานใน มีหน้าที่สำาหรับติดต่อกับผู้ใช้งาน โดย Form ก็ถือว่า
เป็นออบเจ็กต์ด้วย
11
ประเภทของฟอร์ม
ฟอร์มแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคือ
1. SDI Form (Single Document Interface Form) เป็นฟอร์มที่สามาระ
ทำางานได้อย่างอิสระ สามารถที่จะวางเครื่องมือต่าง ๆ ได้
รูปที่ 2-1 SDI Form
2. 2. MDI Form (Multiple Document Interface Form) เป็นฟอร์มที่ใช้
บรรจุ SDI Form ไว้ โดย SDI Form ที่จะบรรจุอยู่ภายใต้ MDI Form จะต้อง
กำาหนดคุณสมบัติของฟอร์มให้เป็น MDI child ก่อน สำาหรับ MDI Form จะ
สามารถวางเครื่องมือได้เพียงบางอย่างเท่านั้น
รูปที่ 2-2 MDI Form
ใน Project แต่ละ Project
นั้นจะมี SDI Form ได้ไม่จำากัด แต่จะมี MDI Form ได้เพียงแค่ 1 ฟอร์ม
12
เท่านั้น และสำาหรับ Project ใดก็ตามที่มีการเรียกใช้ MDI Form และได้
กำาหนดคุณสมบัติของ SDI Form ให้เป็น MDI Child เมื่อทำาการปิด MDI
Form แล้วนั้นจะมีผลทำาให้ SDI Form ที่เป็น MDI Child ถูกปิดตามไปด้วย
พร็อพเพอร์ตี้ที่สำาคัญของฟอร์ม
Name ใช้สำาหรับกำาหนดชื่อ
BackColor ใช้สำาหรับกำาหนดสีพื้น
BorderStyl
e
ใช้สำาหรับกำาหนดรูปแบบของเส้นขอบ
Caption
ใช้สำาหรับกำาหนดข้อความบน Title Bar ของ
Form
ControlBo
x
ใช้สำาหรับกำาหนดให้มีปุ่มควบคุมของ Form
Enabled
ใช้สำาหรับกำาหนดให้ Form สามารถใช้งานได้
หรือไม่
Font
ใช้สำาหรับกำาหนดตัวอักษรของข้อความอุปกรณ์
ต่าง ๆ ใน Form
ForeColor
ใช้สำาหรับกำาหนดสีตัวอักษรของข้อความอุปกรณ์
ต่าง ๆ ใน Form
MaxButton
ใช้สำาหรับกำาหนดให้มีปุ่มขยายขนาดของ Form
MDI Child
ใช้สำาหรับกำาหนดให้ Form มีคุณสมบัติเป็น
Form ย่อยของ MDI Form
MinButton ใช้สำาหรับกำาหนดให้มีปุ่มย่อขนาดของ Form
Moveable
ใช้สำาหรับกำาหนดให้ Form สามารถย้ายตำาแหน่ง
ได้หรือไม่
Picture ใช้สำาหรับกำาหนดรูปบน Form
ShowInTas
kbar
ใช้สำาหรับกำาหนดให้มีไอคอนแสดงบน Taskbar
StartUpPos
ition
ใช้สำาหรับกำาหนดตำาแหน่งการแสดง Form บน
จอภาพ
Visible ใช้สำาหรับกำาหนดให้ซ่อนหรือแสดง Form
13
WindowSta
te
ใช้สำาหรับกำาหนดขนาดของ Form เมื่อมีการ
ทำางาน
เมธอดที่สำาคัญของ Form
Hide เป็นการทำางานที่สั่งให้ซ่อน Form
Line เป็นการทำางานที่สั่งให้วาดเส้นลงบน Form
Move
เป็นการทำางานที่สั่งให้ Form ย้ายตำาแหน่งไปยัง
ตำาแหน่งที่กำาหนด
Print
เป็นการทำางานที่สั่งให้พิมพ์ Form ออกทาง
เครื่องพิมพ์
Show เป็นการทำางานที่สั่งให้แสดง Form
Unload
เป็นการทำางานที่สั่งให้ยกเลิกการใช้งานของ
Form
อีเวนต์ที่สำาคัญของ Form
Activate
จะเกิดขึ้นเมื่อเลือกใช้งาน Form กรณีที่มีการเปิด
Form หลาย ๆ Form พร้อมกัน
Initialize
จะเกิดขึ้นเมื่อ Form ถูกโหลดเข้าไปในหน่วยความ
จำา
Load
จะเกิดขึ้นเมื่อ Form แสดงผลหลังจากที่ถูกโหลด
เข้าไปในหน่วยความจำา
QueryUnlo
ad
จะเกิดขึ้นเมื่อมีการปิด Form
Terminate จะเกิดขึ้นเมื่อ Form ถูกลบออกจากหน่วยความจำา
Unload จะเกิดขึ้นเมื่อ Form ถูกยกเลิกการใช้งาน
การกำาหนดค่าพร็อพเพอร์ตี้ของ Form สามารถจะกำาหนดได้ 2 วิธีด้วยกันคือ
1. กำาหนดจาก Properties Window
14
รูปที่ 2-3 การกำาหนดค่าใน Properties Window
2. กำาหนดโดยการเขียนชุดคำาสั่งใน Code Editor
รูปที่ 2-4 การกำาหนดค่าใน Code Editor
15
บทที่ 3
ActiveX Control พื้นฐาน
ในการเขียนโปรแกรมเพื่อสร้างโปรแกรมประยุกต์ด้วย Visual Basic นั้น
ActiveX Control เป็นส่วนสำาคัญที่ทำาให้การพัฒนาโปรแกรมเป็นไปด้วยความ
รวดเร็ว ในบทนี้เราจะได้เรียนรู้การใช้งาน Control เรียนรู้เกี่ยวกับ พร็อพเพ
อร์ตี้ เมธอด และ อีเวนต์ ของ ActiveX Control พื้นฐาน ของ Visual Basic
การใช้งาน ActiveX Control
ActiveX Control คือเครื่องมือที่ Visual Basic ได้จัดเตรียมไว้ให้นักพัฒนา
โปรแกรมเพื่อใช้ในการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ ให้เกิดความง่ายและรวดเร็ว
ในการเขียนโปรแกรม โดย ActiveX Control พื้นฐานที่ Visual Basic
เตรียมไว้ที่ถูกนำามาใช้อยู่เสมอในการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์มีรายละเอียด
ดังนี้
16
รูปที่ 3-1 Toolboxs แสดง ActiveX Control พื้นฐานของ Visual Basic ที่
ใช้บ่อย
Label : แถบอักษร
แถบอักษร หรือ แถบข้อความ ใช้เพื่อแสดงข้อความ เมื่อแสดงผลจะไม่
สามารถพิมพ์แก้ไขข้อมูลได้ นอกจากจะเขียนชุดคำาสั่งกำาหนดให้มีการ
เปลี่ยนแปลง
พร็อบเพอร์ตี้ที่สำาคัญของ Label
Name ใช้สำาหรับกำาหนดชื่อ
Alignment ใช้สำาหรับกำาหนดตำาแหน่งของข้อมูลบน
AutoSize
ใช้สำาหรับกำาหนดขนาดของ Label ให้มีขนาดพอดี
กับข้อมูลอัตโนมัติ
BackColor ใช้สำาหรับกำาหนดสีพื้น
BackStyle
ใช้สำาหรับกำาหนดแบบของพื้นหลังให้เป็นแบบทึบหรือ
โปร่งใส
BorderStyle
ใช้สำาหรับกำาหนดรูปแบบของเส้นขอบ
Caption ใช้สำาหรับกำาหนดข้อความ
17
DataField ใช้สำาหรับกำาหนด Field ที่ต้องการเชื่อมต่อ
DataForma
t
ใช้สำาหรับกำาหนดรูปแบบของการแสดงผลข้อมูลใน
Label
DataSource
ใช้สำาหรับกำาหนดแหล่งข้อมูลหรือตารางที่ต้องการ
เชื่อมต่อ
Enabled ใช้สำาหรับกำาหนดให้สามารถใช้งานได้
Font ใช้สำาหรับกำาหนดรูปแบบตัวอักษร
ForeColor ใช้สำาหรับกำาหนดสีตัวอักษร
ToolTipTex
t
ใช้สำาหรับแสดงข้อความอธิบายเพิ่มเติม
Visible ใช้สำาหรับกำาหนดให้ซ่อนหรือแสดง Label
อีเวนต์ที่สำาคัญของ Label
Click
เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อมีการ Click Mouse ที่
Label
TextBox : กรอบข้อความ
กรอบข้อความใช้สำาหรับรับข้อมูล ขณะที่ทำาการประมวลผล
พร็อบเพอร์ตี้ที่สำาคัญของ TextBox
Name ใช้สำาหรับกำาหนดชื่อ
Alignment ใช้สำาหรับกำาหนดตำาแหน่งของข้อมูล
BackColor ใช้สำาหรับกำาหนดสีพื้น
BorderStyle
ใช้สำาหรับกำาหนดรูปแบบของเส้นขอบ
Caption ใช้สำาหรับกำาหนดข้อความ
18
DataField ใช้สำาหรับกำาหนด Field ที่ต้องการเชื่อมต่อ
DataForma
t
ใช้สำาหรับกำาหนดรูปแบบของการแสดงผลข้อมูลใน
TextBox
DataSource
ใช้สำาหรับกำาหนดแหล่งข้อมูลหรือตารางที่ต้องการ
เชื่อมต่อ
Enabled ใช้สำาหรับกำาหนดให้สามารถใช้งานได้
Font ใช้สำาหรับกำาหนดรูปแบบตัวอักษร
ForeColor ใช้สำาหรับกำาหนดสีตัวอักษร
Index
ใช้สำาหรับกำาหนดลำาดับสมาชิกของ TextBox กรณีที่
กำาหนดให้เป็น Array
Locked
ใช้สำาหรับกำาหนด TextBox สามารถพิมพ์ข้อมูลได้
หรือไม่
MaxLength
ใช้สำาหรับกำาหนดความยาวของข้อมูลตัวอักษรที่
สามารถพิมพ์ได้
MultiLine
ใช้สำาหรับกำาหนดให้ TextBox สามารถพิมพ์ได้
หลายบรรทัด
PasswordC
har
ใช้สำาหรับกำาหนดตัวอักษรที่ต้องการให้แสดงขณะที่
พิมพ์
ScrollBars ใช้สำาหรับกำาหนดให้มี Scroll bars ใน TextBox
TabIndex ใช้สำาหรับกำาหนดลำาดับของ Control ที่ใช้ใน Form
Text ใช้สำาหรับกำาหนดข้อความใน TextBox
ToolTipTex
t
ใช้สำาหรับแสดงข้อความอธิบายเพิ่มเติม
Visible ใช้สำาหรับกำาหนดให้ซ่อนหรือแสดง TextBox
เมธอดที่สำาคัญของ TextBox
SetFocus เป็นการกำาหนดให้รอรับข้อมูลที่ TextBox
อีเวนต์ที่สำาคัญของ TextBox
Change
เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อข้อมูลของ TextBox มี
การเปลี่ยนแปลง
GotFocus เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อ TextBox เริ่มถูกใช้งาน
KeyPress เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อมีการกดปุ่มใด ๆ บน
19
คีย์บอร์ด
LostFocus เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อ TextBox ถูกเลิกใช้งาน
Frame : กรอบ
ทำาหน้าที่แยกกลุ่มของ ActiveX Control ออกเป็นกลุ่ม ๆ โดย Frame จะ
สามารถบรรจุ Control ต่าง ๆ เอาไว้ภายในได้
พร็อบเพอร์ตี้ที่สำาคัญของ Frame
Name ใช้สำาหรับกำาหนดชื่อ
BackColor ใช้สำาหรับกำาหนดสีพื้น
BorderStyle
ใช้สำาหรับกำาหนดรูปแบบของเส้นขอบ
Caption ใช้สำาหรับกำาหนดข้อความ
Font ใช้สำาหรับกำาหนดรูปแบบตัวอักษร
ForeColor ใช้สำาหรับกำาหนดสีตัวอักษร
ToolTipTex
t
ใช้สำาหรับแสดงข้อความอธิบายเพิ่มเติม
Visiable ใช้สำาหรับกำาหนดให้ซ่อนหรือแสดง Frame
CommandButton : ปุ่มกด
ใช้สำาหรับรอรับการกดปุ่ม <Enter> หรือ คลิกเมาส์ เพื่อให้เกิดการทำางาน
บางครั้งเราจะเรียกสั้น ๆ ว่า Button
พร็อบเพอร์ตี้ที่สำาคัญของ CommandButton
Name ใช้สำาหรับกำาหนดชื่อ
BackColor ใช้สำาหรับกำาหนดสีพื้น
Caption ใช้สำาหรับกำาหนดข้อความ
Font ใช้สำาหรับกำาหนดรูปแบบตัวอักษร
Index
ใช้สำาหรับกำาหนดลำาดับสมาชิกของ
CommandButton กรณีที่กำาหนดให้เป็น Array
20
Picture ใช้สำาหรับกำาหนดรูปภาพบน CommandButton
Style
ใช้สำาหรับกำาหนดรูปแบบของปุ่มให้สามารถใช้งาน
Graphic ได้หรือไม่
TabIndex ใช้สำาหรับกำาหนดลำาดับของ Control ที่ใช้ใน Form
ToolTipTex
t
ใช้สำาหรับแสดงข้อความอธิบายเพิ่มเติม
Visiable
ใช้สำาหรับกำาหนดให้ซ่อนหรือแสดง
CommandButton
เมธอดที่สำาคัญของ CommandButton
SetFocus
เป็นการกำาหนดให้รอรับการ Click หรือ กดปุ่ม
<Enter> ที่ CommandButton
อีเวนต์ที่สำาคัญของ CommandButton
Click เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อมีการกดปุ่ม
GotFocus
เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อ CommandButton เริ่ม
ถูกใช้งาน
LostFocus
เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อ CommandButton ถูก
เลิกใช้งาน
CheckBox : ตัวเลือก
ใช้สำาหรับเลือกข้อมูลที่ต้องการ โดยจะเลือกหรือไม่ก็ได้ และสามารถเลือกได้
มากกว่า 1 ตัวเลือก
พร็อบเพอร์ตี้ที่สำาคัญของ CheckBox
Name ใช้สำาหรับกำาหนดชื่อ
Alignment ใช้สำาหรับกำาหนดตำาแหน่งของข้อมูลบน CheckBox
BackColor ใช้สำาหรับกำาหนดสีพื้น
Caption ใช้สำาหรับกำาหนดข้อความ
Font ใช้สำาหรับกำาหนดรูปแบบตัวอักษร
ForeColor ใช้สำาหรับกำาหนดสีตัวอักษร
Index
ใช้สำาหรับกำาหนดลำาดับสมาชิกของ CheckBox กรณี
ที่กำาหนดให้เป็น Array
Style ใช้สำาหรับกำาหนดรูปแบบของ CheckBox
21
TabIndex ใช้สำาหรับกำาหนดลำาดับของ Control ที่ใช้ใน Form
ToolTipTex
t
ใช้สำาหรับแสดงข้อความอธิบายเพิ่มเติม
Value ใช้สำาหรับกำาหนดค่าการเลือก
Visiable ใช้สำาหรับกำาหนดให้ซ่อนหรือแสดง CheckBox
เมธอดที่สำาคัญของ CheckBox
SetFocus
ใช้สำาหรับกำาหนดให้รอรับการเลือกข้อมูลที่
CheckBox
อีเวนต์ที่สำาคัญของ CheckBox
Click เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อมีการกดปุ่ม
GotFocus เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อ CheckBox เริ่มถูกใช้งาน
KeyPress
เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อมีการกดปุ่มใด ๆ บน
คีย์บอร์ด
LostFocus เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อ CheckBox ถูกเลิกใช้งาน
OptionButton : ตัวเลือกบังคับเลือก
ใช้บังคับเลือกข้อมูลโดยสามารถเลือกข้อมูลได้เพียงค่าเดียวในกลุ่มเดียวกัน
พร็อบเพอร์ตี้ที่สำาคัญของ OptionButton
Name ใช้สำาหรับกำาหนดชื่อ
Alignment
ใช้สำาหรับกำาหนดตำาแหน่งของข้อมูลบน
OptionButton
BackColor ใช้สำาหรับกำาหนดสีพื้น
Caption ใช้สำาหรับกำาหนดข้อความ
Font ใช้สำาหรับกำาหนดรูปแบบตัวอักษร
ForeColor ใช้สำาหรับกำาหนดสีตัวอักษร
Index
ใช้สำาหรับกำาหนดลำาดับสมาชิกของ OptionButton
กรณีที่กำาหนดให้เป็น Array
Style ใช้สำาหรับกำาหนดรูปแบบของ OptionButton
TabIndex ใช้สำาหรับกำาหนดลำาดับของ Control ที่ใช้ใน Form
ToolTipTex
t
ใช้สำาหรับแสดงข้อความอธิบายเพิ่มเติม
22
Value ใช้สำำหรับกำำหนดค่ำกำรเลือก
Visiable ใช้สำำหรับกำำหนดให้ซ่อนหรือแสดง OptionButton
เมธอดที่สำำคัญของ OptionButton
SetFocus
ใช้สำำหรับกำำหนดให้รอรับกำรเลือกข้อมูลที่
OptionButton
อีเวนต์ที่สำำคัญของ OptionButton
Click เป็นเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อมีกำรกดปุ่ม
GotFocus
เป็นเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อ OptionButton เริ่มถูก
ใช้งำน
KeyPress
เป็นเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อมีกำรกดปุ่มใด ๆ บน
คีย์บอร์ด
LostFocus
เป็นเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อ OptionButton ถูกเลิก
ใช้งำน
ComboBox : กล่องรำยกำรข้อมูล
ใช้สำำหรับกำรเลือกข้อมูลจำกรำยกำรข้อมูลที่มีอยู่ โดยจะไม่แสดงรำยกำร
ข้อมูลจนกว่ำจะ Click Mouse ที่ Drop Down จึงจะแสดงรำยกำรข้อมูลให้
