SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 8
หน่วยที่ 1
สาระการเรียนรู้
ความหมายของระบบ
ระบบสารสนเทศ หมายถึง การจัดการข้อมูลตามขั้นตอนการปฏิบัติงาน
โดยมีบุคลากรเป็นผู้ใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์เพื่อให้ได้สารสนเทศที่ต้องการ
การจัดทาสารสนเทศจะทาให้เกิดความรู้
ซึ่งมีส่วนช่วยในการตัดสินใจหรือวางแผนการดาเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ
ระบบสารสนเทศ
ความหมายของระบบ
สารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบส
ารสนเทศ
ฮาร์ดแวร์
ซอฟแวร์
บุคลากร
ข้อมูล
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
การจัดการฐานข้อมูล
ด้วยซอฟแวร์ไมโครซ
อฟต์แอกเซส การใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวล
ผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศเพื่อประ
กอบการตัดสินใจ
องค์ประกอบของระบบ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศที่ทาให้การจัดการข้อมูลมีประสิทธิภาพ
และได้สารสนเทศที่นามาใช้ประโยชน์ได้ มีดังนี้
1. ฮาร์ดแวร์ คือ อุปกรณ์และเครื่องมือที่ช่วยในการจัดการหรือประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
รวมถึงอุปกรณ์ที่เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่ายตามต้องการ เช่น คอมพิวเตอร์
เครื่องกราดตรวจ แผงแป้นอักขระ เมาส์ เครื่องพิมพ์ โทรศัพท์ โทรสาร โมเด็ม
2. ซอฟต์แวร์ หรือ โปรแกรม คือ
ชุดคาสั่งที่เรียงเป็นลาดับขั้นตอนเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางานและประมวลผลข้อมูลให้ได้สารสนเ
ทศที่ต้องการ ปัจจุบันซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการทางานระดับบุคคลระดับกลุ่ม และระดับองค์กร มี
2ประเภท ดังนี้
1. ซอฟต์แวร์ระบบ ทาหน้าที่ควบคุมการทางานคอมพิวเตอร์
ตั้งแต่การรับข้อมูลการประมวลผลข้อมูล การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลและการแสดงผลข้อมูล
ซอฟต์แวร์ระบบประกอบด้วยระบบปฏิบัติการและตัวแปลภาษา
แผนภาพแสดงองค์ประกอบของสารสนเทศ
2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์
ทาหน้าที่อานวยความสะดวกในการทางานให้แก่ผู้ใช้งานระดับบุคคลอย่างกว้างขวาง
และส่งเสริมการทางานกลุ่มให้มีประสิทธิภาพ
สาหรับในระดับองค์กรมักจะมีการพัฒนาซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับลักษณะงานของแต่ละองค์
กร โดยนักเขียนโปรแกรมในฝ่ายคอมพิวเตอร์ขององค์กรนั้นๆ
3. บุคลากร คือ บุคคลที่ใช้งาน จัดการ และควบคุมระบบสารสนเทศ
ซึ่งหากบุคลากรมีความรู้ความสามารถในการใช้ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์
และปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่ถูกต้อง
จะส่งผลให้ระบบสารสนเทศทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพและได้ผลงานที่มีคุณภาพ
บุคลากรที่เกี่ยวข้องในการจัดการระบบสารสนเทศ มีดังนี้
1. ผู้ใช้คือ
บุคลากรที่มีความสามารถในการใช้งานคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์สาเร็จรูปได้อย่างคล่อง
แคล่ว ผู้ใช้มีความในการออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศ
2. นักวิเคราะห์ระบบ คือ บุคลากรที่ทาหน้าที่วิเคราะห์ระบบในหน่วยงานหรือองค์กร
โดยศึกษารวบรวมข้อมูลขั้นตอนการทางานของหน่วยงานต่างๆ และความต้องการของผู้ใช้
3. นักออกแบบระบบ คือ
บุคลากรที่ทาหน้าที่ในการออกแบบระบบงานทั้งในด้านโครงสร้างข้อมูลและการจัดการฐา
นข้อมูลตามที่นักวิเคราะห์ระบบได้ทาการวิเคราะห์ไว้
ผู้ใช้คอมพิวเตอร์
4. นักเขียนโปรแกรมหรือโปรแกรมเมอร์ คือ
บุคลากรที่ทาหน้าที่เขียนและพัฒนาซอฟต์แวร์เพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถทางานได้ตามต้
องการของผู้ใช้ ตามการออกแบบของนักวิเคราะห์ระบบและนักออกแบบระบบ
