SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 22
Baixar para ler offline
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201
สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรมในท้องถิ่น
บทนา
การศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นโดยนักเรียนโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม ครั้งนี้
เป็นการรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์ แล้วนาข้อมูลมาเรียบเรียงเป็นหนังสืออ่านเพิ่มเติม
เพื่อสะดวกในการนาไปศึกษาได้ด้วยตนเอง วัตถุประสงค์เพื่อสร้างความตระหนักให้ผู้เรียน
รักษ์ท้องถิ่น เกิดความภาคภูมิใจเป็นการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติเท่ากับเป็นการทาความรู้จัก
สังคมของตนเอง ซึ่งจะช่วยปลูกฝังความรักมาตุภูมิ ความมุ่งมั่นในปณิธานแห่งชาติและความ
เข้าใจวัฒนธรรมประจาชาติรู้สึกเป็นเจ้าของท้องถิ่นของตน
วิธีการทางประวัติศาสตร์ หมายถึง กระบวนการสืบค้นเรื่องราวในอดีตของสังคม
มนุษย์ เริ่มต้นที่ความอยากรู้อยากเห็นของผู้ต้องการศึกษาและต้องการสอบสวนค้นคว้าหา
คาตอบด้วยตนเองจากร่องรอยที่คนในอดีตได้ทาไว้และตกทอดเหลือมาถึงปัจจุบัน โดยไม่
หลงเชื่อคาพูดของใครคนใดคนหนึ่งหรืออ่านหนังสือเพียงเล่มใดเล่มหนึ่งแล้วเชื่อว่าเป็นจริง สิ่ง
ที่ต้องทาเป็นอันดับแรกของการสืบค้นอดีต เมื่อมีประเด็นที่ต้องการสืบค้นแล้ว คือการเก็บ
รวบรวมข้อมูลจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์อย่างกว้างขวางและละเอียดลออ ด้วยวิธีการ
ต่างๆ เช่น สอบถามผู้รู้ ศึกษาเอกสาร เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ด้วยตนเอง ตรวจสอบข้อมูลจาก
หลักฐานทุกชิ้นด้วยจิตสานึกว่า หลักฐานไม่ได้บอกความจริงทั้งหมด หรือบอกความจริงเสมอ
ไป แล้วรวบรวมข้อเท็จจริงที่ได้ จากนั้นนาเสนอผลที่ศึกษาได้พร้อมอ้างอิงหลักฐานให้ชัดเจน
เพื่อให้ผู้อื่นตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าต่อไปได้
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ประกอบด้วย
1. การกาหนดหัวข้อเรื่องที่ต้องการศึกษาให้ชัดเจน (เรื่องอะไร ช่วงเวลาใด ที่ไหน)
2. รวบรวมข้อมูลจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ให้ครบถ้วน ครอบคลุม
3. ตรวจสอบความจริงจากหลักฐาน ที่เรียกว่า การวิพากษ์วิธีทางประวัติศาสตร์
4. วิเคราะห์ข้อมูลและตีความเพื่อค้นหาข้อเท็จจริง
5. นาเสนอผลงานความรู้ที่ค้นพบ โดยปราศจากอคติและความลาเอียง
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 2
สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
ขั้นตอนที่ 1
การกาหนดหัวเรื่อง
การกาหนดหัวข้อเรื่องที่ต้องการศึกษา ช่วงเวลาใด ที่ไหนให้ชัดเจนในหนังสือเล่มนี้
สมาชิกในกลุ่มช่วยกันตั้งชื่อไว้หลายชื่อให้คัดเหลือเพียงเรื่องเดียว ดังนี้
1. ความเชื่อในท้องถิ่น
2. วัฒนธรรมท้องถิ่น
3. ภาษาและความเชื่อในท้องถิ่น
4. ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม
5. วัฒนธรรมในชุมชน
6. วัฒนธรรมและความเชื่อในท้องถิ่น
เรื่องอะไร ในที่ประชุมกลุ่มลงมติเลือกข้อที่ 4 เรื่อง ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม
โดยให้เหตุผลว่าเป็นชื่อที่ครอบคลุมเนื้อหาทั้ง 3 เรื่อง
ที่ไหน หมู่บ้านในการปกครองของเทศบาลตาบลโนนเจริญ มีจานวน 11หมู่บ้าน ได้
ศึกษาทั้ง 11 หมู่บ้านดังนี้
หมู่ที่ 1 บ้านโนนเจริญ หมู่ที่ 2 บ้านโนนเจริญ
หมู่ที่ 3 บ้านโนนเจริญ หมู่ที่ 4 บ้านโนนเจริญ
หมู่ที่ 5 บ้านโนนเจริญ หมู่ที่ 6 บ้านหนองแวง
หมู่ที่ 7 บ้านถนน หมู่ที่ 8 บ้านสายโท 9 ซอย 3
หมู่ที่ 9 บ้านโคกใหญ่ หมู่ที่ 10 บ้านสามขาพัฒนา
หมู่ที่ 11 บ้านสันติสุข
ช่วงเวลาใด ประมาณปี พ.ศ. 2493-2554
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 3
สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
ขั้นตอนที่ 2
การรวบรวมข้อมูล
หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
1. หนังสือการสร้างบ้านแปงเมืองบ้านโนนเจริญโดยคณะยุววิจัยประวัติศาสตร์
ท้องถิ่น กลุ่มที่ 1
2. http: //www.rakbankerd.com
3. http: //www.9bkk.com
หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
1. คุณยายกองศรี ศรีเจริญ อายุ 75 ปี
2. คุณยายบุญศรี เศษสุวรรณ อายุ 75 ปี
3. คุณยายทองสุข ศรีวรรณ อายุ 75 ปี
4. นายจันทร์ บุตรกุล อายุ 69 ปี
5. นางทองใบ ศรีงาม อายุ 47 ปี
6. นางจนอง ไตรพรม อายุ 49 ปี
7. นางจารัส จันทร์สนิท อายุ 55 ปี
8. นายสิน จันทะประโคน อายุ 56 ปี
9. นางถนอม สังเกตกิจ อายุ 58 ปี
10. นางสมพร นาประโคน อายุ 55 ปี
11. นางพิสมัย ราหูสิงห์ อายุ 41 ปี
12. นายไพรัตน์ ธรรมโกศล อายุ 45 ปี
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 4
สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
ขั้นตอนที่ 3
ประเมินคุณค่าของหลักฐาน
จากหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร จากการสัมภาษณ์คุณยายกองศรี ศรีเจริญ
อายุ 75 ปี คุณยายบุญศรี เศษสุวรรณ อายุ 75 ปี คุณยายทองสุข ศรีวรรณ อายุ 75 ปี
นายจันทร์ บุตรกุล อายุ 69 ปี นางทองใบ ศรีงาม อายุ 47 ปี นางจนอง ไตรพรม อายุ 49 ปี
นางจารัส จันทร์สนิท อายุ 55 ปี นายสิน จันทะประโคน อายุ 56 ปี นางถนอม ลังเกตกิจ
อายุ 58 ปี นางสมพร นาประโคน อายุ 55 ปี นางพิสมัย ราหูสิงห์ อายุ 41 ปี นายไพรัตน์
ธรรมโกศล อายุ 45 ปี สรุปได้ว่า ภาษาในชุมชนบ้านโนนเจริญที่ย้ายมาจากจังหวัดนครราชสีมา
เป็นกลุ่มที่ย้ายมากลุ่มแรก ใช้ภาษาดั้งเดิมไทยโคราช ปัจจุบันภาษาที่กลุ่มนี้ใช้ในชีวิตประจาวัน
เป็นภาษาท้องถิ่นภาษาลาว ภาษาท้องถิ่นลาว ราษฎร์กลุ่มนี้ที่ย้ายถิ่นตามมากลุ่มแรกมาเรื่อย
ๆ และจานวนมาก ย้ายมาจากภาคอีสาน เช่น จังหวัดร้อยเอ็ด มหาสารคาม อุบลราชธานี
และยโสธรซึ่งเป็นกลุ่มใหญ่จึงเป็นกลุ่มที่มาเปลี่ยนแปลงสังคม วัฒนธรรมและภาษาจากเดิมที่
เป็นภาษาไทยโคราชเป็นภาษาลาวและใช้ในชีวิตประจาวันจนถึงปัจจุบันและกลายเป็นภาษา
ประจาหมู่บ้าน แต่ผู้เฒ่าผู้แก่บางหมู่บ้านยังคงใช้ภาษาพื้นเมือง เช่น ภาษาเขมร ภาษาส่วย
จากหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร สรุปได้ว่า ในปัจจุบันชาวโนนเจริญโดยเฉพาะ
เด็กวัยรุ่นได้หันมาใช้ภาษาไทยกลางกันมากขึ้นเพราะวัยรุ่นเหล่านี้ส่วนใหญ่ได้รับการศึกษาที่ดี
เทียบเท่ากับคนในภาคกลางหรือกรุงเทพมหานคร ทาให้ภาษาอีสานเริ่มลดความสาคัญลง
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 5
สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
ขั้นตอนที่ 4
วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล
ภาษาในท้องถิ่น
หมู่ที่ 1 บ้านโนนเจริญ ส่วนใหญ่ใช้ภาษาถิ่นลาว
หมู่ที่ 2 บ้านโนนเจริญ ส่วนใหญ่ใช้ภาษาถิ่นลาว
หมู่ที่ 3 บ้านโนนเจริญ ส่วนใหญ่ใช้ภาษาถิ่นลาว
หมู่ที่ 4 บ้านโนนเจริญ ส่วนใหญ่ใช้ภาษาถิ่นลาว
หมู่ที่ 5 บ้านโนนเจริญ ส่วนใหญ่ใช้ภาษาถิ่นลาว
หมู่ที่ 6 บ้านหนองแวง ส่วนใหญ่ใช้ภาษาถิ่นเขมร
หมู่ที่ 7 บ้านถนน ส่วนใหญ่ใช้ภาษาถิ่นเขมร
หมู่ที่ 8 บ้านสายโท 9 ซอย 3 ส่วนใหญ่ใช้ภาษาถิ่นลาว
หมู่ที่ 9 บ้านโคกใหญ่ ส่วนใหญ่ใช้ภาษาถิ่นเขมร
หมู่ที่ 10 บ้านสามขาพัฒนา ส่วนใหญ่ใช้ภาษาถิ่นลาว
หมู่ที่ 11 บ้านสันติสุข ส่วนใหญ่ใช้ภาษาถิ่นเขมร
ศาสนาในชุมชน
ศาสนาพุทธ คริสต์และลัทธิเต๋า
ความเชื่อในชุมชน
ส่วนใหญ่เกี่ยวกับการทามาหากินและความเชื่อทางศาสนา
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 6
สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
ขั้นตอนที่ 5
การตีความหลักฐาน
ในปัจจุบันชาวอีสานตามเมืองใหญ่โดยเฉพาะเด็กวัยรุ่นได้หันมาใช้ภาษาไทย
กลางกันมากขึ้น เพราะวัยรุ่นเหล่านี้ส่วนใหญ่ได้รับการศึกษาที่ดีเทียบเท่ากับคนในภาคกลาง
หรือกรุงเทพมหานคร ทาให้ภาษาอีสานเริ่มลดความสาคัญลงเช่นเดียวกันกับภาษาพื้นเมือง
ของภาคอื่น ๆ
ภาษาพื้นเมืองในชุมชนบ้านโนนเจริญ มี 3 ภาษา คือ ลาว ส่วย เขมร ผู้แก่ผู้เฒ่า
ยังคงใช้ภาษาพื้นบ้านเป็นหลักอยู่ ทั้งนี้คนอีสานส่วนใหญ่จะสามารถสื่อสารได้ทั้งภาษาพื้นบ้าน
ของท้องถิ่นตนเองและภาษาไทยกลาง
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 7
สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
องค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาท้องถิ่นของเรา
โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์
.................................................................................
ภาษาพูดของคนอีสานในแต่ละท้องถิ่นนั้นจะมีสาเนียงที่แตกต่างกันออกไป
ตามสภาพทางภูมิศาสตร์ที่มีอาณาเขตติดต่อกับถิ่นใดรวมทั้งบรรพบุรุษของท้องถิ่นนั้นๆ
ด้วย เช่น แถบจังหวัดศรีสะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย์ มีชายแดนติดกับเขมรสาเนียงและรากเหง้า
ของภาษาก็จะมีคาของภาษาเขมรปะปนอยู่ด้วยทางด้านจังหวัด สกลนคร นครพนม มุกดาหาร
หนองคาย เลย ที่ติดกับประเทศลาวและมีชาวเวียดนามเข้ามาอาศัยอยู่ค่อนข้างมากก็จะมีอีก
สาเนียงหนึ่ง ชนเผ่าดั้งเดิมที่อาศัยอยู่ในบริเวณนั้นๆ ก็จะมีสาเนียงที่มีเอกลักษณ์เป็นของ
ตนเองและยังคงรักษาเอกลักษณ์นั้นไว้ ตราบจนปัจจุบัน เช่น ชาวภูไท ในจังหวัดมุกดาหาร
และนครพนม
ถึงแม้ชาวอีสานจะมีภาษาพูดที่มีความแตกต่างกันในแต่ละท้องถิ่น แต่ในภาษา
อีสานก็มีสิ่งหนึ่งที่ยังคงมีความคล้ายกันก็คือ ลักษณะของคาและความหมายต่างๆ ที่ยัง คงสื่อ
ความถึงกันได้ทั่วทั้งภาค ด้วยเหตุนี้จึงทาให้ชาวอีสานต่างท้องถิ่นกันสามารถสื่อสารกันได้เป็น
อย่างดี
ถ้าจะถามว่าภาษาถิ่นแท้จริงของชาวอีสานใช้กันอยู่ที่ใดคงจะตอบไม่ได้ เพราะ
ภาษาที่คนในท้องถิ่นต่างๆใช้กันก็ล้วนเป็นภาษาอีสานทั้งนั้น ถึงแม้จะเป็นภาษาที่มีความ
แตกต่างกัน แต่ก็มีรากศัพท์ในการสื่อความหมายที่คล้ายคลึงกัน
ในปัจจุบันชาวอีสานตามเมืองใหญ่โดยเฉพาะเด็กวัยรุ่นได้หันมาใช้ภาษาไทยกลางกัน
มากขึ้นเพราะวัยรุ่นเหล่านี้ส่วนใหญ่ได้รับการศึกษาที่ดีเทียบเท่ากับคนในภาคกลางหรือ
กรุงเทพมหานคร ทาให้ภาษาอีสานเริ่มลดความสาคัญลงเช่นเดียวกันกับภาษาพื้นเมือง
ของภาคอื่น ๆ แต่ผู้คนตามชนบทและคนเฒ่าคนแก่ยังใช้ภาษาอีสานกันเป็นภาษาหลักอยู่
ทั้งนี้คนอีสานส่วนใหญ่สามารถสื่อสารได้ทั้งภาษาอีสานของท้องถิ่นของตนและภาษาไทยกลาง
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 8
สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
หากท่านเดินทางไปในชนบทของอีสานจะพบการใช้ภาษาถิ่นที่แตกต่างกันไปดังที่กล่าวมาแล้ว
แต่คนอีสานเหล่านี้โดยเฉพาะวัยรุ่นหนุ่มสาวก็จะสามารถสื่อสารกับท่านเป็นภาษาไทยกลางได้
อีกด้วยทั้งนี้เพราะวัยรุ่นชาวอีสานใหญ่จะเข้ามาหางานทาในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
เมื่อก่อนจะไปหางานทาเฉพาะหลังฤดูทานาแต่ในปัจจุบันวัยรุ่นส่วนใหญ่จะเข้ากรุงเทพฯ
และทางานที่นั่นตลอดทั้งปี ชาวอีสานที่ไปต่างถิ่นนอกจากจะหางานทาแล้ว ก็ยังมีการเผยแพร่
วัฒนธรรมรวมทั้งภาษาของตนเองไปในตัวในปัจจุบันชาวไทยจานวนมากเริ่มเข้าใจภาษาอีสาน
ทั้งจากเพลงลูกทุ่ง ภาษาอีสานที่ได้รับความนิยมกันทั่วประเทศและจากคนรอบตัวที่เป็นคน
อีสานทาให้ภาษาอีสานยังคงสามารถสืบสานต่อไปได้อยู่ถึงแม้จะมีคนอีสานบางกลุ่มเลิกใช้แล้ว
ก็ตาม
1. ภาษาในชุมชนบ้านโนนเจริญ
1.1 หมู่ที่ 1 บ้านโนนเจริญ
ภาษาที่ใช้ในหมู่ที่ 1 บ้านโนนเจริญนั้น จากข้อมูลการย้ายถิ่นของราษฎรวิเคราะห์
ได้ว่ากลุ่มคนย้ายถิ่นมาตั้งถิ่นฐานกลุ่มแรกเป็นผู้ก่อตั้งและพัฒนาจนกลายเป็นชุมชนขนาดใหญ่
ซึ่งสามารถแยกภาษาตามกลุ่มคนที่ย้ายเข้ามาตั้งถิ่นฐานดังนี้
1) ภาษาไทยโคราช ราษฎรกลุ่มนี้ย้ายมาจากจากจังหวัดนครราชสีมา เป็นกลุ่มที่ย้าย
มากลุ่มแรก ใช้ภาษาดั้งเดิมไทยโคราช ปัจจุบันภาษาที่กลุ่มนี้ใช้ในชีวิตประจาวันเป็น