เลือก
พร็อบเพอร์ตี้ที่สำำคัญของ ComboBox
Name ใช้สำำหรับกำำหนดชื่อ
BackColor ใช้สำำหรับกำำหนดสีพื้น
Font ใช้สำำหรับกำำหนดรูปแบบตัวอักษร
ForeColor ใช้สำำหรับกำำหนดสีตัวอักษร
Index
ใช้สำำหรับกำำหนดลำำดับสมำชิกของ ComboBox
กรณีที่กำำหนดให้เป็น Array
List ใช้สำำหรับใส่ระบุหรือกำำหนดตัวเลือก
ListIndex ใช้สำำหรับระบุลำำดับตัวเลือก
Locked
ใช้สำำหรับกำำหนดให้ ComboBox สำมำรถพิมพ์
หรือเลือกข้อมูล ได้หรือไม่ได้
Style ใช้สำำหรับกำำหนดรูปแบบของ ComboBox
TabIndex ใช้สำำหรับกำำหนดลำำดับของ Control ที่ใช้ใน Form
23
Text ใช้สำำหรับกำำหนดข้อควำมใน ComboBox
ToolTipTex
t
ใช้สำำหรับแสดงข้อควำมอธิบำยเพิ่มเติม
Visiable ใช้สำำหรับกำำหนดให้ซ่อนหรือแสดง ComboBox
เมธอดที่สำำคัญของ ComboBox
AddItem เป็นคำำสั่งสำำหรับเพิ่มตัวเลือกเข้ำไปใน ComboBox
Clear เป็นคำำสั่งสำำหรับลบข้อมูลทั้งหมดใน ComboBox
RemoveIte
m
เป็นคำำสั่งสำำหรับลบข้อมูลโดยต้องระบุลำำดับของ
ข้อมูลที่ต้องกำรลบ
SetFocus
ใช้สำำหรับกำำหนดให้รอรับกำรเลือกข้อมูลที่
ComboBox
อีเวนต์ที่สำำคัญของ ComboBox
Change
เป็นเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อข้อมูลของ ComboBox มี
กำรเปลี่ยนแปลง
Click
เป็นเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อมีกำรกดปุ่มเลื่อนตำำแหน่ง
หรือ Click Mouse
GotFocus
เป็นเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อ ComboBox เริ่มถูกใช้
งำน
KeyPress
เป็นเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อมีกำรกดปุ่มใด ๆ บน
คีย์บอร์ด
LostFocus
เป็นเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อ ComboBox ถูกเลิกใช้
งำน
ListBox : กล่องรำยกำรข้อมูล
ใช้สำำหรับเลือกข้อมูลจำกรำยกำรข้อมูลที่มีอยู่
พร็อบเพอร์ตี้ที่สำำคัญของ ListBox
Name ใช้สำำหรับกำำหนดชื่อ
BackColor ใช้สำำหรับกำำหนดสีพื้น
Font ใช้สำำหรับกำำหนดรูปแบบตัวอักษร
ForeColor ใช้สำำหรับกำำหนดสีตัวอักษร
24
Index
ใช้สำำหรับกำำหนดลำำดับสมำชิกของ ListBox กรณีที่
กำำหนดให้เป็น Array
List ใช้สำำหรับใส่ระบุหรือกำำหนดตัวเลือก
ListIndex ใช้สำำหรับระบุลำำดับตัวเลือก
Locked
ใช้สำำหรับกำำหนดให้ ListBox สำมำรถพิมพ์ หรือ
เลือกข้อมูล ได้หรือไม่ได้
Style ใช้สำำหรับกำำหนดรูปแบบของ ListBox
TabIndex ใช้สำำหรับกำำหนดลำำดับของ Control ที่ใช้ใน Form
Text ใช้สำำหรับกำำหนดข้อควำมใน ListBox
ToolTipTex
t
ใช้สำำหรับแสดงข้อควำมอธิบำยเพิ่มเติม
Visiable ใช้สำำหรับกำำหนดให้ซ่อนหรือแสดง ListBox
เมธอดที่สำำคัญของ ListBox
AddItem เป็นคำำสั่งสำำหรับเพิ่มตัวเลือกเข้ำไปใน ListBox
Clear เป็นคำำสั่งสำำหรับลบข้อมูลทั้งหมดใน ListBox
RemoveIte
m
เป็นคำำสั่งสำำหรับลบข้อมูลโดยต้องระบุลำำดับของ
ข้อมูลที่ต้องกำรลบ
SetFocus ใช้สำำหรับกำำหนดให้รอรับกำรเลือกข้อมูลที่ ListBox
อีเวนต์ที่สำำคัญของ ListBox
Change
เป็นเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อข้อมูลของ ListBox มีกำร
เปลี่ยนแปลง
Click
เป็นเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อมีกำรกดปุ่มเลื่อนตำำแหน่ง
หรือ Click Mouse
GotFocus เป็นเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อ ListBox เริ่มถูกใช้งำน
KeyPress
เป็นเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อมีกำรกดปุ่มใด ๆ บน
คีย์บอร์ด
LostFocus เป็นเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อ ListBox ถูกเลิกใช้งำน
25
Image : รูปภำพ
ใช้สำำหรับแสดงรูปภำพ
พร็อบเพอร์ตี้ที่สำำคัญของ Image
Name ใช้สำำหรับกำำหนดชื่อ
BorderStyleใช้สำำหรับกำำหนดรูปแบบของเส้นขอบ
Index
ใช้สำำหรับกำำหนดลำำดับสมำชิกของ Image กรณีที่
กำำหนดให้เป็น Array
Picture ใช้สำำหรับกำำหนดรูปภำพบน Image
Stretch
ใช้สำำหรับกำำหนดให้ปรับขนำดของรูปภำพให้พอดีกับ
ขนำดของ Image
ToolTipTex
t
ใช้สำำหรับแสดงข้อควำมอธิบำยเพิ่มเติม
Visiable ใช้สำำหรับกำำหนดให้ซ่อนหรือแสดง Image
อีเวนต์ที่สำำคัญของ Image
Click
เป็นเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อมีกำร Click Mouse ที่
Image
Timer : เวลำ
ใช้สำำหรับกำำหนดกำรทำำงำนของ Control ที่ต้องกำรให้ทำำงำนตำมช่วงเวลำ
พร็อบเพอร์ตี้ที่สำำคัญของ Timer
Name ใช้สำำหรับกำำหนดชื่อ
Interval ใช้สำำหรับกำำหนดช่วงเวลำ
อีเวนต์ที่สำำคัญของ Timer
Timer เป็นเหตุกำรณ์เกิดขึ้นเมื่อเวลำเปลี่ยน
26
บทที่ 4
กำรสร้ำง Application
เป็นที่ทรำบดีว่ำหลักกำรของกำรพัฒนำโปรแกรมประยุกต์ด้วย Visual
Basic ก็คือ กำรสร้ำงองค์ประกอบต่ำง ๆ ของโปรแกรมประยุกต์ด้วยคอนโทรล
โดยมีรูปแบบที่สื่อด้วยภำพ หรือ ที่เรียกกันติดปำกว่ำ กำรออกแบบอินเตอร์เฟส
ต่อมำก็คือกำรเขียนชุดคำำสั่งเพื่อรองรับเหตุกำรณ์ต่ำงๆ ที่อำจเกิดขึ้นได้ ซึ่งจะ
แบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอนใหญ่ ๆ คือ
1. เลือกชนิดของโปรแกรมประยุกต์
2. สร้ำงยูสเซอร์อินเตอร์เฟส (หรือส่วนติดต่อกับผู้ใช้ อำจเรียกสั้นๆว่ำ
อินเตอร์เฟส)
3. เขียนชุดคำำสั่งเพื่อรองรับเหตุกำรณ์ต่ำงๆ ที่อำจเกิดขึ้นกับแต่ละคอนโทรล
หรืออ็อบเจกต์
4. กำรทดสอบ ตรวจสอบ และดักจับข้อผิดพลำด
5. คอมไพล์โปรเจ็กต์ให้เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่สมบูรณ์ (เช่น *.exe หรือ
*.dll เป็นต้น)
กำรใช้งำนคอนโทรลในกำรสร้ำงอินเตอร์เฟส
จุดเริ่มต้นของกำรพัฒนำโปรแกรมประยุกต์ด้วย Visual Basic ก็คือกำรนำำ
คอนโทรลชนิดต่ำงๆ ที่ Visual Basic จัดเตรียมไว้นำำมำสร้ำงอินเตอร์เฟส กำร
พัฒนำโปรแกรมประยุกต์ที่ดี ทำำได้โดยกำรออกแบบอินเตอร์เฟสที่ใช้งำนง่ำย
เป็นมิตรกับผู้ใช้ จะส่งผลให้ระยะเวลำในกำรพัฒนำโปรแกรมประยุกต์ลดลงไป
ได้มำกทีเดียว เพรำะสิ่งที่เหลืออยู่คือกำรเขียนโค้ดเพื่อทำำให้โปร เจ็กต์ทำำงำน
ให้สมบูรณ์มำกที่สุด
กำรนำำคอนโทรลมำใช้งำน
สำำหรับวิธีกำรนำำคอนโทรลมำใช้งำน วำดอินเตอร์เฟสบนฟอร์ม มี 2 วิธี คือ
1. คลิ๊กที่ตัวคอนโทรลนั้น ๆ บน ToolBox แล้วนำำไปวำดบนฟอร์ม
2. ดับเบิลคลิ๊กที่ตัวคอนโทรลนั้นเลย แล้ว Visual Basic จะนำำคอนโทรลไปวำง
บนฟอร์มให้โดยอัตโนมัติ ซึ่ง Visual Basic จะตั้งค่ำ default ไว้ให้ทั้ง
ตำำแหน่ง และขนำดของคอนโทรล แล้วค่อยแก้ในภำยหลัง สำำหรับคอนโทรล
CommandButton อำจใช้ขนำดที่ Visual Basic ตั้งมำไปใช้งำนเลยก็ได้
เพรำะมีขนำดเหมำะสมอยู่แล้ว
พื้นฐำนกำรเขียนโค้ด
มี 2 วิธีที่สำมำรถเรียก editor ขึ้นมำใช้งำนคือ
1. ดับเบิลคลิ๊กที่ตัวคอนโทรลนั้น ๆ
27
2. คลิ๊กที่คอนโทรลนั้น ให้อยู่ในสภำพใช้งำน (active) หรือได้รับควำม
สนใจ(focus) แล้วกด F7
กำรใช้งำน Editor
Editor ถือได้ว่ำเป็นส่วนที่มีควำมสำำคัญมำกอีกส่วนหนึ่งในบรรดำเครื่องมือที่
Visual Basic มี เพรำะใช้สำำหรับเขียนโค้ดให้โปรแกรมประยุกต์ทำำงำนได้
เครื่องมือตัวนี้ต้องใช้งำนมำกที่สุด ในขบวนกำรพัฒนำโปรกแกรมประยุกต์ด้วย
Visual Basic กำรศึกษำสภำพแวดล้อมของ Editor จึงมีควำมสำำคัญเป็นอย่ำง
ยิ่ง สำมำรถแยกส่วนต่ำงๆ ของ Editor ออกได้เป็น 3 ส่วนดังนี้
1. ส่วน Object List Box มีหน้ำที่แสดงชื่อคอนโทรลหรืออ็อบเจกต์ที่ถูกนำำมำ
ใช้งำน
2. ส่วน Event List Box มีหน้ำที่แสดงเหตุกำรณ์ (Event) ของคอนโทรลที่ถูก
เลือกใน Object List Box
3. ส่วนกำรเขียนโค้ด เมื่อเลือกคอนโทรลใน Object List Box และเลือก
เหตุกำรณ์ใน Event List Box แล้ว Visual Basic จะสร้ำงโพรซีเดอร์
(Procedure) ให้อัตโนมัติ
รูปที่ 4-1 Editor
ควำมสำมำรถพิเศษของ Editor
ในกำรใช้งำน Editor เมื่อพิมพ์ชื่อคอนโทรลแล้วพิมพ์ Editor จะแสดง
ToolTip ที่เป็นรำยกำรพร็อพเพอร์ตี้หรือรำยกำรเมธอดที่คอนโทรลนั้น
สนับสนุนอยู่ขึ้นมำทันที ช่วยให้ไม่ต้องจำำว่ำคอนโทรลนี้มีพร็อพเพอร์ตี้หรือมี
เมธอดอะไรบ้ำง รวมถึงป้องกันไม่ให้พิมพ์ผิดอีกด้วย และถ้ำมีกำรเรียกใช้งำน
28
ฟังก์ชันมำตรฐำนต่ำง ๆ ToolTip ก็จะแสดงรูปแบบไวยำกรณ์ของฟังก์ชันนั้นๆ
ให้ทันทีเช่นกัน
ควำมสำมำรถของ Editor อีกอย่ำงก็คือสำมำรถตรวจสอบไวยำกรณ์ (Syntax)
ตำมโครงสร้ำงของภำษำ Visual Basic ได้อีกด้วย โดยขณะที่พิมพ์โค้ดเข้ำไป
เมื่อกด Enter จบบรรทัด Visual Basic จะทำำงำนตรวจสอบไวยำกรณ์ทันที ถ้ำ
มีข้อผิดพลำด ในกำรใช้งำนไวยำกรณ์เกิดขึ้น Visual Basic จะแสดงข้อควำม
ช่วยเหลือที่เกี่ยวข้องควำมผิดพลำดนั้นๆ ขึ้นมำทันที
กำรใช้ MessageBox
MessageBox เป็นเครื่องมือที่ใช้โต้ตอบกับผู้ใช้ โดยจะแสดงข้อมูลเพียงอย่ำง
เดียว แล้วให้ผู้ใช้ Click ปุ่มเลือกในกรณีที่ต้องกำรให้ผู้ใช้เลือกตอบ
รูปแบบกำรใช้งำน
MsgBox Prompt[,Buttons][,Title]
Prompt คือข้อควำมที่ต้องกำรแสดงใน
MessageBox ในกรณีที่ต้องกำร
แสดงข้อมูลหลำยบรรทัดทำำได้โดยเชื่อมกับ
chr(13)
Buttons คือส่วนที่ใช้กำำหนดกำรแสดงปุ่มและกำำหนด
รูปไอคอนบน
MessageBox
Title คือส่วนของข้อควำมที่ต้องกำรแสดงบนแถบ
ด้ำนบนของ
MessageBox
กำรกำำหนดปุ่มและไอคอนของปุ่มสำมำรถทำำได้โดยกำรระบุค่ำคงที่ของแต่ละ
อย่ำงเชื่อมด้วยเครื่องหมำย + ซึ่งรำยละเอียดของค่ำคงที่สำมำรถใช้งำนได้มี
ดังนี้
กลุ่มที่ใช้สำำหรับกำำหนดปุ่มที่จะแสดงใน MessageBox
ค่ำคงที่ รำยละเอียด
VbOKOnly แสดงปุ่ม OK ปุ่มเดียว
VbOKCancel แสดงปุ่ม OK และ Cancel
VbYesNo แสดงปุ่ม Yes และ No
29
VbYesNoCancel แสดงปุ่ม Yes No และ Cancel
VbAbortRetrylgno
re
แสดงปุ่ม Abort Retry และ lgnore
VbRetryCancel แสดงปุ่ม Retry และ Cancel
กลุ่มที่ใช้สำำหรับกำำหนดไอคอนที่จะแสดงใน MessageBox
ค่ำคงที่ รำยละเอียด
VbCritical แสดงไอคอน Critical Message
VbExclamation แสดงไอคอน Earning Message
Vblnformation แสดงไอคอน Information Message
VbQuestion แสดงไอคอน Question Message
กลุ่มที่ใช้สำำหรับกำำหนดปุ่มเริ่มต้น
ค่ำคงที่ รำยละเอียด
VbDefaul
tButton1
กำำหนดให้ปุ่มแรก
เป็นปุ่มเริ่มต้น
VbDefaul
tButton2
กำำหนดให้ปุ่มที่ 2
เป็นปุ่มเริ่มต้น
VbDefaul
tButton3
กำำหนดให้ปุ่มที่ 3
เป็นปุ่มเริ่มต้น
VbDefaul
tButton4
กำำหนดให้ปุ่มที่ 4
เป็นปุ่มเริ่มต้น
กำรใช้ InputBox
30
InputBox เป็นเครื่องมือที่ใช้รับข้อมูลโดยให้ผู้ใช้ป้อนข้อมูลลงไป แล้วเก็บ
ข้อมูลนั้นไว้ในตัวแปร
รูปแบบกำรใช้งำน
InputBox(Prompt[,Title][,Default])
Prompt คือข้อควำมที่ต้องกำรแสดงใน InputBox ใน
กรณีที่ต้องกำร แสดงข้อมูล
หลำยบรรทัดทำำได้โดยเชื่อมกับ chr(13)
Title คือส่วนของข้อควำมที่ต้องกำรแสดงบนแถบด้ำน
บนของ InputBox
Default คือค่ำที่กำำหนดให้กรณีที่ไม่มีกำรป้อนข้อมูลใน
InputBox
กำรสร้ำงเมนู
ในกำรพัฒนำโปรแกรมประยุกต์ 1 โปรแกรมจะประกอบไปด้วยฟอร์มจำำนวน
มำก ในกำรเรียกใช้งำนฟอร์มแต่ละฟอร์มจำำเป็นจะต้องมีเมนูมำช่วยจัดหมวดหมู่
ของฟอร์ม เพื่อให้ง่ำยต่อกำรใช้งำน กำรสร้ำงเมนูใน Visual Basic สำมำรถ
ทำำได้โดยเรียกใช้คำำสั่งสำำหรับสร้ำงเมนูโดย Chick ขวำบนฟอร์มที่ต้องกำร
สร้ำงเมนู เลือกคำำสั่ง Menu Editor
31
รูปที่ 4-2 กำรเรียกใช้งำน Menu Editor
รูปที่ 4-3 Menu Editor
รำยละเอียดต่ำง ๆ ของ Menu Editor
Caption ข้อควำมที่จะปรำกฏบนเมนู
Name ชื่อเมนู ห้ำมซำ้ำกัน
32
Index ใช้สำำหรับระบุลำำดับกรณีที่กำำหนดให้เป็นเมนูแบบ
อำร์เรย์
ShortCut ใช้สำำหรับกำำหนดคีย์ลัดในกำรเรียกใช้เมนู
Checked กำำหนดให้เป็นเมนูที่มีเครื่องหมำยถูกหน้ำเมนู
Enabled กำำหนดให้สำมำรถใช้งำนเมนูได้ถ้ำมีเครื่องหมำย
ถูก หรือ กำำหนดให้ค่ำเป็น True
Visible กำำหนดให้แสดงเมนูถ้ำมีเครื่องหมำยถูก หรือ
กำำหนดให้มีค่ำเป็น True
บทที่ 5
ข้อมูลและตัวแปร
ใบบทนี้จะเป็นกำรอธิบำยเกี่ยวกับชนิดของข้อมูล กำรใช้งำนตัวแปร และค่ำ
คงที่ ที่ใช้กับ Visual Basic ไม่ว่ำโปรแกรมประยุกต์ใด ภำษำใด สิ่งที่ต้องรู้เป็น
อันดับแรกๆ ก็คือ ตัวแปร ค่ำคงที่และ ชนิดของข้อมูล ของภำษำนั้น ๆ ซึ่งจะ
ทำำให้เห็นข้อจำำกัดต่ำงๆ ในภำษำนั้น ๆ ทำำให้สำมำรถใช้งำนได้อย่ำงถูกต้อง
และมีประสิทธิภำพ เพรำะตัวแปรและค่ำคงที่ถือได้ว่ำเป็นตัวแทนของข้อมูล ที่จะ
33
ต้องนำำไปใช้งำน ประมวลผล และแสดงสิ่งที่ได้จำกกำรประมวลผล
ชนิดของข้อมูล
Visual Basic มีชนิดของข้อมูลหลำยชนิด ไม่ว่ำจะเป็นตัวเลขจำำนวนเต็ม
ตัวเลขที่มีทศนิยม ข้อควำม ตัวเลขทำงกำรเงิน ค่ำทำงตรรกะ เป็นต้น ข้อมูล