5. ผู้ควบคุมเครื่อง คือ
บุคลากรที่ทาหน้าที่ควบคุมการปฏิบัติงานของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ
เมื่อเกิดปัญหาขัดข้องในการใช้งาน ผู้ควบคุมเครื่องต้องแก้ไขปัญหาต่างๆได้
6. ผู้บริหารและควบคุมฐานข้อมูล คือ บุคลากรที่ทาหน้าที่ออกแบบ สร้าง ควบคุม ปรับปรุง
แก้ไขฐานข้อมูล และกาหนดกฎระเบียบเกี่ยวกับการใช้ฐานข้อมูล
เพื่อนความเป็นระเบียบและความปลอดภัย
7. หัวหน้าหน่วยงานคอมพิวเตอร์ คือ บุคลากรที่อยู่ในตาแหน่งบริหารงาน
เป็นผู้วางแผนและกาหนดนโยบายของหน่วยงาน
กาหนดมาตรฐานในการทางานของหน่วยงานคอมพิวเตอร์
4. ข้อมูล คือ
องค์ประกอบที่ชี้วัดความสาเร็จหรือความล้มเหลวของระบบสารสนเทศข้อมูลที่ดีซึ่งเหมาะแก่ก
ารนาไปใช้งานต้องเป็นข้อมูลที่ถูกต้อง ทันสมัย
และมีความเชื่อถือโดยผ่านกระบวนการกลั่นกรองและตรวจสอบแล้ว
5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน คือ ระเบียบวิธีการปฏิบัติงาน
ลาดับขั้นตอนในการปฏิบัติงานหรือกระบวนการในการจัดการข้อมูลให้เป็นสารสนเทศที่สามา
รถนาไปใช้ประโยชน์ได้
การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศโดยใช้อคมพิวเตอร์นั้น
ข้อมูลต้องอยู่ในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้
โดยต้องแปลงภาษามนุษย์ให้เป็นภาษาเครื่องด้วยการใช้รหัสแทนข้อมูล
รหัสแทนข้อมูลที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารหรือสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางานเป็นระบบตัวเลขฐาน
สองที่ประกอบด้วยเลขศูนย์และหนึ่ง (0และ 1) ซึ่งแต่ละหลักของระบบตัวเลขฐานสองเรียกว่า
บิต (bit) เมื่อนาตัวเลขศูนย์มาเรียงต่อกันจะเกิดเป็นอักขระ สัญลักษณ์ หรือคาสั่งต่างๆ เช่น
01000111 แทนอักขระ G
รหัสแทนช้อมูลที่ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ ได้แก่รหัสแอสกี รหัสเอบซีดิก และรหัสยูนิโค้ด
โดยมีรายละเอียด ดังนี้
- รหัสแอสกี เป็นรหัสแทนข้อมูลที่นิยมใช้มากที่สุด โดยใช้เลขฐานสองจานวน 8
บิตหรือเท่ากับ 1ไบต์
แทนอักขระหรือสัญลักษณ์แต่ละตัว ดังตัวอย่าง
บิตที่ 7 6 5 4 3 2 1 0 อักขระที่แทน
0 1 0 0 0 1 1 1 G
- รหัสเอบซีดิก เป็นรหัสแทนข้อมูลที่ไม่เป็นที่นิยมใช้ในปัจจุบัน มีการกาหนดรหัส 8บิตต่อ 1
อักขระ เหมือนรหัสแอสกี แต่รูปแบบการเรียงอักขระจะแตกต่างกัน
โดยรหัสเอบซีดิกจะเรียงลาดับแต่ละบิตที่ใช้แทนอักขระ ดังตัวอย่าง
บิตที่ 0 1 2 3 4 5 6 7 อักขระที่แทน
0 1 0 0 0 1 1 1 G
- รหัสยูนิโค้ด เป็นรหัสแทนข้อมูลที่ใช้เลขฐานสอง 16บิต
ในการแทนตัวอักษรต่างประเทศบางประเทศ และสัญลักษณ์ทางกราฟิกต่างๆ
ในการติดต่อใช้งานหรือสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางาน
นอกจากจะใช้ระบบตัวเลขฐานสองแล้วยังต้องเกี่ยวกับระบบตัวเลขฐานแปดและฐานสิบหกด้วย
ดังนั้น
มนุษย์จึงต้องศึกษาวิธีการเปลี่ยนระบบตัวเลขฐานแปดและฐานสิบหกให้เป็นระบบตัวเลขฐานให้ค
ล่องแคล่ว เพื่อให้เป็นพื้นฐานในการเขียนโปรแกรมภาษาต่อไป ดังตัวอย่าง
การจัดการฐานข้อมูลด้วยซอฟต์แวร์ไมโครซอฟต์
1. ความหมายของฐานข้อมูล
ฐานข้อมูล (database) หมายถึง
กลุ่มของข้อมูลที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน ซึ่งถูกจัดเก็บไว้อย่างเป็นระเบียบและเป็นระบบ
โดยใช้คอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์มาเป็นตัวช่วย สามารถเพิ่มข้อมูลลบข้อมูล สืบค้นข้อมูล
และวิเคราะห์ข้อมูลได้
2. รู้จักซอฟต์แวร์ไมโครซอฟต์แอกเซส 2007 (Microsoft Access 2007)
ซอฟต์แวร์ไมโครซอฟต์แอกเซส(Microsoft Access 2007)
เป็นซอฟแวร์ที่มีความสามารถในการจัดการข้อมูลเชิงสัมพันธ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ใช้งานง่าย
มีความยืดหยุ่นในการใช้งานเหมาะสาหรับนามาใช้ในการจัดการข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์
