SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 76
การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย Routine - to - Research : (R2R) กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร นางสุกัญญา  อธิปอนันต์  ผู้อำนวยการกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร  นายสำราญ  สาราบรรณ์  ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนางานวิจัยด้านส่งเสริมการเกษตร น . ส . ปริญญารัตน์  ภูศิริ  นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร ชำนาญการ
Re search
ความสำคัญของการวิจัย  ในงานส่งเสริมการเกษตร ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
คือ    งานประจำที่ทำอยู่ นำมารวบรวม   วิเคราะห์ ตีความโดยใช้ระเบียบวิธีวิจัย   และนำไปปรับงานประจำที่ทำ เน้น   การนำไปใช้ประโยชน์ ไม่เน้น  ระเบียบวิธีวิจัยที่ยุ่งยาก แค่ร้อยละ ก็ได้  What is R2R? กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
เมื่อท่านเห็นว่า  1)  งานประจำที่ท่านทำอยู่  สิ่งใดที่ยังเป็นปัญหา  หรือ 2)  มีข้อสงสัยว่าที่ทำมาดีหรือยัง  จะต้องปรับปรุงหรือไม่ When to do R2R? กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
Where to do R2R? ,[object Object],[object Object],[object Object],กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
Why do R2R? เพราะ   ท่านเห็นว่ายังสามารถปรับปรุง งานที่ท่านทำประจำให้ดีกว่านี้ได้  กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
How to do R2R? ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
R2R (Routine to Research)  คืออะไร ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ไม่มีนิยามตายตัว กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
กระบวนการวิจัย ตั้งปัญหา สืบสาเหตุ เฟ้นทางเลือก ลงมือทำ กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
ใบงานที่ 1 1. ชมวีซีดี 2. แต่ละกลุ่มช่วยกันตอบคำถาม -  ปัญหาคืออะไร -  มีวิธีการแก้ไขอย่างไร -  ผลที่เกิดขึ้น -  ท่านมีความคิดเห็นหรือมุมมองเกี่ยวกับ  งานวิจัยอย่างไร
ปัญหา  ?? สภาพปัจจุบัน เป้าหมายหรืออุดมคติ กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
การสร้างความรู้ ๒ แนว ความรู้   ปัญหา วิจัย ความ สำเร็จ KM งานสำเร็จ / บรรลุเป้าหมาย กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
จงวิเคราะห์ตนเองท่านอยู่ในกลุ่มใด  ?   กลุ่ม  1  เก็บข้อมูลเอาไว้บ้างแล้วแต่ยังไม่รู้ว่าจะทำอะไรต่อไป  อย่างไร  กลุ่ม  2  มีโครงการวิจัยหรือมีหัวข้ออยู่แล้ว แต่ยังไม่ได้เริ่มทำ กลุ่ม  3  สนใจที่จะทำงานวิจัยมาก  แต่ยังไม่มีโครงการแน่นอน กลุ่ม  4  สนใจที่จะทำวิจัยพอควร แต่ไม่ค่อยแน่ใจว่าจะทำได้ หรือไม่ กลุ่ม  5  ไม่ต้องการทำวิจัยเลย  คิดว่ายุ่งยาก และไม่สนใจ  กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
กลุ่ม  1   เก็บข้อมูลมาบ้างแล้ว ลองเอาข้อมูลเดิมมาพิจารณา  แล้วดูว่าเราจะใช้ประโยชน์อะไรได้บ้าง การวิจัยเป็นแบบ  survey  เพื่อดูอุบัติการณ์ของปัญหาบางอย่าง กลุ่ม  2   มีโครงการวิจัยหรือมีหัวข้ออยู่แล้ว แต่ยังไม่ได้เริ่มทำ   เริ่มต้นปรับโครงการเดิม  โดยเขียนให้ชัดเจนขึ้น  มีการทบทวนเอกสารมากขึ้น  กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
กลุ่ม  3   สนใจมาก  แต่ไม่รู้ว่าจะเริ่มต้นอย่างไร ดูปัญหาใกล้ตัว  วิเคราะห์ปัญหาให้ชัด เริ่มพัฒนาโครงการตามขั้นตอน กลุ่ม  4   สนใจพอควร  แต่ยังไม่ค่อยแน่ใจว่าจะทำได้หรือไม่ อ่านเอกสารที่เกี่ยวข้องมากๆ  เพื่อกระตุ้นให้คิดได้  ศึกษาบทเรียนของผู้อื่น  ทั้งทางตรงและทางอ้อม เพื่อให้เกิดการต่อยอดความคิดของตนเอง กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
กลุ่ม  5   ไม่ต้องการทำวิจัยเลย  คิดว่ายุ่งยาก และไม่สนใจ   อย่ายุ่ง ....... อย่ากวน ....... อย่าชวน ....... ไม่สน กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
กลุ่ม  5   1. ลองคิดใหม่อีกครั้ง 2. ลองหาทางทำงานวิชาการประเภทอื่นๆที่เทียบเคียง  - งานทบทวนงานวิจัย - โครงการใช้ผลการวิจัย  (research utilization) กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
ทั้ง  5  กลุ่มนี้   สามารถทำงานวิจัยได้สำเร็จทั้งสิ้น โดยการเริ่มต้นที่ไม่เหมือนกัน  และอาจใช้เวลาต่างกัน กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