แต่ละชนิด จะใช้พื้นที่ในกำรเก็บไม่เท่ำกัน รวมถึงควำมเร็วในกำรประมวลผลก็
แตกต่ำงกันด้วย สำมำรถแบ่งชนิดของข้อมูลที่ใช้กัน Visual Basic ได้ดัง
ตำรำงต่อไปนี้
ชนิดข้อมูล รำยละเอียด
หน่วย
ควำมจำำ
Boolean
เก็บค่ำทำงตรรกะที่ได้มี 2 ค่ำ คือ
true (จริง), false (เท็จ)
2 Bytes
Byte เก็บค่ำเลขจำำนวนเต็มตั้งแต่ 0-255 1 Byte
Currency
ใช้เก็บตัวเลขจำำนวนจริง มีค่ำ
ระหว่ำง -
922,337,203,685,477.5808
ถึง
922,337,203,685,477.5807
8 Bytes
Date ใช้สำำหรับเก็บวันที่และเวลำ 8 Bytes
Double
ใช้เก็บตัวเลขจำำนวนจริง แยกเป็น
2 กรณี คือ ค่ำบวกอยู่ระหว่ำง
4.94065645841247E-324 ถึง
1.79769313486232E308 ค่ำลบ
อยู่ระหว่ำง -
1.79769313486232E308 ถึง
-4.94065645841247E-324
8 Bytes
Integer
เก็บค่ำเลขจำำนวนเต็มที่มีค่ำระหว่ำง
-32768 ถึง 32767
2 Bytes
Long
ใช้เก็บเลขจำำนวนเต็มที่มีค่ำระหว่ำง
-2,147,483,648 ถึง
2,147,483,647
4 Bytes
Object
ใช้สำำหรับแทนวัตถุที่ Visual Basic
สนับสนุน
4 Bytes
Single ใช้เก็บตัวเลขจำำนวนจริง แยกเป็น
2 กรณี คือ ค่ำบวกอยู่ระหว่ำง
1.401298E-45 ถึง
3.402823E38 และค่ำลบอยู่
ระหว่ำง -3.402823E38 ถึง
4 Bytes
34
-1.401298E45
String
ใช้เก็บตัวอักษร ข้อควำม และ
ตัวเลข
1 ตัว/1
ไบต์
Variant
ข้อมูลพิเศษสำมำรถเก็บข้อมูลได้ทุก
ชนิด
16
Bytes
กำรประกำศค่ำตัวแปร (Variable Declaration)
ก่อนที่จะใช้งำนตัวแปร หรือค่ำคงที่ทุกครั้ง ควรประกำศตัวแปร (variable
declaration) ก่อน เพื่อให้ Visual Basic รู้ว่ำ ตัวแปรที่ต้องกำรใช้งำน ใช้
แทนข้อมูลชนิดใดถึงแม้ว่ำ Visual Basic อนุญำตให้ใช้งำนตัวแปรได้ โดยไม่
ต้องประกำศตัวแปร แต่ตัวแปรที่ได้จะใช้ทรัพยำกรระบบ มำกเกินควำมจำำเป็น
รวมถึงประมวลผลได้ช้ำ เพรำะจะเป็นตัวแปรที่สำมำรถแทนข้อมูลได้ทุกชนิด ซึ่ง
Visual Basic เรียกว่ำ ตัวแปรชนิด Variant ซึ่งควรหลีกเลี่ยงกำรใช้งำน
ตัวแปรชนิดนี้
รูปแบบคำำสั่งกำรประกำศตัวแปรของ Visual Basic
Dim varname As datatypes
Dim คือ คำำสั่ง (statements) สำำหรับประกำศตัวแปร
varname คือ ชื่อของตัวแปรที่ต้องกำรประกำศ
As คือ ส่วนที่บอกให้ Visual Basic ทรำบว่ำต้องกำร
กำำหนดชนิดของข้อมูล
datatypes คือ ชนิดของข้อมูลที่ Visual Basic สนับสนุน
ตัวอย่ำง
รูปที่ 5-1 กำรประกำศตัวแปร
35
กรณีที่ต้องกำรกำำหนดให้มีกำรประกำศตัวแปรทุกครั้งก่อนที่จะมีกำรเรียกใช้
ตัวแปร เพื่อหลีกเลี่ยงกำรใช้ตัวแปรชนิด Variant ให้พิมพ์คำำสั่ง Option
Explicit ไว้ข้ำงบนสุดก่อนพิมพ์คำำสั่งอื่น ๆ
กฎกำรตั้งชื่อตัวแปรและค่ำคงที่
1. ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะเท่ำนั้น
2. ควำมยำวของชื่อที่ตั้งสูงสุดไม่เกิน 255 ตัวอักษร
3. ชื่อที่ตั้ง ต้องไม่ซำ้ำกันคำำสงวน (Keywords) คำำสั่ง (Statements) ฟังก์ชัน
(Functions) หรืออื่น ๆ ที่ Visual Basic กำำหนดไว้
4. ห้ำมตั้งชื่อซำ้ำกันในโพรซีเดอร์เดียวกัน หรือในขอบเขตเดียวกัน
5. ห้ำมใช้เครื่องหมำยทำงคณิตศำสตร์, ตัวดำำเนินกำร (Operators) หรือ
เครื่องหมำยพิเศษ เช่น @, # มำตั้งชื่อ
6. ห้ำมมีช่องว่ำงในชื่อตัวแปรถ้ำต้องกำรเว้นว่ำงให้ใช้เครื่องหมำย _
(Underscore) เท่ำนั้น
กำรตั้งชื่อวัตถุ
วัตถุ
คำำนำำหน้ำ
(Prefix)
ตัวอย่ำง
CheckBox Chk ChkStatus
ComboBox Cbo CboType
CommandButto
n
Cmd CmdSave
Image Img
ImgProduc
t
Label Lbl Lbladdress
ListBox Lst LstDay
OptionButton Opt OptSex
TextBox Txt TxtName
Timer Tmr TmrTime
36
ขอบเขตของตัวแปร (Scope of Variable)
ใน Visual Basic สำมำรถแบ่งขอบเขตตัวแปรได้ 2 ประเภท คือ
1. ตัวแปรแบบ Local
2. ตัวแปรแบบ Public
ตัวแปรแบบ Local
หมำยถึง ตัวแปรที่ประกำศขึ้นมำ ให้สำมำรถเรียกใช้งำนได้ ในเฉพำะ
โพรซีเดอร์ที่ประกำศเท่ำนั้น มักใช้ประกำศตัวแปรที่ต้องกำรใช้ชั่วครำว หรือ
ต้องกำรใช้ในโพรซีเดอร์นั้นๆ
ตัวอย่ำง
Private Sub AddNum_Click( )
Dim x As Integer
Dim y As Integer
x = 5
y = 6
x = x + y
End Sub
Private Sub DelNum_Click( )
Dim x As Integer
Dim y As Integer
x = 3
y = 2
จำกตัวอย่ำง ตัวแปร x และ y ถูกประกำศใน Sub AddNum และ Sub
DelNum ซึ่ง x และ y ใน AddNum จะเป็นคนละตัวกับ x และ y ใน
DelNum
37
ตัวแปรแบบ Public
หมำยถึง ตัวแปรที่ประกำศขึ้นในส่วนบนหลัง Option Explicit ทำำให้สำมำรถ
เรียกใช้งำนได้ทุกโพรซีเดอร์ในฟอร์มนั้น กรณีที่ประกำศตัวแปรแบบ Public
ใน Module จะทำำให้ตัวแปรนั้นสำมำรถเรียกใช้งำนได้จำกทุกฟอร์ม
ตัวอย่ำง
Option Explicit
Dim x as Integer
Dim y as Integer
Private Sub AddNum_Click( )
x = 5
y = 6
x = x + y
End Sub
Private Sub DelNum_Click( )
x = x - y
End Sub
จำกตัวอย่ำง ตัวแปร x และ y ถูกประกำศในถัดจำก Option Explicit ก่อน
Sub AddNum ทำำให้ตัวแปร x และ y ใน Sub AddNum และ Sub
DelNum เป็นตัวแปรตัวเดียวกัน
ตัวแปรอำร์เรย์ (Array)
ตัวแปรอำร์เรย์ เป็นกลุ่มของตัวแปรที่ประกำศขึ้นมำ โดยใช้ชื่อของเดียวใช้ค่ำ
Index ในกำรอ้ำงถึง ประโยชน์ของตัวแปรชนิดนี้คือ กรณีที่ต้องกำรมีกำรใช้
ตัวแปรจำำนวนมำก กำรประกำศตัวแปรสำมำรถประกำศเพียงชื่อเดียว ลดควำม
ซำ้ำซ้อนของตัวแปร และทำำให้ง่ำยต่อกำรเรียกใช้ มีรูปแบบกำรประกำศดังนี้
Dim Varname(amount) as Datatype
Dim คือ คำำสั่ง (statements) สำำหรับประกำศ
ตัวแปร
varname คือ ชื่อของตัวแปรอำร์เรย์ที่ต้องกำรประกำศ
amount คือ จำำนวนสมำชิกของอำร์เรย์
As คือ ส่วนที่บอกให้ Visual Basic ทรำบว่ำ
ต้องกำรกำำหนดชนิดของข้อมูล
38
datatypes คือ ชนิดของข้อมูลที่ Visual Basic สนับสนุน
ตัวอย่ำง
รูปที่ 5-2 กำรประกำศอำร์เรย์
ตัวแปรอำร์เรย์แบ่งออกได้ 2 ชนิด คือ
1. ตัวแปรอำร์เรย์แบบสแตติก (Static Arrays)
2. ตัวแปรอำร์เรย์แบบไดนำมิก (Dynamic Arrays)
ตัวแปรอำร์เรย์แบบสแตติก (Static Arrays)
เป็นอำร์เรย์ที่มีกำรระบุจำำนวนสมำชิกเมื่อมีกำรประกำศตัวแปร จะใช้อำร์เรย์
ชนิดนี้ในกรณีที่ทรำบจำำนวนสมำชิกของอำร์เรย์ที่แน่นอน
ตัวอย่ำง
Dim vprint (10) as String
จำกตัวอย่ำงเป็นกำรประกำศตัวแปรอำร์เรย์ชื่อ vprint ให้มีจำำนวนสมำชิกทั้ง
สิ้น 10 และ เป็นข้อมูลชนิดตัวอักษร ในกำรอ้ำงถึงตัวแปรให้ทำำกำรระบุ Index
หรือลำำดับที่ของสมำชิก โดยสมำชิกตัวแรกให้ระบุ Index เป็น 0 เช่น เมื่อ
ต้องกำรอ้ำงถึงสมำชิกตัวแรกสุดให้ระบุเป็น vprint(0)สมำชิกตัวที่ 7 ให้ระบุ
เป็น vprint(6) สมำชิกตัวสุดท้ำยระบุเป็น vprint(9)
ตัวแปรอำร์เรย์แบบไดนำมิก (Dynamic Arrays)
เป็นอำร์เรย์ที่ไม่มีกำรระบุจำำนวนสมำชิกเมื่อมีกำรประกำศตัวแปร เนื่องจำกไม่
ทรำบจำำนวนสมำชิกที่แน่นอน
ตัวอย่ำง
Dim ccode( ) as String
39
จำกตัวอย่ำงเป็นกำรประกำศตัวแปรอำร์เรย์ชื่อ ccode โดยไม่ระบุจำำนวน
สมำชิก และเป็นข้อมูลชนิดตัวอักษร
เมื่อต้องกำรใช้งำนตัวแปรจะต้องระบุจำำนวนสมำชิกให้กับตัวแปรอำร์เรย์ โดย
ใช้คำำสั่งดังนี้
Redim ccode(5)
จำกตัวอย่ำงเป็นกำรกำำหนดให้ตัวแปรอำร์เรย์ ccode ที่ได้ประกำศไว้แล้วให้มี
จำำนวนสมำชิก 5
ข้อดีของตัวแปรอำร์เรย์แบบไดนำมิกคือ จำำนวนสมำชิกของอำร์เรย์จะถูก
กำำหนดให้มีควำมเหมำะสมต่อกำรใช้งำนเนื่อง เนื่องจำกสำมำรถระบุจำำนวน
สมำชิกได้ภำยหลัง แต่ตัวแปรอำร์เรย์แบบสแตติกจะต้องระบุจำำนวนสมำชิกทันที
ที่มีกำรประกำศตัวแปร กำรสร้ำงชนิดของตัวแปรขึ้นใช้เอง (User-
defined data type)
กรณีที่ต้องกำรเก็บข้อมูลเป็นชุดแต่ประกอบด้วยข้อมูลหลำย ๆ ชนิด สำมำรถ
ทำำได้โดยกำรสร้ำงชนิดข้อมูลพิเศษขึ้นมำ โดยนำำชนิดของข้อมูลพื้นฐำนดัง
กล่ำวทั้งหมดมำสร้ำงตำมที่ต้องกำรโดยมีรูปแบบดังนี้
[Public I Private] Type Varname
elementname [([subscripts])] As type
[elementname [([subscripts])] As type]
……
End Type
Public(Opt
ional)
คือ ส่วนที่กำำหนดให้ค่ำคงที่สำมำรถใช้ได้ทั้ง
โปรเจ็กต์ ทุกโมดูล
Private(Op
tional)
คือ ส่วนที่กำำหนดให้ค่ำคงที่สำมำรถใช้ได้
เฉพำะโมดูลที่ประกำศเท่ำนั้น
Varname คือ ชื่อของชนิดข้อมูลที่กำำหนดขึ้นมำใหม่
elementna
me
คือ ชื่อของตัวแปร ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของชนิด
ข้อมูลที่สร้ำงขึ้นมำ
Subscripts คือ จำำนวนสมำชิกกรณีที่ต้องกำรให้เป็น
ตัวแปรอำร์เรย
Type คือ ชนิดของข้อมูลพื้นฐำนแต่ละตัว
ตัวอย่ำง
Type Customer
40
CustName As String
Address As String
Age As Integer
End Type
จำกตัวอย่ำงเป็นกำรสร้ำงชนิดข้อมูลขึ้นมำใหม่ โดยให้ชื่อว่ำ Customer โดย
มีตัวแปรย่อย Name Address และ Age เมื่อต้องกำรใช้งำนชนิดข้อมูลดัง
กล่ำวต้องทำำกำรประกำศตัวแปรดังนี้
Dim newcust As Customer
เมื่อต้องกำรเก็บค่ำหรือนำำค่ำไปใช้ให้ใช้คำำสั่งดังนี้
newcust.CustName = "ปริษำ ปั้นดี"
newcust.Address = "123 ถ.ศรีสุมังค์ ต.เมืองใต้ อ.เมือง จ.ศรีสะเกษ
newcust.Age = 45
กำรประกำศค่ำคงที่ (Constant)
ค่ำคงที่ (Constant) หมำยถึงข้อมูลที่มีค่ำคงที่ไม่มีกำรเปลี่ยนแปลง ในกำร
ประกำศค่ำคงที่ต้องใช้คำำสั่ง Const เพื่อสร้ำงค่ำคงที่ มีรูปแบบดังนี้
[Public I Private] Const constname [As type] = expression
Public(Op
tional)
คือ ส่วนที่กำำหนดให้ค่ำคงที่สำมำรถใช้ได้ทั้งโปร
เจ็กต์ ทุกโมดูล
Private(O
ptional)
คือ ส่วนที่กำำหนดให้ค่ำคงที่สำมำรถใช้ได้เฉพำะ
โมดูลที่ประกำศเท่ำนั้น
Const คือ คำำสั่งสร้ำงค่ำคงที่
Constna
me
คือ ชื่อค่ำคงที่
Type
(Optional
)
คือ กำรกำำหนดชนิดของค่ำคงที่
Expressio
n
คือ ค่ำที่ต้องกำรกำำหนด
ตัวอย่ำง
Option Explicit
Const PI As Double = 3.141578
Private Sub cmdCalc_Click( )
Dim radius As Double
41
Dim area As Double
Radius = CDb(InputBox("กรุณำใส่ค่ำรัศมี" , "ใส่
ค่ำ")
Area = PI * (radius) ^2
MsgBox "พื้นที่วงกลม = " & Area & " ตำรำงหน่วย "
End Sub
ตัวดำำเนินกำรใน Visual Basic (Operators)
ตัวดำำเนินกำร คือ เครื่องหมำยสำำหรับกระทำำกับข้อมูลอย่ำงน้อยที่สุด 2 ชุดมำก
ระทำำอย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง เช่น บวก ลบ เชื่อมต่อ เปรียบเทียบ ทดสอบค่ำ เป็นต้น
ซึ่งสำมำรถแบ่งได้ 4 ประเภท ดังนี้
ตัวดำำเนินกำรด้ำนคณิตศำสตร์ (Arithmetic Operators)
คือเครื่องหมำยทำงคณิตศำสตร์ใช้สำำหรับกำรคำำนวณตัวเลข ดังตำรำง
ชื่อตัวดำำเนิน
กำร
ลักษณะตัวดำำเนิน
กำร
ตัวอย่ำง
กำรบวก + A + B
กำรลบ - A - B
9 กำรคูณ * A * B
กำรหำร / A / B
กำรหำรเอำแต่
จำำนวนเต็ม
 A  B
กำรหำรเอำแต่
เศษ
Mod A Mod B
กำรยกกำำลัง ^ A ^ B
กำรเปลี่ยน
เครื่องหมำย
- -A
ตัวดำำเนินกำรทำงด้ำนตรรกะ (Logical Operator)
42
คือเครื่องหมำยสำำหรับตรวจสอบเงื่อนไขระหว่ำงกลุ่มนิพจน์ โดยจะให้ผลลัพธ์
เป็นจริง (True) และเป็นเท็จ (False) หรือสร้ำงเงื่อนไขขึ้นมำเพื่อทดสอบกรณี
ต่ำง ๆ ดังตำรำง
ตัวดำำเนิน
กำร
ตัวอย่
ำง
ผลลัพธ์
And
A
And
B
เป็นจริงเมื่อทั้ง 2 นิพจน์มีค่ำเป็น
จริง
Or
A Or
B
เป็นเท็จเมื่อทั้ง 2 นิพจน์มีค่ำเป็น
เท็จ
Xor
A Xor
B
เป็นจริงเมื่อทั้ง 2 นิพจน์มีค่ำต่ำง
กัน
Eqv
A Eqv
B
เป็นจริงเมื่องทั้ง 2 นิพจน์มีค่ำ
เหมือนกัน
Imp
A
Imp B
เป็นเท็จเมื่อนิพจน์หน้ำเป็นจริง
นิพจน์หลังเป็นเท็จ
Not Not A ให้ค่ำตรงข้ำมกับค่ำของนิพจน์
ตัวดำำเนินกำรทำงด้ำนกำรเปรียบเทียบ (Comparison Operators)
เครื่องหมำยที่ใช้สำำหรับเปรียบเทียบนิพจน์ 2 นิพจน์ เพื่อทดสอบ หรือสร้ำง
เงื่อนไข โดยจะให้ผลลัพธ์เป็นจริง (True) และเป็นเท็จ (False) มักจะใช้คู่กับ
ตัวดำำเนินกำรทำงด้ำนตรรกะ เพื่อตรวจสอบเงื่อนไขต่ำง ๆ เสมอ ดังตำรำง
ตัวดำำเนิน
กำร
ชื่อตัวดำำเนินกำร
< น้อยกว่ำ
> มำกกว่ำ
<= น้อยกว่ำหรือเท่ำกับ
>= มำกกว่ำหรือเท่ำกับ
= เท่ำกับ
<> ไม่เท่ำกับ
ตัวดำำเนินกำรทำงด้ำนกำรเชื่อมข้อควำม (Concentration
Operators)
43
เครื่องหมำยที่ใช้สำำหรับเชื่อมข้อควำมตั้งแต่ 2 ข้อควำมเข้ำด้วยกัน แต่ยังมี
กรณียกเว้นที่จะเป็นกำรบวกกันของนิพจน์ 2 นิพจน์ ซึ่งขึ้นอยู่กับชนิดของ
นิพจน์ที่จะมำกระทำำกัน ดังตำรำง
ตัวดำำเนิน
กำร
กรณี ตัวอย่ำง ผลลัพธ์
+ String + String
"Visual"+"Basic
6.0"
"Visual Basic
6.0"
& String & String
"Visual"&"Basic
6.0"
"Visual Basic
6.0"
+
String(numeric)
+numeric
"20"+6 26
&
String(numeric)&nu
meric
"20"+6 206
ข้อมูลจำก : http://www.thanom.net/vb1.asp
44