ทั้งการค้นหาข้อมูล การคานวณค่า การนาข้อมูลมาวิเคราะห์ การจัดทารายงานสรุป
และการเขียนโปรแกรมเพื่อพัฒนาเป็นแอปพลิเคชันต่อไป
ซอฟแวร์ไมโครซอฟต์แวร์แอกเซส เก็บข้อมูลต่างๆ ลงในตาราง ซึ่งประกอบด้วยแถว (Row)
และคอลัมน์(Column) โดยเรียกข้อมูลในแต่ละคอลัมน์ของตารางว่า ฟิลด์(Field)
และเรียกแต่ละแถวในตารางว่า
คาศัพท์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ที่ควรรู้จักมี 3ส่วน ดังนี้
1) เอนทิตี(Entity) คือ สิ่งที่ใช้เรียกสิ่งที่อ้างถึงในฐานข้อมูล เช่นลูกค้า สินค้า พนักงานขาย
2) แอตทริบิวต์ (Attribute) คือ สิ่งที่ใช้อธิบายรายละเอียดของแต่ละเอนทิตี เช่นลูกค้า
จะมีรายละเอียดเกี่ยวกับ ชื่อ นามสกุล ที่อยู่และหมายเลขโทรศัพท์
3) รีเลชัน (Relation) หรือความสัมพันธ์ คือ ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตีด้วยกัน เช่น
ฐานข้อมูลเกี่ยวกับการซื้อขายสินค้า เอนทิตีจะมีความสัมพันธ์กับเอนทิตีสินค้า เช่นผ่านความสัมพันธ์
ที่เรียกว่า คาสั่งซื้อ
1. ริบบอน (ribbon) เป็นที่เก็บคาสั่งและปุ่มที่ใช้ในไมโครซอฟต์แอกเซส
โดยแบ่งเป็นแท็บและแต่ละแท็บยังแบ่งคาสั่งไว้เป็นปุ่มย่อย เพื่อสะดวกต่อการใช้งาน
2. เนวิเกชันเพน(Navigation Pane) แสดงชื่อฐานข้อมูลและออกเจกต์(Object) ที่เป็นส่วนประกอบต่างๆ
ของซอฟต์แวร์ไมโครซอฟต์แอกเซส เช่น ตาราง ฟอร์ม คิวรี รายงาน
3. แท็บดอคิวเมนต์ (Tabbed Document) ในกรณีที่เปิดตาราง ฟอร์ม คิวรี รายงานและออบเจกต์อื่นไว้
จะพบแท็บแสดงออบเจกต์ทั้งหมด เมื่อคลิกที่แท็บจะเป็นการสลับไปทางานในส่วนนั้น ๆทันที
ส่วนประกอบของซอฟต์แวร์ไมโครซอฟต์แอกเซส
2007
4.สเตตัสบาร์ (Statusbar) หรือแถบสถานะ
แสดงข้อมูลที่บันทึกไว้และช่องสาหรับป้อนคาสาคัญเพื่อค้นหาข้อมูล
3. ขั้นตอนการสร้างฐานข้อมูลด้วยซอฟต์แวร์ไมโครแอกเซส 2007
การสร้างฐานข้อมูลด้วยซอฟต์แวร์ไมโครแอกเซส 2007 มี5 ขั้นตอน ดังนี้
4. ขั้นตอนการออกแบบฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูล เป็นการวางแผนก่อนสร้างข้อมูล ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนที่สาคัญ 6 ขั้นตอน
ดังนี้
1) กาหนดวัตถุประสงค์ในการออกแบบฐานข้อมูล
เป็นขั้นตอนการกาหนดวัตถุประสงค์ในการออกแบบฐานข้อมูล ว่าต้องการทาเพื่ออะไร เช่น
ทาเพื่อสร้างฐานข้อมูลเกี่ยวกับร้านขายของชาต้องกาหนดว่าสิ่งใดบ้างที่เกี่ยวข้องกับร้านขายของชา
ตั้งแต่รายการสินค้า ราคาสินค้า จานวนสินค้าที่ลูกค้าสามารถเรียกดูได้จากเครื่องคอมพิวเตอร์
รวมถึงมีการคานวณยอดขายอัตโนมัติ คานวณเงินทอน และสรุปยอดขายในแต่ละวันได้
2) กาหนดตารางที่ต้องใช้เก็บข้อมูล
เป็นขั้นตอนการกาหนดชื่อตารางที่เกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ในการสร้างฐานข้อมูล เช่น
ตารางที่เกี่ยวข้องกับการซื้อสินค้าของลูกค้า ได้แก่ตารางลูกค้า ตารางสินค้า และตารางรายละเอียดการซื้อ
3) กาหนดฟิลด์ในตาราง เป็นขั้นตอนการกาหนดชื่อในแต่ละคอลัมน์ของตารางแต่ละตาราง เช่น
ตารางลูกค้า ควรมีชื่อฟิลด์เกี่ยวกับ รหัสสินค้า ชื่อและนามสกุลของลูกค้า ที่อยู่และหมายเลขโทรศัพท์
4) กาหนดคีย์หลัก
เป็นขั้นตอนการกาหนดคีย์หลักเพื่ออ้างอิงและเชื่อมโยงข้อมูลในตารางทุกตารางที่เกี่ยวข้องกัน เช่น
รหัสลูกค้า รหัสสินค้า รหัสใบสั่งซื้อ โดยไม่ให้ชื่อและนามสกุลซ้าซ้อน
5) พิจารณาปรับเปลี่ยนตาราง
เป็นขั้นตอนการปรับเปลี่ยนคีย์หลักเพื่อความถูกต้องมากที่สุดและความซ้าซ้อนของข้อมูล
1.
ออกแบบฐาน
ข้อมูล
2.
สร้างตารางแล
ะกาหนดความ
สัมพันธ์
5.
จัดทารายงา
น
3.
สร้างฟอร์ม
สาหรับกรอก
ข้อมูล 4. สร้างคิวรี
เพื่อดึงข้อมูล
ที่ต้องการ
6) การกาหนดความสัมพันธ์ระหว่างตาราง เป็นขั้นตอนการกาหนดความสัมพันธ์ของตารางหลายๆ
ตารางให้เชื่อมโยงกัน