เมื่อตัดสินใจเริ่มต้น  ก้าวแรกมักเป็นก้าวที่ต้องการ ผู้ช่วยเหลือ กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
ส่วนก้าวต่อๆไป  เป็นก้าวที่ต้องการ เพื่อนคู่หู กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
การทำ วิจัย เป็นทีม เป็นอีก กลวิธีหนึ่ง ที่จะทำให้เกิด ความสำเร็จ กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
จุดเริ่มต้นมือใหม่ ทำ  R2R ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
คำถาม  108  ที่อาจเป็นอุปสรรค นักวิชาการมักตั้งคำถามเหล่านี้ 1. การคำนวณขนาดตัวอย่าง  ??? 2. ความน่าเชื่อถือของ  intervention?? ????????????? กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
คำถามเหล่านี้ อาจบั่นทอนกำลังใจ ของนักปฏิบัติ ที่กำลังริเริ่มทำวิจัยใหม่ๆ  ทำให้เบื่อหน่าย  และไม่อยากทำวิจัย แง ........ แกล้งหนู ไม่ทำก็ได้  โน่นก็ผิด  นี่ก็ผิด กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
ทางออกที่ดี - พบกันคนละครึ่งทาง - พยายามผลักดันให้นักปฏิบัติมองงาน ที่ทำอยู่ประจำวันเป็นงานวิจัย - งานพัฒนาคุณภาพที่ทำอยู่  เก็บข้อมูล  ดีๆ  รายงานผลให้เป็น  และใช้สถิติ เปรียบเทียบให้ถูกต้อง  ก็สามารถ  report  ได้ในลักษณะของงานวิจัย กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],วิจัย  ( คำนาม ) ความหมาย กว้าง แคบ การแสวงหาองค์ความรู้อย่างมีแบบแผนตามหลักวิชา กระบวนการเก็บข้อมูล เพื่อนำมาวิเคราะห์และสรุปผลอย่างมีแบบแผนตามหลักวิชา เพื่อให้ได้องค์ความรู้ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งโดยมีความมั่นใจในข้อสรุป กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
การวิจัย ,[object Object],? ข้อสงสัย ได้คำตอบ  ได้ความรู้ กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
งานวิจัยเป็นกระบวนการ การดำเนินการทุกอย่าง เป็นไปตามขั้นตอน แต่ละขั้นตอนมีกิจกรรมที่แตกต่างกัน กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
3 .  กำหนดหัวข้อปัญหาที่จะวิจัย 2 .  ตรวจสอบ / รวบรวมสาเหตุปัญหา ( ทบทวนวรรณกรรม ) 4 .  สร้างกรอบแนวคิดในการวิจัย / ตั้งสมมติฐาน 5 .  ออกแบบการวิจัย 6 .  เก็บรวบรวมข้อมูล 7 .  วิเคราะห์ข้อมูล 8 .  ตีความข้อมูล 9 .  เผยแพร่ / ขยายผล 1 . ทุกข์ 2 . สมุทัย  =  สาเหตุให้    เกิดทุกข์ 3 . นิโรธ  =  วิธีดับทุกข์ 4 . มรรค  =  ข้อปฏิบัติให้ถึง    ความดับทุกข์ ได้คำตอบการวิจัย 1 .  ปัญหาในการวิจัย กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
การตั้งโจทย์  วัตถุประสงค์การวิจัย
สถานการณ์ ปัจจุบัน ช่องว่างที่เกิดขึ้น คือ   ปัญหา 04/03/11 เป้าหมาย
เมื่อไหร่จะวิจัย  ??? ไม่ต้องทำวิจัย สภาพที่เป็นจริง สภาพที่มุ่งมั่น มีปัญหาข้อขัดข้องอะไร ? สาเหตุอะไร ?   จะทำจะแก้อย่างไร ? รู้แล้วแต่ยังไม่ได้ทำ ไม่แน่ใจ ว่าใช่ / ไม่ ไม่รู้ ไม่ต้องวิจัยปรับการบริหารจัดการ  -  Action ทดสอบ วิจัย สอดคล้องกัน ไม่สอดคล้องกัน OK
แนวทางการเลือกปัญหา ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ความหมายของปัญหาการวิจัย ,[object Object]
[object Object],[object Object]
การกำหนดปัญหา การวิจัยที่ดีควรจะต้องเริ่มต้นด้วยปัญหาหรือคำถามเสมอ เพราะการกำหนดปัญหาหรือคำถามเป็นจุดเริ่มต้นในการทำให้เกิดกระบวนการในขั้นต่อๆไป และการวางแผนในแต่ละขั้นตอนนั้นขึ้นกับคำถามในการวิจัย ตัวอย่าง  ในการเลี้ยงกุ้งของเกษตรกร - ถ้ามีการให้อาหารกุ้งในเวลากลางคืนจะทำให้กุ้งเจริญเติบโตดีและได้ผลผลิตเร็วกว่าการให้อาหารแต่ตอนกลางวัน   - แต่ปัญหาที่พบ  คือ เกษตรกรไม่สามารถออกมาให้อาหารกุ้งในตอนกลางคืนได้  เนื่องจากการให้อาหารต้องให้เป็นเวลา และเกษตรกรมีความเหนื่อยล้า เพราะในตอนกลางคืนเป็นเวลาที่ต้องพักผ่อน
การเลี้ยงกุ้ง สถานการณ์  ;  ให้อาหารกุ้งช่วงกลางวันต้องใช้เวลาในการเลี้ยง  1  เดือน  จึงจะได้ผลผลิตดี ทางแก้  ;  ถ้าให้อาหารกุ้งกลางคืนด้วย กุ้งจะใช้เวลาในการเลี้ยงน้อยลง  ( ประมาณครึ่งเดือน ) ปัญหา  ;  ไม่สามารถให้อาหารกลางคืนได้เพราะเหนื่อย ดังนั้น   ;  สร้างเครื่องให้อาหารกุ้ง ( ตั้งเวลาได้ ) -  เครื่องให้อาหารกุ้งในเวลากลางคืนสามารถเพิ่มผลผลิตของเกษตรกร  ผู้เลี้ยงกุ้งได้หรือไม่ ? “ ผลการใช้เครื่องให้อาหารกุ้งในเวลากลางคืนต่อการเพิ่มผลผลิต  ของเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้ง ”
 
