SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 60
Internet and Communication in Daily Life
                   0012006
 อินเตอรเน็ตและการสื่อสารในชีวิตประจําวัน
                 2(1-2-3)
                  Hemmarat Thanapat
   Educational Technology and Communications of MSU


                                       Hemmarat Thanapat
Unit 1
INTERNET
 อินเทอรเน็ต


                Hemmarat Thanapat
อินเทอรเน็ต : ความหมาย
อินเทอรเน็ต (Internet) มาจากคําวา Interconnection
Network หมายถึง "เครือขายคอมพิวเตอรขนาดใหญที่
เชื่อมตอกันทั่วโลก โดยใชโปรโตคอล (Protocol ) เปน
มาตรฐานในการติดตอสื่อสาร
                                     Hemmarat Thanapat
เครือขายคอมพิวเตอร :
      โปรโตคอล

         ชุดของกฎหรือขอตกลงในการแลกเปลี่ยนขอมูล
         ผานเครือขายคอมพิวเตอร เพื่อใหคอมพิวเตอร
      แตละเครื่องสามารถรับ-สงขอมูลระหวางกันไดถูกตอง
                                           Hemmarat Thanapat
IPX/SPX
เปนโปโตคอลที่ใชในเครือขายที่ใชระบบ
ปฏิบัติการ Netware
NetBIOS และ NetBEUI
เปนโปรโตคอลที่บริษัทไอบีเอ็ม พัฒนารวมกับ
บริษัท ไมโครซอฟต ใชในเครือขายที่ใชระบบ
ปฏิบัติการWindows เวอรชั่นตาง ๆ
TCP/IP
เปนโปรโตคอลที่นิยมใชกันอยางแพรหลาย
ในระบบอินเทอรเน็ตและมีแนวโนมวา
จะถูกนํามาใชแทนโปรโตคอลอื่น ๆ ในอนาคต
                                             Hemmarat Thanapat
TCP/IP
         ยอมาจาก
  Transmission Control
Protocol / Internet Protocol




                               Hemmarat Thanapat
Hemmarat Thanapat
อินเทอรเน็ต : ประวัติ


ค.ศ.1969 (พ.ศ.2512)
กระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกา ใหการสนับสนุน
มหาวิทยาลัยแคลิฟอรเนีย สถาบันวิจัยแสตมฟอรด มหาวิทยาลัย
แคลิฟอรเนีย และมหาวิทยาลัยยูทาห ไดเชื่อมตอคอมพิวเตอรโดยใช
ชื่อเครือขายวา ARPANET (Advanced Research Projects Agency Network)
                                                   Hemmarat Thanapat
วัตถุประสงคหลักของ ARPANET

เพื่อใหนักวิจัยในสถาบันตาง ๆ ไดสื่อสารและแลกเปลี่ยน
ความคิดเห็น ใชทรัพยากรคอมพิวเตอรรวมกัน มุงเนน
ประโยชนดานการวิจัยทางทหารเปนหลัก




                                         Hemmarat Thanapat
การเชื่อมโยงเครือขาย ทําใหนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยแหงหนึ่งเขาถึง
คอมพิวเตอรแมขายของมหาวิทยาลัยอีกแหงหนึ่งและสามารถสั่งให
โปรแกรมที่ติดตั้งบนเครื่องคอมพิวเตอรเครืองนั้นทํางานได
                                                Hemmarat Thanapat
ค.ศ.1973 (พ.ศ.2516)
 มีการเชื่อมโยงเครือขายอารพาเน็ต กับมหาวิทยาลัยลอนดอน
ประเทศอังกฤษ และไดเชื่อมโยงเขากับเครือขายคอมพิวเตอรกลุมอื่น ๆ
 อีกหลายเครือขายทั้งในยุโรปและอเมริกาเชน
   – NSFNET (National Science Foundation Network)
   – CSNET ( Computer Science Network)
   – EUNET (European Unix Network )
   เกิดเปนเครือขายในลักษณะ “เครือขายของเครือขาย”
                                                Hemmarat Thanapat
Hemmarat Thanapat
พ.ศ. 2538


 รัฐบาลไทย เปดบริการอินเทอรเน็ตเชิงพาณิชย โดยมี
 บริษัทอินเทอรเน็ตแหงประเทศไทย จํากัด
 เปนบริษัทถือหุนระหวางการสื่อสารแหงประเทศไทย
 องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย และสํานักงานพัฒนา
 วิทยาศาสตร และเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.)