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศKo Kung
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศjureeratlove
 
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศPokypoky Leonardo
 
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศPrakaywan Tumsangwan
 
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศWanphen Wirojcharoenwong
 
Panisara ระบบ mis
Panisara ระบบ misPanisara ระบบ mis
Panisara ระบบ miskrupanisara
 
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการบทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการPrakaywan Tumsangwan
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศParit Ncy
 
ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจPairaya Armradid
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจAssumption College Rayong
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศnprave
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศManas Panjai
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศTimmy Printhong
 

Mais procurados (19)

Mi sch2
Mi sch2Mi sch2
Mi sch2
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Panisara ระบบ mis
Panisara ระบบ misPanisara ระบบ mis
Panisara ระบบ mis
 
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการบทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ
 
Mis 1
Mis 1Mis 1
Mis 1
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 

Destaque

Destaque (20)

คอมพิวเตอร์ 501
คอมพิวเตอร์ 501คอมพิวเตอร์ 501
คอมพิวเตอร์ 501
 
ความจำของมนุษย์
ความจำของมนุษย์ความจำของมนุษย์
ความจำของมนุษย์
 
Microsoft access
Microsoft accessMicrosoft access
Microsoft access
 
Lesson 3 ตาราง
Lesson 3 ตารางLesson 3 ตาราง
Lesson 3 ตาราง
 
Beyond Book Displays: Helping Readers Help Themselves
Beyond Book Displays: Helping Readers Help ThemselvesBeyond Book Displays: Helping Readers Help Themselves
Beyond Book Displays: Helping Readers Help Themselves
 
Colegio nacional nicolas esquerra practica # 1
Colegio nacional nicolas esquerra practica # 1Colegio nacional nicolas esquerra practica # 1
Colegio nacional nicolas esquerra practica # 1
 
Book Displays with LibraryAware
Book Displays with LibraryAwareBook Displays with LibraryAware
Book Displays with LibraryAware
 
Christine Kegel Portfolio
Christine Kegel PortfolioChristine Kegel Portfolio
Christine Kegel Portfolio
 
Final Paper
Final PaperFinal Paper
Final Paper
 
Actividad 2. reconocimiento.
Actividad 2. reconocimiento.Actividad 2. reconocimiento.
Actividad 2. reconocimiento.
 