วัตถุประสงค์การวิจัย  (Research Objective)
การเขียนวัตถุประสงค์ในการวิจัย  มีข้อควรคำนึง ดังนี้ ,[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object]
คำที่ใช้ในการเขียนวัตถุประสงค์การวิจัยทั่วไป ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],การแปลงโจทย์วิจัยเป็นหัวข้อและวัตถุประสงค์การวิจัย
ตัวอย่าง
โจทย์ใหญ่   อุปกรณ์ในการเพาะเห็ดนางฟ้าที่    เหมาะสมควรเป็นอย่างไร โจทย์ย่อย 1   ชั้นวางเห็ดที่เหมาะสมควรเป็นอย่างไร โจทย์ย่อย 2   การให้แสงสว่างส่องทั่วถึงชั้นวางเห็ดควรทำอย่างไร ,[object Object],[object Object],[object Object]
www.themegallery.com ตัวอย่างการวิเคราะห์  SWOT การวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค วิสาหกิจชุมชน  โนนศิลา จ . บุรีรัมย์ ●   การบริหารจัดการดี และต่อเนื่อง ●  สมาชิกสามัคคี   -  มีส่วนร่วมกิจกรรม    -  มีประสบการณ์ในการเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ -  มีทักษะ ●  ผลิตภัณฑ์ไม่หลากหลายใช้ประโยชน์ได้น้อย ●  ต้นทุนการผลิตสูง ●   วิธีการผลิต ผ้าไหมเป็นแบบดั้งเดิม ●   ภาครัฐ สนับสนุน / ให้ ความรู้เกี่ยวกับ -  การพัฒนา บรรจุภัณฑ์  -  การจัดทำสื่อ * มีแหล่งเงินทุน * มีเครือข่าย ด้านการจำหน่าย * เป็นแหล่ง เรียนรู้ภายใน ชุมชน และ ภายนอก ●   ขาดช่องทาง การจำหน่าย
www.themegallery.com การพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีความหลากหลายทั้งรูปแบบ การลดต้นทุนการผลิตผ้าไหม มีวิธีการอย่างไร ? วิธีการฟอกและการย้อมสีเส้นไหมที่มี ประสิทธิภาพ ควรทำอย่างไร   ? และการนำไปใช้ประโยชน์ ควรทำอย่างไร   ? จุดอ่อน  โจทย์วิจัย 2 3 1
1)  แบ่งกลุ่มตามโครงการ กลุ่มละ  10  คน 1 .1) food safety 1.2)  ศูนย์เรียนรู้การเกษตรพอเพียง 1.3)  วิสาหกิจชุมชน ใบงานที่  2
ใบงานที่  2 2)  วิเคราะห์ปัญหาจากงานที่รับผิดชอบ 3)  จำแนกปัญหาว่าแก้ไขได้หรือไม่เป็น  3  กลุ่ม กลุ่ม  1   รู้แล้วว่าจะแก้ไขอย่างไร แต่ยัง    ไม่ได้ทำ กลุ่ม  2   ไม่แน่ใจว่าวิธีการที่รู้แก้ ไขได้    หรือไม่ กลุ่ม  3   ไม่รู้ว่าจะแก้ไขอย่างไร
ใบงานที่  2 4)  นำปัญหาจากข้อ  3)   ซึ่งอยู่ในกลุ่ม  3  คือไม่รู้ว่าจะแก้ไขอย่างไร มา  1  ปัญหา กำหนดโจทย์วิจัยและ วัตถุประสงค์การวิจัย
Tip R2R   :  เครื่องมือที่ทำให้เกิดการพัฒนา ศ . นพ . วิจารณ์  พาณิช
การเริ่มต้นทำวิจัย “ คิดโจทย์ในการวิจัย” กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
เริ่มต้นคิดหัวข้อวิจัย กันอย่างไร  ? กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
คิด  คิด  คิด  วิจัย  วิจัย  วิจัย R 2 R, P 2 R……. คิดเอง กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
ทำเรื่องนี้ซิเธอ ....... … ………… .in trend ว่าไงนะเธอ ฉันไม่ได้ยิน บอกต่อ กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
โจทย์วิจัยได้จาก 1. ความไม่พอใจในสิ่งที่ปฏิบัติอยู่ในปัจจุบัน เอากิเลสของตนเป็นที่ตั้งโจทย์ - สำรวจว่างานที่ทำอยู่ในปัจจุบัน มีอะไรที่เป็นปัญหา - ถ้าไม่มีปัญหาแล้ว  การปฏิบัติแบบเดิมๆ ที่ทำ  ปรับให้ดีขึ้นได้หรือไม่ - ถ้ารู้สึกว่าดีแล้ว  ทำให้ดีกว่านี้ได้หรือไม่ กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
คนที่จะริเริ่มทำวิจัย ต้องไม่เป็น พวก “ทองไม่รู้ร้อน” กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
โจทย์วิจัยได้จาก 2. ความพอใจหรือเป้าหมายขององค์กร  ซึ่งรวมถึงเกษตรกรและชุมชน เอากิเลสของคนอื่นมาเป็นที่ตั้ง - วิจัยที่ดี  ต้องมีคนต้องการ - วิจัยที่ดี  ต้องแก้ปัญหาให้คนที่เกี่ยวข้องได้ - การวิเคราะห์ความต้องการของผู้เกี่ยวข้อง  จะทำให้ได้รับ  support  ที่ดี  ( เงิน  เวลา  นโยบายในการเปลี่ยนแปลง ) กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
โจทย์วิจัยได้จาก 3. การอ่านวารสาร  งานวิจัยที่ตีพิมพ์ - ศึกษางานของคนอื่นๆบ้าง  เพราะปัจจุบัน เราไม่ได้เริ่มต้นจาก ศูนย์แล้ว ใครทำอะไร  ? ทำไปถึงไหน  ? ช่องว่างอยู่ตรงไหน  ? กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
ดังนั้นก่อนจะสรุปโจทย์วิจัย  การทบทวนวรรณกรรมจึงเป็นเรื่องสำคัญ กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