ภาษาท้องถิ่นภาษาลาว
2) ภาษาท้องถิ่นลาว ราษฎรกลุ่มนี้ที่ย้ายถิ่นตามมากลุ่มแรกมาเรื่อย ๆ และจานวน
มาก ย้ายมาจากภาคอีสาน เช่น ร้อยเอ็ด มหาสารคาม อุบลราชธานี และยโสธรซึ่งเป็นกลุ่ม
ใหญ่จึงเป็นกลุ่มที่มาเปลี่ยนแปลงสังคม วัฒนธรรมและภาษาจากเดิมที่เป็นภาษาไทยโคราช
เป็นภาษาลาวและใช้ในชีวิตประจาวันจนถึงปัจจุบันและกลายเป็นภาษาประจาหมู่บ้าน
3) ภาษาไทยกลางเนื่องจากหมู่ที่ 1 บ้านโนนเจริญเป็นศูนย์รวมของหน่วยงาน
ราชการหลายหน่วยงาน เช่น เทศบาลตาบลโนนเจริญ โรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 9
สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
ศูนย์ประสานงานตารวจภูธร ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศูนย์ประสานงานระหว่างเทศบาลและ
อาเภอบ้านกรวด มีเจ้าหน้าที่ที่ย้ายเข้ามาทางานจานวนมาก ดังนั้นจึงใช้ภาษาราชการ
เพื่อการสื่อสาร
4) ภาษาต่างประเทศ เนื่องจากหมู่ที่ 1 บ้านโนนเจริญ เป็นศูนย์รวมการค้าขาย
ทั้งตลาดไนท์วันอังคาร ตลาดนัดวันศุกร์ ร้านกาแฟ ร้านค้าขายส่ง และเป็นสถานที่จัดงาน
ประเพณีลอยกระทง ทาให้มีชาวต่างประเทศที่มีภรรยาเป็นคนไทยมาใช้บริการจานวนมาก
ภาษาต่างประเทศที่ใช้ส่วนใหญ่เป็นภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส และเยอรมัน
1.2 หมู่ที่ 2 บ้านโนนเจริญ
ภาษาที่ใช้ในหมู่ที่ 2 บ้านโนนเจริญนั้น สามารถแยกตามลักษณะการย้ายถิ่นของ
ราษฎร ดังนี้
1) ภาษาท้องถิ่นลาวสตึก ราษฎรกลุ่มนี้ย้ายถิ่นมาจากบ้านกอก-ค้อ อาเภอสตึก
จังหวัดบุรีรัมย์ คุณยายกองศรี ศรีเจริญ อายุ 75 ปี ปัจจุบันอาศัยอยู่บ้านเลขที่ 64 หมู่ที่ 2
เล่าให้ฟังว่าก่อนจะย้ายมาบ้านโนนเจริญอยู่ บ้านค้อ ตาบลทุ่งวัง อาเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย์
สาเหตุที่ย้ายถิ่นมาอยู่ที่บ้านโนนเจริญเพราะที่อยู่เดิมมีจานวนประชาชนแออัด ท่านเดินทาง
มาโดยผู้หญิงมารถทหารส่วนผู้ชายเดินไล่ต้อนวัว ควาย ตามมาเดินทางมาที่บ้านโนเจริญ
ใช้เวลา 3 วัน 3 คืนย้ายมามากกว่า 6 ครอบครัว ราวปี พ.ศ. 2508 ปัจจุบันได้แยกย้ายกันสร้าง
ครอบครัวกระจายกันอยู่ กลุ่มนี้ใช้ภาษาท้องถิ่นลาวในการสื่อสารกันในชีวิตประจาวัน ภาษาที่
ใช้ในหมู่ที่ 2 บ้านโนนเจริญนั้น สามารถแยกตามลักษณะการย้ายถิ่นของราษฎรดังนี้
2) ภาษาท้องถิ่นลาวยโสธร ราษฎรกลุ่มนี้ย้ายถิ่นเข้ามาเมื่อบ้านโนนเจริญสงบสุข
แล้วมีการค้าขายที่ดินที่มีหน่วยเป็นไร่เพราะราษฎรกลุ่มนี้ย้ายเข้าโดยการขายที่ดินทรัพย์สินที่มี
อยู่เดิมเพื่อมาลงทุนที่บ้านโนนเจริญ จากการสัมภาษณ์คุณยายบุญศรี เศษสุวรรณ อายุ 64 ปี
บ้านเลขที่ 51 หมู่ 4 ตาบลโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ ที่อยู่เดิมบ้านคาน้าสร้าง
ตาบลครือเหนือ อาเภอเมือง จังหวัดยโสธรให้ข้อมูลว่าสาเหตุที่ย้ายถิ่นมาที่บ้านโนนเจริญ
เพราะที่อยู่เดิมชุนชนแออัดเพื่อหาที่ทากินที่กว้างใหญ่ขึ้นและมีราคาถูกกว่าที่เดิม การเดินทาง
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 10
สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
ท่านมาโดยรถบัสประจาทางเดินทางมาประมาณ 7 ครอบครัว ในขณะนั้นที่นาราคาถูกไร่ละ
500-1,000 บาท ราษฎรกลุ่มนี้ใช้ภาษาท้องถิ่นลาวในการสื่อสารกันในชีวิตประจาวัน
3) ภาษาท้องถิ่นร้อยเอ็ด ราษฎรกลุ่มนี้ย้ายถิ่นเข้ามาเพราะกลุ่มราษฎรจังหวัด
ยโสธรเป็นผู้ชักชวนมาเนื่องจากเป็นญาติกัน ก่อนย้ายเข้าราษฎรกลุ่มนี้ขายที่ดินหรือทรัพย์สิน
เดิมที่มีอยู่แล้วจึงทาให้มีเงินมาซื้อที่ดินที่บ้านโนนเจริญ จากการสัมภาษณ์คุณยายทองสุข
ศรีวรรณ อายุ 89 ปีที่อยู่ 65 หมู่ 2 ตาบลโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ ที่อยู่
เดิมอยู่ที่ ตาบลหนองฮี อาเภอพนมไพร จังหวัดร้อยเอ็ด สาเหตุที่ย้ายถิ่นเพราะที่อยู่คับแคบ
ที่นามีจานวนน้อยไม่พอทากิน ทาให้คุณยายย้ายไปที่อาเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย์ โดยอาศัย
เกวียนเป็นพาหนะ เมื่อมาถึงอาเภอสตึกพบปัญหามีโจรจานวนมาก จึงต้องย้ายถิ่นฐานมาอยู่
ที่บ้านโนนเจริญราวปี พ.ศ. 2508 ขณะนั้นย้ายมาเพียงครอบครัวเดียว ต่อมามีผู้คนย้าย
ตามมาจานวนมาก ปัจจุบันครอบครัวท่านได้แยกย้ายกันอยู่ตามหมู่บ้านทั้ง 5 หมู่บ้าน
1.3 หมู่ที่ 3 บ้านโนนเจริญ
ภาษาที่ใช้ในหมู่ที่ 3 บ้านโนนเจริญนั้นใช้ภาษาท้องถิ่นไทยลาว ราษฎรกลุ่มนี้ย้ายถิ่น
มาตามกลุ่มแรกที่ย้ายมาบ้านโนนเจริญ เนื่องจากหมู่ที่ 1 มีครอบครัวและสมาชิกหนาแน่นมาก
จึงแยกตัวออกไปสร้างบ้านที่โนนเจริญ หมู่ที่ 3 (ราว พ.ศ. 2535 เป็นหมู่ที่ 17) ซึ่งขณะนั้น
เป็นเพียงหัวไร่ปลายนา จากการสัมภาษณ์นายจันทร์ บุตรกุล อายุ 69 ปี 2515 ที่อยู่ปัจจุบัน
บ้านเลขที่ 93 หมู่ที่ 3 บ้านโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ ให้ข้อมูลว่าตนได้ย้ายมา
จากจังหวัดขอบแก่นเมื่อ ปี พ.ศ. 2515 แต่งงานกับภรรยาที่เป็นคนจังหวัดร้อยเอ็ด จึงแยก
ครอบครัวจากหมู่ที่ 1 ไปอยู่หมู่ที่ 3 บ้านโนนเจริญ ภาษาที่ใช้ในชีวิตประจาวันเป็นภาษา
ท้องถิ่นลาว ในหมู่ที่ 3 บ้านโนนเจริญนี้ประชาชนใช้เป็นภาษาถิ่นลาวในการสื่อสาร คิดเป็น
ร้อยละ 99%
1.4 หมู่ที่ 4 บ้านโนนเจริญ
ภาษาที่ใช้ในหมู่ที่ 4 บ้านโนนเจริญใช้ภาษาท้องถิ่นลาวสตึก กลุ่มนี้เป็นลูกหลาน
ของราษฎรหมู่ที่ 2 ซึ่งได้แยกครอบครัวออกมาทาจากครอบครัวใหญ่ จากการสัมภาษณ์
นายจันที สุดใจ อายุ 57 ปี ที่ปัจจุบันอยู่บ้านเลขที่ 86 หมู่ที่ 4 ตาบลโนนเจริญ อาเภอบ้าน
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 11
สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
บ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ ให้ข้อมูลว่าตนได้ย้ายถิ่นมาจากอาเภอสตึก ย้ายตามพ่อและแม่
ย้ายมาบ้านโนนเจริญหมู่ที่ 4 เมื่อพ.ศ. 2570 บ้านโนนเจริญหมู่ที่ 4 นั้นใช้ภาษาหลากหลาย
เช่น ลาวมหาสารคราม ภาษาท้องถิ่นลาวสตึกในหมู่ที่ 4 ราษฎรใช้เป็นภาษาลาวในการสื่อสาร
คิดเป็นร้อยละ 45%
1.5 หมู่ที่ 5 บ้านโนนเจริญ
ภาษาที่ใช้ในหมู่ที่ 5 บ้านโนนเจริญนั้น สามารถแยกตามลักษณะการย้ายถิ่น
ของราษฎร ดังนี้
1) ภาษาท้องถิ่นเขมร กลุ่มนี้เป็นลูกหลานของราษฎรหมู่ที่ 2 ซึ่งได้แยกครอบครัว
ออกมาจากครอบครัวใหญ่ จากการสัมภาษณ์นางจะนอง ไตรพรม อายุ 49 ปี อยู่บ้านเลขที่
126 หมู่ที่5 ตาบลโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ 31180 ให้ข้อมูลว่าย้ายมาจาก
บ้านระนามพลวง กิ่งอาเภอชานิ จังหวัดบุรีรัมย์ ใช้ภาษาเขมรในการสื่อสารในชีวิตประจาวัน
คิดเป็นร้อยละ 60%
3) ภาษาท้องถิ่นส่วย จากการสัมภาษณ์นางทองใบ ศรีงาม ให้ข้อมูลว่าภูมิลาเนา
เดิมเกิดที่อาเภอสนม จังหวัดสุรินทร์ พ่อแม่ย้ายถิ่นมาบ้านโนนเจริญ ใช้ภาษาถิ่นส่วยจาก
อาเภอสนม จังหวัดสุรินท จนถึงปัจจุบัน ภาษาท้องถิ่นส่วยในหมู่ที่ 5 ราษฎรใช้เป็นภาษาใน
การสื่อสารคิดเป็นร้อยละ 40%
1.6 หมู่ที่ 6 บ้านหนองแวง
ภาษาที่ใช้ในหมู่ที่ 6 บ้านหนองแวง ใช้ภาษาท้องถิ่นเป็นภาษาเขมรจากสัมภาษณ์
นางจารัส จันทร์สนิท อายุ 55 ปี ที่อยู่ 39 หมู่ที่ 6 บ้านหนองแวง ตาบลโนนเจริญ
อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ ให้ข้อมูลว่าท่านได้ย้ายมาจากบ้านโคกสะอาด มาประกอบ
อาชีพที่บ้านหนองแวงและสร้างครอบครัวอยู่ที่นั้น มีอาชีพและฐานะมั่นคงสามีเป็นผู้ใหญ่บ้าน
ภาษาท้องถิ่นเขมรในหมู่ที่ 6 ราษฎรใช้เป็นภาษาในการสื่อสาร คิดเป็นร้อยละ100%
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 12
สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
1.7 หมู่ที่ 7 บ้านหัวถนน
ภาษาที่ใช้ในหมู่ที่ 7 บ้านหัวถนนใช้ภาษาท้องถิ่นภาษาเขมรจากสัมภาษณ์
นายสิน จันทะประโคน อายุ 56 ปี อาศัยอยู่บ้านเลขที่ 102 หมู่ 7 บ้านหัวถนน ตาบลโนน
เจริญ อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ ให้ข้อมูลว่าอยู่ที่นี้แต่กาเนิดแต่ก่อนนี้แถวบ้านหัว
ถนนมีแต่ป่า มีบ้านอยู่ประมาณ 2-3 หลัง และได้มีประชากรอพยบเข้ามาจนเจริญรุ่งเรือง
ภาษาท้องถิ่นภาษาเขมรในหมู่ที่ 7 ราษฎรใช้เป็นภาษาในการสื่อสารคิดเป็นร้อยละ 80%
1.8 หมู่ที่ 8 บ้านสายโท 9 ซอย 3
ภาษาที่ใช้ในหมู่ที่ 8 บ้านสายโท 9 ซอย 3 ใช้ภาษาท้องถิ่นเป็นภาษาถิ่นเขมร
จากการสัมภาษณ์ นางถนอม ลังเกตกิจ อายุ 58 ปี ย้ายมาจากบ้านสวรรค์ ตาบลจันตุม
อาเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ ภูมิลาเนาเดิม อยู่บ้านนี้ พ.ศ 2512 ได้ข้อมูลว่า แต่ก่อนที่
ย้ายเข้ามาหมู่บ้านแถบนี้มีแต่ป่า ไม่ค่อยมีผู้คนอาศัยอยู่ ที่ย้ายเข้ามาที่นี้ก็เพราะว่า ที่ดินแถวนี้
มีราคาถูก ก็เลยซื้อและตั้งหลากฐานอยู่ที่นี้เลย ภาษาท้องถิ่นภาษาลาวในหมู่ที่ 8 ราษฎรใช้เป็น
ภาษาในการสื่อสาร คิดเป็นร้อยละ 90%
1.9 หมู่ที่ 9 บ้านโคกใหญ่
ภาษาที่ใช้ในหมู่ที่ 9 บ้านโคกใหญ่ใช้ภาษาท้องถิ่นเป็นภาษาเขมรจากสัมภาษณ์
นางสมพร นาประโคน อายุ 55 ปี บ้านเลขที่ 12 หมู่ที่ 9 บ้านโคกใหญ่ ตาบลโนนเจริญ
อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ ได้ย้ายมาจากอาเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย์ ให้ข้อมูลว่าย้ายมา
อยู่กับพ่อแม่และตั้งรากฐานอยู่ที่หมู่บ้านโคกใหญ่ ภาษาท้องถิ่นที่ใช้เป็นภาษาเขมร ในหมู่ที่ 9
บ้านโคกใหญ่ราษฎรใช้ภาษาเขมรเป็นภาษาในการสื่อสาร คิดเป็นร้อยละ 85%
1.10 หมู่ที่ 10 บ้าน สามขาพัฒนา
ภาษาที่ใช้ในหมู่ที่ 10 บ้านสามขาพัฒนา ใช้ภาษาถิ่นเป็นภาษาลาว จากสัมภาษณ์
นางพิสมัย ราหูสิงห์ อายุ 41 ปี อาศัยอยู่ที่บ้านเลขที่ 20 หมู่ที่ 10 ตาบลโนนเจริญ อาเภอ
บ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ ให้ข้อมูลว่า ได้ย้ายมาอยู่บ้านสามขาพัฒนาตั้งแต่ปีได้ย้ายมาจาก
อาเภอสีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ ได้มาตั้งถิ่นฐานอยู่ที่บ้านสามขาพัฒนาเพราะสมัยก่อนที่ดิน
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 13
สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
แถวนี้มีราคาถูกยังเป็นที่รกร้าง เมื่อมีคนมาก็ช่วยกันพัฒนาขึ้นมาเรื่อยๆ จนกลายมาเป็น
ชุมชนจนถึงปัจจุบันนี้ ภาษาท้องถิ่นภาษาลาวในหมู่ที่ 10 บ้าน สามขาพัฒนา ราษฎรใช้เป็น
ภาษาในการสื่อสาร คิดเป็นร้อยละ 80%
1.11 หมู่ที่ 11 บ้านสันติสุข
ภาษาที่ใช้ในหมู่ที่ 11 บ้านสันติสุข ใช้ภาษาท้องถิ่นเป็นภาษาลาว จากสัมภาษณ์
นายไพรัตน์ ธรรมโกศล อายุ 45 ปี อาศัยอยู่ที่บ้านเลขที่ 101 หมู่ที่ 11 ตาบลโนนเจริญ
อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ ย้ายมาจากบ้านเลขที่ 93 ถนนอินจันทร์ อาเภอเมือง
จังหวัดบุรีรัมย์ ได้ให้ข้อมูลว่าบ้านสันติสุขนั้นใช่หลากหลายภาษาด้วยกันและที่นี้ก็ไม่ค่อยเจริญ
ถนนเป็นดินแดง ภาษาที่ใช้แตกต่างกัน เช่น ภาษาถิ่นลาวคิดเป็นร้อยละ 40% รองลงมาเป็น
ภาษาไทยและเขมร ภาษาท้องถิ่นภาษาลาวในหมู่ที่ 11 บ้านสันติสุขราษฎรใช้เป็นภาษาในการ
สื่อสาร คิดเป็นร้อยละ 40%
2. ศาสนาและความเชื่อ
2.1 ศาสนาและความเชื่อหมู่ที่ 1 บ้านโนนเจริญ
ราษฎรในหมู่ที่ 1 บ้านโนนเจริญนับถือศาสนาพุทธ คิดเป็นร้อยละ 99 ส่วนศาสนา
อื่น ๆ เช่น ศาสนาคริสต์ ศาสนาพราหมณ์-อินดู ลัทธิเต๋าและเจ้าแม่กวนอิม คิดเป็นร้อยละ 1
ความเชื่อราษฎรในหมู่ที่ 1 บ้านโนนเจริญ มีความเชื่อเกี่ยวกับบุญเบิกบ้าน ตั้งแต่
โบราณมีความเชื่อว่าทาแล้วมีความอยู่เย็นเป็นสุขเพราะเป็นตามประเพณีถ้าไม่ทาก็ไม่เป็นไร
เพราะมันเป็นประเพณีของคนสมัยโบรานทามาตั้งแต่ดึกดาบรรพ์ แต่ถ้าทาก็จะทาเดือน 6
ของทุกปีแล้วแต่จะพร้อมวันไหน ขุดทรายสี่ทิศมาก่อกันให้ใหญ่พอดี นิมนต์พระมาตักบาตร
เสร็จพิธีตอนค่าสวดมนต์เย็น ความสาคัญได้รดน้ามนต์จากพระคุณเจ้าจะได้อยู่เย็นเป็นสุข
2.2 ศาสนาและความเชื่อหมู่ที่ 2 บ้านโนนเจริญ
ราษฎร์ในหมู่ที่ 1 บ้านโนนเจริญนับถือศาสนาพุทธ คิดเป็นร้อยละ 99 ส่วนศาสนา