Edug 543 session 2 Dr. Wick
Edug 543 session 2 Dr. WickEdug 543 session 2 Dr. Wick
Edug 543 session 2 Dr. Wick
 
Compuslip
CompuslipCompuslip
Compuslip
 
CaseStudy-Riverhead-LowResPDF-USLetter
CaseStudy-Riverhead-LowResPDF-USLetterCaseStudy-Riverhead-LowResPDF-USLetter
CaseStudy-Riverhead-LowResPDF-USLetter
 
אקזיט עצוב
אקזיט עצובאקזיט עצוב
אקזיט עצוב
 
3P-DISCOP TVitrin Sunum
3P-DISCOP TVitrin Sunum3P-DISCOP TVitrin Sunum
3P-DISCOP TVitrin Sunum
 
Heartwood Sustainability Final
Heartwood Sustainability FinalHeartwood Sustainability Final
Heartwood Sustainability Final
 
Să știi mai multe ...8 d
Să știi mai multe ...8 dSă știi mai multe ...8 d
Să știi mai multe ...8 d
 
Presentación nxt
Presentación nxtPresentación nxt
Presentación nxt
 
Sales Proposal LINKEDIN
Sales Proposal LINKEDINSales Proposal LINKEDIN
Sales Proposal LINKEDIN
 
Sin título 1yry
Sin título 1yrySin título 1yry
Sin título 1yry
 

Semelhante a infomation

ตอนที่ 1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
ตอนที่  1  พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิดตอนที่  1  พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
ตอนที่ 1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิดelfinspiritap
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศOrapan Chamnan
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศOrapan Chamnan
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศTimmy Printhong
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศTimmy Printhong
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศTimmy Printhong
 
งานนำเสนอ1คอม
งานนำเสนอ1คอมงานนำเสนอ1คอม
งานนำเสนอ1คอมkotyota
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
Computer for graduate-2003
Computer for graduate-2003Computer for graduate-2003
Computer for graduate-2003Somkiet Phetmark
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศTimmy Printhong
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1nutty_npk
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ053681478
 
คำถาม บทที่ 1
คำถาม บทที่ 1คำถาม บทที่ 1
คำถาม บทที่ 1natsuda_naey
 
คำถาม บทที่ 1
คำถาม บทที่ 1คำถาม บทที่ 1
คำถาม บทที่ 1natsuda_naey
 

Semelhante a infomation (20)

Information
InformationInformation
Information
 
1
11
1
 
ตอนที่ 1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
ตอนที่  1  พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิดตอนที่  1  พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
ตอนที่ 1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
งานนำเสนอ1คอม
งานนำเสนอ1คอมงานนำเสนอ1คอม
งานนำเสนอ1คอม
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
Computer for graduate-2003
Computer for graduate-2003Computer for graduate-2003
Computer for graduate-2003
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
5 1 18 ดวงแข ผิวทอง
5 1 18 ดวงแข     ผิวทอง5 1 18 ดวงแข     ผิวทอง
5 1 18 ดวงแข ผิวทอง
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
1
11
1
 