โจทย์วิจัยได้จาก 4. การพบปะพูดคุย  หรือการสื่อสารกับ บุคคลอื่นๆ  ทั้งเป็นการส่วนตัว  หรือ ในการประชุมวิชาการต่างๆ กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
โจทย์วิจัยได้จาก 5.   Replication of studies การทำวิจัยซ้ำ 6.  จากทฤษฎี  เพื่อเป็นการพิสูจน์ทฤษฎี ต่างๆ กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
“ ออกแบบในการวิจัย” Research Design กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
Action Research:  การวิจัยเชิงปฏิบัติการ 1. Design  การวิจัยเชิงปฏิบัติการ 2.  Value ออกแบบระบบการวิจัย  4  ขั้นตอน เป็นวงจรสำเร็จรูปเชิงพลวัตร 3.  Model   กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร Feedback Action Plan Observation
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม   ( PAR) ,[object Object],[object Object],[object Object],กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร R A P
การวางแผนการทดลอง   ( Experimental  Research ) ,[object Object],[object Object],2.   การศึกษาเปรียบเทียบวิธีการใช้ปุ๋ยชีวภาพในนาข้าว  ระหว่างเทลงปากค้าง  ( ร่องน้ำ )  และวิธีฉีดพ่น การใส่ปุ๋ยชีวภาพนาข้าวด้วยวิธีเทลงปากค้าง ( ร่องน้ำ )  ให้ผลผลิตข้าวต่ำกว่า  วิธีการฉีดพ่น โดยให้ผลผลิตที่  527  กก ./ ไร่ และ  545  กก ./ ไร่ ตามลำดับ  แต่การใส่ปุ๋ยชีวภาพ ทั้ง  2  วิธี ให้ผลผลิตไม่ต่างกันทางสถิติ  ปลานิลที่เลี้ยงในน้ำไหล ( แหล่งน้ำธรรมชาติ )  จะเจริญเติบโตดีกว่าน้ำนิ่ง  ปัจจัยที่น่าเชื่อได้ว่าจะมีส่วนช่วยให้ปลานิลเจริญเติบโตได้ดีในน้ำไหลคือ  การไหลเวียนและถ่ายเทของน้ำ  นอกจากนี้ในน้ำไหลยังมีอาหาร ตามธรรมชาติซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการเจริญเติบโตของปลา  กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],สงสัยไม่มีคำตอบ โจทย์ / คำถาม วัตถุประสงค์การวิจัย วิธีการได้ข้อมูล ข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],เครื่องมือเก็บข้อมูล ,[object Object],[object Object],[object Object],กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร + - × ÷
เคล็ดลับการทำวิจัยให้สำเร็จ 1.  อย่าทำให้ยาก 2.  อย่าทำให้มันยุ่ง 3.  อย่าทำให้มันใหญ่  หรือ ทำเรื่องใหญ่มาก 4.  อย่าทำให้ยาว  หรืออย่าทำให้นานเกินไป 5.  อย่าทำให้แยก คือ แยกวิจัยกับงานประจำ 6.  อย่าทำให้ไกลตัว  ควรทำเรื่องที่เราถนัด 7.  อย่ามัวทำเฉย  ซึ่งจะไม่ได้นำไปแก้ปัญหา 8.  อย่าหยุดทำ  เพราะ วงจรวิจัยสามารถทำได้อย่าง ต่อเนื่อง กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
7 R2R  เกิดไม่ได้ถ้า เรื่องไกลตัว ไม่รู้ปัญหา ไม่มีความรู้ วิจัย กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
8 ประเด็นที่ทําให้ได้คําถาม  R2R  ไม่เหมาะสม •  ไม่รู้ปัญหาจริง •  คําถามวิจัยตั้งตามที่ผู้อื่นทํา •  คําถามที่ไม่สามารถทําพร้อมไปกับงานประจํา ●   คำถามกว้างเกินไป กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับความรู้ ของ ผู้ทำวิจัย ,[object Object],[object Object],กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
•   ความน่าเชื่อถือได้ของข้อมูล •  ถ้ารายงานเฉพาะผล ก็จะให้ข้อมูลได้เท่ากับ  รายงานประจําปี •  ถ้ามีการวิจารณ์สาเหตและการแก้ไข จะเป็นไปตามที่นักวิจัยคิดว่าน่าจะ แต่ไม่มีข้อเท็จจริงสนับสนุน •  ไม่มีรายละเอียดการดําเนินงาน ถ้าเอารายงานผลการปฏิบัติงานประจํา มาเขียนในรูปแบบรายงานวิจัย  R2R กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
การวิจัยในหน่วยงาน  ( R2R )  ไม่ยาก รู้ ปัญหาจริง  ใฝ่รู้  อยากแก้ไข •  มีความรู้ -  เนื้อหาในเรื่องที่จะทำ -  วิธีการวิจัย •  มีความพยายาม -  อ่าน -  คิด จะทำให้สำเร็จจะต้อง ถ้า กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
R2R :  หวังผลอะไร ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ทำให้งานเป็นเครื่องมือสู่ความสุข ปัญญา และไมตรี   กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
สังคมอุดมปัญญา กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
อรุณศรี
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
korakate
 