                                          Hemmarat Thanapat
วัตถุประสงคในการใชอินเทอรเน็ต
1. เพื่อการสื่อสาร (communication)
เชน e-mail chat และ webboard




                                     Hemmarat Thanapat
2. เพื่อขอมูลขาวสาร (information)
เปนลักษณะของการใชงานสารสนเทศผาน
เครือขายเวิลดไวดเว็บ (www)




                                     Hemmarat Thanapat
3. เพื่อความบันเทิง (entertainment)
เชน เว็บไซตบันเทิง เกมสคอมพิวเตอร การดูหนังฟงเพลง




                                         Hemmarat Thanapat
4. เพื่อดําเนินกิจกรรมทางธุรกิจ (business)
เชน เปนชองทางโฆษณา ประชาสัมพันธ แสดงสินคา
 และใหบริการลูกคา เปนตน




                                     Hemmarat Thanapat
ระบบการแทนชื่อในอินเทอรเน็ต
  การเรียกชื่ออินเทอรเน็ต มี 3 ระดับดังนี้
 1. IP Address (Internet Protocol Address)
 2. DNS (Domain Name System)
 3. URL (Uniform Resource Locator)


                                     Hemmarat Thanapat
IP Address
เปนหมายเลขประจําเครื่องคอมพิวเตอรที่เชื่อมตอในเครือขาย
อินเทอรเน็ต ซึ่งจะเปนหมายเลขใหคอมพิวเตอรเครื่องอื่น ๆ
เชื่อมโยงถึงได แตหมายเลขจํายาก จึงเทียบเคียงเปนตัวอักษร




                                          Hemmarat Thanapat
ในอนาคต อุปกรณสื่อสารทุกชนิดรวมไปถึงเครื่องใชไฟฟาภายในบาน
จะมี IP Address เปนของตนเอง และสามารถติดตอสื่อสารกันได




                                               Hemmarat Thanapat
Domain Name System
     คือ ระบบการแทนหมายเลขไอพีของเครื่องคอมพิวเตอร
     ดวยชื่อที่สื่อความหมายและเขาใจไดงาย
          หนวยงาน                  IP AddressDomain Name
 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย      192.168.83. www.dpu.ac.th
                                25
 ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส   202.44.204.33    www.nectec.or.th
 และคอมพิวเตอรแหงชาติ
 Dtac                                    www.dtac.co.th
                                203.155.21.178
เนื่องจากการจดจําหมายเลข IP ทําใหยุงยาก และไมสามารถจําได
                                                    Hemmarat Thanapat
Hemmarat Thanapat
โดเมนเนมระดับสูงสุด (top level domain)
คือสวนที่อยูตําแหนงขวาสุด เปนสวนที่บอกชื่อ
ประเทศและลักษณะขององคกร แบงออกเปน 2 กลุม
* โดเมนเนมระดับสูงสุดที่บอกถึงประเทศเจาของ
  โดเมน
* โดเมนเนมระดับสูงสุดที่บอกถึงประเภทของ
  องคกรเจาของโดเมน                Hemmarat Thanapat
Hemmarat Thanapat
Hemmarat Thanapat
ชื่อโดเมน       ชื่อเต็ม          ประเภทองคกร/
                                                            ตัวอยาง
                                     หนวยงาน
  .com      Commercial       กลุมธุรกิจการคา          www.msn.com
  .edu      Education        สถาบันการศึกษา             www.ucla.edu
  .gov      Government       หนวยงานรัฐบาล             www.nasa.gov
  .mil      Military         หนวยงานทางทหาร            www.army.mil
  .net      Networking     หนวยงานที่เกี่ยวกับเครือขาย www.isp.net
  .org      Non-commercial องคกรที่ไมแสวงหากําไร       www.un.org
                                                     Hemmarat Thanapat
ปจจุบันไดมีการอนุมัตใหใชชื่อโดเมนระดับบนสุด
                           ิ
เพิ่มขึ้นอีก 7 ชื่อ ไดแก
 ชื่อโดเมน         ชื่อเต็ม                 ประเภทองคกร/หนวยงาน
  .aero      Air-transport   อุตสาหกรรมขนสงทางอากาศ
   .biz      Business        หนวยงานธุรกิจ
  .coop      Cooperatives    สหกรณ
   .info     Information     ขอมูลไมจํากัดผูใชงานและไมจํากัดการใช
                                 ประโยชน
 .museum     Museum          พิพิธภัณฑสถาน
  .name      Individual Name เว็บไซตสวนบุคคล
   .pro      Professional    สําหรับผูเชี่ยวชาญในวิชาชีพตาง ๆ
                                                      Hemmarat Thanapat
โดเมนเนมระดบรอง (second level domain)
           ั
    ใชคูกับโดเมนเนมระดับสูงสุดที่บอกชื่อประเทศ