อื่น ๆ เช่น ศาสนาคริสต์ ศาสนาพราหมณ์-อินดู ลัทธิเต๋าและเจ้าแม่กวนอิม คิดเป็นร้อยละ 1
ความเชื่อราษฎรในหมู่ที่ 2 บ้านโนนเจริญ มีความเชื่อเกี่ยวกับหลวงปู่ฌานและบุญ
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 14
สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
เลี้ยงบ้าน หลวงปู่ณานเป็นพระสงฆ์ที่ได้ธุดงค์ผ่านบ้าโนนเจริญ มีญาติโยมเลื่อมใสศรัทธานา
อาหารมาถวายแล้วท่านก็เดินทางต่อไปทางทิศตะวันออกสู่ประเทศเพื่อนบ้านกัมพูชานานๆ
จะเดินธุดงค์ผ่านบ้านโนนเจริญชาวบ้านก็จะนาอาหารมาถวายทุกครั้งไป ด้วยความศรัทธา
ของประชาชนจึงมีความคิดร่วมกันว่าน่าจะปั้นรูปเหมือนโดยมีนายทา ทาทอง เป็นช่างปั้นรูป
2.3 ศาสนาและความเชื่อหมู่ที่ 3 บ้านโนนเจริญ
ราษฎรในหมู่ที่ 3 บ้านโนนเจริญนับถือศาสนาพุทธ คิดเป็นร้อยละ 99 ส่วนศาสนา
อื่น ๆ เช่น ศาสนาคริสต์ ศาสนาพราหมณ์-อินดู ลัทธิเต๋าและเจ้าแม่กวนอิม คิดเป็นร้อยละ 1
ความเชื่อราษฎรในหมู่ที่ 3 บ้านโนนเจริญ มีความเชื่อเกี่ยวกับบุญเบิกบ้าน ตั้งแต่
โบราณมีความเชื่อว่าทาแล้วมีความอยู่เย็นเป็นสุขเพราะเป็นตามประเพณีถ้าไม่ทาก็ไม่เป็นไร
เพราะมันเป็นประเพณีของคนสมัยโบราณทามาตั้งแต่ดึกดาบรรพ์แต่ถ้าทาก็จะทาเดือน 6
ของทุกปีแล้วแต่จะพร้อมวันไหน ขุดทรายสี่ทิศมาก่อกันให้ใหญ่พอดี นิมนต์พระมาตักบาตร
เสร็จพิธีตอนค่าสวดมนต์เย็น ความสาคัญได้รดน้ามนต์จากพระคุณเจ้าจะได้อยู่เย็นเป็นสุข
2.4 ศาสนาและความเชื่อหมู่ที่ 4 บ้านโนนเจริญ
ราษฎรในหมู่ที่ 4 บ้านโนนเจริญนับถือศาสนาพุทธ คิดเป็นร้อยละ 99 ส่วนศาสนา
อื่น ๆ เช่น ศาสนาคริสต์ ศาสนาพราหมณ์-อินดู ลัทธิเต๋าและเจ้าแม่กวนอิม คิดเป็นร้อยละ 1
ชื่อภาพ : หลวงปู่ฌานและบุญเลี้ยงบ้าน
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 15
สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
ความเชื่อราษฎรในหมู่ที่ 4 บ้านโนนเจริญ มีความเชื่อเกี่ยวกับบุญเบิกบ้าน ตั้งแต่
โบราณมีความเชื่อว่าทาแล้วมีความอยู่เย็นเป็นสุข เพราะเป็นตามประเพณีถ้าไม่ทาก็ไม่เป็นไร
เพราะมันเป็นประเพณีของคนสมัยโบราณทามาตั้งแต่ดึกดาบรรพ์ แต่ถ้าทาก็จะทาเดือน 6 ของ
ทุกปีแล้วแต่จะพร้อมวันไหน ขุดทรายสี่ทิศมาก่อกันให้ใหญ่พอดี นิมนต์พระมาตักบาตร เสร็จ
พิธีตอนค่าสวดมนต์เย็น ความสาคัญได้รดน้ามนต์จากพระคุณเจ้าจะได้อยู่เย็นเป็นสุข
2.5 ศาสนาและความเชื่อหมู่ที่ 5 บ้านโนนเจริญ
ราษฎรในหมู่ที่ 5 บ้านโนนเจริญนับถือศาสนาพุทธ คิดเป็นร้อยละ 99 ส่วนศาสนา
อื่น ๆ เช่น ศาสนาคริสต์ ศาสนาพราหมณ์-อินดู ลัทธิเต๋าและเจ้าแม่กวนอิม คิดเป็นร้อยละ 1
ความเชื่อราษฎรในหมู่ที่ 5 บ้านโนนเจริญ มีความเชื่อเกี่ยวกับบุญเบิกบ้าน ตั้งแต่
โบราณมีความเชื่อว่าทาแล้วมีความอยู่เย็นเป็นสุข เพราะเป็นตามประเพณีถ้าไม่ทาก็ไม่เป็นไร
เพราะมันเป็นประเพณีของคนสมัยโบราณทามาตั้งแต่ดึกดาบรรพ์ แต่ถ้าทาก็จะทาเดือน 6
ของทุกปีแล้วแต่จะพร้อมวันไหน ขุดทรายสี่ทิศมาก่อกันให้ใหญ่พอดี นิมนต์พระมาตักบาตร
เสร็จพิธีตอนค่าสวดมนต์เย็น ความสาคัญได้รดน้ามนต์จากพระคุณเจ้าจะได้อยู่เย็น
3. วัฒนธรรมในชุมชนบ้านโนนเจริญ
ชาวอีสานโบราณมีวิถีชีวิต วัฒนธรรม ซึ่งชาวอีสานได้บ่มเพาะภูมิปัญญาก่อกาเนิด
เป็นประเพณีสาคัญ ๆ ขึ้นมาและได้ร่วมสืบทอดกันมาอย่างยาวนานโดยพวกเขาเรียกขาน
ประเพณีเหล่านี้รวมกันว่า "ฮีตสิบสอง"
ฮีตสิบสอง หมายถึง จารีตประเพณีประจาสิบสองเดือน ซึ่งถือเป็นโอกาสดีที่ชาวบ้าน
จะได้มาร่วมชุมนุมและทาบุญในทุกๆ เดือนของรอบปี และถือเป็นจรรยาของสังคม ผู้ที่ฝ่าฝืนก็
จะเป็นผู้ที่ ผิดฮีต หรือ ผิดจารีต นั่นเอง(หลายครั้ง ฮีตสิบสอง มักจะกล่าวควบคู่ “คลองสิบสี่”
ที่เป็นดังแบบแผนหรือแนวทางดาเนินชีวิตแต่จะมุ่งเน้นไปทางศีลธรรมมากกว่าด้านอาชีพ
ประเพณีแห่ปราสาทผึ้ง เดือนสิบเอ็ดสาหรับประเพณีหลักๆ 12 เดือนตามฮีตสิบสองของชาว
อีสานโบราณนั้นประกอบด้วย (http://www.sawasdeenakhonphanom.com)
เดือนเจียง (เดือนอ้าย) มีการประกอบพิธีบุญเข้ากรรม ซึ่งเป็นเดือนที่พระสงฆ์เข้า
กรรม (ปริวาสกรรม) เพื่อให้พระสงฆ์ผู้กระทาผิด ได้สารภาพต่อหน้าคณะสงฆ์ เป็นการฝึก
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 16
สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
จิตสานึกถึงความบกพร่องของตน และมุ่งประพฤติตนให้ถูกต้องตามพระธรรมวินัยต่อไป
ชาวบ้านก็จะมีการทาบุญเลี้ยงผีต่าง ๆ (http://www.sawasdeenakhonphanom.com)
เดือนยี่ ในฤดูหลังการเก็บเกี่ยว ชาวบ้านจะทาบุญคูณข้าวหรือบุญคูณลาน โดย
นิมนต์พระสวดมนต์เย็น เพื่อเป็นมงคลแก่ข้าวเปลือก รุ่งเช้าเมื่อพระฉันเช้าแล้วจะมีการทาพิธีสู่
ขวัญข้าว นอกจากนี้ชาวบ้านจะเตรียมเก็บสะสมฟืนไว้หุงต้มที่บ้าน
ชื่อภาพ : ประเพณีเดือนสอง สู่ขวัญข้าวเปลือก
ที่มา: http://www.rd1677.com
ชื่อภาพ : เดือนเจ็ด ทาบุญซาฮะ ที่จังหวัดนครพนม
ที่มา : http://www.sawasdeenakhonphanom.com
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 17
สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
เดือนสาม ในมื้อเพ็ง หรือวันเพ็ญเดือนสาม จะมีการทาบุญข้าวจี่และบุญมาฆบูชา
การทาบุญข้าวจี่จะเริ่มตอนเช้า โดยใช้ข้าวเหนียวปั้นใส่น้าอ้อยนาไปจี่บนไฟอ่อนแล้วชุบด้วยไข่
เมื่อสุกแล้วนาไป ถวายพระ (http://www.rakbankerd.com)
เดือนสี่ ทาบุญพระเวสฟังเทศน์มหาชาติ ในงานบุญนี้มักจะมีผู้นาของมาถวายพระ
ซึ่งเรียกว่า "กัณฑ์หลอน" หรือถ้าจะถวายเจาะจงเฉพาะพระนักเทศน์ที่ตนนิมนต์มาก็จะเรียกว่า
"กัณฑ์จอบ" เพราะต้องแอบซุ่มดูให้แน่เสียก่อนว่าใช่พระรูปที่จะถวายเฉพาะเจาะจงหรือไม่
http://www.isangate.com/local/prasart_pueng.html
เดือนห้า ประเพณีตรุษสงกรานต์หรือบุญสรงน้า หรือบุญเดือนห้า ซึ่งมีขึ้นในวัน
ขึ้น 15 ค่า เดือนห้า และถือเป็นเดือนสาคัญ เพราะเป็นเดือนเริ่มต้นปีใหม่ไทย การสรงน้าจะมี
ทั้งการรดน้าพระพุทธรูป พระสงฆ์ และผู้หลักผู้ใหญ่ ด้วยน้าอบน้าหอมเพื่อขอขมาและขอพร
ตลอดจนมีการทาบุญถวายทาน
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 18
สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
เดือนหก ประเพณีบุญบั้งไฟและบุญวันวิสาขบูชา การทาบุญบั้งไฟเป็นการขอฝน
พร้อมกับงานบวชนาค ซึ่งการทาบุญเดือนหกถือเป็นงานสาคัญก่อนการทานา หมู่บ้านใกล้เคียง
จะนาเอาบั้งไฟมาจุดประชันขันแข่งกัน หมู่บ้านที่รับเป็นเจ้าภาพจะจัดอาหาร เหล้ายามาเลี้ยง
เมื่อถึงเวลาก็จะตั้งขบวนแห่บั้งไฟและราเซิ้งออกไป ณ ลานที่จุดบั้งไฟ ด้วยความสนุกสนาน คา
เซิ้งและการแสดงประกอบจะออกไปในเรื่องเพศ แต่จะไม่คิดเป็นเรื่องหยาบคายแต่อย่างใด
ซึ่งประเพณีบุญบั้งไฟจะจัดขึ้นอย่างยิ่งใหญ่ทุกปีที่จังหวัดยโสธร ส่วนการทาบุญเนื่อง
ใน วันวิสาขบูชานั้น จะมีการทาบุญเลี้ยงพระ ฟังเทศน์ ช่วงเย็นมีการเวียนเทียนเช่นเดียว
กับภาคอื่น ๆ
เดือนเจ็ด ทาบุญซาฮะ (ล้าง) หรือบุญบูชาบรรพบุรุษ มีการเซ่นสรวงหลักเมือง หลัก
บ้าน ปู่ตา ผีตาแฮก ผีเมือง เป็นการทาบุญเพื่อระลึกถึงผู้มีพระคุณ
ชื่อภาพ : ประเพณีเดือนสอง สู่ขวัญข้าวเปลือก
ที่มา : http://www.rd1677.com
ชื่อภาพ : ประเพณีตรุษสงกรานต์หรือบุญสรงน้า
ที่มา : http://www.rd1677.com
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 19
สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
เดือนแปดทาบุญเข้าพรรษาซึ่งเป็นประเพณีทางพุทธศาสนาโดยตรง ลักษณะการจัด
งานจึงคล้ายกับทางภาคอื่นๆ ของประเทศไทย เช่น มีการทาบุญตักบาตร ถวายภัตตาหารแด่
พระภิกษุสงฆ์สามเณร มีการฟังธรรมเทศนาตอนบ่าย ชาวบ้านหล่อเทียนใหญ่ถวายเป็นพุทธ
บูชาและเก็บไว้ตลอดพรรษา การนาไปถวายวัดจะมีขบวนแห่ฟ้อนราเพื่อให้เกิดความคึกคัก
สนุกสนาน ประเพณีแห่เทียนพรรษาที่ยิ่งใหญ่ที่สุดต้องเป็นที่จังหวัดอุบลราชธานี
เดือนเก้าประเพณีทาบุญข้าวประดับดิน เป็นการทาบุญเพื่ออุทิศแก่ญาติผู้ล่วงลับ
เพื่อบูชาผีบรรพบุรุษและผีไร้ญาติโดยจะทาการจัดอาหาร เช่น ข้าว ของหวาน หมากพลู บุหรี่
ห่อด้วยใบตองกล้วย ร้อยเป็นพวง เตรียมไว้ถวายพระช่วงเลี้ยงเพลหรืออาจจะนาห่อข้าวน้อย
เหล้า บุหรี่ แล้วนาไปวางหรือแขวนไว้ตามต้นไม้แล้วกล่าว เชิญวิญญาณของบรรพบุรุษและ
ญาติมิตรที่ล่วงลับไปมารับส่วนกุศลในครั้งนี้ ต่อมาใช้วิธีการกรวดน้าหลังการถวายภัตตาหาร
พระสงฆ์แทน
ชื่อภาพ : เดือนเก้าบุญข้าวประดับดิน
ที่มา : http://www.thatphanom.com/2411/วัฒนธรรมประเพณี/วัฒนธรรม/บุญข้าว
ประดับดิน.
ชื่อภาพ : ทาบุญเข้าพรรษา
ที่มา : http://www.9bkk.com/article/custom/custom9.html
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 20
สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
เดือนสิบ ประเพณีทาบุญข้าวสากหรือข้าวสลาก (สลากภัตร) ตรงกับวันเพ็ญ
เดือนสิบ ผู้ถวายจะเขียนชื่อของตนลงในภาชนะที่ใส่ของทาน และเขียนชื่อลงในบาตร ภิกษุ
สามเณรรูปใดจับได้ สลากของใคร ผู้นั้นจะเข้าไปถวายของ เมื่อพระฉันเสร็จแล้วจะมีการฟัง
เทศน์ เพื่อเป็นการอุทิศให้แก่ผู้ตายประเพณีไหลเรือไฟ เดือนสิบเอ็ด
http://www.lib.ubu.ac.th/html/report/ubontraditional/bunkawsag-10.htm
เดือนสิบเอ็ด ประเพณีทาบุญออกพรรษา ในวันขึ้น 15 ค่า เดือนสิบเอ็ด พระสงฆ์
จะแสดงอาบัติ ทาการปวารณา คือ การเปิดโอกาสให้ว่ากล่าวตักเตือนกันได้ ต่อมาเจ้าอาวาส
หรือพระผู้ใหญ่จะให้โอวาทเตือนพระสงฆ์ ให้ปฏิบัติตนอย่างผู้ทรงศีล พอตกกลางคืนจะมีการ
จุดประทีป โคมไฟ นาไปแขวนไว้ตามต้นไม้ในวัดหรือตามริมรั้ววัด จึงเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า
บุญจุดประทีป
ชื่อภาพ : เดือนเก้าบุญข้าวประดับดิน
ที่มา : www.lib.ubu.ac.th/html/report/ubontraditional/bunkawsag-10.htm
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 21
สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
เดือนสิบสอง เป็นเดือนส่งท้ายปีเก่า ซึ่งจะมีการทาบุญกองกฐิน โดยเริ่มตั้งแต่วัน
แรม หนึ่งค่า เดือนสิบเอ็ดถึงกลางเดือนสิบสอง แต่ชาวอีสานในสมัยก่อนนิยมเริ่มทาบุญ
ทอดกฐินกันตั้งแต่ข้างขึ้นเดือนสิบสอง จึงมักจะเรียกบุญกฐินว่า บุญเดือนสิบสอง สาหรับ
ประชาชนที่อาศัยอยู่ตามริมฝั่งแม่น้าใหญ่ เช่น แม่น้าโขง แม่น้าชี และแม่น้ามูล จะมีการ
จัดส่วงเฮือ (แข่งเรือ) เพื่อระลึกถึง อุสุพญานาค บางแห่งจะมีการทาบุญดอกฝ้ายเพื่อใช้ทอเป็น
ผ้าห่มกันหนาวถวายพระเณร มีการจุดพลุตะไล และบางแห่งจะมีการทาบุญโกนจุกลูกสาว ซึ่ง
นิยมทากันมากในสมัยก่อน
ประเพณีทั้งสิบสองเดือน ชาวอีสานโบราณถือว่าเป็นหน้าที่ของทุกคนที่จะต้อง
ร่วมมือกันอย่างจริงจัง ตั้งแต่เดือนอ้ายจนถึงเดือนสิบสอง ใครที่ไม่ไปช่วยงานบุญก็จะถูกสังคม
ตั้งข้อรังเกียจ และไม่คบค้าสมาคมด้วย การร่วมประชุมทาบุญเป็นประจาทาให้ชาวอีสานมี
ความสนิทสนมรักใคร่และสามัคคีกั น ทั้งภายในหมู่บ้านของตนและในหมู่บ้านใกล้เคียงสาหรับ
วันนี้ด้วยสภาพสังคมที่เปลี่ยนไป ส่งผลให้ประเพณี 12 เดือนหลายอย่างของชาวอีสาน
เปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย ในขณะที่บางประเพณีก็เริ่มสูญหาย ซึ่งหากประเพณีเหล่านี้ไม่มี
การสืบต่อหรือไม่มีการอนุรักษ์ไว้ บางทีในอนาคตเด็กรุ่นใหม่อาจไม่รู้จักประเพณีอันดีงามอย่าง
"ฮีตสิบสอง" ก็เป็นได้
ชื่อภาพ : การทาบุญกองกฐิน
ที่มา : http://www.pakpang.org/pakpang
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 22
สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
บรรณานุกรม
ยุววิจัยประวัติศาสตร์ท้องถิ่น กลุ่มที่ 1. (2552). การสร้างบ้านแปงเมืองบ้านโนนเจริญ
บุรีรัมย์ : อัดสาเนา.
องค์การบริหารส่วนตาบล. (2552). รายงานผลการปฏิบัติงานของเทศบาลตาบลโนนเจริญ.
บุรีรัมย์ : อัดสาเนา.
http://www.icj-cij.org/docket/files/151/16480.pdf
http: //www.rakbankerd.com
http: //www.9bkk.com
http://www.sawasdeenakhonphanom.com)