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินีวิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
guest65361fd
 

Mais procurados (10)

เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนการเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัยหน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
 
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินีวิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
 

Semelhante a R2 r

เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
nang_phy29
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
sudaphud
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
yutict
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
bussayamas1618
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444
bow4903
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้น
Pongtong Kannacham
 
427 416 ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
427 416  ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54427 416  ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
427 416 ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
Sani Satjachaliao
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
Jiraprapa Suwannajak
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
พัน พัน
 
%E2%a4ç%c3%e8ҧ%a1Ԩ%a1%c3%c3%c1%a1%d2äդ
%E2%a4ç%c3%e8ҧ%a1Ԩ%a1%c3%c3%c1%a1%d2äդ%E2%a4ç%c3%e8ҧ%a1Ԩ%a1%c3%c3%c1%a1%d2äդ
%E2%a4ç%c3%e8ҧ%a1Ԩ%a1%c3%c3%c1%a1%d2äդ
whawhasa06006
 

Semelhante a R2 r (20)

โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
วิทยาการคำนวณ3
วิทยาการคำนวณ3วิทยาการคำนวณ3
วิทยาการคำนวณ3
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
Research instruments for Classroom Action Research
Research instruments for Classroom Action ResearchResearch instruments for Classroom Action Research
Research instruments for Classroom Action Research
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้น
 
ข้อสอบวิช..
ข้อสอบวิช..ข้อสอบวิช..
ข้อสอบวิช..
 
427 416 ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
427 416  ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54427 416  ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
427 416 ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
 
9789740330691
97897403306919789740330691
9789740330691
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,
 
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นการจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
 
%E2%a4ç%c3%e8ҧ%a1Ԩ%a1%c3%c3%c1%a1%d2äդ
%E2%a4ç%c3%e8ҧ%a1Ԩ%a1%c3%c3%c1%a1%d2äդ%E2%a4ç%c3%e8ҧ%a1Ԩ%a1%c3%c3%c1%a1%d2äդ
%E2%a4ç%c3%e8ҧ%a1Ԩ%a1%c3%c3%c1%a1%d2äդ
 
การวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบันการวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบัน
 