         เพื่อระบุประเภทขององคกรเหลานั้น
                                     Hemmarat Thanapat
โดเมนเนมระดับที่สาม (third level domain)
     เปนสวนของโดเมนที่ระบุชื่อขององคกร
          เชน dpu.ac.th nectec.or.th
              ais.co.th navy.mil.th
                       เปนตน
                                   Hemmarat Thanapat
URL (Uniform Resource Locator)
เปนหลักการกําหนดชื่ออางอิงของทรัพยากรตาง ๆ ที่อยูภายใน
เครือขายอินเทอรเน็ต สามารถบงบอกชื่อหรือแอดเดรสของ
เครื่องคอมพิวเตอรในเครือขาย และโปรโตคอลที่ใชงาน

 URL ยอมาจาก Uniform Resource Locator
หมายถึงรหัสคนขอมูลบนขายงานอินเตอรเน็ตที่เปนบริการเวิลดไวดเว็บ
                                                  Hemmarat Thanapat
ซึ่งมีรูปแบบดังนี้
type://host.path.file
type : เปนรูปแบบการสื่อสาร เชน http , ftp
host : เปนชื่อโฮสตของคอมพิวเตอรเซอรเวอร
path : เปนไดเรกทอรีบนเซิรฟเวอรในรูปแบบของระบบยูนิกซ
file : เปนชื่อไฟลขอมูล
เชน http://www.nanaidea.com c
                                        Hemmarat Thanapat
Hemmarat Thanapat
type://host.path.file

host
แมขาย , แมงาน คอมพิวเตอรเครื่องใดๆ ในอินเทอรเน็ตที่
สามารถทํางานเปนจุดเริ่มตนและจุดสิ้นสุดในการถายโอน
ขอมูล คอมพิวเตอรที่ทําหนาที่นี้จะมีเลขอยู (เรียกวา IP
address) และชื่อเขตเปนของตนเอง

                                           Hemmarat Thanapat
เว็บไซตของมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย
IP Address        192.168.83.25
DNS               dpu.ac.th
URL คือ           http://www.dpu.ac.th

เว็บไซตของเนคเทค
IP Address        202.44.204.33
DNS               nectec.or.th
URL คือ           http://www.nectec.or.th
                                    Hemmarat Thanapat
วิธีการเชื่อมตออินเทอรเน็ต
การเชื่อมตอเครือขายอินเทอรเน็ตทีนิยมมี 6 วิธี คือ
                                   ่
• การเชื่อมตอแบบหมุนโทรศัพท ( Dial up connection )
• ISDN (Integrated Services Digital Network)
• ADSL (Asymmetric Digital Subscriber Line)
• Cable Modem
• Satellite
• Leased Line                              Hemmarat Thanapat
การเชือมตอแบบหมุนโทรศัพท ( Dial up connection )
      ่
เปนวิธีเชื่อมตออินเทอรเน็ตโดยใชสายโทรศัพท และติดตอผาน
โมเด็ม(Modem) เพื่อติดตอกับคอมพิวเตอรที่ใหบริการ
อินเทอรเน็ตซึ่งโดยทั่วไปไดแก ISP (Internet Service Provider)