1
11
1
 
1
11
1
 
คำถาม บทที่ 1
คำถาม บทที่ 1คำถาม บทที่ 1
คำถาม บทที่ 1
 
คำถาม บทที่ 1
คำถาม บทที่ 1คำถาม บทที่ 1
คำถาม บทที่ 1
 

infomation

  • 1. หน่วยที่ 1 สาระการเรียนรู้ ความหมายของระบบ ระบบสารสนเทศ หมายถึง การจัดการข้อมูลตามขั้นตอนการปฏิบัติงาน โดยมีบุคลากรเป็นผู้ใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์เพื่อให้ได้สารสนเทศที่ต้องการ การจัดทาสารสนเทศจะทาให้เกิดความรู้ ซึ่งมีส่วนช่วยในการตัดสินใจหรือวางแผนการดาเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ ระบบสารสนเทศ ความหมายของระบบ สารสนเทศ องค์ประกอบของระบบส ารสนเทศ ฮาร์ดแวร์ ซอฟแวร์ บุคลากร ข้อมูล ขั้นตอนการปฏิบัติงาน การจัดการฐานข้อมูล ด้วยซอฟแวร์ไมโครซ อฟต์แอกเซส การใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวล ผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศเพื่อประ กอบการตัดสินใจ
  • 2. องค์ประกอบของระบบ องค์ประกอบของระบบสารสนเทศที่ทาให้การจัดการข้อมูลมีประสิทธิภาพ และได้สารสนเทศที่นามาใช้ประโยชน์ได้ มีดังนี้ 1. ฮาร์ดแวร์ คือ อุปกรณ์และเครื่องมือที่ช่วยในการจัดการหรือประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ รวมถึงอุปกรณ์ที่เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่ายตามต้องการ เช่น คอมพิวเตอร์ เครื่องกราดตรวจ แผงแป้นอักขระ เมาส์ เครื่องพิมพ์ โทรศัพท์ โทรสาร โมเด็ม 2. ซอฟต์แวร์ หรือ โปรแกรม คือ ชุดคาสั่งที่เรียงเป็นลาดับขั้นตอนเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางานและประมวลผลข้อมูลให้ได้สารสนเ ทศที่ต้องการ ปัจจุบันซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการทางานระดับบุคคลระดับกลุ่ม และระดับองค์กร มี 2ประเภท ดังนี้ 1. ซอฟต์แวร์ระบบ ทาหน้าที่ควบคุมการทางานคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่การรับข้อมูลการประมวลผลข้อมูล การจัดเก็บข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลและการแสดงผลข้อมูล ซอฟต์แวร์ระบบประกอบด้วยระบบปฏิบัติการและตัวแปลภาษา แผนภาพแสดงองค์ประกอบของสารสนเทศ
  • 3. 2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ทาหน้าที่อานวยความสะดวกในการทางานให้แก่ผู้ใช้งานระดับบุคคลอย่างกว้างขวาง และส่งเสริมการทางานกลุ่มให้มีประสิทธิภาพ สาหรับในระดับองค์กรมักจะมีการพัฒนาซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับลักษณะงานของแต่ละองค์ กร โดยนักเขียนโปรแกรมในฝ่ายคอมพิวเตอร์ขององค์กรนั้นๆ 3. บุคลากร คือ บุคคลที่ใช้งาน จัดการ และควบคุมระบบสารสนเทศ ซึ่งหากบุคลากรมีความรู้ความสามารถในการใช้ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่ถูกต้อง จะส่งผลให้ระบบสารสนเทศทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพและได้ผลงานที่มีคุณภาพ บุคลากรที่เกี่ยวข้องในการจัดการระบบสารสนเทศ มีดังนี้ 1. ผู้ใช้คือ บุคลากรที่มีความสามารถในการใช้งานคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์สาเร็จรูปได้อย่างคล่อง แคล่ว ผู้ใช้มีความในการออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศ 2. นักวิเคราะห์ระบบ คือ บุคลากรที่ทาหน้าที่วิเคราะห์ระบบในหน่วยงานหรือองค์กร โดยศึกษารวบรวมข้อมูลขั้นตอนการทางานของหน่วยงานต่างๆ และความต้องการของผู้ใช้ 3. นักออกแบบระบบ คือ บุคลากรที่ทาหน้าที่ในการออกแบบระบบงานทั้งในด้านโครงสร้างข้อมูลและการจัดการฐา นข้อมูลตามที่นักวิเคราะห์ระบบได้ทาการวิเคราะห์ไว้ ผู้ใช้คอมพิวเตอร์