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงานแบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงานChess
 
Java Web Programming (JSP/Servlet) Using Eclipse and Tomcat
Java Web Programming (JSP/Servlet) Using  Eclipse and TomcatJava Web Programming (JSP/Servlet) Using  Eclipse and Tomcat
Java Web Programming (JSP/Servlet) Using Eclipse and TomcatIMC Institute
 
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นTophuto Piyapan
 
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษา
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาการพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษา
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาJiraporn Kru
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรมใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรมNattapon
 
Criando testes unitários com Junit 5
Criando testes unitários com Junit 5Criando testes unitários com Junit 5
Criando testes unitários com Junit 5Deivid Hahn Fração
 
แบบทดสอบออนไลน์ Google docs
แบบทดสอบออนไลน์ Google docsแบบทดสอบออนไลน์ Google docs
แบบทดสอบออนไลน์ Google docsSamorn Tara
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีNattapon
 
Exercicios Pilhas (Stacks) - Estruturas de dados e algoritmos com Java
Exercicios Pilhas (Stacks) - Estruturas de dados e algoritmos com JavaExercicios Pilhas (Stacks) - Estruturas de dados e algoritmos com Java
Exercicios Pilhas (Stacks) - Estruturas de dados e algoritmos com JavaLoiane Groner
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนyudohappyday
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมีเดียและโปรแกรม Corel Video Studio Pro x6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมีเดียและโปรแกรม Corel Video Studio Pro x6ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมีเดียและโปรแกรม Corel Video Studio Pro x6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมีเดียและโปรแกรม Corel Video Studio Pro x6บุญญรัตน์ ตั้งประเสริฐ
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้DuangdenSandee
 
Best parctice ครูกรวิก ปีการศึกษา 2557
Best parctice ครูกรวิก ปีการศึกษา 2557Best parctice ครูกรวิก ปีการศึกษา 2557
Best parctice ครูกรวิก ปีการศึกษา 2557พัน พัน
 
Enterprise java unit-3_chapter-1-jsp
Enterprise  java unit-3_chapter-1-jspEnterprise  java unit-3_chapter-1-jsp
Enterprise java unit-3_chapter-1-jspsandeep54552
 
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5miiztake
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 2
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 2ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 2
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 2Kamonrut Deeporum
 

Mais procurados (20)

แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงานแบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
 
Java Web Programming (JSP/Servlet) Using Eclipse and Tomcat
Java Web Programming (JSP/Servlet) Using  Eclipse and TomcatJava Web Programming (JSP/Servlet) Using  Eclipse and Tomcat
Java Web Programming (JSP/Servlet) Using Eclipse and Tomcat
 
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
 
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษา
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาการพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษา
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษา
 
Java-Answer Chapter 01-04
Java-Answer Chapter 01-04Java-Answer Chapter 01-04
Java-Answer Chapter 01-04
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรมใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
 
Vb basics
Vb basicsVb basics
Vb basics
 
Criando testes unitários com Junit 5
Criando testes unitários com Junit 5Criando testes unitários com Junit 5
Criando testes unitários com Junit 5
 
แบบทดสอบออนไลน์ Google docs
แบบทดสอบออนไลน์ Google docsแบบทดสอบออนไลน์ Google docs
แบบทดสอบออนไลน์ Google docs
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
 
คำสั่งในการวนรอบการทำงาน Vb2010 (1)
คำสั่งในการวนรอบการทำงาน Vb2010 (1)คำสั่งในการวนรอบการทำงาน Vb2010 (1)
คำสั่งในการวนรอบการทำงาน Vb2010 (1)
 
Exercicios Pilhas (Stacks) - Estruturas de dados e algoritmos com Java
Exercicios Pilhas (Stacks) - Estruturas de dados e algoritmos com JavaExercicios Pilhas (Stacks) - Estruturas de dados e algoritmos com Java
Exercicios Pilhas (Stacks) - Estruturas de dados e algoritmos com Java
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมีเดียและโปรแกรม Corel Video Studio Pro x6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมีเดียและโปรแกรม Corel Video Studio Pro x6ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมีเดียและโปรแกรม Corel Video Studio Pro x6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมีเดียและโปรแกรม Corel Video Studio Pro x6
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
Sdi & mdi
Sdi & mdiSdi & mdi
Sdi & mdi
 
Best parctice ครูกรวิก ปีการศึกษา 2557
Best parctice ครูกรวิก ปีการศึกษา 2557Best parctice ครูกรวิก ปีการศึกษา 2557
Best parctice ครูกรวิก ปีการศึกษา 2557
 
Enterprise java unit-3_chapter-1-jsp
Enterprise  java unit-3_chapter-1-jspEnterprise  java unit-3_chapter-1-jsp
Enterprise java unit-3_chapter-1-jsp
 
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 2
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 2ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 2
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 2
 

Semelhante a การเขียนโปรแกรมด้วยVb 6.0

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6Khon Kaen University
 
ส่งงาน Microsoft Visual Basic 6.0
ส่งงาน Microsoft Visual Basic 6.0ส่งงาน Microsoft Visual Basic 6.0
ส่งงาน Microsoft Visual Basic 6.0Bass Bass
 
Lesson1 programing concept
Lesson1 programing conceptLesson1 programing concept
Lesson1 programing conceptskiats
 
ส่วนประกอบวิชวลเบสิก
ส่วนประกอบวิชวลเบสิกส่วนประกอบวิชวลเบสิก
ส่วนประกอบวิชวลเบสิกNuunamnoy Singkham
 
Powerpoint บทที่ 2
Powerpoint บทที่ 2Powerpoint บทที่ 2
Powerpoint บทที่ 2patchareepoim
 
สรยุทธ นันทวัฒน์
สรยุทธ นันทวัฒน์สรยุทธ นันทวัฒน์
สรยุทธ นันทวัฒน์Sorayut Chatcharawan
 
Powerpoint บทที่ 1
Powerpoint บทที่ 1Powerpoint บทที่ 1
Powerpoint บทที่ 1patchareepoim
 
ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6
ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6
ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6Tom Nuntiya
 
บทที่ 3 บุษยา วรรณภา ศศิภา
บทที่ 3 บุษยา วรรณภา ศศิภาบทที่ 3 บุษยา วรรณภา ศศิภา
บทที่ 3 บุษยา วรรณภา ศศิภาWannapa Phopsamai
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5Mint Zy
 

Semelhante a การเขียนโปรแกรมด้วยVb 6.0 (20)

การเขียนโปรแกรมด้วย Vb 6.0
การเขียนโปรแกรมด้วย Vb 6.0การเขียนโปรแกรมด้วย Vb 6.0
การเขียนโปรแกรมด้วย Vb 6.0
 
Vb6 1 เริ่มต้นการใช้งาน
Vb6 1 เริ่มต้นการใช้งานVb6 1 เริ่มต้นการใช้งาน
Vb6 1 เริ่มต้นการใช้งาน
 
บุญนภา วสันต์
บุญนภา วสันต์บุญนภา วสันต์
บุญนภา วสันต์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
 
ส่งงาน Microsoft Visual Basic 6.0
ส่งงาน Microsoft Visual Basic 6.0ส่งงาน Microsoft Visual Basic 6.0
ส่งงาน Microsoft Visual Basic 6.0
 
ยินดีนำเสนอ
ยินดีนำเสนอยินดีนำเสนอ
ยินดีนำเสนอ
 
Lesson1 programing concept
Lesson1 programing conceptLesson1 programing concept
Lesson1 programing concept
 
Eng prac (2)
Eng prac (2)Eng prac (2)
Eng prac (2)
 
Vb6 4 การสร้าง Application
Vb6 4 การสร้าง Application Vb6 4 การสร้าง Application
Vb6 4 การสร้าง Application
 
ส่วนประกอบวิชวลเบสิก
ส่วนประกอบวิชวลเบสิกส่วนประกอบวิชวลเบสิก
ส่วนประกอบวิชวลเบสิก
 
Powerpoint บทที่ 2
Powerpoint บทที่ 2Powerpoint บทที่ 2
Powerpoint บทที่ 2
 
Gnewvb01 090401013958-phpapp01
Gnewvb01 090401013958-phpapp01Gnewvb01 090401013958-phpapp01
Gnewvb01 090401013958-phpapp01
 
สรยุทธ นันทวัฒน์
สรยุทธ นันทวัฒน์สรยุทธ นันทวัฒน์
สรยุทธ นันทวัฒน์
 
Powerpoint บทที่ 1
Powerpoint บทที่ 1Powerpoint บทที่ 1
Powerpoint บทที่ 1
 
vb.net
vb.netvb.net
vb.net
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5
 
ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6
ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6
ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6
 
Dreamweaver
DreamweaverDreamweaver
Dreamweaver
 
บทที่ 3 บุษยา วรรณภา ศศิภา
บทที่ 3 บุษยา วรรณภา ศศิภาบทที่ 3 บุษยา วรรณภา ศศิภา
บทที่ 3 บุษยา วรรณภา ศศิภา
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 

Mais de ณัฐพล บัวพันธ์

เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbrightเทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbrightณัฐพล บัวพันธ์
 
บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น
บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น  บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น
บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น ณัฐพล บัวพันธ์
 
บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh
บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh
บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh ณัฐพล บัวพันธ์
 
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ณัฐพล บัวพันธ์
 

Mais de ณัฐพล บัวพันธ์ (20)

ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbrightเทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
 
วิทยาการคำนวณ3
วิทยาการคำนวณ3วิทยาการคำนวณ3
วิทยาการคำนวณ3
 
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62
 
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62
 
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น
รายนามศิษย์เก่าดีเด่นรายนามศิษย์เก่าดีเด่น
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น
 
กำหนดการรับสมัครนักเรียน
กำหนดการรับสมัครนักเรียนกำหนดการรับสมัครนักเรียน
กำหนดการรับสมัครนักเรียน
 
บทที่ 7 เล่นกับเวลา
บทที่ 7 เล่นกับเวลา  บทที่ 7 เล่นกับเวลา
บทที่ 7 เล่นกับเวลา
 
บทที่ 6 ตะลุย โลกดนตรี
บทที่ 6 ตะลุย โลกดนตรีบทที่ 6 ตะลุย โลกดนตรี
บทที่ 6 ตะลุย โลกดนตรี
 
บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น
บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น  บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น
บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น
 
บทที่ 4 สนุกคณิตกับ KidBright
บทที่ 4 สนุกคณิตกับ KidBright  บทที่ 4 สนุกคณิตกับ KidBright
บทที่ 4 สนุกคณิตกับ KidBright
 
บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh
บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh
บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh
 
บทที่ 2 ท่องไปในโลก Kidbright
บทที่ 2 ท่องไปในโลก Kidbright  บทที่ 2 ท่องไปในโลก Kidbright
บทที่ 2 ท่องไปในโลก Kidbright
 
บทที่ 1 คิดคำนวณชวนสนุก
บทที่ 1 คิดคำนวณชวนสนุกบทที่ 1 คิดคำนวณชวนสนุก
บทที่ 1 คิดคำนวณชวนสนุก
 