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

2010 Love Read @NATION
2010 Love Read @NATION2010 Love Read @NATION
2010 Love Read @NATIONninecomp
 
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือsutthirat
 
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...Kun Cool Look Natt
 
ความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุดความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุดพัน พัน
 
ประเภทห้องสมุด
ประเภทห้องสมุดประเภทห้องสมุด
ประเภทห้องสมุดSupaporn Khiewwan
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
วิชางานห้องสมุด
วิชางานห้องสมุดวิชางานห้องสมุด
วิชางานห้องสมุด25462554
 
อ.วนิดา บทที่ 2 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
อ.วนิดา  บทที่ 2 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57อ.วนิดา  บทที่ 2 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
อ.วนิดา บทที่ 2 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57นางสาวอัมพร แสงมณี
 
รำลึกวันวาน ปกิณกธรรม หลวงปู่มั่น_ภูริทัตโต_โดยหลวงตาทองคำ_จารุวัณโณ
รำลึกวันวาน ปกิณกธรรม หลวงปู่มั่น_ภูริทัตโต_โดยหลวงตาทองคำ_จารุวัณโณรำลึกวันวาน ปกิณกธรรม หลวงปู่มั่น_ภูริทัตโต_โดยหลวงตาทองคำ_จารุวัณโณ
รำลึกวันวาน ปกิณกธรรม หลวงปู่มั่น_ภูริทัตโต_โดยหลวงตาทองคำ_จารุวัณโณSarod Paichayonrittha
 
ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชน
ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชนผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชน
ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชนnok Piyaporn
 
ทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศSupaporn Khiewwan
 
I 30291 หน่วย1 เรื่อง 3 ทรัพยากรสารสนเทศ
I 30291  หน่วย1 เรื่อง 3 ทรัพยากรสารสนเทศI 30291  หน่วย1 เรื่อง 3 ทรัพยากรสารสนเทศ
I 30291 หน่วย1 เรื่อง 3 ทรัพยากรสารสนเทศK-Vi Wijittra
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2kruruttika
 
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดChuleekorn Rakchart
 
ทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศSupaporn Khiewwan
 

Mais procurados (20)

2010 Love Read @NATION
2010 Love Read @NATION2010 Love Read @NATION
2010 Love Read @NATION
 
03 modelof integration+188
03 modelof integration+18803 modelof integration+188
03 modelof integration+188
 
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
 
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...
 
ความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุดความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุด
 
ประเภทห้องสมุด
ประเภทห้องสมุดประเภทห้องสมุด
ประเภทห้องสมุด
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
 
E3
E3E3
E3
 
วิชางานห้องสมุด
วิชางานห้องสมุดวิชางานห้องสมุด
วิชางานห้องสมุด
 
อ.วนิดา บทที่ 2 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
อ.วนิดา  บทที่ 2 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57อ.วนิดา  บทที่ 2 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
อ.วนิดา บทที่ 2 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
 
รำลึกวันวาน ปกิณกธรรม หลวงปู่มั่น_ภูริทัตโต_โดยหลวงตาทองคำ_จารุวัณโณ
รำลึกวันวาน ปกิณกธรรม หลวงปู่มั่น_ภูริทัตโต_โดยหลวงตาทองคำ_จารุวัณโณรำลึกวันวาน ปกิณกธรรม หลวงปู่มั่น_ภูริทัตโต_โดยหลวงตาทองคำ_จารุวัณโณ
รำลึกวันวาน ปกิณกธรรม หลวงปู่มั่น_ภูริทัตโต_โดยหลวงตาทองคำ_จารุวัณโณ
 
ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชน
ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชนผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชน
ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชน
 
ประเภทของสารสนเทศท้องถิ่น
ประเภทของสารสนเทศท้องถิ่นประเภทของสารสนเทศท้องถิ่น
ประเภทของสารสนเทศท้องถิ่น
 
ทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศ
 
I 30291 หน่วย1 เรื่อง 3 ทรัพยากรสารสนเทศ
I 30291  หน่วย1 เรื่อง 3 ทรัพยากรสารสนเทศI 30291  หน่วย1 เรื่อง 3 ทรัพยากรสารสนเทศ
I 30291 หน่วย1 เรื่อง 3 ทรัพยากรสารสนเทศ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
ลักษณะของสารสนเทศท้องถิ่น
ลักษณะของสารสนเทศท้องถิ่นลักษณะของสารสนเทศท้องถิ่น
ลักษณะของสารสนเทศท้องถิ่น
 
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
 
History
HistoryHistory
History
 
ทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศ
 

Semelhante a เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม

เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญ
เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญเล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญ
เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 2 ปัจจัย
เล่มที่ 2 ปัจจัยเล่มที่ 2 ปัจจัย
เล่มที่ 2 ปัจจัยหรร 'ษๅ
 
ประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทยประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทยpinyada
 
เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชน
เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชนเล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชน
เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชนหรร 'ษๅ
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionRachabodin Suwannakanthi
 
หนังสือส่งเสริมการอ่าน ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสานจากบ้านสู่เมือง กลุ่มสาระการเรียนร...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสานจากบ้านสู่เมือง กลุ่มสาระการเรียนร...หนังสือส่งเสริมการอ่าน ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสานจากบ้านสู่เมือง กลุ่มสาระการเรียนร...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสานจากบ้านสู่เมือง กลุ่มสาระการเรียนร...Jee Ja
 
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfแผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfssuser6a0d4f
 
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลังวรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลังchontee55
 
หนังสือประกอบบทเรียน "ภูผาม่าน ตำนานเมืองทองคำ"
หนังสือประกอบบทเรียน "ภูผาม่าน ตำนานเมืองทองคำ"หนังสือประกอบบทเรียน "ภูผาม่าน ตำนานเมืองทองคำ"
หนังสือประกอบบทเรียน "ภูผาม่าน ตำนานเมืองทองคำ"Krujanppm2017
 
อบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทยอบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทยtuksin namwong
 
อบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทยอบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทยtuksin namwong
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์krunumc
 
หนังสือขนาดเล็ก
หนังสือขนาดเล็ก หนังสือขนาดเล็ก
หนังสือขนาดเล็ก BLue Artittaya
 
บทความ วิเคราะห์ เพลง
บทความ   วิเคราะห์ เพลงบทความ   วิเคราะห์ เพลง
บทความ วิเคราะห์ เพลงNiran Dankasai
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยBoonlert Aroonpiboon
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-socPrachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-socPrachoom Rangkasikorn
 

Semelhante a เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม (20)

เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญ
เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญเล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญ
เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญ
 
เล่มที่ 2 ปัจจัย
เล่มที่ 2 ปัจจัยเล่มที่ 2 ปัจจัย
เล่มที่ 2 ปัจจัย
 
File
FileFile
File
 
ประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทยประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทย
 
เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชน
เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชนเล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชน
เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชน
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media Production
 
Tha464 5
Tha464 5Tha464 5
Tha464 5
 
หนังสือส่งเสริมการอ่าน ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสานจากบ้านสู่เมือง กลุ่มสาระการเรียนร...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสานจากบ้านสู่เมือง กลุ่มสาระการเรียนร...หนังสือส่งเสริมการอ่าน ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสานจากบ้านสู่เมือง กลุ่มสาระการเรียนร...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสานจากบ้านสู่เมือง กลุ่มสาระการเรียนร...
 
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfแผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
 
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลังวรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
 
หนังสือประกอบบทเรียน "ภูผาม่าน ตำนานเมืองทองคำ"
หนังสือประกอบบทเรียน "ภูผาม่าน ตำนานเมืองทองคำ"หนังสือประกอบบทเรียน "ภูผาม่าน ตำนานเมืองทองคำ"
หนังสือประกอบบทเรียน "ภูผาม่าน ตำนานเมืองทองคำ"
 
อบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทยอบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทย
 
อบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทยอบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทย
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
หนังสือขนาดเล็ก
หนังสือขนาดเล็ก หนังสือขนาดเล็ก
หนังสือขนาดเล็ก
 
Aw หนองหว้า
Aw หนองหว้า Aw หนองหว้า
Aw หนองหว้า
 
บทความ วิเคราะห์ เพลง
บทความ   วิเคราะห์ เพลงบทความ   วิเคราะห์ เพลง
บทความ วิเคราะห์ เพลง
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-soc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
 

Mais de หรร 'ษๅ

แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน หรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 1
แบบฝึกหัดที่ 1แบบฝึกหัดที่ 1
แบบฝึกหัดที่ 1หรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนเล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนเล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียนเล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนเล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนเล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 8 เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 8  เมืองหลวงของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 8  เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 8 เมืองหลวงของประเทศในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 10  ภาษาของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 10  ภาษาของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนแบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนหรร 'ษๅ
 

Mais de หรร 'ษๅ (20)

แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อ
 
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 1
แบบฝึกหัดที่ 1แบบฝึกหัดที่ 1
แบบฝึกหัดที่ 1
 
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
 
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
 
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนเล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
 
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนเล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
 
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียนเล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
 
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนเล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
 
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนเล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
 
เล่มที่ 8 เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 8  เมืองหลวงของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 8  เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 8 เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
 
เล่มที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 10  ภาษาของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 10  ภาษาของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
 
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
 
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
 
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนแบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
 

เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม

  • 1. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรมในท้องถิ่น บทนา การศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นโดยนักเรียนโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม ครั้งนี้ เป็นการรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์ แล้วนาข้อมูลมาเรียบเรียงเป็นหนังสืออ่านเพิ่มเติม เพื่อสะดวกในการนาไปศึกษาได้ด้วยตนเอง วัตถุประสงค์เพื่อสร้างความตระหนักให้ผู้เรียน รักษ์ท้องถิ่น เกิดความภาคภูมิใจเป็นการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติเท่ากับเป็นการทาความรู้จัก สังคมของตนเอง ซึ่งจะช่วยปลูกฝังความรักมาตุภูมิ ความมุ่งมั่นในปณิธานแห่งชาติและความ เข้าใจวัฒนธรรมประจาชาติรู้สึกเป็นเจ้าของท้องถิ่นของตน วิธีการทางประวัติศาสตร์ หมายถึง กระบวนการสืบค้นเรื่องราวในอดีตของสังคม มนุษย์ เริ่มต้นที่ความอยากรู้อยากเห็นของผู้ต้องการศึกษาและต้องการสอบสวนค้นคว้าหา คาตอบด้วยตนเองจากร่องรอยที่คนในอดีตได้ทาไว้และตกทอดเหลือมาถึงปัจจุบัน โดยไม่ หลงเชื่อคาพูดของใครคนใดคนหนึ่งหรืออ่านหนังสือเพียงเล่มใดเล่มหนึ่งแล้วเชื่อว่าเป็นจริง สิ่ง ที่ต้องทาเป็นอันดับแรกของการสืบค้นอดีต เมื่อมีประเด็นที่ต้องการสืบค้นแล้ว คือการเก็บ รวบรวมข้อมูลจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์อย่างกว้างขวางและละเอียดลออ ด้วยวิธีการ ต่างๆ เช่น สอบถามผู้รู้ ศึกษาเอกสาร เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ด้วยตนเอง ตรวจสอบข้อมูลจาก หลักฐานทุกชิ้นด้วยจิตสานึกว่า หลักฐานไม่ได้บอกความจริงทั้งหมด หรือบอกความจริงเสมอ ไป แล้วรวบรวมข้อเท็จจริงที่ได้ จากนั้นนาเสนอผลที่ศึกษาได้พร้อมอ้างอิงหลักฐานให้ชัดเจน เพื่อให้ผู้อื่นตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าต่อไปได้ ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ประกอบด้วย 1. การกาหนดหัวข้อเรื่องที่ต้องการศึกษาให้ชัดเจน (เรื่องอะไร ช่วงเวลาใด ที่ไหน) 2. รวบรวมข้อมูลจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ให้ครบถ้วน ครอบคลุม 3. ตรวจสอบความจริงจากหลักฐาน ที่เรียกว่า การวิพากษ์วิธีทางประวัติศาสตร์ 4. วิเคราะห์ข้อมูลและตีความเพื่อค้นหาข้อเท็จจริง 5. นาเสนอผลงานความรู้ที่ค้นพบ โดยปราศจากอคติและความลาเอียง
  • 2. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 2 สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) ขั้นตอนที่ 1 การกาหนดหัวเรื่อง การกาหนดหัวข้อเรื่องที่ต้องการศึกษา ช่วงเวลาใด ที่ไหนให้ชัดเจนในหนังสือเล่มนี้ สมาชิกในกลุ่มช่วยกันตั้งชื่อไว้หลายชื่อให้คัดเหลือเพียงเรื่องเดียว ดังนี้ 1. ความเชื่อในท้องถิ่น 2. วัฒนธรรมท้องถิ่น 3. ภาษาและความเชื่อในท้องถิ่น 4. ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม 5. วัฒนธรรมในชุมชน 6. วัฒนธรรมและความเชื่อในท้องถิ่น เรื่องอะไร ในที่ประชุมกลุ่มลงมติเลือกข้อที่ 4 เรื่อง ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม โดยให้เหตุผลว่าเป็นชื่อที่ครอบคลุมเนื้อหาทั้ง 3 เรื่อง ที่ไหน หมู่บ้านในการปกครองของเทศบาลตาบลโนนเจริญ มีจานวน 11หมู่บ้าน ได้ ศึกษาทั้ง 11 หมู่บ้านดังนี้ หมู่ที่ 1 บ้านโนนเจริญ หมู่ที่ 2 บ้านโนนเจริญ หมู่ที่ 3 บ้านโนนเจริญ หมู่ที่ 4 บ้านโนนเจริญ หมู่ที่ 5 บ้านโนนเจริญ หมู่ที่ 6 บ้านหนองแวง หมู่ที่ 7 บ้านถนน หมู่ที่ 8 บ้านสายโท 9 ซอย 3 หมู่ที่ 9 บ้านโคกใหญ่ หมู่ที่ 10 บ้านสามขาพัฒนา หมู่ที่ 11 บ้านสันติสุข ช่วงเวลาใด ประมาณปี พ.ศ. 2493-2554
  • 3. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 3 สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) ขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมข้อมูล หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร 1. หนังสือการสร้างบ้านแปงเมืองบ้านโนนเจริญโดยคณะยุววิจัยประวัติศาสตร์ ท้องถิ่น กลุ่มที่ 1 2. http: //www.rakbankerd.com 3. http: //www.9bkk.com หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร 1. คุณยายกองศรี ศรีเจริญ อายุ 75 ปี 2. คุณยายบุญศรี เศษสุวรรณ อายุ 75 ปี 3. คุณยายทองสุข ศรีวรรณ อายุ 75 ปี 4. นายจันทร์ บุตรกุล อายุ 69 ปี 5. นางทองใบ ศรีงาม อายุ 47 ปี 6. นางจนอง ไตรพรม อายุ 49 ปี 7. นางจารัส จันทร์สนิท อายุ 55 ปี 8. นายสิน จันทะประโคน อายุ 56 ปี 9. นางถนอม สังเกตกิจ อายุ 58 ปี 10. นางสมพร นาประโคน อายุ 55 ปี 11. นางพิสมัย ราหูสิงห์ อายุ 41 ปี 12. นายไพรัตน์ ธรรมโกศล อายุ 45 ปี
  • 4. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 4 สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) ขั้นตอนที่ 3 ประเมินคุณค่าของหลักฐาน จากหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร จากการสัมภาษณ์คุณยายกองศรี ศรีเจริญ อายุ 75 ปี คุณยายบุญศรี เศษสุวรรณ อายุ 75 ปี คุณยายทองสุข ศรีวรรณ อายุ 75 ปี นายจันทร์ บุตรกุล อายุ 69 ปี นางทองใบ ศรีงาม อายุ 47 ปี นางจนอง ไตรพรม อายุ 49 ปี นางจารัส จันทร์สนิท อายุ 55 ปี นายสิน จันทะประโคน อายุ 56 ปี นางถนอม ลังเกตกิจ อายุ 58 ปี นางสมพร นาประโคน อายุ 55 ปี นางพิสมัย ราหูสิงห์ อายุ 41 ปี นายไพรัตน์ ธรรมโกศล อายุ 45 ปี สรุปได้ว่า ภาษาในชุมชนบ้านโนนเจริญที่ย้ายมาจากจังหวัดนครราชสีมา เป็นกลุ่มที่ย้ายมากลุ่มแรก ใช้ภาษาดั้งเดิมไทยโคราช ปัจจุบันภาษาที่กลุ่มนี้ใช้ในชีวิตประจาวัน เป็นภาษาท้องถิ่นภาษาลาว ภาษาท้องถิ่นลาว ราษฎร์กลุ่มนี้ที่ย้ายถิ่นตามมากลุ่มแรกมาเรื่อย ๆ และจานวนมาก ย้ายมาจากภาคอีสาน เช่น จังหวัดร้อยเอ็ด มหาสารคาม อุบลราชธานี และยโสธรซึ่งเป็นกลุ่มใหญ่จึงเป็นกลุ่มที่มาเปลี่ยนแปลงสังคม วัฒนธรรมและภาษาจากเดิมที่ เป็นภาษาไทยโคราชเป็นภาษาลาวและใช้ในชีวิตประจาวันจนถึงปัจจุบันและกลายเป็นภาษา ประจาหมู่บ้าน แต่ผู้เฒ่าผู้แก่บางหมู่บ้านยังคงใช้ภาษาพื้นเมือง เช่น ภาษาเขมร ภาษาส่วย จากหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร สรุปได้ว่า ในปัจจุบันชาวโนนเจริญโดยเฉพาะ เด็กวัยรุ่นได้หันมาใช้ภาษาไทยกลางกันมากขึ้นเพราะวัยรุ่นเหล่านี้ส่วนใหญ่ได้รับการศึกษาที่ดี เทียบเท่ากับคนในภาคกลางหรือกรุงเทพมหานคร ทาให้ภาษาอีสานเริ่มลดความสาคัญลง
  • 5. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 5 สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) ขั้นตอนที่ 4 วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล ภาษาในท้องถิ่น หมู่ที่ 1 บ้านโนนเจริญ ส่วนใหญ่ใช้ภาษาถิ่นลาว หมู่ที่ 2 บ้านโนนเจริญ ส่วนใหญ่ใช้ภาษาถิ่นลาว หมู่ที่ 3 บ้านโนนเจริญ ส่วนใหญ่ใช้ภาษาถิ่นลาว หมู่ที่ 4 บ้านโนนเจริญ ส่วนใหญ่ใช้ภาษาถิ่นลาว หมู่ที่ 5 บ้านโนนเจริญ ส่วนใหญ่ใช้ภาษาถิ่นลาว หมู่ที่ 6 บ้านหนองแวง ส่วนใหญ่ใช้ภาษาถิ่นเขมร หมู่ที่ 7 บ้านถนน ส่วนใหญ่ใช้ภาษาถิ่นเขมร หมู่ที่ 8 บ้านสายโท 9 ซอย 3 ส่วนใหญ่ใช้ภาษาถิ่นลาว หมู่ที่ 9 บ้านโคกใหญ่ ส่วนใหญ่ใช้ภาษาถิ่นเขมร หมู่ที่ 10 บ้านสามขาพัฒนา ส่วนใหญ่ใช้ภาษาถิ่นลาว หมู่ที่ 11 บ้านสันติสุข ส่วนใหญ่ใช้ภาษาถิ่นเขมร ศาสนาในชุมชน ศาสนาพุทธ คริสต์และลัทธิเต๋า ความเชื่อในชุมชน ส่วนใหญ่เกี่ยวกับการทามาหากินและความเชื่อทางศาสนา
  • 6. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 6 สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) ขั้นตอนที่ 5 การตีความหลักฐาน ในปัจจุบันชาวอีสานตามเมืองใหญ่โดยเฉพาะเด็กวัยรุ่นได้หันมาใช้ภาษาไทย กลางกันมากขึ้น เพราะวัยรุ่นเหล่านี้ส่วนใหญ่ได้รับการศึกษาที่ดีเทียบเท่ากับคนในภาคกลาง หรือกรุงเทพมหานคร ทาให้ภาษาอีสานเริ่มลดความสาคัญลงเช่นเดียวกันกับภาษาพื้นเมือง ของภาคอื่น ๆ ภาษาพื้นเมืองในชุมชนบ้านโนนเจริญ มี 3 ภาษา คือ ลาว ส่วย เขมร ผู้แก่ผู้เฒ่า ยังคงใช้ภาษาพื้นบ้านเป็นหลักอยู่ ทั้งนี้คนอีสานส่วนใหญ่จะสามารถสื่อสารได้ทั้งภาษาพื้นบ้าน ของท้องถิ่นตนเองและภาษาไทยกลาง
  • 7. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 7 สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) องค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาท้องถิ่นของเรา โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ ................................................................................. ภาษาพูดของคนอีสานในแต่ละท้องถิ่นนั้นจะมีสาเนียงที่แตกต่างกันออกไป ตามสภาพทางภูมิศาสตร์ที่มีอาณาเขตติดต่อกับถิ่นใดรวมทั้งบรรพบุรุษของท้องถิ่นนั้นๆ ด้วย เช่น แถบจังหวัดศรีสะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย์ มีชายแดนติดกับเขมรสาเนียงและรากเหง้า ของภาษาก็จะมีคาของภาษาเขมรปะปนอยู่ด้วยทางด้านจังหวัด สกลนคร นครพนม มุกดาหาร หนองคาย เลย ที่ติดกับประเทศลาวและมีชาวเวียดนามเข้ามาอาศัยอยู่ค่อนข้างมากก็จะมีอีก สาเนียงหนึ่ง ชนเผ่าดั้งเดิมที่อาศัยอยู่ในบริเวณนั้นๆ ก็จะมีสาเนียงที่มีเอกลักษณ์เป็นของ ตนเองและยังคงรักษาเอกลักษณ์นั้นไว้ ตราบจนปัจจุบัน เช่น ชาวภูไท ในจังหวัดมุกดาหาร และนครพนม ถึงแม้ชาวอีสานจะมีภาษาพูดที่มีความแตกต่างกันในแต่ละท้องถิ่น แต่ในภาษา อีสานก็มีสิ่งหนึ่งที่ยังคงมีความคล้ายกันก็คือ ลักษณะของคาและความหมายต่างๆ ที่ยัง คงสื่อ ความถึงกันได้ทั่วทั้งภาค ด้วยเหตุนี้จึงทาให้ชาวอีสานต่างท้องถิ่นกันสามารถสื่อสารกันได้เป็น อย่างดี ถ้าจะถามว่าภาษาถิ่นแท้จริงของชาวอีสานใช้กันอยู่ที่ใดคงจะตอบไม่ได้ เพราะ ภาษาที่คนในท้องถิ่นต่างๆใช้กันก็ล้วนเป็นภาษาอีสานทั้งนั้น ถึงแม้จะเป็นภาษาที่มีความ แตกต่างกัน แต่ก็มีรากศัพท์ในการสื่อความหมายที่คล้ายคลึงกัน ในปัจจุบันชาวอีสานตามเมืองใหญ่โดยเฉพาะเด็กวัยรุ่นได้หันมาใช้ภาษาไทยกลางกัน มากขึ้นเพราะวัยรุ่นเหล่านี้ส่วนใหญ่ได้รับการศึกษาที่ดีเทียบเท่ากับคนในภาคกลางหรือ กรุงเทพมหานคร ทาให้ภาษาอีสานเริ่มลดความสาคัญลงเช่นเดียวกันกับภาษาพื้นเมือง ของภาคอื่น ๆ แต่ผู้คนตามชนบทและคนเฒ่าคนแก่ยังใช้ภาษาอีสานกันเป็นภาษาหลักอยู่ ทั้งนี้คนอีสานส่วนใหญ่สามารถสื่อสารได้ทั้งภาษาอีสานของท้องถิ่นของตนและภาษาไทยกลาง
  • 8. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 8 สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) หากท่านเดินทางไปในชนบทของอีสานจะพบการใช้ภาษาถิ่นที่แตกต่างกันไปดังที่กล่าวมาแล้ว แต่คนอีสานเหล่านี้โดยเฉพาะวัยรุ่นหนุ่มสาวก็จะสามารถสื่อสารกับท่านเป็นภาษาไทยกลางได้ อีกด้วยทั้งนี้เพราะวัยรุ่นชาวอีสานใหญ่จะเข้ามาหางานทาในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เมื่อก่อนจะไปหางานทาเฉพาะหลังฤดูทานาแต่ในปัจจุบันวัยรุ่นส่วนใหญ่จะเข้ากรุงเทพฯ และทางานที่นั่นตลอดทั้งปี ชาวอีสานที่ไปต่างถิ่นนอกจากจะหางานทาแล้ว ก็ยังมีการเผยแพร่ วัฒนธรรมรวมทั้งภาษาของตนเองไปในตัวในปัจจุบันชาวไทยจานวนมากเริ่มเข้าใจภาษาอีสาน ทั้งจากเพลงลูกทุ่ง ภาษาอีสานที่ได้รับความนิยมกันทั่วประเทศและจากคนรอบตัวที่เป็นคน อีสานทาให้ภาษาอีสานยังคงสามารถสืบสานต่อไปได้อยู่ถึงแม้จะมีคนอีสานบางกลุ่มเลิกใช้แล้ว ก็ตาม 1. ภาษาในชุมชนบ้านโนนเจริญ 1.1 หมู่ที่ 1 บ้านโนนเจริญ ภาษาที่ใช้ในหมู่ที่ 1 บ้านโนนเจริญนั้น จากข้อมูลการย้ายถิ่นของราษฎรวิเคราะห์ ได้ว่ากลุ่มคนย้ายถิ่นมาตั้งถิ่นฐานกลุ่มแรกเป็นผู้ก่อตั้งและพัฒนาจนกลายเป็นชุมชนขนาดใหญ่ ซึ่งสามารถแยกภาษาตามกลุ่มคนที่ย้ายเข้ามาตั้งถิ่นฐานดังนี้ 1) ภาษาไทยโคราช ราษฎรกลุ่มนี้ย้ายมาจากจากจังหวัดนครราชสีมา เป็นกลุ่มที่ย้าย มากลุ่มแรก ใช้ภาษาดั้งเดิมไทยโคราช ปัจจุบันภาษาที่กลุ่มนี้ใช้ในชีวิตประจาวันเป็น ภาษาท้องถิ่นภาษาลาว 2) ภาษาท้องถิ่นลาว ราษฎรกลุ่มนี้ที่ย้ายถิ่นตามมากลุ่มแรกมาเรื่อย ๆ และจานวน มาก ย้ายมาจากภาคอีสาน เช่น ร้อยเอ็ด มหาสารคาม อุบลราชธานี และยโสธรซึ่งเป็นกลุ่ม ใหญ่จึงเป็นกลุ่มที่มาเปลี่ยนแปลงสังคม วัฒนธรรมและภาษาจากเดิมที่เป็นภาษาไทยโคราช เป็นภาษาลาวและใช้ในชีวิตประจาวันจนถึงปัจจุบันและกลายเป็นภาษาประจาหมู่บ้าน 3) ภาษาไทยกลางเนื่องจากหมู่ที่ 1 บ้านโนนเจริญเป็นศูนย์รวมของหน่วยงาน ราชการหลายหน่วยงาน เช่น เทศบาลตาบลโนนเจริญ โรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม
  • 9. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 9 สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) ศูนย์ประสานงานตารวจภูธร ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศูนย์ประสานงานระหว่างเทศบาลและ อาเภอบ้านกรวด มีเจ้าหน้าที่ที่ย้ายเข้ามาทางานจานวนมาก ดังนั้นจึงใช้ภาษาราชการ เพื่อการสื่อสาร 4) ภาษาต่างประเทศ เนื่องจากหมู่ที่ 1 บ้านโนนเจริญ เป็นศูนย์รวมการค้าขาย ทั้งตลาดไนท์วันอังคาร ตลาดนัดวันศุกร์ ร้านกาแฟ ร้านค้าขายส่ง และเป็นสถานที่จัดงาน ประเพณีลอยกระทง ทาให้มีชาวต่างประเทศที่มีภรรยาเป็นคนไทยมาใช้บริการจานวนมาก ภาษาต่างประเทศที่ใช้ส่วนใหญ่เป็นภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส และเยอรมัน 1.2 หมู่ที่ 2 บ้านโนนเจริญ ภาษาที่ใช้ในหมู่ที่ 2 บ้านโนนเจริญนั้น สามารถแยกตามลักษณะการย้ายถิ่นของ ราษฎร ดังนี้ 1) ภาษาท้องถิ่นลาวสตึก ราษฎรกลุ่มนี้ย้ายถิ่นมาจากบ้านกอก-ค้อ อาเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย์ คุณยายกองศรี ศรีเจริญ อายุ 75 ปี ปัจจุบันอาศัยอยู่บ้านเลขที่ 64 หมู่ที่ 2 เล่าให้ฟังว่าก่อนจะย้ายมาบ้านโนนเจริญอยู่ บ้านค้อ ตาบลทุ่งวัง อาเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย์ สาเหตุที่ย้ายถิ่นมาอยู่ที่บ้านโนนเจริญเพราะที่อยู่เดิมมีจานวนประชาชนแออัด ท่านเดินทาง มาโดยผู้หญิงมารถทหารส่วนผู้ชายเดินไล่ต้อนวัว ควาย ตามมาเดินทางมาที่บ้านโนเจริญ ใช้เวลา 3 วัน 3 คืนย้ายมามากกว่า 6 ครอบครัว ราวปี พ.ศ. 2508 ปัจจุบันได้แยกย้ายกันสร้าง ครอบครัวกระจายกันอยู่ กลุ่มนี้ใช้ภาษาท้องถิ่นลาวในการสื่อสารกันในชีวิตประจาวัน ภาษาที่ ใช้ในหมู่ที่ 2 บ้านโนนเจริญนั้น สามารถแยกตามลักษณะการย้ายถิ่นของราษฎรดังนี้ 2) ภาษาท้องถิ่นลาวยโสธร ราษฎรกลุ่มนี้ย้ายถิ่นเข้ามาเมื่อบ้านโนนเจริญสงบสุข แล้วมีการค้าขายที่ดินที่มีหน่วยเป็นไร่เพราะราษฎรกลุ่มนี้ย้ายเข้าโดยการขายที่ดินทรัพย์สินที่มี อยู่เดิมเพื่อมาลงทุนที่บ้านโนนเจริญ จากการสัมภาษณ์คุณยายบุญศรี เศษสุวรรณ อายุ 64 ปี บ้านเลขที่ 51 หมู่ 4 ตาบลโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ ที่อยู่เดิมบ้านคาน้าสร้าง ตาบลครือเหนือ อาเภอเมือง จังหวัดยโสธรให้ข้อมูลว่าสาเหตุที่ย้ายถิ่นมาที่บ้านโนนเจริญ เพราะที่อยู่เดิมชุนชนแออัดเพื่อหาที่ทากินที่กว้างใหญ่ขึ้นและมีราคาถูกกว่าที่เดิม การเดินทาง
  • 10. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 10 สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) ท่านมาโดยรถบัสประจาทางเดินทางมาประมาณ 7 ครอบครัว ในขณะนั้นที่นาราคาถูกไร่ละ 500-1,000 บาท ราษฎรกลุ่มนี้ใช้ภาษาท้องถิ่นลาวในการสื่อสารกันในชีวิตประจาวัน 3) ภาษาท้องถิ่นร้อยเอ็ด ราษฎรกลุ่มนี้ย้ายถิ่นเข้ามาเพราะกลุ่มราษฎรจังหวัด ยโสธรเป็นผู้ชักชวนมาเนื่องจากเป็นญาติกัน ก่อนย้ายเข้าราษฎรกลุ่มนี้ขายที่ดินหรือทรัพย์สิน เดิมที่มีอยู่แล้วจึงทาให้มีเงินมาซื้อที่ดินที่บ้านโนนเจริญ จากการสัมภาษณ์คุณยายทองสุข ศรีวรรณ อายุ 89 ปีที่อยู่ 65 หมู่ 2 ตาบลโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ ที่อยู่ เดิมอยู่ที่ ตาบลหนองฮี อาเภอพนมไพร จังหวัดร้อยเอ็ด สาเหตุที่ย้ายถิ่นเพราะที่อยู่คับแคบ ที่นามีจานวนน้อยไม่พอทากิน ทาให้คุณยายย้ายไปที่อาเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย์ โดยอาศัย เกวียนเป็นพาหนะ เมื่อมาถึงอาเภอสตึกพบปัญหามีโจรจานวนมาก จึงต้องย้ายถิ่นฐานมาอยู่ ที่บ้านโนนเจริญราวปี พ.ศ. 2508 ขณะนั้นย้ายมาเพียงครอบครัวเดียว ต่อมามีผู้คนย้าย ตามมาจานวนมาก ปัจจุบันครอบครัวท่านได้แยกย้ายกันอยู่ตามหมู่บ้านทั้ง 5 หมู่บ้าน 1.3 หมู่ที่ 3 บ้านโนนเจริญ ภาษาที่ใช้ในหมู่ที่ 3 บ้านโนนเจริญนั้นใช้ภาษาท้องถิ่นไทยลาว ราษฎรกลุ่มนี้ย้ายถิ่น มาตามกลุ่มแรกที่ย้ายมาบ้านโนนเจริญ เนื่องจากหมู่ที่ 1 มีครอบครัวและสมาชิกหนาแน่นมาก จึงแยกตัวออกไปสร้างบ้านที่โนนเจริญ หมู่ที่ 3 (ราว พ.ศ. 2535 เป็นหมู่ที่ 17) ซึ่งขณะนั้น เป็นเพียงหัวไร่ปลายนา จากการสัมภาษณ์นายจันทร์ บุตรกุล อายุ 69 ปี 2515 ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ 93 หมู่ที่ 3 บ้านโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ ให้ข้อมูลว่าตนได้ย้ายมา จากจังหวัดขอบแก่นเมื่อ ปี พ.ศ. 2515 แต่งงานกับภรรยาที่เป็นคนจังหวัดร้อยเอ็ด จึงแยก ครอบครัวจากหมู่ที่ 1 ไปอยู่หมู่ที่ 3 บ้านโนนเจริญ ภาษาที่ใช้ในชีวิตประจาวันเป็นภาษา ท้องถิ่นลาว ในหมู่ที่ 3 บ้านโนนเจริญนี้ประชาชนใช้เป็นภาษาถิ่นลาวในการสื่อสาร คิดเป็น ร้อยละ 99% 1.4 หมู่ที่ 4 บ้านโนนเจริญ ภาษาที่ใช้ในหมู่ที่ 4 บ้านโนนเจริญใช้ภาษาท้องถิ่นลาวสตึก กลุ่มนี้เป็นลูกหลาน ของราษฎรหมู่ที่ 2 ซึ่งได้แยกครอบครัวออกมาทาจากครอบครัวใหญ่ จากการสัมภาษณ์ นายจันที สุดใจ อายุ 57 ปี ที่ปัจจุบันอยู่บ้านเลขที่ 86 หมู่ที่ 4 ตาบลโนนเจริญ อาเภอบ้าน
  • 11. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 11 สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) บ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ ให้ข้อมูลว่าตนได้ย้ายถิ่นมาจากอาเภอสตึก ย้ายตามพ่อและแม่ ย้ายมาบ้านโนนเจริญหมู่ที่ 4 เมื่อพ.ศ. 2570 บ้านโนนเจริญหมู่ที่ 4 นั้นใช้ภาษาหลากหลาย เช่น ลาวมหาสารคราม ภาษาท้องถิ่นลาวสตึกในหมู่ที่ 4 ราษฎรใช้เป็นภาษาลาวในการสื่อสาร คิดเป็นร้อยละ 45% 1.5 หมู่ที่ 5 บ้านโนนเจริญ ภาษาที่ใช้ในหมู่ที่ 5 บ้านโนนเจริญนั้น สามารถแยกตามลักษณะการย้ายถิ่น ของราษฎร ดังนี้ 1) ภาษาท้องถิ่นเขมร กลุ่มนี้เป็นลูกหลานของราษฎรหมู่ที่ 2 ซึ่งได้แยกครอบครัว ออกมาจากครอบครัวใหญ่ จากการสัมภาษณ์นางจะนอง ไตรพรม อายุ 49 ปี อยู่บ้านเลขที่ 126 หมู่ที่5 ตาบลโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ 31180 ให้ข้อมูลว่าย้ายมาจาก บ้านระนามพลวง กิ่งอาเภอชานิ จังหวัดบุรีรัมย์ ใช้ภาษาเขมรในการสื่อสารในชีวิตประจาวัน คิดเป็นร้อยละ 60% 3) ภาษาท้องถิ่นส่วย จากการสัมภาษณ์นางทองใบ ศรีงาม ให้ข้อมูลว่าภูมิลาเนา เดิมเกิดที่อาเภอสนม จังหวัดสุรินทร์ พ่อแม่ย้ายถิ่นมาบ้านโนนเจริญ ใช้ภาษาถิ่นส่วยจาก อาเภอสนม จังหวัดสุรินท จนถึงปัจจุบัน ภาษาท้องถิ่นส่วยในหมู่ที่ 5 ราษฎรใช้เป็นภาษาใน การสื่อสารคิดเป็นร้อยละ 40% 1.6 หมู่ที่ 6 บ้านหนองแวง ภาษาที่ใช้ในหมู่ที่ 6 บ้านหนองแวง ใช้ภาษาท้องถิ่นเป็นภาษาเขมรจากสัมภาษณ์ นางจารัส จันทร์สนิท อายุ 55 ปี ที่อยู่ 39 หมู่ที่ 6 บ้านหนองแวง ตาบลโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ ให้ข้อมูลว่าท่านได้ย้ายมาจากบ้านโคกสะอาด มาประกอบ อาชีพที่บ้านหนองแวงและสร้างครอบครัวอยู่ที่นั้น มีอาชีพและฐานะมั่นคงสามีเป็นผู้ใหญ่บ้าน ภาษาท้องถิ่นเขมรในหมู่ที่ 6 ราษฎรใช้เป็นภาษาในการสื่อสาร คิดเป็นร้อยละ100%
  • 12. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 12 สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) 1.7 หมู่ที่ 7 บ้านหัวถนน ภาษาที่ใช้ในหมู่ที่ 7 บ้านหัวถนนใช้ภาษาท้องถิ่นภาษาเขมรจากสัมภาษณ์ นายสิน จันทะประโคน อายุ 56 ปี อาศัยอยู่บ้านเลขที่ 102 หมู่ 7 บ้านหัวถนน ตาบลโนน เจริญ อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ ให้ข้อมูลว่าอยู่ที่นี้แต่กาเนิดแต่ก่อนนี้แถวบ้านหัว ถนนมีแต่ป่า มีบ้านอยู่ประมาณ 2-3 หลัง และได้มีประชากรอพยบเข้ามาจนเจริญรุ่งเรือง ภาษาท้องถิ่นภาษาเขมรในหมู่ที่ 7 ราษฎรใช้เป็นภาษาในการสื่อสารคิดเป็นร้อยละ 80% 1.8 หมู่ที่ 8 บ้านสายโท 9 ซอย 3 ภาษาที่ใช้ในหมู่ที่ 8 บ้านสายโท 9 ซอย 3 ใช้ภาษาท้องถิ่นเป็นภาษาถิ่นเขมร จากการสัมภาษณ์ นางถนอม ลังเกตกิจ อายุ 58 ปี ย้ายมาจากบ้านสวรรค์ ตาบลจันตุม อาเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ ภูมิลาเนาเดิม อยู่บ้านนี้ พ.ศ 2512 ได้ข้อมูลว่า แต่ก่อนที่ ย้ายเข้ามาหมู่บ้านแถบนี้มีแต่ป่า ไม่ค่อยมีผู้คนอาศัยอยู่ ที่ย้ายเข้ามาที่นี้ก็เพราะว่า ที่ดินแถวนี้ มีราคาถูก ก็เลยซื้อและตั้งหลากฐานอยู่ที่นี้เลย ภาษาท้องถิ่นภาษาลาวในหมู่ที่ 8 ราษฎรใช้เป็น ภาษาในการสื่อสาร คิดเป็นร้อยละ 90% 1.9 หมู่ที่ 9 บ้านโคกใหญ่ ภาษาที่ใช้ในหมู่ที่ 9 บ้านโคกใหญ่ใช้ภาษาท้องถิ่นเป็นภาษาเขมรจากสัมภาษณ์ นางสมพร นาประโคน อายุ 55 ปี บ้านเลขที่ 12 หมู่ที่ 9 บ้านโคกใหญ่ ตาบลโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ ได้ย้ายมาจากอาเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย์ ให้ข้อมูลว่าย้ายมา อยู่กับพ่อแม่และตั้งรากฐานอยู่ที่หมู่บ้านโคกใหญ่ ภาษาท้องถิ่นที่ใช้เป็นภาษาเขมร ในหมู่ที่ 9 บ้านโคกใหญ่ราษฎรใช้ภาษาเขมรเป็นภาษาในการสื่อสาร คิดเป็นร้อยละ 85% 1.10 หมู่ที่ 10 บ้าน สามขาพัฒนา ภาษาที่ใช้ในหมู่ที่ 10 บ้านสามขาพัฒนา ใช้ภาษาถิ่นเป็นภาษาลาว จากสัมภาษณ์ นางพิสมัย ราหูสิงห์ อายุ 41 ปี อาศัยอยู่ที่บ้านเลขที่ 20 หมู่ที่ 10 ตาบลโนนเจริญ อาเภอ บ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ ให้ข้อมูลว่า ได้ย้ายมาอยู่บ้านสามขาพัฒนาตั้งแต่ปีได้ย้ายมาจาก อาเภอสีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ ได้มาตั้งถิ่นฐานอยู่ที่บ้านสามขาพัฒนาเพราะสมัยก่อนที่ดิน
  • 13. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 13 สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) แถวนี้มีราคาถูกยังเป็นที่รกร้าง เมื่อมีคนมาก็ช่วยกันพัฒนาขึ้นมาเรื่อยๆ จนกลายมาเป็น ชุมชนจนถึงปัจจุบันนี้ ภาษาท้องถิ่นภาษาลาวในหมู่ที่ 10 บ้าน สามขาพัฒนา ราษฎรใช้เป็น ภาษาในการสื่อสาร คิดเป็นร้อยละ 80% 1.11 หมู่ที่ 11 บ้านสันติสุข ภาษาที่ใช้ในหมู่ที่ 11 บ้านสันติสุข ใช้ภาษาท้องถิ่นเป็นภาษาลาว จากสัมภาษณ์ นายไพรัตน์ ธรรมโกศล อายุ 45 ปี อาศัยอยู่ที่บ้านเลขที่ 101 หมู่ที่ 11 ตาบลโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ ย้ายมาจากบ้านเลขที่ 93 ถนนอินจันทร์ อาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ ได้ให้ข้อมูลว่าบ้านสันติสุขนั้นใช่หลากหลายภาษาด้วยกันและที่นี้ก็ไม่ค่อยเจริญ ถนนเป็นดินแดง ภาษาที่ใช้แตกต่างกัน เช่น ภาษาถิ่นลาวคิดเป็นร้อยละ 40% รองลงมาเป็น ภาษาไทยและเขมร ภาษาท้องถิ่นภาษาลาวในหมู่ที่ 11 บ้านสันติสุขราษฎรใช้เป็นภาษาในการ สื่อสาร คิดเป็นร้อยละ 40% 2. ศาสนาและความเชื่อ 2.1 ศาสนาและความเชื่อหมู่ที่ 1 บ้านโนนเจริญ ราษฎรในหมู่ที่ 1 บ้านโนนเจริญนับถือศาสนาพุทธ คิดเป็นร้อยละ 99 ส่วนศาสนา อื่น ๆ เช่น ศาสนาคริสต์ ศาสนาพราหมณ์-อินดู ลัทธิเต๋าและเจ้าแม่กวนอิม คิดเป็นร้อยละ 1 ความเชื่อราษฎรในหมู่ที่ 1 บ้านโนนเจริญ มีความเชื่อเกี่ยวกับบุญเบิกบ้าน ตั้งแต่ โบราณมีความเชื่อว่าทาแล้วมีความอยู่เย็นเป็นสุขเพราะเป็นตามประเพณีถ้าไม่ทาก็ไม่เป็นไร เพราะมันเป็นประเพณีของคนสมัยโบรานทามาตั้งแต่ดึกดาบรรพ์ แต่ถ้าทาก็จะทาเดือน 6 ของทุกปีแล้วแต่จะพร้อมวันไหน ขุดทรายสี่ทิศมาก่อกันให้ใหญ่พอดี นิมนต์พระมาตักบาตร เสร็จพิธีตอนค่าสวดมนต์เย็น ความสาคัญได้รดน้ามนต์จากพระคุณเจ้าจะได้อยู่เย็นเป็นสุข 2.2 ศาสนาและความเชื่อหมู่ที่ 2 บ้านโนนเจริญ ราษฎร์ในหมู่ที่ 1 บ้านโนนเจริญนับถือศาสนาพุทธ คิดเป็นร้อยละ 99 ส่วนศาสนา อื่น ๆ เช่น ศาสนาคริสต์ ศาสนาพราหมณ์-อินดู ลัทธิเต๋าและเจ้าแม่กวนอิม คิดเป็นร้อยละ 1 ความเชื่อราษฎรในหมู่ที่ 2 บ้านโนนเจริญ มีความเชื่อเกี่ยวกับหลวงปู่ฌานและบุญ