  • 4. 4. นักเขียนโปรแกรมหรือโปรแกรมเมอร์ คือ บุคลากรที่ทาหน้าที่เขียนและพัฒนาซอฟต์แวร์เพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถทางานได้ตามต้ องการของผู้ใช้ ตามการออกแบบของนักวิเคราะห์ระบบและนักออกแบบระบบ 5. ผู้ควบคุมเครื่อง คือ บุคลากรที่ทาหน้าที่ควบคุมการปฏิบัติงานของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ เมื่อเกิดปัญหาขัดข้องในการใช้งาน ผู้ควบคุมเครื่องต้องแก้ไขปัญหาต่างๆได้ 6. ผู้บริหารและควบคุมฐานข้อมูล คือ บุคลากรที่ทาหน้าที่ออกแบบ สร้าง ควบคุม ปรับปรุง แก้ไขฐานข้อมูล และกาหนดกฎระเบียบเกี่ยวกับการใช้ฐานข้อมูล เพื่อนความเป็นระเบียบและความปลอดภัย 7. หัวหน้าหน่วยงานคอมพิวเตอร์ คือ บุคลากรที่อยู่ในตาแหน่งบริหารงาน เป็นผู้วางแผนและกาหนดนโยบายของหน่วยงาน กาหนดมาตรฐานในการทางานของหน่วยงานคอมพิวเตอร์ 4. ข้อมูล คือ องค์ประกอบที่ชี้วัดความสาเร็จหรือความล้มเหลวของระบบสารสนเทศข้อมูลที่ดีซึ่งเหมาะแก่ก ารนาไปใช้งานต้องเป็นข้อมูลที่ถูกต้อง ทันสมัย และมีความเชื่อถือโดยผ่านกระบวนการกลั่นกรองและตรวจสอบแล้ว 5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน คือ ระเบียบวิธีการปฏิบัติงาน ลาดับขั้นตอนในการปฏิบัติงานหรือกระบวนการในการจัดการข้อมูลให้เป็นสารสนเทศที่สามา รถนาไปใช้ประโยชน์ได้ การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศโดยใช้อคมพิวเตอร์นั้น ข้อมูลต้องอยู่ในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ โดยต้องแปลงภาษามนุษย์ให้เป็นภาษาเครื่องด้วยการใช้รหัสแทนข้อมูล รหัสแทนข้อมูลที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารหรือสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางานเป็นระบบตัวเลขฐาน สองที่ประกอบด้วยเลขศูนย์และหนึ่ง (0และ 1) ซึ่งแต่ละหลักของระบบตัวเลขฐานสองเรียกว่า บิต (bit) เมื่อนาตัวเลขศูนย์มาเรียงต่อกันจะเกิดเป็นอักขระ สัญลักษณ์ หรือคาสั่งต่างๆ เช่น 01000111 แทนอักขระ G รหัสแทนช้อมูลที่ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ ได้แก่รหัสแอสกี รหัสเอบซีดิก และรหัสยูนิโค้ด โดยมีรายละเอียด ดังนี้
  • 5. - รหัสแอสกี เป็นรหัสแทนข้อมูลที่นิยมใช้มากที่สุด โดยใช้เลขฐานสองจานวน 8 บิตหรือเท่ากับ 1ไบต์ แทนอักขระหรือสัญลักษณ์แต่ละตัว ดังตัวอย่าง บิตที่ 7 6 5 4 3 2 1 0 อักขระที่แทน 0 1 0 0 0 1 1 1 G - รหัสเอบซีดิก เป็นรหัสแทนข้อมูลที่ไม่เป็นที่นิยมใช้ในปัจจุบัน มีการกาหนดรหัส 8บิตต่อ 1 อักขระ เหมือนรหัสแอสกี แต่รูปแบบการเรียงอักขระจะแตกต่างกัน โดยรหัสเอบซีดิกจะเรียงลาดับแต่ละบิตที่ใช้แทนอักขระ ดังตัวอย่าง บิตที่ 0 1 2 3 4 5 6 7 อักขระที่แทน 0 1 0 0 0 1 1 1 G - รหัสยูนิโค้ด เป็นรหัสแทนข้อมูลที่ใช้เลขฐานสอง 16บิต ในการแทนตัวอักษรต่างประเทศบางประเทศ และสัญลักษณ์ทางกราฟิกต่างๆ ในการติดต่อใช้งานหรือสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางาน นอกจากจะใช้ระบบตัวเลขฐานสองแล้วยังต้องเกี่ยวกับระบบตัวเลขฐานแปดและฐานสิบหกด้วย ดังนั้น มนุษย์จึงต้องศึกษาวิธีการเปลี่ยนระบบตัวเลขฐานแปดและฐานสิบหกให้เป็นระบบตัวเลขฐานให้ค ล่องแคล่ว เพื่อให้เป็นพื้นฐานในการเขียนโปรแกรมภาษาต่อไป ดังตัวอย่าง การจัดการฐานข้อมูลด้วยซอฟต์แวร์ไมโครซอฟต์ 1. ความหมายของฐานข้อมูล ฐานข้อมูล (database) หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน ซึ่งถูกจัดเก็บไว้อย่างเป็นระเบียบและเป็นระบบ โดยใช้คอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์มาเป็นตัวช่วย สามารถเพิ่มข้อมูลลบข้อมูล สืบค้นข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลได้ 2. รู้จักซอฟต์แวร์ไมโครซอฟต์แอกเซส 2007 (Microsoft Access 2007)