ผลการสอบม1
ผลการสอบม1ผลการสอบม1
ผลการสอบม1
 
การจัดห้องเรียน ม4
การจัดห้องเรียน ม4การจัดห้องเรียน ม4
การจัดห้องเรียน ม4
 
ผลการสอบม4
ผลการสอบม4ผลการสอบม4
ผลการสอบม4
 
การจัดห้องเรียน
การจัดห้องเรียนการจัดห้องเรียน
การจัดห้องเรียน
 
ผลการสอบม1
ผลการสอบม1ผลการสอบม1
ผลการสอบม1
 
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
 

การเขียนโปรแกรมด้วยVb 6.0

  • 1. บทที่ 1 เริ่มต้นการใช้งาน โปรแกรม Visual Basic (VB) เป็นโปรแกรมสำาหรับพัฒนาโปรแกรม ประยุกต์ที่กำาลังเป็นที่ นิยมใช้อยู่ในปัจจุบัน โปรแกรม Visual Basic เป็น โปรแกรมที่ได้เปลี่ยนรูปแบบการเขียนโปรแกรมใหม่ โดยมีชุดคำาสั่งมาสนับสนุ นการทำางาน มีเครื่องมือต่าง ๆ ที่เรียกกันว่า คอนโทรล(Controls) ไว้สำาหรับ ช่วยในการออกแบบโปรแกรม โดยเน้นการออกแบบหน้าจอแบบกราฟฟิก หรือ ที่เรียกว่า Graphic User Interface (GUI) ทำาให้การจัดรูปแบบหน้าจอเป็นไป ได้ง่าย และในการเขียนโปรแกรมนั้นจะเขียนแบบ Event - Driven Programming คือ โปรแกรมจะทำางานก็ต่อเมื่อเหตุการณ์ (Event) เกิดขึ้น ตัวอย่างของเหตุการณ์ได้แก่ ผู้ใช้เลื่อนเมาส์ ผู้ใช้กดปุ่มบนคีย์บอร์ด ผู้ใช้กดปุ่ม เมาส์ เป็นต้น เครื่องมือ หรือ คอนโทรล ต่าง ๆ ที่ Visual Basic ได้เตรียมไว้ให้ ไม่ว่า จะเป็น Form TextBox Label ฯลฯ ถือว่าเป็นวัตถุ (Object ในที่นี้ขอใช้คำาว่า ออบเจ็กต์) นั่นหมายความว่า ไม่ว่าจะเป็นเครื่องมือใด ๆ ใน Visual Basic จะ เป็นออบเจ็กต์ทั้งสิ้น สามารถที่จะควบคุมการทำางาน แก้ไขคุณสมบัติของออบ เจ็กต์นั้นได้โดยตรง ในทุกๆ ออบเจ็กต์จะมีคุณสมบัติ (properties) และเมธอด (Methods) ประจำาตัว ซึ่งในแต่ละออบเจ็กต์ อาจจะมีคุณสมบัติและเมธอดที่ เหมือน หรือต่างกันก็ได้ ขึ้นอยู่กับชนิดของออบเจ็กต์ ในการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ด้วย Visual Basic การเขียนโค้ดจะถูก แบ่งออกเป็นส่วนๆ เรียกว่า โพรซีเดอร์ (procedure) แต่ละโพรซีเดอร์จะ ประกอบไปด้วย ชุดคำาสั่งที่พิมพ์เข้าไปแล้ว ทำาให้คอนโทรลหรือออบเจ็กต์นั้น ๆ ตอบสนองการกระทำาของผู้ใช้ ซึ่งเรียกว่าการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object Oriented Programming-OOP) แต่ตัวภาษา Visual Basic ยังไม่ถือว่า เป็นการเขียนโปรแกรมแบบ OOP อย่างแท้จริง เนื่องจากข้อจำากัดหลายๆ อย่าง ที่ Visual Basic ไม่สามารถทำาได้
  • 2. เข้าสู่โปรแกรม Visual Basic เมื่อเข้าสู่โปรแกรม Visual Basic จะแสดงกรอบโต้ตอบสำาหรับเลือกชนิดของ โปรแกรมประยุกต์ ที่ต้องการ รูปที่ 1-1 กรอบโต้ตอบเมื่อเริ่มเปิด Visual Basic ใช้พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ทั่ว ๆ ไป ใช้พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ที่สามาระใช้งานและเชื่อมโยงกับโปรแกรม ประยุกต์อื่น ๆ ที่สนับสนุนเทคโนโลยี ActiveX เป็นโปรแกรมประยุกต์ชนิดเดียวกันกับ ActiveX.EXE แต่จะเก็บเป็น ไฟล์ไลบราลี่ไม่สามารถประมวลผลได้ด้วยตัวมันเอง จะต้องถูกเรียกใช้ งานจากโปรแกรมประยุกต์อื่น ๆ ใช้สร้างคอนโทรล ActiveX ขึ้นมาใช้งานเอง 2
  • 3. เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้สามารถสร้างโปรแกรมประยุกต์ได้อย่างรวดเร็ว โดยจะสร้างองค์ประกอบเบื้องต้นหลัก ๆ ของโปรแกรมประยุกต์ จากขั้น ตอนที่ได้เลือกไว้ ใช้สำาหรับสร้างโปรแกรมการจัดการต่าง ๆ เช่น การติดต่อกับฐาน ข้อมูล เป็นต้น เป็นชนิดโปรเจ็กต์ที่เป็นแบบฟอร์ม เพื่อติดต่อกับฐานข้อมูลโดยผ่าน ทางคอนโทรล ADO Data Control โปรแกรมประยุกต์ชนิดที่ใช้กับ Web Server ใช้สำาหรับเพิ่มเติม utility เข้าไปใน Visual Basic เพื่อเพิ่มความ ประสิทธิภาพ ใช้สร้างโปรแกรมประยุกต์ที่ประมวลผลบน Internet จะเก็บอยู่ในรูป ไฟล์ .dll ไม่สามารถประมวลผลได้ด้วยตัวมันเอง ต้องให้โปรแกรม ประยุกต์อื่น ๆ ที่สนับสนุนเทคโนโลยี ActiveX เรียกใช้งาน เช่น Internet Explorer เป็นต้น ใช้สร้างโปรแกรมประยุกต์ชนิดที่ประมวลผลบน Internet เช่นกัน แต่ จะเก็บอยู่ในรูปไฟล์ .exe สามารถประมวลผลได้ด้วยตัวเอง แต่ server จะต้องสนับสนุนเทคโนโลยี ActiveX ด้วยเช่นกัน เช่น Internet Explorer เป็นต้น ใช้พัฒนาโปรแกรมประยุกต์รูปแบบของเอกสาร Dynamic HTML ซึ่ง จะเป็นมาตรฐานใหม่ของการแสดงผลบน web ใช้สำาหรับโหลด Visual Basic ในรูปแบบที่ใช้พัฒนาโปรแกรม ประยุกต์ในระดับ Enterprise ซึ่ง Visual Basic จะเพิ่มคอนโทรล ActiveX อีกจำานวนหนึ่งขึ้นมาโดยอัตโนมัติ สำาหรับ แท็ป Existing ใช้สำาหรับเปิดโปรเจ็กต์ที่คุณมีอยู่แล้ว แต่ยังไม่เคยเปิด ใช้ แท็ป Recent จะแสดงรายชื่อโปรเจ็กต์ที่เคยเรียกใช้แล้ว 3
  • 4. เมื่อเลือกชนิดของโปรแกรมประยุกต์เป็นแบบ Standard EXE จะเข้าสู่หน้าต่าง ของ Visual Basic ดังรูปที่ 1- 2 รูปที่ 1-2 หน้าต่างของ Visual Basic เมื่อเริ่มโปรแกรม ในแต่ละส่วนของ Visual Basic จะมีหน้าที่แตกต่างกันไป ซึ่งในระหว่างการ พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ จะต้องใช้ส่วนต่าง ๆ เหล่านี้ ในการพัฒนาโปรแกรม ประยุกต์ ทูลบาร์ (Toolbars) เป็นแถบสัญลักษณ์ที่ใช้สำาหรับเข้าถึงชุดคำาสั่งของ Visual Basic ได้ทันที โดย จะนำาคำาสั่งที่ถูกใช้งานบ่อย ๆ มาแสดง 4
  • 5. รูปที่ 1-3 Toolbars ทูลบาร์สามารถแบ่งออกได้เป็น 4 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ 1. Standard Toolbars เป็นทูลบาร์มาตรฐานประกอบด้วยคำาสั่งที่เกี่ยวกับการ จัดการ Project 2. Edit Toolbars เป็นทูลบาร์ที่ประกอบไปด้วยคำาสั่งที่ใช้สำาหรับช่วยในการ เขียนโค้ดใน code editor 3. Debug Toolbars เป็นทูลบาร์ที่ประกอบไปด้วยคำาสั่งที่ใช้สำาหรับตรวจสอบ การทำางานการประมวลผลโปรแกรม 4. Form Editor Toolbars เป็นทูลบาร์ที่ประกอบไปด้วยคำาสั่งที่ใช้สำาหรับ ช่วยในการปรับขนาด, ย้าย, เปลี่ยนตำาแหน่งคอนโทรลต่าง ๆ ที่อยู่บนฟอร์ม Toolboxs คือแถบสัญลักษณ์ Controls ต่าง ๆ ที่ใช้สำาหรับพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ แบ่ง เป็น 2 กลุ่ม คือ รูปที่ 1-4 Toolboxs 1. คอนโทรลภายใน (Intrinsic controls) เป็นชุด คอนโทรลมาตรฐานของ Visual Basic ทุก ๆ ครั้งที่มีการ เรียกใช้ Form เพื่อสร้างโปรแกรมประยุกต์ คอลโทรลชุดนี้ จะถูกเรียกขึ้นมาอัตโนมัติ สามารถเลือกใช้งานคอลโทรล กลุ่มนี้ได้ทันที 5
  • 6. รูปที่ 1-5 แสดงรายการคอนโทรล ActiveX เพิ่ม เติม 2. คอนโทรล ActiveX (ActiveX controls) เป็นชุด คอนโทรลเพิ่มเติมที่ไมโคร ซอฟท์จัดเตรียมไว้ เพื่อเพิ่มขีด ความสามารถในการพัฒนา โปรแกรมประยุกต์ การเพิ่ม คอนโทรลกลุ่มนี้เข้ามาในทูล บ๊อกซ์ทำาโดยเลือกเมนู Project/Components (หรือ คลิ๊กขวาตรงแถบ ทูลบ๊อกซ์เลือกคำาสั่ง Form Designer เป็นส่วนที่ใช้ออกแบบการแสดงผลส่วนที่ใช้ติดต่อกับผู้ใช้ ฟอร์มเป็นออบเจ็กต์ แรกที่ถูกเตรียมไว้ให้ใช้งาน คอลโทรลทุกตัวที่ต้องการใช้งานจะต้องนำาไป บรรจุไว้ในฟอร์ม นำาคอลโทรลมาประกอบกันขึ้นเป็นโปรแกรมประยุกต์ ทุกครั้ง ที่เปิด Visual Basic ขึ้นมา หรือ สร้าง Project ใหม่จะมีฟอร์มว่าง 1 ฟอร์มถูก สร้างเตรียมไว้เสมอ 6
  • 7. รูปที่ 1-6 Form Designer Project Explorer Project Explorer ใช้สำาหรับบริหารและจัดการโปรเจ็กซ์ โดยจะแสดงองค์ ประกอบของแต่ละโปรเจ็กต์แบบโครงร่างต้นไม้ (tree-view)ตัวโปรเจ็กตจะ หมายถึงโปรแกรมประยุกต์ซึ่งจะอยู่ส่วนบนสุด ถัดมา จะแสดงส่วนประกอบต่าง ๆ ของโปรเจ็กต์นั้น ๆ ว่าประกอบด้วยอะไรบ้าง เช่น ฟอร์มโมดูล รายงาน เป็นต้น ถ้ามี 2 โปรเจ็กต์ขึ้นไป ก็จะแสดง แยกออกเป็นส่วนต่างหากอีกโปร เจ็กต์ ถ้าต้องการใช้งานส่วนใด ของโปรเจ็กต์ไหนก็สามารถคลิ๊กเลือกได้ทันที รูปที่ 1-7 Project Explorer แบบโปรเจ็กต์เดียว และ แบบหลายโปรเจ็กต์ ส่วนประกอบของโปรเจ็กต์ Project( n) คือโปรแกรมประยุกต์ที่พัฒนาอยู่ มีนามสกุล .vbp Form(n) เป็นฟอร์มที่มีอยู่ในโปรเจ็กต์นั้น ๆ ใน 1 โปรเจ็กต์อาจมีมากกว่า 1 ฟอร์มก็ได้ มีนามสกุล .frm 7
  • 8. Modules เป็นที่เก็บชุดคำาสั่งที่คุณเขียนขึ้นมา โดยจะเก็บชุดคำาสั่งที่ใช้บ่อย ๆมี นามสกุล .bas Class Modules เป็นโมดูลชนิดพิเศษที่มีลักษณะเป็นอ๊อบเจ็กต์ ที่สามารถสร้างขึ้นมา ได้ จะมีนามสกุล .cls User controls เป็นส่วนที่เก็บคอนโทรล ActiveX ที่คุณสร้างขึ้นมา มีนามสกุล .ctl Designe rs เป็นส่วนของรายงานที่ถูกสร้างขึ้นมีนามสกุลเป็น .dsr Properties Window หน้าต่างคุณสมบัติเป็นส่วนที่ใช้กำาหนดคุณสมบัติของออบเจ็กต์ที่ถูกเลือก (adtive) หรือได้รับความสนใจ (focus) อยู่ขณะนั้น ซึ่งสามารถที่จะปรับ เปลี่ยนค่าต่าง ๆ ของคอลโทรลเพื่อให้เกิดความเหมาะสมและตรงกับความ ต้องการใช้งานได้ทันที รูปที่ 1-8 Properties Window ในหน้าต่างคุณสมบัติ จะประกอบไปด้วยแท็ป 2 แท็ป คือ 1. แท็ป Alphabetic เป็นแท็ปที่แสดงรายการคุณสมบัติ เรียงตามตัวอักษรใน ภาษาอังกฤษ 2. แท็ป Categorized เป็นแท็ปที่แสดงรายการคุณสมบัติ โดยการจัดกลุ่มของ คุณสมบัติที่มีหน้าที่คล้ายกัน หรือมีความสัมพันธ์กัน หน้าต่าง Form Layout 8
  • 9. เป็นส่วนที่แสดงให้เห็นตำาแหน่งของฟอร์ม และสามารถกำาหนดตำาแหน่งของ ฟอร์ม ที่ปรากฎบนจอภาพในขณะประมวลผลได้ โดยการเคลื่อนย้ายฟอร์ม จำาลอง ที่อยู่ในจอภาพจำาลองด้วยการ drag เมาส์ ไปยังตำาแหน่งทีคุณต้องการ โดยจะมีผลในขณะประมวลผลเท่านั้น รูปที่ 1-9 Form Layout Immediate Window เป็นหน้าต่างที่ให้ประโยชน์ ในกรณีทีคุณต้องการทราบผล การประมวลผลโดย ทันที เช่น การทดสอบโปรแกรมย่อย ต่าง ๆ เป็นต้น เมื่อคุณสั่งประมวลผลโปร เจ็กต์ หน้าต่างนี้จะปรากฎขึ้นโดยอัตโนมัติ รูปที่ 1-10 Immediate Window หน้าต่าง New Project หน้าต่าง New Project จะปรากฎขึ้นมาเมื่อเลือกเมนู File/New Project กรอบโต้ตอบนี้ จะแสดงชนิดของโปรแกรมประยุกต์ ที่คุณต้องการพัฒนา ซึ่งจะ 9
  • 10. คล้ายกับตอนที่เปิดโปรแกรม Visual Basic ขึ้นมาครั้งแรก รูปที่ 1-11 กรอบโต้ตอบ New Project หน้าต่าง Code Editor เป็นส่วนที่ใช้ในการเขียนชุดคำาสั่งสำาหรับการประมวลผล และควบคุมการ ทำางานของคอลโทรลต่าง ๆ รูปที่ 1-12 Code Editor บทที่ 2 รู้จักออบเจ็กต์และฟอร์ม 10
  • 11. จากบทที่ 1 จะเห็นว่าเครื่องมือ หรือ คอนโทรล ต่าง ๆ ที่ Visual Basic ได้เตรียมไว้ให้ ไม่ว่าจะเป็น Form, Textbox, Label, ฯลฯ ถือว่าเป็นวัตถุ ซึ่ง เรียกว่า Object ในบทนี้เราจะมาทำาความเข้าใจกับ Object, Properties, Method และ Event รวมทั้งทำาความรู้จักกับ Form และประเภทของ Form ออบเจ็กต์ พร็อพเพอร์ตี้ และเมธอดของ คืออะไร อ็อบเจ็กต์ (objects) คือสิ่งใด ๆ ก็ตาม ซึ่งมีคุณสมบัติ (Properties) ที่บ่ง บอกความเป็นตัวเองในขณะนั้น และสามาระแสดงพฤติกรรม (Method) ของ ตัวเองออกมาได้ เช่น คอนโทรลต่าง ๆ คุณสมบัติ (properties) คือสิ่งที่สามารถบ่งบอกถึงความเป็นวัตถุ และอยู่ ภายในตัววัตถุซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้เช่น รูปร่าง ลักษณะ ความกว้าง ความยาว ฯลฯ สำาหรับในแต่ละคอนโทรล หรือออบเจ็กต์ อาจจะมีคุณสมบัติที่ เหมือนกัน หรือต่างกันก็ได้ ขึ้นอยู่กับหน้าที่ของแต่ละคอนโทรล คอนโทรลหรือ ออบเจ็กต์หนึ่ง ๆ จะมีคุณสมบัติมากมาย หลายอย่าง ยิ่งสามารถปรับแต่ง คุณสมบัติให้ตรงกับความต้องการมากเพียงใด โปรแกรมประยุกต์ก็จะมี ประสิทธิภาพมากขึ้นเท่านั้น ซึ่งถือได้ว่าเป็นจุดเริ่มต้นได้ดี ในการพัฒนา โปรแกรมประยุกต์สามารถปรับแต่ง คุณสมบัติได้จากหน้าต่าง Properties หรือ ปรับแต่งด้วยการเขียนโค้ดก็ได้จะมีคุณสมบัติบางตัว ที่ไมโครซอฟท์แนะนำาให้ ปรับแต่งด้วยการเขียนโค้ด และบางตัวปรับแต่งด้วยการแก้ไขในหน้าต่าง Properties และในทางปฏิบัติไม่จำาเป็นต้องปรับแต่งทุก ๆ คุณสมบัติ เพราะ Visual Basic ได้ตั้งค่าเริ่มต้น ไว้ให้แล้ว ซึ่งก็สามารถใช้งานได้ในระดับหนึ่ง เมธอด (methods) หมายถึง อาการที่วัตถุใด ๆ แสดงออกมาหรือถูกให้ แสดงออกมาโดยพฤติกรรมใดๆ ของวัตถุนั้น จะมีผลเชื่อมโยงไปถึงข้อมูล คุณลักษณะภายในวัตถุเองด้วย อาจกล่าวได้ว่า เป็นการควบคุมการทำางานของ คอนโทรล หรือออบเจ็กต์นั่นเอง จะใช้จุดเป็นตัวคั่นระหว่างชื่อคอนโทรลกับ เมธอด ซึ่งจะเห็นได้ว่า คุณสมบัติและเมธอดมีคามใกล้เคียงกันมาก เนื่องจากจะ ใช้จุด . เป็นตัวแยกระหว่าง ชื่อคอนโทรลกับคุณสมบัติ หรือชื่อคอนโทรลกับ เมธอด จะมีความแตกต่างกัน ในแง่ของการควบคุมคอนโทรล หรือออบเจ็กต์ ซึ่ง จะได้ศึกษาในหัวข้อต่อ ๆ ไป ฟอร์ม ฟอร์ม (Form) คือ หน้าต่างที่ใช้สำาหรับแสดงผล โดยจะมี ActiveX Controls ต่าง ๆ บรรจุอยู่ภานใน มีหน้าที่สำาหรับติดต่อกับผู้ใช้งาน โดย Form ก็ถือว่า เป็นออบเจ็กต์ด้วย 11