123
123123
123
 

R2 r

  • 1. การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย Routine - to - Research : (R2R) กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร นางสุกัญญา อธิปอนันต์ ผู้อำนวยการกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร นายสำราญ สาราบรรณ์ ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนางานวิจัยด้านส่งเสริมการเกษตร น . ส . ปริญญารัตน์ ภูศิริ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร ชำนาญการ
  • 3.
  • 4. คือ งานประจำที่ทำอยู่ นำมารวบรวม วิเคราะห์ ตีความโดยใช้ระเบียบวิธีวิจัย และนำไปปรับงานประจำที่ทำ เน้น การนำไปใช้ประโยชน์ ไม่เน้น ระเบียบวิธีวิจัยที่ยุ่งยาก แค่ร้อยละ ก็ได้ What is R2R? กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
  • 5. เมื่อท่านเห็นว่า 1) งานประจำที่ท่านทำอยู่ สิ่งใดที่ยังเป็นปัญหา หรือ 2) มีข้อสงสัยว่าที่ทำมาดีหรือยัง จะต้องปรับปรุงหรือไม่ When to do R2R? กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
  • 6.
  • 7. Why do R2R? เพราะ ท่านเห็นว่ายังสามารถปรับปรุง งานที่ท่านทำประจำให้ดีกว่านี้ได้ กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
  • 8.
  • 9.
  • 10. กระบวนการวิจัย ตั้งปัญหา สืบสาเหตุ เฟ้นทางเลือก ลงมือทำ กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
  • 11. ใบงานที่ 1 1. ชมวีซีดี 2. แต่ละกลุ่มช่วยกันตอบคำถาม - ปัญหาคืออะไร - มีวิธีการแก้ไขอย่างไร - ผลที่เกิดขึ้น - ท่านมีความคิดเห็นหรือมุมมองเกี่ยวกับ งานวิจัยอย่างไร
  • 12. ปัญหา ?? สภาพปัจจุบัน เป้าหมายหรืออุดมคติ กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
  • 13. การสร้างความรู้ ๒ แนว ความรู้ ปัญหา วิจัย ความ สำเร็จ KM งานสำเร็จ / บรรลุเป้าหมาย กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
  • 14. จงวิเคราะห์ตนเองท่านอยู่ในกลุ่มใด ? กลุ่ม 1 เก็บข้อมูลเอาไว้บ้างแล้วแต่ยังไม่รู้ว่าจะทำอะไรต่อไป อย่างไร กลุ่ม 2 มีโครงการวิจัยหรือมีหัวข้ออยู่แล้ว แต่ยังไม่ได้เริ่มทำ กลุ่ม 3 สนใจที่จะทำงานวิจัยมาก แต่ยังไม่มีโครงการแน่นอน กลุ่ม 4 สนใจที่จะทำวิจัยพอควร แต่ไม่ค่อยแน่ใจว่าจะทำได้ หรือไม่ กลุ่ม 5 ไม่ต้องการทำวิจัยเลย คิดว่ายุ่งยาก และไม่สนใจ กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
  • 15. กลุ่ม 1 เก็บข้อมูลมาบ้างแล้ว ลองเอาข้อมูลเดิมมาพิจารณา แล้วดูว่าเราจะใช้ประโยชน์อะไรได้บ้าง การวิจัยเป็นแบบ survey เพื่อดูอุบัติการณ์ของปัญหาบางอย่าง กลุ่ม 2 มีโครงการวิจัยหรือมีหัวข้ออยู่แล้ว แต่ยังไม่ได้เริ่มทำ เริ่มต้นปรับโครงการเดิม โดยเขียนให้ชัดเจนขึ้น มีการทบทวนเอกสารมากขึ้น กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
  • 16. กลุ่ม 3 สนใจมาก แต่ไม่รู้ว่าจะเริ่มต้นอย่างไร ดูปัญหาใกล้ตัว วิเคราะห์ปัญหาให้ชัด เริ่มพัฒนาโครงการตามขั้นตอน กลุ่ม 4 สนใจพอควร แต่ยังไม่ค่อยแน่ใจว่าจะทำได้หรือไม่ อ่านเอกสารที่เกี่ยวข้องมากๆ เพื่อกระตุ้นให้คิดได้ ศึกษาบทเรียนของผู้อื่น ทั้งทางตรงและทางอ้อม เพื่อให้เกิดการต่อยอดความคิดของตนเอง กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
  • 17. กลุ่ม 5 ไม่ต้องการทำวิจัยเลย คิดว่ายุ่งยาก และไม่สนใจ อย่ายุ่ง ....... อย่ากวน ....... อย่าชวน ....... ไม่สน กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
  • 18. กลุ่ม 5 1. ลองคิดใหม่อีกครั้ง 2. ลองหาทางทำงานวิชาการประเภทอื่นๆที่เทียบเคียง - งานทบทวนงานวิจัย - โครงการใช้ผลการวิจัย (research utilization) กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
  • 19. ทั้ง 5 กลุ่มนี้ สามารถทำงานวิจัยได้สำเร็จทั้งสิ้น โดยการเริ่มต้นที่ไม่เหมือนกัน และอาจใช้เวลาต่างกัน กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
  • 20. เมื่อตัดสินใจเริ่มต้น ก้าวแรกมักเป็นก้าวที่ต้องการ ผู้ช่วยเหลือ กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
  • 21. ส่วนก้าวต่อๆไป เป็นก้าวที่ต้องการ เพื่อนคู่หู กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
  • 22. การทำ วิจัย เป็นทีม เป็นอีก กลวิธีหนึ่ง ที่จะทำให้เกิด ความสำเร็จ กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
  • 23.
  • 24. คำถาม 108 ที่อาจเป็นอุปสรรค นักวิชาการมักตั้งคำถามเหล่านี้ 1. การคำนวณขนาดตัวอย่าง ??? 2. ความน่าเชื่อถือของ intervention?? ????????????? กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