                                                Hemmarat Thanapat
สวนประกอบของการเชื่อมตอ
 1.   คอมพิวเตอรสวนบุคคล ( PC: Personnel computer)
 2.   หมายเลขโทรศัพทพื้นฐาน
 3.   โมเด็ม ( Modem )
 4.   ชั่วโมงอินเทอรเน็ตจากผูใหบริการอินเตอรเน็ต (ISP)




                                                     Hemmarat Thanapat
โมเด็ม (Modulator Demodulator : Modem)
มีหนาที่แปลงสัญญาณขอมูล จากดิจิทัลใหเปนอนาลอกและ
สงผานสายโทรศัพทไปยังปลายทาง ดวยความเร็ว 56
   Kbps
คาใชจายมีเพียงคาโทรศัพทครั้งละ 3 บาทและคาบริการ
อินเทอรเน็ตชั่วโมงละประมาณ 3-12 บาท


                                        Hemmarat Thanapat
ไอเอสพี ( Internet Service Provider : ISP )
บริษัทที่ใหบริการทางดานอินเทอรเน็ต เปนเสมือนตัวแทนของ
ผูใชอินเทอรเน็ตเพื่อเขาถึงแหลงขอมูลตาง ๆ




                                              Hemmarat Thanapat
ISDN (Integrated Services Digital Network)
เปนการสื่อสารผานสายโทรศัพทที่เปนแบบดิจิตอลใหคุณภาพ
ในการรับสงขอมูลที่สม่ําเสมอ และความเร็วในการสงผานขอมูล
สูงกวาการหมุนสายโทรศัพท ตั้งแต 64 Kbps - 128 Kbps
ISDN เปนโปรโตคอลรับสงขอมูล ความเร็วสูง
ทั้งภาพ เสียง หรือวิดีโอคอนเฟอเรนซ ผาน
ทางสายโทรศัพทดิจิทัลโดยใชอุปกรณที่รองรับ
ระบบ ISDN

                                              Hemmarat Thanapat
ผูใหบริการ ISDN ไดแก องคการโทรศัพท TOT เมื่อ
ผูใชขอใชบริการ TOT จะทําการแกไขหมายเลขที่ขอ
ใชใหเปนระบบ ISDN และตองเปลี่ยนอุปกรณที่ใช
งานกับ ISDN รวมทั้งเครื่องโทรศัพททั้งหมด
จากนั้นเมื่อตองการรับสงขอมูลการเชื่อมตอจะมี
ความเร็วสูงมาก หากเครื่องทั้งสองเปน ระบบ ISDN
แตถาอีกฝายหนึ่งเปนสายธรรมดา ก็จะเปนการ
รับสงขอมูลดวยความเร็วธรรมดา




                                                     Hemmarat Thanapat
ISDN สแตนดารด 64 Kbps                       ISDN พรีเมี่ยม 128 Kbps
50 ชั่วโมง ราคา 1,100 บาทตอเดือน         50 ชั่วโมง ราคา 2,200 บาทตอเดือน
100 ชั่วโมง ราคา 1,980 บาทตอเดือน        100 ชั่วโมง ราคา 3,960 บาทตอเดือน
ไมจํากัดชั่วโมง ราคา 4,950 บาทตอเดือน   ไมจํากัดชั่วโมง ราคา 9,900 บาทตอเดือน
                                                              Hemmarat Thanapat
ADSL (Asymmetric Digital Subscriber Line)
เปนเทคโนโลยีสื่อสารความเร็วสูงบนขายสายทองแดง หรือคู
สายโทรศัพทแบบเกา ซึ่งสามารถแยกสัญญาณ ขอมูล และ เสียง
ออกจากกัน ทําใหสามารถ โทรศัพทและ ใชอินเตอรเน็ตได
พรอมกัน โดยมีความเรว 64/128 Kbps 128/256 Kbps
                      ็
256/512 Kbps ตัวเลขนอย ความเร็วในการอัพโหลด (upload)
ตัวเลขมาก ความเร็วในการดาวนโหลด (download) โดยระดบ    ั
ความเร็วในการ รับ-สง ขอมูลจะขึ้นอยูกับ ระยะทาง และ
คุณภาพ ของคูสายนั้นๆ
                                        Hemmarat Thanapat
ADSL เปน อินเตอรเน็ตความเร็วสูง ผานสายโทรศัพท
ธรรมดา แตตองใชโมเด็มที่เปน ADSL ดวย