  • 12. ประเภทของฟอร์ม ฟอร์มแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคือ 1. SDI Form (Single Document Interface Form) เป็นฟอร์มที่สามาระ ทำางานได้อย่างอิสระ สามารถที่จะวางเครื่องมือต่าง ๆ ได้ รูปที่ 2-1 SDI Form 2. 2. MDI Form (Multiple Document Interface Form) เป็นฟอร์มที่ใช้ บรรจุ SDI Form ไว้ โดย SDI Form ที่จะบรรจุอยู่ภายใต้ MDI Form จะต้อง กำาหนดคุณสมบัติของฟอร์มให้เป็น MDI child ก่อน สำาหรับ MDI Form จะ สามารถวางเครื่องมือได้เพียงบางอย่างเท่านั้น รูปที่ 2-2 MDI Form ใน Project แต่ละ Project นั้นจะมี SDI Form ได้ไม่จำากัด แต่จะมี MDI Form ได้เพียงแค่ 1 ฟอร์ม 12
  • 13. เท่านั้น และสำาหรับ Project ใดก็ตามที่มีการเรียกใช้ MDI Form และได้ กำาหนดคุณสมบัติของ SDI Form ให้เป็น MDI Child เมื่อทำาการปิด MDI Form แล้วนั้นจะมีผลทำาให้ SDI Form ที่เป็น MDI Child ถูกปิดตามไปด้วย พร็อพเพอร์ตี้ที่สำาคัญของฟอร์ม Name ใช้สำาหรับกำาหนดชื่อ BackColor ใช้สำาหรับกำาหนดสีพื้น BorderStyl e ใช้สำาหรับกำาหนดรูปแบบของเส้นขอบ Caption ใช้สำาหรับกำาหนดข้อความบน Title Bar ของ Form ControlBo x ใช้สำาหรับกำาหนดให้มีปุ่มควบคุมของ Form Enabled ใช้สำาหรับกำาหนดให้ Form สามารถใช้งานได้ หรือไม่ Font ใช้สำาหรับกำาหนดตัวอักษรของข้อความอุปกรณ์ ต่าง ๆ ใน Form ForeColor ใช้สำาหรับกำาหนดสีตัวอักษรของข้อความอุปกรณ์ ต่าง ๆ ใน Form MaxButton ใช้สำาหรับกำาหนดให้มีปุ่มขยายขนาดของ Form MDI Child ใช้สำาหรับกำาหนดให้ Form มีคุณสมบัติเป็น Form ย่อยของ MDI Form MinButton ใช้สำาหรับกำาหนดให้มีปุ่มย่อขนาดของ Form Moveable ใช้สำาหรับกำาหนดให้ Form สามารถย้ายตำาแหน่ง ได้หรือไม่ Picture ใช้สำาหรับกำาหนดรูปบน Form ShowInTas kbar ใช้สำาหรับกำาหนดให้มีไอคอนแสดงบน Taskbar StartUpPos ition ใช้สำาหรับกำาหนดตำาแหน่งการแสดง Form บน จอภาพ Visible ใช้สำาหรับกำาหนดให้ซ่อนหรือแสดง Form 13
  • 14. WindowSta te ใช้สำาหรับกำาหนดขนาดของ Form เมื่อมีการ ทำางาน เมธอดที่สำาคัญของ Form Hide เป็นการทำางานที่สั่งให้ซ่อน Form Line เป็นการทำางานที่สั่งให้วาดเส้นลงบน Form Move เป็นการทำางานที่สั่งให้ Form ย้ายตำาแหน่งไปยัง ตำาแหน่งที่กำาหนด Print เป็นการทำางานที่สั่งให้พิมพ์ Form ออกทาง เครื่องพิมพ์ Show เป็นการทำางานที่สั่งให้แสดง Form Unload เป็นการทำางานที่สั่งให้ยกเลิกการใช้งานของ Form อีเวนต์ที่สำาคัญของ Form Activate จะเกิดขึ้นเมื่อเลือกใช้งาน Form กรณีที่มีการเปิด Form หลาย ๆ Form พร้อมกัน Initialize จะเกิดขึ้นเมื่อ Form ถูกโหลดเข้าไปในหน่วยความ จำา Load จะเกิดขึ้นเมื่อ Form แสดงผลหลังจากที่ถูกโหลด เข้าไปในหน่วยความจำา QueryUnlo ad จะเกิดขึ้นเมื่อมีการปิด Form Terminate จะเกิดขึ้นเมื่อ Form ถูกลบออกจากหน่วยความจำา Unload จะเกิดขึ้นเมื่อ Form ถูกยกเลิกการใช้งาน การกำาหนดค่าพร็อพเพอร์ตี้ของ Form สามารถจะกำาหนดได้ 2 วิธีด้วยกันคือ 1. กำาหนดจาก Properties Window 14
  • 15. รูปที่ 2-3 การกำาหนดค่าใน Properties Window 2. กำาหนดโดยการเขียนชุดคำาสั่งใน Code Editor รูปที่ 2-4 การกำาหนดค่าใน Code Editor 15
  • 16. บทที่ 3 ActiveX Control พื้นฐาน ในการเขียนโปรแกรมเพื่อสร้างโปรแกรมประยุกต์ด้วย Visual Basic นั้น ActiveX Control เป็นส่วนสำาคัญที่ทำาให้การพัฒนาโปรแกรมเป็นไปด้วยความ รวดเร็ว ในบทนี้เราจะได้เรียนรู้การใช้งาน Control เรียนรู้เกี่ยวกับ พร็อพเพ อร์ตี้ เมธอด และ อีเวนต์ ของ ActiveX Control พื้นฐาน ของ Visual Basic การใช้งาน ActiveX Control ActiveX Control คือเครื่องมือที่ Visual Basic ได้จัดเตรียมไว้ให้นักพัฒนา โปรแกรมเพื่อใช้ในการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ ให้เกิดความง่ายและรวดเร็ว ในการเขียนโปรแกรม โดย ActiveX Control พื้นฐานที่ Visual Basic เตรียมไว้ที่ถูกนำามาใช้อยู่เสมอในการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์มีรายละเอียด ดังนี้ 16
  • 17. รูปที่ 3-1 Toolboxs แสดง ActiveX Control พื้นฐานของ Visual Basic ที่ ใช้บ่อย Label : แถบอักษร แถบอักษร หรือ แถบข้อความ ใช้เพื่อแสดงข้อความ เมื่อแสดงผลจะไม่ สามารถพิมพ์แก้ไขข้อมูลได้ นอกจากจะเขียนชุดคำาสั่งกำาหนดให้มีการ เปลี่ยนแปลง พร็อบเพอร์ตี้ที่สำาคัญของ Label Name ใช้สำาหรับกำาหนดชื่อ Alignment ใช้สำาหรับกำาหนดตำาแหน่งของข้อมูลบน AutoSize ใช้สำาหรับกำาหนดขนาดของ Label ให้มีขนาดพอดี กับข้อมูลอัตโนมัติ BackColor ใช้สำาหรับกำาหนดสีพื้น BackStyle ใช้สำาหรับกำาหนดแบบของพื้นหลังให้เป็นแบบทึบหรือ โปร่งใส BorderStyle ใช้สำาหรับกำาหนดรูปแบบของเส้นขอบ Caption ใช้สำาหรับกำาหนดข้อความ 17
  • 18. DataField ใช้สำาหรับกำาหนด Field ที่ต้องการเชื่อมต่อ DataForma t ใช้สำาหรับกำาหนดรูปแบบของการแสดงผลข้อมูลใน Label DataSource ใช้สำาหรับกำาหนดแหล่งข้อมูลหรือตารางที่ต้องการ เชื่อมต่อ Enabled ใช้สำาหรับกำาหนดให้สามารถใช้งานได้ Font ใช้สำาหรับกำาหนดรูปแบบตัวอักษร ForeColor ใช้สำาหรับกำาหนดสีตัวอักษร ToolTipTex t ใช้สำาหรับแสดงข้อความอธิบายเพิ่มเติม Visible ใช้สำาหรับกำาหนดให้ซ่อนหรือแสดง Label อีเวนต์ที่สำาคัญของ Label Click เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อมีการ Click Mouse ที่ Label TextBox : กรอบข้อความ กรอบข้อความใช้สำาหรับรับข้อมูล ขณะที่ทำาการประมวลผล พร็อบเพอร์ตี้ที่สำาคัญของ TextBox Name ใช้สำาหรับกำาหนดชื่อ Alignment ใช้สำาหรับกำาหนดตำาแหน่งของข้อมูล BackColor ใช้สำาหรับกำาหนดสีพื้น BorderStyle ใช้สำาหรับกำาหนดรูปแบบของเส้นขอบ Caption ใช้สำาหรับกำาหนดข้อความ 18
  • 19. DataField ใช้สำาหรับกำาหนด Field ที่ต้องการเชื่อมต่อ DataForma t ใช้สำาหรับกำาหนดรูปแบบของการแสดงผลข้อมูลใน TextBox DataSource ใช้สำาหรับกำาหนดแหล่งข้อมูลหรือตารางที่ต้องการ เชื่อมต่อ Enabled ใช้สำาหรับกำาหนดให้สามารถใช้งานได้ Font ใช้สำาหรับกำาหนดรูปแบบตัวอักษร ForeColor ใช้สำาหรับกำาหนดสีตัวอักษร Index ใช้สำาหรับกำาหนดลำาดับสมาชิกของ TextBox กรณีที่ กำาหนดให้เป็น Array Locked ใช้สำาหรับกำาหนด TextBox สามารถพิมพ์ข้อมูลได้ หรือไม่ MaxLength ใช้สำาหรับกำาหนดความยาวของข้อมูลตัวอักษรที่ สามารถพิมพ์ได้ MultiLine ใช้สำาหรับกำาหนดให้ TextBox สามารถพิมพ์ได้ หลายบรรทัด PasswordC har ใช้สำาหรับกำาหนดตัวอักษรที่ต้องการให้แสดงขณะที่ พิมพ์ ScrollBars ใช้สำาหรับกำาหนดให้มี Scroll bars ใน TextBox TabIndex ใช้สำาหรับกำาหนดลำาดับของ Control ที่ใช้ใน Form Text ใช้สำาหรับกำาหนดข้อความใน TextBox ToolTipTex t ใช้สำาหรับแสดงข้อความอธิบายเพิ่มเติม Visible ใช้สำาหรับกำาหนดให้ซ่อนหรือแสดง TextBox เมธอดที่สำาคัญของ TextBox SetFocus เป็นการกำาหนดให้รอรับข้อมูลที่ TextBox อีเวนต์ที่สำาคัญของ TextBox Change เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อข้อมูลของ TextBox มี การเปลี่ยนแปลง GotFocus เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อ TextBox เริ่มถูกใช้งาน KeyPress เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อมีการกดปุ่มใด ๆ บน 19
  • 20. คีย์บอร์ด LostFocus เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อ TextBox ถูกเลิกใช้งาน Frame : กรอบ ทำาหน้าที่แยกกลุ่มของ ActiveX Control ออกเป็นกลุ่ม ๆ โดย Frame จะ สามารถบรรจุ Control ต่าง ๆ เอาไว้ภายในได้ พร็อบเพอร์ตี้ที่สำาคัญของ Frame Name ใช้สำาหรับกำาหนดชื่อ BackColor ใช้สำาหรับกำาหนดสีพื้น BorderStyle ใช้สำาหรับกำาหนดรูปแบบของเส้นขอบ Caption ใช้สำาหรับกำาหนดข้อความ Font ใช้สำาหรับกำาหนดรูปแบบตัวอักษร ForeColor ใช้สำาหรับกำาหนดสีตัวอักษร ToolTipTex t ใช้สำาหรับแสดงข้อความอธิบายเพิ่มเติม Visiable ใช้สำาหรับกำาหนดให้ซ่อนหรือแสดง Frame CommandButton : ปุ่มกด ใช้สำาหรับรอรับการกดปุ่ม <Enter> หรือ คลิกเมาส์ เพื่อให้เกิดการทำางาน บางครั้งเราจะเรียกสั้น ๆ ว่า Button พร็อบเพอร์ตี้ที่สำาคัญของ CommandButton Name ใช้สำาหรับกำาหนดชื่อ BackColor ใช้สำาหรับกำาหนดสีพื้น Caption ใช้สำาหรับกำาหนดข้อความ Font ใช้สำาหรับกำาหนดรูปแบบตัวอักษร Index ใช้สำาหรับกำาหนดลำาดับสมาชิกของ CommandButton กรณีที่กำาหนดให้เป็น Array 20
  • 21. Picture ใช้สำาหรับกำาหนดรูปภาพบน CommandButton Style ใช้สำาหรับกำาหนดรูปแบบของปุ่มให้สามารถใช้งาน Graphic ได้หรือไม่ TabIndex ใช้สำาหรับกำาหนดลำาดับของ Control ที่ใช้ใน Form ToolTipTex t ใช้สำาหรับแสดงข้อความอธิบายเพิ่มเติม Visiable ใช้สำาหรับกำาหนดให้ซ่อนหรือแสดง CommandButton เมธอดที่สำาคัญของ CommandButton SetFocus เป็นการกำาหนดให้รอรับการ Click หรือ กดปุ่ม <Enter> ที่ CommandButton อีเวนต์ที่สำาคัญของ CommandButton Click เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อมีการกดปุ่ม GotFocus เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อ CommandButton เริ่ม ถูกใช้งาน LostFocus เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อ CommandButton ถูก เลิกใช้งาน CheckBox : ตัวเลือก ใช้สำาหรับเลือกข้อมูลที่ต้องการ โดยจะเลือกหรือไม่ก็ได้ และสามารถเลือกได้ มากกว่า 1 ตัวเลือก พร็อบเพอร์ตี้ที่สำาคัญของ CheckBox Name ใช้สำาหรับกำาหนดชื่อ Alignment ใช้สำาหรับกำาหนดตำาแหน่งของข้อมูลบน CheckBox BackColor ใช้สำาหรับกำาหนดสีพื้น Caption ใช้สำาหรับกำาหนดข้อความ Font ใช้สำาหรับกำาหนดรูปแบบตัวอักษร ForeColor ใช้สำาหรับกำาหนดสีตัวอักษร Index ใช้สำาหรับกำาหนดลำาดับสมาชิกของ CheckBox กรณี ที่กำาหนดให้เป็น Array Style ใช้สำาหรับกำาหนดรูปแบบของ CheckBox 21
  • 22. TabIndex ใช้สำาหรับกำาหนดลำาดับของ Control ที่ใช้ใน Form ToolTipTex t ใช้สำาหรับแสดงข้อความอธิบายเพิ่มเติม Value ใช้สำาหรับกำาหนดค่าการเลือก Visiable ใช้สำาหรับกำาหนดให้ซ่อนหรือแสดง CheckBox เมธอดที่สำาคัญของ CheckBox SetFocus ใช้สำาหรับกำาหนดให้รอรับการเลือกข้อมูลที่ CheckBox อีเวนต์ที่สำาคัญของ CheckBox Click เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อมีการกดปุ่ม GotFocus เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อ CheckBox เริ่มถูกใช้งาน KeyPress เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อมีการกดปุ่มใด ๆ บน คีย์บอร์ด LostFocus เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อ CheckBox ถูกเลิกใช้งาน OptionButton : ตัวเลือกบังคับเลือก ใช้บังคับเลือกข้อมูลโดยสามารถเลือกข้อมูลได้เพียงค่าเดียวในกลุ่มเดียวกัน พร็อบเพอร์ตี้ที่สำาคัญของ OptionButton Name ใช้สำาหรับกำาหนดชื่อ Alignment ใช้สำาหรับกำาหนดตำาแหน่งของข้อมูลบน OptionButton BackColor ใช้สำาหรับกำาหนดสีพื้น Caption ใช้สำาหรับกำาหนดข้อความ Font ใช้สำาหรับกำาหนดรูปแบบตัวอักษร ForeColor ใช้สำาหรับกำาหนดสีตัวอักษร Index ใช้สำาหรับกำาหนดลำาดับสมาชิกของ OptionButton กรณีที่กำาหนดให้เป็น Array Style ใช้สำาหรับกำาหนดรูปแบบของ OptionButton TabIndex ใช้สำาหรับกำาหนดลำาดับของ Control ที่ใช้ใน Form ToolTipTex t ใช้สำาหรับแสดงข้อความอธิบายเพิ่มเติม 22
  • 23. Value ใช้สำำหรับกำำหนดค่ำกำรเลือก Visiable ใช้สำำหรับกำำหนดให้ซ่อนหรือแสดง OptionButton เมธอดที่สำำคัญของ OptionButton SetFocus ใช้สำำหรับกำำหนดให้รอรับกำรเลือกข้อมูลที่ OptionButton อีเวนต์ที่สำำคัญของ OptionButton Click เป็นเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อมีกำรกดปุ่ม GotFocus เป็นเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อ OptionButton เริ่มถูก ใช้งำน KeyPress เป็นเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อมีกำรกดปุ่มใด ๆ บน คีย์บอร์ด LostFocus เป็นเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อ OptionButton ถูกเลิก ใช้งำน ComboBox : กล่องรำยกำรข้อมูล ใช้สำำหรับกำรเลือกข้อมูลจำกรำยกำรข้อมูลที่มีอยู่ โดยจะไม่แสดงรำยกำร ข้อมูลจนกว่ำจะ Click Mouse ที่ Drop Down จึงจะแสดงรำยกำรข้อมูลให้ เลือก พร็อบเพอร์ตี้ที่สำำคัญของ ComboBox Name ใช้สำำหรับกำำหนดชื่อ BackColor ใช้สำำหรับกำำหนดสีพื้น Font ใช้สำำหรับกำำหนดรูปแบบตัวอักษร ForeColor ใช้สำำหรับกำำหนดสีตัวอักษร Index ใช้สำำหรับกำำหนดลำำดับสมำชิกของ ComboBox กรณีที่กำำหนดให้เป็น Array List ใช้สำำหรับใส่ระบุหรือกำำหนดตัวเลือก ListIndex ใช้สำำหรับระบุลำำดับตัวเลือก Locked ใช้สำำหรับกำำหนดให้ ComboBox สำมำรถพิมพ์ หรือเลือกข้อมูล ได้หรือไม่ได้ Style ใช้สำำหรับกำำหนดรูปแบบของ ComboBox TabIndex ใช้สำำหรับกำำหนดลำำดับของ Control ที่ใช้ใน Form 23