  • 25. คำถามเหล่านี้ อาจบั่นทอนกำลังใจ ของนักปฏิบัติ ที่กำลังริเริ่มทำวิจัยใหม่ๆ ทำให้เบื่อหน่าย และไม่อยากทำวิจัย แง ........ แกล้งหนู ไม่ทำก็ได้ โน่นก็ผิด นี่ก็ผิด กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
  • 26. ทางออกที่ดี - พบกันคนละครึ่งทาง - พยายามผลักดันให้นักปฏิบัติมองงาน ที่ทำอยู่ประจำวันเป็นงานวิจัย - งานพัฒนาคุณภาพที่ทำอยู่ เก็บข้อมูล ดีๆ รายงานผลให้เป็น และใช้สถิติ เปรียบเทียบให้ถูกต้อง ก็สามารถ report ได้ในลักษณะของงานวิจัย กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
  • 27.
  • 28.
  • 29. งานวิจัยเป็นกระบวนการ การดำเนินการทุกอย่าง เป็นไปตามขั้นตอน แต่ละขั้นตอนมีกิจกรรมที่แตกต่างกัน กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
  • 30. 3 . กำหนดหัวข้อปัญหาที่จะวิจัย 2 . ตรวจสอบ / รวบรวมสาเหตุปัญหา ( ทบทวนวรรณกรรม ) 4 . สร้างกรอบแนวคิดในการวิจัย / ตั้งสมมติฐาน 5 . ออกแบบการวิจัย 6 . เก็บรวบรวมข้อมูล 7 . วิเคราะห์ข้อมูล 8 . ตีความข้อมูล 9 . เผยแพร่ / ขยายผล 1 . ทุกข์ 2 . สมุทัย = สาเหตุให้ เกิดทุกข์ 3 . นิโรธ = วิธีดับทุกข์ 4 . มรรค = ข้อปฏิบัติให้ถึง ความดับทุกข์ ได้คำตอบการวิจัย 1 . ปัญหาในการวิจัย กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
  • 33. เมื่อไหร่จะวิจัย ??? ไม่ต้องทำวิจัย สภาพที่เป็นจริง สภาพที่มุ่งมั่น มีปัญหาข้อขัดข้องอะไร ? สาเหตุอะไร ? จะทำจะแก้อย่างไร ? รู้แล้วแต่ยังไม่ได้ทำ ไม่แน่ใจ ว่าใช่ / ไม่ ไม่รู้ ไม่ต้องวิจัยปรับการบริหารจัดการ - Action ทดสอบ วิจัย สอดคล้องกัน ไม่สอดคล้องกัน OK
  • 34.
  • 35.
  • 36.
  • 37. การกำหนดปัญหา การวิจัยที่ดีควรจะต้องเริ่มต้นด้วยปัญหาหรือคำถามเสมอ เพราะการกำหนดปัญหาหรือคำถามเป็นจุดเริ่มต้นในการทำให้เกิดกระบวนการในขั้นต่อๆไป และการวางแผนในแต่ละขั้นตอนนั้นขึ้นกับคำถามในการวิจัย ตัวอย่าง ในการเลี้ยงกุ้งของเกษตรกร - ถ้ามีการให้อาหารกุ้งในเวลากลางคืนจะทำให้กุ้งเจริญเติบโตดีและได้ผลผลิตเร็วกว่าการให้อาหารแต่ตอนกลางวัน - แต่ปัญหาที่พบ คือ เกษตรกรไม่สามารถออกมาให้อาหารกุ้งในตอนกลางคืนได้ เนื่องจากการให้อาหารต้องให้เป็นเวลา และเกษตรกรมีความเหนื่อยล้า เพราะในตอนกลางคืนเป็นเวลาที่ต้องพักผ่อน
  • 38. การเลี้ยงกุ้ง สถานการณ์ ; ให้อาหารกุ้งช่วงกลางวันต้องใช้เวลาในการเลี้ยง 1 เดือน จึงจะได้ผลผลิตดี ทางแก้ ; ถ้าให้อาหารกุ้งกลางคืนด้วย กุ้งจะใช้เวลาในการเลี้ยงน้อยลง ( ประมาณครึ่งเดือน ) ปัญหา ; ไม่สามารถให้อาหารกลางคืนได้เพราะเหนื่อย ดังนั้น ; สร้างเครื่องให้อาหารกุ้ง ( ตั้งเวลาได้ ) - เครื่องให้อาหารกุ้งในเวลากลางคืนสามารถเพิ่มผลผลิตของเกษตรกร ผู้เลี้ยงกุ้งได้หรือไม่ ? “ ผลการใช้เครื่องให้อาหารกุ้งในเวลากลางคืนต่อการเพิ่มผลผลิต ของเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้ง ”
  • 39.  
  • 41.
  • 42.
  • 43.
  • 44.
  • 46.
  • 47. www.themegallery.com ตัวอย่างการวิเคราะห์ SWOT การวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค วิสาหกิจชุมชน โนนศิลา จ . บุรีรัมย์ ● การบริหารจัดการดี และต่อเนื่อง ● สมาชิกสามัคคี - มีส่วนร่วมกิจกรรม - มีประสบการณ์ในการเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ - มีทักษะ ● ผลิตภัณฑ์ไม่หลากหลายใช้ประโยชน์ได้น้อย ● ต้นทุนการผลิตสูง ● วิธีการผลิต ผ้าไหมเป็นแบบดั้งเดิม ● ภาครัฐ สนับสนุน / ให้ ความรู้เกี่ยวกับ - การพัฒนา บรรจุภัณฑ์ - การจัดทำสื่อ * มีแหล่งเงินทุน * มีเครือข่าย ด้านการจำหน่าย * เป็นแหล่ง เรียนรู้ภายใน ชุมชน และ ภายนอก ● ขาดช่องทาง การจำหน่าย
  • 48. www.themegallery.com การพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีความหลากหลายทั้งรูปแบบ การลดต้นทุนการผลิตผ้าไหม มีวิธีการอย่างไร ? วิธีการฟอกและการย้อมสีเส้นไหมที่มี ประสิทธิภาพ ควรทำอย่างไร ? และการนำไปใช้ประโยชน์ ควรทำอย่างไร ? จุดอ่อน โจทย์วิจัย 2 3 1
  • 49. 1) แบ่งกลุ่มตามโครงการ กลุ่มละ 10 คน 1 .1) food safety 1.2) ศูนย์เรียนรู้การเกษตรพอเพียง 1.3) วิสาหกิจชุมชน ใบงานที่ 2
  • 50. ใบงานที่ 2 2) วิเคราะห์ปัญหาจากงานที่รับผิดชอบ 3) จำแนกปัญหาว่าแก้ไขได้หรือไม่เป็น 3 กลุ่ม กลุ่ม 1 รู้แล้วว่าจะแก้ไขอย่างไร แต่ยัง ไม่ได้ทำ กลุ่ม 2 ไม่แน่ใจว่าวิธีการที่รู้แก้ ไขได้ หรือไม่ กลุ่ม 3 ไม่รู้ว่าจะแก้ไขอย่างไร