  • 6. ซอฟต์แวร์ไมโครซอฟต์แอกเซส(Microsoft Access 2007) เป็นซอฟแวร์ที่มีความสามารถในการจัดการข้อมูลเชิงสัมพันธ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ใช้งานง่าย มีความยืดหยุ่นในการใช้งานเหมาะสาหรับนามาใช้ในการจัดการข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ ทั้งการค้นหาข้อมูล การคานวณค่า การนาข้อมูลมาวิเคราะห์ การจัดทารายงานสรุป และการเขียนโปรแกรมเพื่อพัฒนาเป็นแอปพลิเคชันต่อไป ซอฟแวร์ไมโครซอฟต์แวร์แอกเซส เก็บข้อมูลต่างๆ ลงในตาราง ซึ่งประกอบด้วยแถว (Row) และคอลัมน์(Column) โดยเรียกข้อมูลในแต่ละคอลัมน์ของตารางว่า ฟิลด์(Field) และเรียกแต่ละแถวในตารางว่า คาศัพท์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ที่ควรรู้จักมี 3ส่วน ดังนี้ 1) เอนทิตี(Entity) คือ สิ่งที่ใช้เรียกสิ่งที่อ้างถึงในฐานข้อมูล เช่นลูกค้า สินค้า พนักงานขาย 2) แอตทริบิวต์ (Attribute) คือ สิ่งที่ใช้อธิบายรายละเอียดของแต่ละเอนทิตี เช่นลูกค้า จะมีรายละเอียดเกี่ยวกับ ชื่อ นามสกุล ที่อยู่และหมายเลขโทรศัพท์ 3) รีเลชัน (Relation) หรือความสัมพันธ์ คือ ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตีด้วยกัน เช่น ฐานข้อมูลเกี่ยวกับการซื้อขายสินค้า เอนทิตีจะมีความสัมพันธ์กับเอนทิตีสินค้า เช่นผ่านความสัมพันธ์ ที่เรียกว่า คาสั่งซื้อ 1. ริบบอน (ribbon) เป็นที่เก็บคาสั่งและปุ่มที่ใช้ในไมโครซอฟต์แอกเซส โดยแบ่งเป็นแท็บและแต่ละแท็บยังแบ่งคาสั่งไว้เป็นปุ่มย่อย เพื่อสะดวกต่อการใช้งาน 2. เนวิเกชันเพน(Navigation Pane) แสดงชื่อฐานข้อมูลและออกเจกต์(Object) ที่เป็นส่วนประกอบต่างๆ ของซอฟต์แวร์ไมโครซอฟต์แอกเซส เช่น ตาราง ฟอร์ม คิวรี รายงาน 3. แท็บดอคิวเมนต์ (Tabbed Document) ในกรณีที่เปิดตาราง ฟอร์ม คิวรี รายงานและออบเจกต์อื่นไว้ จะพบแท็บแสดงออบเจกต์ทั้งหมด เมื่อคลิกที่แท็บจะเป็นการสลับไปทางานในส่วนนั้น ๆทันที ส่วนประกอบของซอฟต์แวร์ไมโครซอฟต์แอกเซส 2007
  • 7. 4.สเตตัสบาร์ (Statusbar) หรือแถบสถานะ แสดงข้อมูลที่บันทึกไว้และช่องสาหรับป้อนคาสาคัญเพื่อค้นหาข้อมูล 3. ขั้นตอนการสร้างฐานข้อมูลด้วยซอฟต์แวร์ไมโครแอกเซส 2007 การสร้างฐานข้อมูลด้วยซอฟต์แวร์ไมโครแอกเซส 2007 มี5 ขั้นตอน ดังนี้ 4. ขั้นตอนการออกแบบฐานข้อมูล การออกแบบฐานข้อมูล เป็นการวางแผนก่อนสร้างข้อมูล ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนที่สาคัญ 6 ขั้นตอน ดังนี้ 1) กาหนดวัตถุประสงค์ในการออกแบบฐานข้อมูล เป็นขั้นตอนการกาหนดวัตถุประสงค์ในการออกแบบฐานข้อมูล ว่าต้องการทาเพื่ออะไร เช่น ทาเพื่อสร้างฐานข้อมูลเกี่ยวกับร้านขายของชาต้องกาหนดว่าสิ่งใดบ้างที่เกี่ยวข้องกับร้านขายของชา ตั้งแต่รายการสินค้า ราคาสินค้า จานวนสินค้าที่ลูกค้าสามารถเรียกดูได้จากเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมถึงมีการคานวณยอดขายอัตโนมัติ คานวณเงินทอน และสรุปยอดขายในแต่ละวันได้ 2) กาหนดตารางที่ต้องใช้เก็บข้อมูล เป็นขั้นตอนการกาหนดชื่อตารางที่เกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ในการสร้างฐานข้อมูล เช่น ตารางที่เกี่ยวข้องกับการซื้อสินค้าของลูกค้า ได้แก่ตารางลูกค้า ตารางสินค้า และตารางรายละเอียดการซื้อ 3) กาหนดฟิลด์ในตาราง เป็นขั้นตอนการกาหนดชื่อในแต่ละคอลัมน์ของตารางแต่ละตาราง เช่น ตารางลูกค้า ควรมีชื่อฟิลด์เกี่ยวกับ รหัสสินค้า ชื่อและนามสกุลของลูกค้า ที่อยู่และหมายเลขโทรศัพท์ 4) กาหนดคีย์หลัก เป็นขั้นตอนการกาหนดคีย์หลักเพื่ออ้างอิงและเชื่อมโยงข้อมูลในตารางทุกตารางที่เกี่ยวข้องกัน เช่น รหัสลูกค้า รหัสสินค้า รหัสใบสั่งซื้อ โดยไม่ให้ชื่อและนามสกุลซ้าซ้อน 5) พิจารณาปรับเปลี่ยนตาราง เป็นขั้นตอนการปรับเปลี่ยนคีย์หลักเพื่อความถูกต้องมากที่สุดและความซ้าซ้อนของข้อมูล 1. ออกแบบฐาน ข้อมูล 2. สร้างตารางแล ะกาหนดความ สัมพันธ์ 5. จัดทารายงา น 3. สร้างฟอร์ม สาหรับกรอก ข้อมูล 4. สร้างคิวรี เพื่อดึงข้อมูล ที่ต้องการ