  • 24. Text ใช้สำำหรับกำำหนดข้อควำมใน ComboBox ToolTipTex t ใช้สำำหรับแสดงข้อควำมอธิบำยเพิ่มเติม Visiable ใช้สำำหรับกำำหนดให้ซ่อนหรือแสดง ComboBox เมธอดที่สำำคัญของ ComboBox AddItem เป็นคำำสั่งสำำหรับเพิ่มตัวเลือกเข้ำไปใน ComboBox Clear เป็นคำำสั่งสำำหรับลบข้อมูลทั้งหมดใน ComboBox RemoveIte m เป็นคำำสั่งสำำหรับลบข้อมูลโดยต้องระบุลำำดับของ ข้อมูลที่ต้องกำรลบ SetFocus ใช้สำำหรับกำำหนดให้รอรับกำรเลือกข้อมูลที่ ComboBox อีเวนต์ที่สำำคัญของ ComboBox Change เป็นเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อข้อมูลของ ComboBox มี กำรเปลี่ยนแปลง Click เป็นเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อมีกำรกดปุ่มเลื่อนตำำแหน่ง หรือ Click Mouse GotFocus เป็นเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อ ComboBox เริ่มถูกใช้ งำน KeyPress เป็นเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อมีกำรกดปุ่มใด ๆ บน คีย์บอร์ด LostFocus เป็นเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อ ComboBox ถูกเลิกใช้ งำน ListBox : กล่องรำยกำรข้อมูล ใช้สำำหรับเลือกข้อมูลจำกรำยกำรข้อมูลที่มีอยู่ พร็อบเพอร์ตี้ที่สำำคัญของ ListBox Name ใช้สำำหรับกำำหนดชื่อ BackColor ใช้สำำหรับกำำหนดสีพื้น Font ใช้สำำหรับกำำหนดรูปแบบตัวอักษร ForeColor ใช้สำำหรับกำำหนดสีตัวอักษร 24
  • 25. Index ใช้สำำหรับกำำหนดลำำดับสมำชิกของ ListBox กรณีที่ กำำหนดให้เป็น Array List ใช้สำำหรับใส่ระบุหรือกำำหนดตัวเลือก ListIndex ใช้สำำหรับระบุลำำดับตัวเลือก Locked ใช้สำำหรับกำำหนดให้ ListBox สำมำรถพิมพ์ หรือ เลือกข้อมูล ได้หรือไม่ได้ Style ใช้สำำหรับกำำหนดรูปแบบของ ListBox TabIndex ใช้สำำหรับกำำหนดลำำดับของ Control ที่ใช้ใน Form Text ใช้สำำหรับกำำหนดข้อควำมใน ListBox ToolTipTex t ใช้สำำหรับแสดงข้อควำมอธิบำยเพิ่มเติม Visiable ใช้สำำหรับกำำหนดให้ซ่อนหรือแสดง ListBox เมธอดที่สำำคัญของ ListBox AddItem เป็นคำำสั่งสำำหรับเพิ่มตัวเลือกเข้ำไปใน ListBox Clear เป็นคำำสั่งสำำหรับลบข้อมูลทั้งหมดใน ListBox RemoveIte m เป็นคำำสั่งสำำหรับลบข้อมูลโดยต้องระบุลำำดับของ ข้อมูลที่ต้องกำรลบ SetFocus ใช้สำำหรับกำำหนดให้รอรับกำรเลือกข้อมูลที่ ListBox อีเวนต์ที่สำำคัญของ ListBox Change เป็นเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อข้อมูลของ ListBox มีกำร เปลี่ยนแปลง Click เป็นเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อมีกำรกดปุ่มเลื่อนตำำแหน่ง หรือ Click Mouse GotFocus เป็นเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อ ListBox เริ่มถูกใช้งำน KeyPress เป็นเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อมีกำรกดปุ่มใด ๆ บน คีย์บอร์ด LostFocus เป็นเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อ ListBox ถูกเลิกใช้งำน 25
  • 26. Image : รูปภำพ ใช้สำำหรับแสดงรูปภำพ พร็อบเพอร์ตี้ที่สำำคัญของ Image Name ใช้สำำหรับกำำหนดชื่อ BorderStyleใช้สำำหรับกำำหนดรูปแบบของเส้นขอบ Index ใช้สำำหรับกำำหนดลำำดับสมำชิกของ Image กรณีที่ กำำหนดให้เป็น Array Picture ใช้สำำหรับกำำหนดรูปภำพบน Image Stretch ใช้สำำหรับกำำหนดให้ปรับขนำดของรูปภำพให้พอดีกับ ขนำดของ Image ToolTipTex t ใช้สำำหรับแสดงข้อควำมอธิบำยเพิ่มเติม Visiable ใช้สำำหรับกำำหนดให้ซ่อนหรือแสดง Image อีเวนต์ที่สำำคัญของ Image Click เป็นเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อมีกำร Click Mouse ที่ Image Timer : เวลำ ใช้สำำหรับกำำหนดกำรทำำงำนของ Control ที่ต้องกำรให้ทำำงำนตำมช่วงเวลำ พร็อบเพอร์ตี้ที่สำำคัญของ Timer Name ใช้สำำหรับกำำหนดชื่อ Interval ใช้สำำหรับกำำหนดช่วงเวลำ อีเวนต์ที่สำำคัญของ Timer Timer เป็นเหตุกำรณ์เกิดขึ้นเมื่อเวลำเปลี่ยน 26
  • 27. บทที่ 4 กำรสร้ำง Application เป็นที่ทรำบดีว่ำหลักกำรของกำรพัฒนำโปรแกรมประยุกต์ด้วย Visual Basic ก็คือ กำรสร้ำงองค์ประกอบต่ำง ๆ ของโปรแกรมประยุกต์ด้วยคอนโทรล โดยมีรูปแบบที่สื่อด้วยภำพ หรือ ที่เรียกกันติดปำกว่ำ กำรออกแบบอินเตอร์เฟส ต่อมำก็คือกำรเขียนชุดคำำสั่งเพื่อรองรับเหตุกำรณ์ต่ำงๆ ที่อำจเกิดขึ้นได้ ซึ่งจะ แบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอนใหญ่ ๆ คือ 1. เลือกชนิดของโปรแกรมประยุกต์ 2. สร้ำงยูสเซอร์อินเตอร์เฟส (หรือส่วนติดต่อกับผู้ใช้ อำจเรียกสั้นๆว่ำ อินเตอร์เฟส) 3. เขียนชุดคำำสั่งเพื่อรองรับเหตุกำรณ์ต่ำงๆ ที่อำจเกิดขึ้นกับแต่ละคอนโทรล หรืออ็อบเจกต์ 4. กำรทดสอบ ตรวจสอบ และดักจับข้อผิดพลำด 5. คอมไพล์โปรเจ็กต์ให้เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่สมบูรณ์ (เช่น *.exe หรือ *.dll เป็นต้น) กำรใช้งำนคอนโทรลในกำรสร้ำงอินเตอร์เฟส จุดเริ่มต้นของกำรพัฒนำโปรแกรมประยุกต์ด้วย Visual Basic ก็คือกำรนำำ คอนโทรลชนิดต่ำงๆ ที่ Visual Basic จัดเตรียมไว้นำำมำสร้ำงอินเตอร์เฟส กำร พัฒนำโปรแกรมประยุกต์ที่ดี ทำำได้โดยกำรออกแบบอินเตอร์เฟสที่ใช้งำนง่ำย เป็นมิตรกับผู้ใช้ จะส่งผลให้ระยะเวลำในกำรพัฒนำโปรแกรมประยุกต์ลดลงไป ได้มำกทีเดียว เพรำะสิ่งที่เหลืออยู่คือกำรเขียนโค้ดเพื่อทำำให้โปร เจ็กต์ทำำงำน ให้สมบูรณ์มำกที่สุด กำรนำำคอนโทรลมำใช้งำน สำำหรับวิธีกำรนำำคอนโทรลมำใช้งำน วำดอินเตอร์เฟสบนฟอร์ม มี 2 วิธี คือ 1. คลิ๊กที่ตัวคอนโทรลนั้น ๆ บน ToolBox แล้วนำำไปวำดบนฟอร์ม 2. ดับเบิลคลิ๊กที่ตัวคอนโทรลนั้นเลย แล้ว Visual Basic จะนำำคอนโทรลไปวำง บนฟอร์มให้โดยอัตโนมัติ ซึ่ง Visual Basic จะตั้งค่ำ default ไว้ให้ทั้ง ตำำแหน่ง และขนำดของคอนโทรล แล้วค่อยแก้ในภำยหลัง สำำหรับคอนโทรล CommandButton อำจใช้ขนำดที่ Visual Basic ตั้งมำไปใช้งำนเลยก็ได้ เพรำะมีขนำดเหมำะสมอยู่แล้ว พื้นฐำนกำรเขียนโค้ด มี 2 วิธีที่สำมำรถเรียก editor ขึ้นมำใช้งำนคือ 1. ดับเบิลคลิ๊กที่ตัวคอนโทรลนั้น ๆ 27
  • 28. 2. คลิ๊กที่คอนโทรลนั้น ให้อยู่ในสภำพใช้งำน (active) หรือได้รับควำม สนใจ(focus) แล้วกด F7 กำรใช้งำน Editor Editor ถือได้ว่ำเป็นส่วนที่มีควำมสำำคัญมำกอีกส่วนหนึ่งในบรรดำเครื่องมือที่ Visual Basic มี เพรำะใช้สำำหรับเขียนโค้ดให้โปรแกรมประยุกต์ทำำงำนได้ เครื่องมือตัวนี้ต้องใช้งำนมำกที่สุด ในขบวนกำรพัฒนำโปรกแกรมประยุกต์ด้วย Visual Basic กำรศึกษำสภำพแวดล้อมของ Editor จึงมีควำมสำำคัญเป็นอย่ำง ยิ่ง สำมำรถแยกส่วนต่ำงๆ ของ Editor ออกได้เป็น 3 ส่วนดังนี้ 1. ส่วน Object List Box มีหน้ำที่แสดงชื่อคอนโทรลหรืออ็อบเจกต์ที่ถูกนำำมำ ใช้งำน 2. ส่วน Event List Box มีหน้ำที่แสดงเหตุกำรณ์ (Event) ของคอนโทรลที่ถูก เลือกใน Object List Box 3. ส่วนกำรเขียนโค้ด เมื่อเลือกคอนโทรลใน Object List Box และเลือก เหตุกำรณ์ใน Event List Box แล้ว Visual Basic จะสร้ำงโพรซีเดอร์ (Procedure) ให้อัตโนมัติ รูปที่ 4-1 Editor ควำมสำมำรถพิเศษของ Editor ในกำรใช้งำน Editor เมื่อพิมพ์ชื่อคอนโทรลแล้วพิมพ์ Editor จะแสดง ToolTip ที่เป็นรำยกำรพร็อพเพอร์ตี้หรือรำยกำรเมธอดที่คอนโทรลนั้น สนับสนุนอยู่ขึ้นมำทันที ช่วยให้ไม่ต้องจำำว่ำคอนโทรลนี้มีพร็อพเพอร์ตี้หรือมี เมธอดอะไรบ้ำง รวมถึงป้องกันไม่ให้พิมพ์ผิดอีกด้วย และถ้ำมีกำรเรียกใช้งำน 28
  • 29. ฟังก์ชันมำตรฐำนต่ำง ๆ ToolTip ก็จะแสดงรูปแบบไวยำกรณ์ของฟังก์ชันนั้นๆ ให้ทันทีเช่นกัน ควำมสำมำรถของ Editor อีกอย่ำงก็คือสำมำรถตรวจสอบไวยำกรณ์ (Syntax) ตำมโครงสร้ำงของภำษำ Visual Basic ได้อีกด้วย โดยขณะที่พิมพ์โค้ดเข้ำไป เมื่อกด Enter จบบรรทัด Visual Basic จะทำำงำนตรวจสอบไวยำกรณ์ทันที ถ้ำ มีข้อผิดพลำด ในกำรใช้งำนไวยำกรณ์เกิดขึ้น Visual Basic จะแสดงข้อควำม ช่วยเหลือที่เกี่ยวข้องควำมผิดพลำดนั้นๆ ขึ้นมำทันที กำรใช้ MessageBox MessageBox เป็นเครื่องมือที่ใช้โต้ตอบกับผู้ใช้ โดยจะแสดงข้อมูลเพียงอย่ำง เดียว แล้วให้ผู้ใช้ Click ปุ่มเลือกในกรณีที่ต้องกำรให้ผู้ใช้เลือกตอบ รูปแบบกำรใช้งำน MsgBox Prompt[,Buttons][,Title] Prompt คือข้อควำมที่ต้องกำรแสดงใน MessageBox ในกรณีที่ต้องกำร แสดงข้อมูลหลำยบรรทัดทำำได้โดยเชื่อมกับ chr(13) Buttons คือส่วนที่ใช้กำำหนดกำรแสดงปุ่มและกำำหนด รูปไอคอนบน MessageBox Title คือส่วนของข้อควำมที่ต้องกำรแสดงบนแถบ ด้ำนบนของ MessageBox กำรกำำหนดปุ่มและไอคอนของปุ่มสำมำรถทำำได้โดยกำรระบุค่ำคงที่ของแต่ละ อย่ำงเชื่อมด้วยเครื่องหมำย + ซึ่งรำยละเอียดของค่ำคงที่สำมำรถใช้งำนได้มี ดังนี้ กลุ่มที่ใช้สำำหรับกำำหนดปุ่มที่จะแสดงใน MessageBox ค่ำคงที่ รำยละเอียด VbOKOnly แสดงปุ่ม OK ปุ่มเดียว VbOKCancel แสดงปุ่ม OK และ Cancel VbYesNo แสดงปุ่ม Yes และ No 29
  • 30. VbYesNoCancel แสดงปุ่ม Yes No และ Cancel VbAbortRetrylgno re แสดงปุ่ม Abort Retry และ lgnore VbRetryCancel แสดงปุ่ม Retry และ Cancel กลุ่มที่ใช้สำำหรับกำำหนดไอคอนที่จะแสดงใน MessageBox ค่ำคงที่ รำยละเอียด VbCritical แสดงไอคอน Critical Message VbExclamation แสดงไอคอน Earning Message Vblnformation แสดงไอคอน Information Message VbQuestion แสดงไอคอน Question Message กลุ่มที่ใช้สำำหรับกำำหนดปุ่มเริ่มต้น ค่ำคงที่ รำยละเอียด VbDefaul tButton1 กำำหนดให้ปุ่มแรก เป็นปุ่มเริ่มต้น VbDefaul tButton2 กำำหนดให้ปุ่มที่ 2 เป็นปุ่มเริ่มต้น VbDefaul tButton3 กำำหนดให้ปุ่มที่ 3 เป็นปุ่มเริ่มต้น VbDefaul tButton4 กำำหนดให้ปุ่มที่ 4 เป็นปุ่มเริ่มต้น กำรใช้ InputBox 30
  • 31. InputBox เป็นเครื่องมือที่ใช้รับข้อมูลโดยให้ผู้ใช้ป้อนข้อมูลลงไป แล้วเก็บ ข้อมูลนั้นไว้ในตัวแปร รูปแบบกำรใช้งำน InputBox(Prompt[,Title][,Default]) Prompt คือข้อควำมที่ต้องกำรแสดงใน InputBox ใน กรณีที่ต้องกำร แสดงข้อมูล หลำยบรรทัดทำำได้โดยเชื่อมกับ chr(13) Title คือส่วนของข้อควำมที่ต้องกำรแสดงบนแถบด้ำน บนของ InputBox Default คือค่ำที่กำำหนดให้กรณีที่ไม่มีกำรป้อนข้อมูลใน InputBox กำรสร้ำงเมนู ในกำรพัฒนำโปรแกรมประยุกต์ 1 โปรแกรมจะประกอบไปด้วยฟอร์มจำำนวน มำก ในกำรเรียกใช้งำนฟอร์มแต่ละฟอร์มจำำเป็นจะต้องมีเมนูมำช่วยจัดหมวดหมู่ ของฟอร์ม เพื่อให้ง่ำยต่อกำรใช้งำน กำรสร้ำงเมนูใน Visual Basic สำมำรถ ทำำได้โดยเรียกใช้คำำสั่งสำำหรับสร้ำงเมนูโดย Chick ขวำบนฟอร์มที่ต้องกำร สร้ำงเมนู เลือกคำำสั่ง Menu Editor 31
  • 32. รูปที่ 4-2 กำรเรียกใช้งำน Menu Editor รูปที่ 4-3 Menu Editor รำยละเอียดต่ำง ๆ ของ Menu Editor Caption ข้อควำมที่จะปรำกฏบนเมนู Name ชื่อเมนู ห้ำมซำ้ำกัน 32
  • 33. Index ใช้สำำหรับระบุลำำดับกรณีที่กำำหนดให้เป็นเมนูแบบ อำร์เรย์ ShortCut ใช้สำำหรับกำำหนดคีย์ลัดในกำรเรียกใช้เมนู Checked กำำหนดให้เป็นเมนูที่มีเครื่องหมำยถูกหน้ำเมนู Enabled กำำหนดให้สำมำรถใช้งำนเมนูได้ถ้ำมีเครื่องหมำย ถูก หรือ กำำหนดให้ค่ำเป็น True Visible กำำหนดให้แสดงเมนูถ้ำมีเครื่องหมำยถูก หรือ กำำหนดให้มีค่ำเป็น True บทที่ 5 ข้อมูลและตัวแปร ใบบทนี้จะเป็นกำรอธิบำยเกี่ยวกับชนิดของข้อมูล กำรใช้งำนตัวแปร และค่ำ คงที่ ที่ใช้กับ Visual Basic ไม่ว่ำโปรแกรมประยุกต์ใด ภำษำใด สิ่งที่ต้องรู้เป็น อันดับแรกๆ ก็คือ ตัวแปร ค่ำคงที่และ ชนิดของข้อมูล ของภำษำนั้น ๆ ซึ่งจะ ทำำให้เห็นข้อจำำกัดต่ำงๆ ในภำษำนั้น ๆ ทำำให้สำมำรถใช้งำนได้อย่ำงถูกต้อง และมีประสิทธิภำพ เพรำะตัวแปรและค่ำคงที่ถือได้ว่ำเป็นตัวแทนของข้อมูล ที่จะ 33