  • 51. ใบงานที่ 2 4) นำปัญหาจากข้อ 3) ซึ่งอยู่ในกลุ่ม 3 คือไม่รู้ว่าจะแก้ไขอย่างไร มา 1 ปัญหา กำหนดโจทย์วิจัยและ วัตถุประสงค์การวิจัย
  • 52. Tip R2R : เครื่องมือที่ทำให้เกิดการพัฒนา ศ . นพ . วิจารณ์ พาณิช
  • 53. การเริ่มต้นทำวิจัย “ คิดโจทย์ในการวิจัย” กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
  • 54. เริ่มต้นคิดหัวข้อวิจัย กันอย่างไร ? กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
  • 55. คิด คิด คิด วิจัย วิจัย วิจัย R 2 R, P 2 R……. คิดเอง กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
  • 56. ทำเรื่องนี้ซิเธอ ....... … ………… .in trend ว่าไงนะเธอ ฉันไม่ได้ยิน บอกต่อ กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
  • 57. โจทย์วิจัยได้จาก 1. ความไม่พอใจในสิ่งที่ปฏิบัติอยู่ในปัจจุบัน เอากิเลสของตนเป็นที่ตั้งโจทย์ - สำรวจว่างานที่ทำอยู่ในปัจจุบัน มีอะไรที่เป็นปัญหา - ถ้าไม่มีปัญหาแล้ว การปฏิบัติแบบเดิมๆ ที่ทำ ปรับให้ดีขึ้นได้หรือไม่ - ถ้ารู้สึกว่าดีแล้ว ทำให้ดีกว่านี้ได้หรือไม่ กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
  • 58. คนที่จะริเริ่มทำวิจัย ต้องไม่เป็น พวก “ทองไม่รู้ร้อน” กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
  • 59. โจทย์วิจัยได้จาก 2. ความพอใจหรือเป้าหมายขององค์กร ซึ่งรวมถึงเกษตรกรและชุมชน เอากิเลสของคนอื่นมาเป็นที่ตั้ง - วิจัยที่ดี ต้องมีคนต้องการ - วิจัยที่ดี ต้องแก้ปัญหาให้คนที่เกี่ยวข้องได้ - การวิเคราะห์ความต้องการของผู้เกี่ยวข้อง จะทำให้ได้รับ support ที่ดี ( เงิน เวลา นโยบายในการเปลี่ยนแปลง ) กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
  • 60. โจทย์วิจัยได้จาก 3. การอ่านวารสาร งานวิจัยที่ตีพิมพ์ - ศึกษางานของคนอื่นๆบ้าง เพราะปัจจุบัน เราไม่ได้เริ่มต้นจาก ศูนย์แล้ว ใครทำอะไร ? ทำไปถึงไหน ? ช่องว่างอยู่ตรงไหน ? กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
  • 62. โจทย์วิจัยได้จาก 4. การพบปะพูดคุย หรือการสื่อสารกับ บุคคลอื่นๆ ทั้งเป็นการส่วนตัว หรือ ในการประชุมวิชาการต่างๆ กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
  • 63. โจทย์วิจัยได้จาก 5. Replication of studies การทำวิจัยซ้ำ 6. จากทฤษฎี เพื่อเป็นการพิสูจน์ทฤษฎี ต่างๆ กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
  • 64. “ ออกแบบในการวิจัย” Research Design กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
  • 65. Action Research: การวิจัยเชิงปฏิบัติการ 1. Design การวิจัยเชิงปฏิบัติการ 2. Value ออกแบบระบบการวิจัย 4 ขั้นตอน เป็นวงจรสำเร็จรูปเชิงพลวัตร 3. Model กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร Feedback Action Plan Observation
  • 66.
  • 67.
  • 68.
  • 69. เคล็ดลับการทำวิจัยให้สำเร็จ 1. อย่าทำให้ยาก 2. อย่าทำให้มันยุ่ง 3. อย่าทำให้มันใหญ่ หรือ ทำเรื่องใหญ่มาก 4. อย่าทำให้ยาว หรืออย่าทำให้นานเกินไป 5. อย่าทำให้แยก คือ แยกวิจัยกับงานประจำ 6. อย่าทำให้ไกลตัว ควรทำเรื่องที่เราถนัด 7. อย่ามัวทำเฉย ซึ่งจะไม่ได้นำไปแก้ปัญหา 8. อย่าหยุดทำ เพราะ วงจรวิจัยสามารถทำได้อย่าง ต่อเนื่อง กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
  • 70. 7 R2R เกิดไม่ได้ถ้า เรื่องไกลตัว ไม่รู้ปัญหา ไม่มีความรู้ วิจัย กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
  • 71. 8 ประเด็นที่ทําให้ได้คําถาม R2R ไม่เหมาะสม • ไม่รู้ปัญหาจริง • คําถามวิจัยตั้งตามที่ผู้อื่นทํา • คําถามที่ไม่สามารถทําพร้อมไปกับงานประจํา ● คำถามกว้างเกินไป กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
  • 72.
  • 73. ความน่าเชื่อถือได้ของข้อมูล • ถ้ารายงานเฉพาะผล ก็จะให้ข้อมูลได้เท่ากับ รายงานประจําปี • ถ้ามีการวิจารณ์สาเหตและการแก้ไข จะเป็นไปตามที่นักวิจัยคิดว่าน่าจะ แต่ไม่มีข้อเท็จจริงสนับสนุน • ไม่มีรายละเอียดการดําเนินงาน ถ้าเอารายงานผลการปฏิบัติงานประจํา มาเขียนในรูปแบบรายงานวิจัย R2R กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
  • 74. การวิจัยในหน่วยงาน ( R2R ) ไม่ยาก รู้ ปัญหาจริง ใฝ่รู้ อยากแก้ไข • มีความรู้ - เนื้อหาในเรื่องที่จะทำ - วิธีการวิจัย • มีความพยายาม - อ่าน - คิด จะทำให้สำเร็จจะต้อง ถ้า กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
  • 75.