                                    Hemmarat Thanapat
ADSL สแตนดารด             ADSLพรีเมี่ยม ADSL โปรเฟสชั่นแนล
  512/256 Kbps              1024/512 Kbps   2048/512 Kbps
− อีเมลสวนตัวจํานวน − อีเมลสวนตัวจํานวน 10
                                               − อีเมลสวนตัวจํานวน 20
  4 บัญชี               บัญชี
                                                 บัญชี
− พื้นที่เก็บเอกสาร   − พื้นที่เก็บเอกสาร
                                               − พื้นที่เก็บเอกสาร
  ออนไลนจํานวน 200     ออนไลนจํานวน 500
                                                 ออนไลนจํานวน 1,000
  MB                    MB
                                                 MB
100 ชม. 1,400 /เดือน 100 ชม. 2,600 /เดือน
                                                100 ชม. 3,600 /เดือน
Unlimited 1,900 /เดือน Unlimited 3,600 /เดือน
                                                Unlimited 4,900 /เดือน
                                                    Hemmarat Thanapat
Cable Modem
คือบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูงผานเครือขายมัลติมีเดีย
ความเร็วสูง Hybrid Fiber-Optic Coaxial (HFC) ซึ่งเปน
เครือขายเดียวกันกับที่ใหบริการเคเบิลทีวี
ผูใชสามารถรับชมเคเบิลทีวี และใชงานอินเทอรเน็ต
หรือคุยโทรศัพทไดในเวลาเดียวกัน

                                              Hemmarat Thanapat
ความเร็วการรับสงขอมูลของบริการ cable modem จะสูงกวา
แบบ ISDN และ ADSL เริ่มตั้งแต 64 Kbps ไปจนถึงความเร็ว
สูงสุดที่ 10 Mbps ดังนั้นจึงเหมาะสําหรับการใชงานรับสง
ขอมูลปริมาณมากดวยความเร็วสูง




                                        Hemmarat Thanapat
Satellite

เปนการเชื่อมตออินเทอรเน็ตผานดาวเทียม จะใชในกรณี
ที่ไมมีสายโทรศัพทหรือสายเคเบิลเขาถึงสถานที่ โดยใชจาน
ดาวเทียมเปนสื่อในการรับขอมูล ซึ่งมีผูใหบริการเพียงราย
เดียวคือ บริษท CS Internet จํากัด ในเครือชินคอรปอเรชั่น
             ั

                                           Hemmarat Thanapat
Leased Line
  เปนการเชาชองทางการสื่อสารเพื่อเชื่อมตอกับเครือขาย
  อินเทอรเน็ตตลอดเวลา โดยสายที่เรียกวา DDN
  (Digital Data Network) ซึ่งใหบริการโดย
  บ.ทศท.คอรปอเรชั่น และ บ. ทรูคอรปอเรชั่น
  มึความเร็วตั้งแต 64 128 256 512 Kbps ไปจนถึง
  ระดับ 2 Mbps
                                           Hemmarat Thanapat
Hemmarat Thanapat
World Wide Web
  เปนเครือขายยอยของอินเทอรเน็ตที่เกิดขึ้นในป 1989 โดย
  ทิม เบอรเนอร ลี นักวิศวกรรมซอฟตแวรจากหองปฏิบัติการ
  ทางจุลภาคฟสิกสแหงยุโรปหรือ CERN (Conseil European
pour la Recherche Nucleaire) ประเทศสวิตเซอรแลนด
 โดยใชตัวอักษรและภาพกราฟก ขอมูลจะอยูในลักษณะ
 ของมัลติมีเดีย แสดงผลในรูปของ hypertext links