  • 34. ต้องนำำไปใช้งำน ประมวลผล และแสดงสิ่งที่ได้จำกกำรประมวลผล ชนิดของข้อมูล Visual Basic มีชนิดของข้อมูลหลำยชนิด ไม่ว่ำจะเป็นตัวเลขจำำนวนเต็ม ตัวเลขที่มีทศนิยม ข้อควำม ตัวเลขทำงกำรเงิน ค่ำทำงตรรกะ เป็นต้น ข้อมูล แต่ละชนิด จะใช้พื้นที่ในกำรเก็บไม่เท่ำกัน รวมถึงควำมเร็วในกำรประมวลผลก็ แตกต่ำงกันด้วย สำมำรถแบ่งชนิดของข้อมูลที่ใช้กัน Visual Basic ได้ดัง ตำรำงต่อไปนี้ ชนิดข้อมูล รำยละเอียด หน่วย ควำมจำำ Boolean เก็บค่ำทำงตรรกะที่ได้มี 2 ค่ำ คือ true (จริง), false (เท็จ) 2 Bytes Byte เก็บค่ำเลขจำำนวนเต็มตั้งแต่ 0-255 1 Byte Currency ใช้เก็บตัวเลขจำำนวนจริง มีค่ำ ระหว่ำง - 922,337,203,685,477.5808 ถึง 922,337,203,685,477.5807 8 Bytes Date ใช้สำำหรับเก็บวันที่และเวลำ 8 Bytes Double ใช้เก็บตัวเลขจำำนวนจริง แยกเป็น 2 กรณี คือ ค่ำบวกอยู่ระหว่ำง 4.94065645841247E-324 ถึง 1.79769313486232E308 ค่ำลบ อยู่ระหว่ำง - 1.79769313486232E308 ถึง -4.94065645841247E-324 8 Bytes Integer เก็บค่ำเลขจำำนวนเต็มที่มีค่ำระหว่ำง -32768 ถึง 32767 2 Bytes Long ใช้เก็บเลขจำำนวนเต็มที่มีค่ำระหว่ำง -2,147,483,648 ถึง 2,147,483,647 4 Bytes Object ใช้สำำหรับแทนวัตถุที่ Visual Basic สนับสนุน 4 Bytes Single ใช้เก็บตัวเลขจำำนวนจริง แยกเป็น 2 กรณี คือ ค่ำบวกอยู่ระหว่ำง 1.401298E-45 ถึง 3.402823E38 และค่ำลบอยู่ ระหว่ำง -3.402823E38 ถึง 4 Bytes 34
  • 35. -1.401298E45 String ใช้เก็บตัวอักษร ข้อควำม และ ตัวเลข 1 ตัว/1 ไบต์ Variant ข้อมูลพิเศษสำมำรถเก็บข้อมูลได้ทุก ชนิด 16 Bytes กำรประกำศค่ำตัวแปร (Variable Declaration) ก่อนที่จะใช้งำนตัวแปร หรือค่ำคงที่ทุกครั้ง ควรประกำศตัวแปร (variable declaration) ก่อน เพื่อให้ Visual Basic รู้ว่ำ ตัวแปรที่ต้องกำรใช้งำน ใช้ แทนข้อมูลชนิดใดถึงแม้ว่ำ Visual Basic อนุญำตให้ใช้งำนตัวแปรได้ โดยไม่ ต้องประกำศตัวแปร แต่ตัวแปรที่ได้จะใช้ทรัพยำกรระบบ มำกเกินควำมจำำเป็น รวมถึงประมวลผลได้ช้ำ เพรำะจะเป็นตัวแปรที่สำมำรถแทนข้อมูลได้ทุกชนิด ซึ่ง Visual Basic เรียกว่ำ ตัวแปรชนิด Variant ซึ่งควรหลีกเลี่ยงกำรใช้งำน ตัวแปรชนิดนี้ รูปแบบคำำสั่งกำรประกำศตัวแปรของ Visual Basic Dim varname As datatypes Dim คือ คำำสั่ง (statements) สำำหรับประกำศตัวแปร varname คือ ชื่อของตัวแปรที่ต้องกำรประกำศ As คือ ส่วนที่บอกให้ Visual Basic ทรำบว่ำต้องกำร กำำหนดชนิดของข้อมูล datatypes คือ ชนิดของข้อมูลที่ Visual Basic สนับสนุน ตัวอย่ำง รูปที่ 5-1 กำรประกำศตัวแปร 35
  • 36. กรณีที่ต้องกำรกำำหนดให้มีกำรประกำศตัวแปรทุกครั้งก่อนที่จะมีกำรเรียกใช้ ตัวแปร เพื่อหลีกเลี่ยงกำรใช้ตัวแปรชนิด Variant ให้พิมพ์คำำสั่ง Option Explicit ไว้ข้ำงบนสุดก่อนพิมพ์คำำสั่งอื่น ๆ กฎกำรตั้งชื่อตัวแปรและค่ำคงที่ 1. ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะเท่ำนั้น 2. ควำมยำวของชื่อที่ตั้งสูงสุดไม่เกิน 255 ตัวอักษร 3. ชื่อที่ตั้ง ต้องไม่ซำ้ำกันคำำสงวน (Keywords) คำำสั่ง (Statements) ฟังก์ชัน (Functions) หรืออื่น ๆ ที่ Visual Basic กำำหนดไว้ 4. ห้ำมตั้งชื่อซำ้ำกันในโพรซีเดอร์เดียวกัน หรือในขอบเขตเดียวกัน 5. ห้ำมใช้เครื่องหมำยทำงคณิตศำสตร์, ตัวดำำเนินกำร (Operators) หรือ เครื่องหมำยพิเศษ เช่น @, # มำตั้งชื่อ 6. ห้ำมมีช่องว่ำงในชื่อตัวแปรถ้ำต้องกำรเว้นว่ำงให้ใช้เครื่องหมำย _ (Underscore) เท่ำนั้น กำรตั้งชื่อวัตถุ วัตถุ คำำนำำหน้ำ (Prefix) ตัวอย่ำง CheckBox Chk ChkStatus ComboBox Cbo CboType CommandButto n Cmd CmdSave Image Img ImgProduc t Label Lbl Lbladdress ListBox Lst LstDay OptionButton Opt OptSex TextBox Txt TxtName Timer Tmr TmrTime 36
  • 37. ขอบเขตของตัวแปร (Scope of Variable) ใน Visual Basic สำมำรถแบ่งขอบเขตตัวแปรได้ 2 ประเภท คือ 1. ตัวแปรแบบ Local 2. ตัวแปรแบบ Public ตัวแปรแบบ Local หมำยถึง ตัวแปรที่ประกำศขึ้นมำ ให้สำมำรถเรียกใช้งำนได้ ในเฉพำะ โพรซีเดอร์ที่ประกำศเท่ำนั้น มักใช้ประกำศตัวแปรที่ต้องกำรใช้ชั่วครำว หรือ ต้องกำรใช้ในโพรซีเดอร์นั้นๆ ตัวอย่ำง Private Sub AddNum_Click( ) Dim x As Integer Dim y As Integer x = 5 y = 6 x = x + y End Sub Private Sub DelNum_Click( ) Dim x As Integer Dim y As Integer x = 3 y = 2 จำกตัวอย่ำง ตัวแปร x และ y ถูกประกำศใน Sub AddNum และ Sub DelNum ซึ่ง x และ y ใน AddNum จะเป็นคนละตัวกับ x และ y ใน DelNum 37
  • 38. ตัวแปรแบบ Public หมำยถึง ตัวแปรที่ประกำศขึ้นในส่วนบนหลัง Option Explicit ทำำให้สำมำรถ เรียกใช้งำนได้ทุกโพรซีเดอร์ในฟอร์มนั้น กรณีที่ประกำศตัวแปรแบบ Public ใน Module จะทำำให้ตัวแปรนั้นสำมำรถเรียกใช้งำนได้จำกทุกฟอร์ม ตัวอย่ำง Option Explicit Dim x as Integer Dim y as Integer Private Sub AddNum_Click( ) x = 5 y = 6 x = x + y End Sub Private Sub DelNum_Click( ) x = x - y End Sub จำกตัวอย่ำง ตัวแปร x และ y ถูกประกำศในถัดจำก Option Explicit ก่อน Sub AddNum ทำำให้ตัวแปร x และ y ใน Sub AddNum และ Sub DelNum เป็นตัวแปรตัวเดียวกัน ตัวแปรอำร์เรย์ (Array) ตัวแปรอำร์เรย์ เป็นกลุ่มของตัวแปรที่ประกำศขึ้นมำ โดยใช้ชื่อของเดียวใช้ค่ำ Index ในกำรอ้ำงถึง ประโยชน์ของตัวแปรชนิดนี้คือ กรณีที่ต้องกำรมีกำรใช้ ตัวแปรจำำนวนมำก กำรประกำศตัวแปรสำมำรถประกำศเพียงชื่อเดียว ลดควำม ซำ้ำซ้อนของตัวแปร และทำำให้ง่ำยต่อกำรเรียกใช้ มีรูปแบบกำรประกำศดังนี้ Dim Varname(amount) as Datatype Dim คือ คำำสั่ง (statements) สำำหรับประกำศ ตัวแปร varname คือ ชื่อของตัวแปรอำร์เรย์ที่ต้องกำรประกำศ amount คือ จำำนวนสมำชิกของอำร์เรย์ As คือ ส่วนที่บอกให้ Visual Basic ทรำบว่ำ ต้องกำรกำำหนดชนิดของข้อมูล 38
  • 39. datatypes คือ ชนิดของข้อมูลที่ Visual Basic สนับสนุน ตัวอย่ำง รูปที่ 5-2 กำรประกำศอำร์เรย์ ตัวแปรอำร์เรย์แบ่งออกได้ 2 ชนิด คือ 1. ตัวแปรอำร์เรย์แบบสแตติก (Static Arrays) 2. ตัวแปรอำร์เรย์แบบไดนำมิก (Dynamic Arrays) ตัวแปรอำร์เรย์แบบสแตติก (Static Arrays) เป็นอำร์เรย์ที่มีกำรระบุจำำนวนสมำชิกเมื่อมีกำรประกำศตัวแปร จะใช้อำร์เรย์ ชนิดนี้ในกรณีที่ทรำบจำำนวนสมำชิกของอำร์เรย์ที่แน่นอน ตัวอย่ำง Dim vprint (10) as String จำกตัวอย่ำงเป็นกำรประกำศตัวแปรอำร์เรย์ชื่อ vprint ให้มีจำำนวนสมำชิกทั้ง สิ้น 10 และ เป็นข้อมูลชนิดตัวอักษร ในกำรอ้ำงถึงตัวแปรให้ทำำกำรระบุ Index หรือลำำดับที่ของสมำชิก โดยสมำชิกตัวแรกให้ระบุ Index เป็น 0 เช่น เมื่อ ต้องกำรอ้ำงถึงสมำชิกตัวแรกสุดให้ระบุเป็น vprint(0)สมำชิกตัวที่ 7 ให้ระบุ เป็น vprint(6) สมำชิกตัวสุดท้ำยระบุเป็น vprint(9) ตัวแปรอำร์เรย์แบบไดนำมิก (Dynamic Arrays) เป็นอำร์เรย์ที่ไม่มีกำรระบุจำำนวนสมำชิกเมื่อมีกำรประกำศตัวแปร เนื่องจำกไม่ ทรำบจำำนวนสมำชิกที่แน่นอน ตัวอย่ำง Dim ccode( ) as String 39
  • 40. จำกตัวอย่ำงเป็นกำรประกำศตัวแปรอำร์เรย์ชื่อ ccode โดยไม่ระบุจำำนวน สมำชิก และเป็นข้อมูลชนิดตัวอักษร เมื่อต้องกำรใช้งำนตัวแปรจะต้องระบุจำำนวนสมำชิกให้กับตัวแปรอำร์เรย์ โดย ใช้คำำสั่งดังนี้ Redim ccode(5) จำกตัวอย่ำงเป็นกำรกำำหนดให้ตัวแปรอำร์เรย์ ccode ที่ได้ประกำศไว้แล้วให้มี จำำนวนสมำชิก 5 ข้อดีของตัวแปรอำร์เรย์แบบไดนำมิกคือ จำำนวนสมำชิกของอำร์เรย์จะถูก กำำหนดให้มีควำมเหมำะสมต่อกำรใช้งำนเนื่อง เนื่องจำกสำมำรถระบุจำำนวน สมำชิกได้ภำยหลัง แต่ตัวแปรอำร์เรย์แบบสแตติกจะต้องระบุจำำนวนสมำชิกทันที ที่มีกำรประกำศตัวแปร กำรสร้ำงชนิดของตัวแปรขึ้นใช้เอง (User- defined data type) กรณีที่ต้องกำรเก็บข้อมูลเป็นชุดแต่ประกอบด้วยข้อมูลหลำย ๆ ชนิด สำมำรถ ทำำได้โดยกำรสร้ำงชนิดข้อมูลพิเศษขึ้นมำ โดยนำำชนิดของข้อมูลพื้นฐำนดัง กล่ำวทั้งหมดมำสร้ำงตำมที่ต้องกำรโดยมีรูปแบบดังนี้ [Public I Private] Type Varname elementname [([subscripts])] As type [elementname [([subscripts])] As type] …… End Type Public(Opt ional) คือ ส่วนที่กำำหนดให้ค่ำคงที่สำมำรถใช้ได้ทั้ง โปรเจ็กต์ ทุกโมดูล Private(Op tional) คือ ส่วนที่กำำหนดให้ค่ำคงที่สำมำรถใช้ได้ เฉพำะโมดูลที่ประกำศเท่ำนั้น Varname คือ ชื่อของชนิดข้อมูลที่กำำหนดขึ้นมำใหม่ elementna me คือ ชื่อของตัวแปร ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของชนิด ข้อมูลที่สร้ำงขึ้นมำ Subscripts คือ จำำนวนสมำชิกกรณีที่ต้องกำรให้เป็น ตัวแปรอำร์เรย Type คือ ชนิดของข้อมูลพื้นฐำนแต่ละตัว ตัวอย่ำง Type Customer 40
  • 41. CustName As String Address As String Age As Integer End Type จำกตัวอย่ำงเป็นกำรสร้ำงชนิดข้อมูลขึ้นมำใหม่ โดยให้ชื่อว่ำ Customer โดย มีตัวแปรย่อย Name Address และ Age เมื่อต้องกำรใช้งำนชนิดข้อมูลดัง กล่ำวต้องทำำกำรประกำศตัวแปรดังนี้ Dim newcust As Customer เมื่อต้องกำรเก็บค่ำหรือนำำค่ำไปใช้ให้ใช้คำำสั่งดังนี้ newcust.CustName = "ปริษำ ปั้นดี" newcust.Address = "123 ถ.ศรีสุมังค์ ต.เมืองใต้ อ.เมือง จ.ศรีสะเกษ newcust.Age = 45 กำรประกำศค่ำคงที่ (Constant) ค่ำคงที่ (Constant) หมำยถึงข้อมูลที่มีค่ำคงที่ไม่มีกำรเปลี่ยนแปลง ในกำร ประกำศค่ำคงที่ต้องใช้คำำสั่ง Const เพื่อสร้ำงค่ำคงที่ มีรูปแบบดังนี้ [Public I Private] Const constname [As type] = expression Public(Op tional) คือ ส่วนที่กำำหนดให้ค่ำคงที่สำมำรถใช้ได้ทั้งโปร เจ็กต์ ทุกโมดูล Private(O ptional) คือ ส่วนที่กำำหนดให้ค่ำคงที่สำมำรถใช้ได้เฉพำะ โมดูลที่ประกำศเท่ำนั้น Const คือ คำำสั่งสร้ำงค่ำคงที่ Constna me คือ ชื่อค่ำคงที่ Type (Optional ) คือ กำรกำำหนดชนิดของค่ำคงที่ Expressio n คือ ค่ำที่ต้องกำรกำำหนด ตัวอย่ำง Option Explicit Const PI As Double = 3.141578 Private Sub cmdCalc_Click( ) Dim radius As Double 41
  • 42. Dim area As Double Radius = CDb(InputBox("กรุณำใส่ค่ำรัศมี" , "ใส่ ค่ำ") Area = PI * (radius) ^2 MsgBox "พื้นที่วงกลม = " & Area & " ตำรำงหน่วย " End Sub ตัวดำำเนินกำรใน Visual Basic (Operators) ตัวดำำเนินกำร คือ เครื่องหมำยสำำหรับกระทำำกับข้อมูลอย่ำงน้อยที่สุด 2 ชุดมำก ระทำำอย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง เช่น บวก ลบ เชื่อมต่อ เปรียบเทียบ ทดสอบค่ำ เป็นต้น ซึ่งสำมำรถแบ่งได้ 4 ประเภท ดังนี้ ตัวดำำเนินกำรด้ำนคณิตศำสตร์ (Arithmetic Operators) คือเครื่องหมำยทำงคณิตศำสตร์ใช้สำำหรับกำรคำำนวณตัวเลข ดังตำรำง ชื่อตัวดำำเนิน กำร ลักษณะตัวดำำเนิน กำร ตัวอย่ำง กำรบวก + A + B กำรลบ - A - B 9 กำรคูณ * A * B กำรหำร / A / B กำรหำรเอำแต่ จำำนวนเต็ม A B กำรหำรเอำแต่ เศษ Mod A Mod B กำรยกกำำลัง ^ A ^ B กำรเปลี่ยน เครื่องหมำย - -A ตัวดำำเนินกำรทำงด้ำนตรรกะ (Logical Operator) 42
  • 43. คือเครื่องหมำยสำำหรับตรวจสอบเงื่อนไขระหว่ำงกลุ่มนิพจน์ โดยจะให้ผลลัพธ์ เป็นจริง (True) และเป็นเท็จ (False) หรือสร้ำงเงื่อนไขขึ้นมำเพื่อทดสอบกรณี ต่ำง ๆ ดังตำรำง ตัวดำำเนิน กำร ตัวอย่ ำง ผลลัพธ์ And A And B เป็นจริงเมื่อทั้ง 2 นิพจน์มีค่ำเป็น จริง Or A Or B เป็นเท็จเมื่อทั้ง 2 นิพจน์มีค่ำเป็น เท็จ Xor A Xor B เป็นจริงเมื่อทั้ง 2 นิพจน์มีค่ำต่ำง กัน Eqv A Eqv B เป็นจริงเมื่องทั้ง 2 นิพจน์มีค่ำ เหมือนกัน Imp A Imp B เป็นเท็จเมื่อนิพจน์หน้ำเป็นจริง นิพจน์หลังเป็นเท็จ Not Not A ให้ค่ำตรงข้ำมกับค่ำของนิพจน์ ตัวดำำเนินกำรทำงด้ำนกำรเปรียบเทียบ (Comparison Operators) เครื่องหมำยที่ใช้สำำหรับเปรียบเทียบนิพจน์ 2 นิพจน์ เพื่อทดสอบ หรือสร้ำง เงื่อนไข โดยจะให้ผลลัพธ์เป็นจริง (True) และเป็นเท็จ (False) มักจะใช้คู่กับ ตัวดำำเนินกำรทำงด้ำนตรรกะ เพื่อตรวจสอบเงื่อนไขต่ำง ๆ เสมอ ดังตำรำง ตัวดำำเนิน กำร ชื่อตัวดำำเนินกำร < น้อยกว่ำ > มำกกว่ำ <= น้อยกว่ำหรือเท่ำกับ >= มำกกว่ำหรือเท่ำกับ = เท่ำกับ <> ไม่เท่ำกับ ตัวดำำเนินกำรทำงด้ำนกำรเชื่อมข้อควำม (Concentration Operators) 43
  • 44. เครื่องหมำยที่ใช้สำำหรับเชื่อมข้อควำมตั้งแต่ 2 ข้อควำมเข้ำด้วยกัน แต่ยังมี กรณียกเว้นที่จะเป็นกำรบวกกันของนิพจน์ 2 นิพจน์ ซึ่งขึ้นอยู่กับชนิดของ นิพจน์ที่จะมำกระทำำกัน ดังตำรำง ตัวดำำเนิน กำร กรณี ตัวอย่ำง ผลลัพธ์ + String + String "Visual"+"Basic 6.0" "Visual Basic 6.0" & String & String "Visual"&"Basic 6.0" "Visual Basic 6.0" + String(numeric) +numeric "20"+6 26 & String(numeric)&nu meric "20"+6 206 ข้อมูลจำก : http://www.thanom.net/vb1.asp 44