  • 14. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 14 สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) เลี้ยงบ้าน หลวงปู่ณานเป็นพระสงฆ์ที่ได้ธุดงค์ผ่านบ้าโนนเจริญ มีญาติโยมเลื่อมใสศรัทธานา อาหารมาถวายแล้วท่านก็เดินทางต่อไปทางทิศตะวันออกสู่ประเทศเพื่อนบ้านกัมพูชานานๆ จะเดินธุดงค์ผ่านบ้านโนนเจริญชาวบ้านก็จะนาอาหารมาถวายทุกครั้งไป ด้วยความศรัทธา ของประชาชนจึงมีความคิดร่วมกันว่าน่าจะปั้นรูปเหมือนโดยมีนายทา ทาทอง เป็นช่างปั้นรูป 2.3 ศาสนาและความเชื่อหมู่ที่ 3 บ้านโนนเจริญ ราษฎรในหมู่ที่ 3 บ้านโนนเจริญนับถือศาสนาพุทธ คิดเป็นร้อยละ 99 ส่วนศาสนา อื่น ๆ เช่น ศาสนาคริสต์ ศาสนาพราหมณ์-อินดู ลัทธิเต๋าและเจ้าแม่กวนอิม คิดเป็นร้อยละ 1 ความเชื่อราษฎรในหมู่ที่ 3 บ้านโนนเจริญ มีความเชื่อเกี่ยวกับบุญเบิกบ้าน ตั้งแต่ โบราณมีความเชื่อว่าทาแล้วมีความอยู่เย็นเป็นสุขเพราะเป็นตามประเพณีถ้าไม่ทาก็ไม่เป็นไร เพราะมันเป็นประเพณีของคนสมัยโบราณทามาตั้งแต่ดึกดาบรรพ์แต่ถ้าทาก็จะทาเดือน 6 ของทุกปีแล้วแต่จะพร้อมวันไหน ขุดทรายสี่ทิศมาก่อกันให้ใหญ่พอดี นิมนต์พระมาตักบาตร เสร็จพิธีตอนค่าสวดมนต์เย็น ความสาคัญได้รดน้ามนต์จากพระคุณเจ้าจะได้อยู่เย็นเป็นสุข 2.4 ศาสนาและความเชื่อหมู่ที่ 4 บ้านโนนเจริญ ราษฎรในหมู่ที่ 4 บ้านโนนเจริญนับถือศาสนาพุทธ คิดเป็นร้อยละ 99 ส่วนศาสนา อื่น ๆ เช่น ศาสนาคริสต์ ศาสนาพราหมณ์-อินดู ลัทธิเต๋าและเจ้าแม่กวนอิม คิดเป็นร้อยละ 1 ชื่อภาพ : หลวงปู่ฌานและบุญเลี้ยงบ้าน
  • 15. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 15 สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) ความเชื่อราษฎรในหมู่ที่ 4 บ้านโนนเจริญ มีความเชื่อเกี่ยวกับบุญเบิกบ้าน ตั้งแต่ โบราณมีความเชื่อว่าทาแล้วมีความอยู่เย็นเป็นสุข เพราะเป็นตามประเพณีถ้าไม่ทาก็ไม่เป็นไร เพราะมันเป็นประเพณีของคนสมัยโบราณทามาตั้งแต่ดึกดาบรรพ์ แต่ถ้าทาก็จะทาเดือน 6 ของ ทุกปีแล้วแต่จะพร้อมวันไหน ขุดทรายสี่ทิศมาก่อกันให้ใหญ่พอดี นิมนต์พระมาตักบาตร เสร็จ พิธีตอนค่าสวดมนต์เย็น ความสาคัญได้รดน้ามนต์จากพระคุณเจ้าจะได้อยู่เย็นเป็นสุข 2.5 ศาสนาและความเชื่อหมู่ที่ 5 บ้านโนนเจริญ ราษฎรในหมู่ที่ 5 บ้านโนนเจริญนับถือศาสนาพุทธ คิดเป็นร้อยละ 99 ส่วนศาสนา อื่น ๆ เช่น ศาสนาคริสต์ ศาสนาพราหมณ์-อินดู ลัทธิเต๋าและเจ้าแม่กวนอิม คิดเป็นร้อยละ 1 ความเชื่อราษฎรในหมู่ที่ 5 บ้านโนนเจริญ มีความเชื่อเกี่ยวกับบุญเบิกบ้าน ตั้งแต่ โบราณมีความเชื่อว่าทาแล้วมีความอยู่เย็นเป็นสุข เพราะเป็นตามประเพณีถ้าไม่ทาก็ไม่เป็นไร เพราะมันเป็นประเพณีของคนสมัยโบราณทามาตั้งแต่ดึกดาบรรพ์ แต่ถ้าทาก็จะทาเดือน 6 ของทุกปีแล้วแต่จะพร้อมวันไหน ขุดทรายสี่ทิศมาก่อกันให้ใหญ่พอดี นิมนต์พระมาตักบาตร เสร็จพิธีตอนค่าสวดมนต์เย็น ความสาคัญได้รดน้ามนต์จากพระคุณเจ้าจะได้อยู่เย็น 3. วัฒนธรรมในชุมชนบ้านโนนเจริญ ชาวอีสานโบราณมีวิถีชีวิต วัฒนธรรม ซึ่งชาวอีสานได้บ่มเพาะภูมิปัญญาก่อกาเนิด เป็นประเพณีสาคัญ ๆ ขึ้นมาและได้ร่วมสืบทอดกันมาอย่างยาวนานโดยพวกเขาเรียกขาน ประเพณีเหล่านี้รวมกันว่า "ฮีตสิบสอง" ฮีตสิบสอง หมายถึง จารีตประเพณีประจาสิบสองเดือน ซึ่งถือเป็นโอกาสดีที่ชาวบ้าน จะได้มาร่วมชุมนุมและทาบุญในทุกๆ เดือนของรอบปี และถือเป็นจรรยาของสังคม ผู้ที่ฝ่าฝืนก็ จะเป็นผู้ที่ ผิดฮีต หรือ ผิดจารีต นั่นเอง(หลายครั้ง ฮีตสิบสอง มักจะกล่าวควบคู่ “คลองสิบสี่” ที่เป็นดังแบบแผนหรือแนวทางดาเนินชีวิตแต่จะมุ่งเน้นไปทางศีลธรรมมากกว่าด้านอาชีพ ประเพณีแห่ปราสาทผึ้ง เดือนสิบเอ็ดสาหรับประเพณีหลักๆ 12 เดือนตามฮีตสิบสองของชาว อีสานโบราณนั้นประกอบด้วย (http://www.sawasdeenakhonphanom.com) เดือนเจียง (เดือนอ้าย) มีการประกอบพิธีบุญเข้ากรรม ซึ่งเป็นเดือนที่พระสงฆ์เข้า กรรม (ปริวาสกรรม) เพื่อให้พระสงฆ์ผู้กระทาผิด ได้สารภาพต่อหน้าคณะสงฆ์ เป็นการฝึก
  • 16. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 16 สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) จิตสานึกถึงความบกพร่องของตน และมุ่งประพฤติตนให้ถูกต้องตามพระธรรมวินัยต่อไป ชาวบ้านก็จะมีการทาบุญเลี้ยงผีต่าง ๆ (http://www.sawasdeenakhonphanom.com) เดือนยี่ ในฤดูหลังการเก็บเกี่ยว ชาวบ้านจะทาบุญคูณข้าวหรือบุญคูณลาน โดย นิมนต์พระสวดมนต์เย็น เพื่อเป็นมงคลแก่ข้าวเปลือก รุ่งเช้าเมื่อพระฉันเช้าแล้วจะมีการทาพิธีสู่ ขวัญข้าว นอกจากนี้ชาวบ้านจะเตรียมเก็บสะสมฟืนไว้หุงต้มที่บ้าน ชื่อภาพ : ประเพณีเดือนสอง สู่ขวัญข้าวเปลือก ที่มา: http://www.rd1677.com ชื่อภาพ : เดือนเจ็ด ทาบุญซาฮะ ที่จังหวัดนครพนม ที่มา : http://www.sawasdeenakhonphanom.com
  • 17. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 17 สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) เดือนสาม ในมื้อเพ็ง หรือวันเพ็ญเดือนสาม จะมีการทาบุญข้าวจี่และบุญมาฆบูชา การทาบุญข้าวจี่จะเริ่มตอนเช้า โดยใช้ข้าวเหนียวปั้นใส่น้าอ้อยนาไปจี่บนไฟอ่อนแล้วชุบด้วยไข่ เมื่อสุกแล้วนาไป ถวายพระ (http://www.rakbankerd.com) เดือนสี่ ทาบุญพระเวสฟังเทศน์มหาชาติ ในงานบุญนี้มักจะมีผู้นาของมาถวายพระ ซึ่งเรียกว่า "กัณฑ์หลอน" หรือถ้าจะถวายเจาะจงเฉพาะพระนักเทศน์ที่ตนนิมนต์มาก็จะเรียกว่า "กัณฑ์จอบ" เพราะต้องแอบซุ่มดูให้แน่เสียก่อนว่าใช่พระรูปที่จะถวายเฉพาะเจาะจงหรือไม่ http://www.isangate.com/local/prasart_pueng.html เดือนห้า ประเพณีตรุษสงกรานต์หรือบุญสรงน้า หรือบุญเดือนห้า ซึ่งมีขึ้นในวัน ขึ้น 15 ค่า เดือนห้า และถือเป็นเดือนสาคัญ เพราะเป็นเดือนเริ่มต้นปีใหม่ไทย การสรงน้าจะมี ทั้งการรดน้าพระพุทธรูป พระสงฆ์ และผู้หลักผู้ใหญ่ ด้วยน้าอบน้าหอมเพื่อขอขมาและขอพร ตลอดจนมีการทาบุญถวายทาน
  • 18. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 18 สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) เดือนหก ประเพณีบุญบั้งไฟและบุญวันวิสาขบูชา การทาบุญบั้งไฟเป็นการขอฝน พร้อมกับงานบวชนาค ซึ่งการทาบุญเดือนหกถือเป็นงานสาคัญก่อนการทานา หมู่บ้านใกล้เคียง จะนาเอาบั้งไฟมาจุดประชันขันแข่งกัน หมู่บ้านที่รับเป็นเจ้าภาพจะจัดอาหาร เหล้ายามาเลี้ยง เมื่อถึงเวลาก็จะตั้งขบวนแห่บั้งไฟและราเซิ้งออกไป ณ ลานที่จุดบั้งไฟ ด้วยความสนุกสนาน คา เซิ้งและการแสดงประกอบจะออกไปในเรื่องเพศ แต่จะไม่คิดเป็นเรื่องหยาบคายแต่อย่างใด ซึ่งประเพณีบุญบั้งไฟจะจัดขึ้นอย่างยิ่งใหญ่ทุกปีที่จังหวัดยโสธร ส่วนการทาบุญเนื่อง ใน วันวิสาขบูชานั้น จะมีการทาบุญเลี้ยงพระ ฟังเทศน์ ช่วงเย็นมีการเวียนเทียนเช่นเดียว กับภาคอื่น ๆ เดือนเจ็ด ทาบุญซาฮะ (ล้าง) หรือบุญบูชาบรรพบุรุษ มีการเซ่นสรวงหลักเมือง หลัก บ้าน ปู่ตา ผีตาแฮก ผีเมือง เป็นการทาบุญเพื่อระลึกถึงผู้มีพระคุณ ชื่อภาพ : ประเพณีเดือนสอง สู่ขวัญข้าวเปลือก ที่มา : http://www.rd1677.com ชื่อภาพ : ประเพณีตรุษสงกรานต์หรือบุญสรงน้า ที่มา : http://www.rd1677.com
  • 19. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 19 สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) เดือนแปดทาบุญเข้าพรรษาซึ่งเป็นประเพณีทางพุทธศาสนาโดยตรง ลักษณะการจัด งานจึงคล้ายกับทางภาคอื่นๆ ของประเทศไทย เช่น มีการทาบุญตักบาตร ถวายภัตตาหารแด่ พระภิกษุสงฆ์สามเณร มีการฟังธรรมเทศนาตอนบ่าย ชาวบ้านหล่อเทียนใหญ่ถวายเป็นพุทธ บูชาและเก็บไว้ตลอดพรรษา การนาไปถวายวัดจะมีขบวนแห่ฟ้อนราเพื่อให้เกิดความคึกคัก สนุกสนาน ประเพณีแห่เทียนพรรษาที่ยิ่งใหญ่ที่สุดต้องเป็นที่จังหวัดอุบลราชธานี เดือนเก้าประเพณีทาบุญข้าวประดับดิน เป็นการทาบุญเพื่ออุทิศแก่ญาติผู้ล่วงลับ เพื่อบูชาผีบรรพบุรุษและผีไร้ญาติโดยจะทาการจัดอาหาร เช่น ข้าว ของหวาน หมากพลู บุหรี่ ห่อด้วยใบตองกล้วย ร้อยเป็นพวง เตรียมไว้ถวายพระช่วงเลี้ยงเพลหรืออาจจะนาห่อข้าวน้อย เหล้า บุหรี่ แล้วนาไปวางหรือแขวนไว้ตามต้นไม้แล้วกล่าว เชิญวิญญาณของบรรพบุรุษและ ญาติมิตรที่ล่วงลับไปมารับส่วนกุศลในครั้งนี้ ต่อมาใช้วิธีการกรวดน้าหลังการถวายภัตตาหาร พระสงฆ์แทน ชื่อภาพ : เดือนเก้าบุญข้าวประดับดิน ที่มา : http://www.thatphanom.com/2411/วัฒนธรรมประเพณี/วัฒนธรรม/บุญข้าว ประดับดิน. ชื่อภาพ : ทาบุญเข้าพรรษา ที่มา : http://www.9bkk.com/article/custom/custom9.html
  • 20. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 20 สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) เดือนสิบ ประเพณีทาบุญข้าวสากหรือข้าวสลาก (สลากภัตร) ตรงกับวันเพ็ญ เดือนสิบ ผู้ถวายจะเขียนชื่อของตนลงในภาชนะที่ใส่ของทาน และเขียนชื่อลงในบาตร ภิกษุ สามเณรรูปใดจับได้ สลากของใคร ผู้นั้นจะเข้าไปถวายของ เมื่อพระฉันเสร็จแล้วจะมีการฟัง เทศน์ เพื่อเป็นการอุทิศให้แก่ผู้ตายประเพณีไหลเรือไฟ เดือนสิบเอ็ด http://www.lib.ubu.ac.th/html/report/ubontraditional/bunkawsag-10.htm เดือนสิบเอ็ด ประเพณีทาบุญออกพรรษา ในวันขึ้น 15 ค่า เดือนสิบเอ็ด พระสงฆ์ จะแสดงอาบัติ ทาการปวารณา คือ การเปิดโอกาสให้ว่ากล่าวตักเตือนกันได้ ต่อมาเจ้าอาวาส หรือพระผู้ใหญ่จะให้โอวาทเตือนพระสงฆ์ ให้ปฏิบัติตนอย่างผู้ทรงศีล พอตกกลางคืนจะมีการ จุดประทีป โคมไฟ นาไปแขวนไว้ตามต้นไม้ในวัดหรือตามริมรั้ววัด จึงเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า บุญจุดประทีป ชื่อภาพ : เดือนเก้าบุญข้าวประดับดิน ที่มา : www.lib.ubu.ac.th/html/report/ubontraditional/bunkawsag-10.htm
  • 21. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 21 สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) เดือนสิบสอง เป็นเดือนส่งท้ายปีเก่า ซึ่งจะมีการทาบุญกองกฐิน โดยเริ่มตั้งแต่วัน แรม หนึ่งค่า เดือนสิบเอ็ดถึงกลางเดือนสิบสอง แต่ชาวอีสานในสมัยก่อนนิยมเริ่มทาบุญ ทอดกฐินกันตั้งแต่ข้างขึ้นเดือนสิบสอง จึงมักจะเรียกบุญกฐินว่า บุญเดือนสิบสอง สาหรับ ประชาชนที่อาศัยอยู่ตามริมฝั่งแม่น้าใหญ่ เช่น แม่น้าโขง แม่น้าชี และแม่น้ามูล จะมีการ จัดส่วงเฮือ (แข่งเรือ) เพื่อระลึกถึง อุสุพญานาค บางแห่งจะมีการทาบุญดอกฝ้ายเพื่อใช้ทอเป็น ผ้าห่มกันหนาวถวายพระเณร มีการจุดพลุตะไล และบางแห่งจะมีการทาบุญโกนจุกลูกสาว ซึ่ง นิยมทากันมากในสมัยก่อน ประเพณีทั้งสิบสองเดือน ชาวอีสานโบราณถือว่าเป็นหน้าที่ของทุกคนที่จะต้อง ร่วมมือกันอย่างจริงจัง ตั้งแต่เดือนอ้ายจนถึงเดือนสิบสอง ใครที่ไม่ไปช่วยงานบุญก็จะถูกสังคม ตั้งข้อรังเกียจ และไม่คบค้าสมาคมด้วย การร่วมประชุมทาบุญเป็นประจาทาให้ชาวอีสานมี ความสนิทสนมรักใคร่และสามัคคีกั น ทั้งภายในหมู่บ้านของตนและในหมู่บ้านใกล้เคียงสาหรับ วันนี้ด้วยสภาพสังคมที่เปลี่ยนไป ส่งผลให้ประเพณี 12 เดือนหลายอย่างของชาวอีสาน เปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย ในขณะที่บางประเพณีก็เริ่มสูญหาย ซึ่งหากประเพณีเหล่านี้ไม่มี การสืบต่อหรือไม่มีการอนุรักษ์ไว้ บางทีในอนาคตเด็กรุ่นใหม่อาจไม่รู้จักประเพณีอันดีงามอย่าง "ฮีตสิบสอง" ก็เป็นได้ ชื่อภาพ : การทาบุญกองกฐิน ที่มา : http://www.pakpang.org/pakpang
  • 22. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 22 สำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) บรรณานุกรม ยุววิจัยประวัติศาสตร์ท้องถิ่น กลุ่มที่ 1. (2552). การสร้างบ้านแปงเมืองบ้านโนนเจริญ บุรีรัมย์ : อัดสาเนา. องค์การบริหารส่วนตาบล. (2552). รายงานผลการปฏิบัติงานของเทศบาลตาบลโนนเจริญ. บุรีรัมย์ : อัดสาเนา. http://www.icj-cij.org/docket/files/151/16480.pdf http: //www.rakbankerd.com http: //www.9bkk.com http://www.sawasdeenakhonphanom.com)