                                             Hemmarat Thanapat
บริการคนหาขอมูลผานเครือขาย WWW (World Wide Web)
 WWW เปนบริการที่ใหผูใชสามารถเขาไปคนหาขอมูลตางๆ ใน
 อินเทอรเน็ตไดงายและสะดวก ดวยลักษณะของการแสดงผลในรูปของ
 Hypertext Links ซึ่งเปนวิธีการที่จะเชื่อมโยงขอมูลจากเอกสารหนึ่ง
 ไปยังเอกสารอื่น ๆ ไดอยางสะดวก

 WWW จะอยูในลักษณะของมัลติมีเดีย (Multimedia) คือ มีทั้ง
 ตัวอักษร รูปภาพ เสียง และภาพเคลื่อนไหว ผูใชสามารถคนหาขอมูล
 เกือบทุกประเภทผานทางเครือขายนี้ได ไมวาเปนบทความ ขาว
 งานวิจัยขอมูลสินคา หรือบริการตางๆ สาระบันเทิงประเภทตางๆ
 รวมถึงฟงเพลงและชมภาพยนตร
                                               Hemmarat Thanapat
ค.ศ.1991
หลังจากมีระบบอินเทอรเน็ตขึ้น
ในโลก Time Berners Lee
ไดใชเทคโนโลยีตางๆออกแบบ
World wild web ขึ้น
กอใหเกิดประโยชนในการเชื่อมโยง
สารสนเทศจากหองสมุดตางๆ
อยางกวางขวางและแพรหลาย
ในลักษณะของสื่อประสม
                  Hemmarat Thanapat
โปรแกรมคนดูเว็บ (Web Browser )
โปรแกรมเว็บเบราวเซอรจะทํางานโดยดึงขอมูลซึ่งจัดเก็บอยู
ในรูปแบบที่เรียกวา HTML (HyperText Markup
Language) มาจากเว็บเซิรฟเวอรและแปลความหมายของ
รูปแบบขอมูล ที่ไดกําหนดเอาไวเพื่อนําเสนอแกผูใช

                                          Hemmarat Thanapat
Microsoft Internet Explorer (IE)
เปนเว็บเบราวเซอร ที่กําลังไดรับความนิยมมากที่สุด
ผลิตโดย บริษัท Microsoft มีประสิทธิภาพสูง




                                               Hemmarat Thanapat
Hemmarat Thanapat
โฮมเพจ เว็บเพจ และเว็บไซต
(home page , web page และ web site)
– web page    หนาเอกสารที่เปนกระดาษแตละหนา
– home page   หนาแรกที่ผูใชจะพบเมื่อเรียกเขาไปยัง
              เว็บไซตใด
                     
– Web Site    โฮมเพจและเว็บเพจหลาย ๆ หนาซึ่ง
              เปนของหนวยงานเดียวกัน
                                    Hemmarat Thanapat
เว็บเซิรฟเวอร (web server)
คือเครื่องคอมพิวเตอรที่ทําหนาที่เก็บขอมูลทุกอยางที่แสดงผล
ในเว็บไซต ในรูปแบบของเอกสาร HTML โดยเว็บเซิรฟเวอร
จะทําหนาที่สงเอกสาร HTML ไปแสดงผลในเว็บบราวเซอร
ของผูใชเมื่อมีการเรียกใช

                                           Hemmarat Thanapat
Task
ใหนิสิตสืบคนงาน เรื่อง
                       บริการบนอินเทอรเน็ต
                       Internet Service
นําไฟลไปฝากที่ mediafire ทําลิ้งคมาในบล็อกเปนงานชิ้นที่2
สงงานภายในวันที่ 5 กรกฎาคม 2553 สงภายใน midnight

                                          Hemmarat Thanapat
Thank you for your attention.




                      Hemmarat Thanapat

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตguesta2e9460
 
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตบทที่ 5 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตNattapon
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นthanakorn123
 
สอบปฏิบัติ
สอบปฏิบัติสอบปฏิบัติ
สอบปฏิบัติChin Jsp
 
สื่อการสอนอินเตอร์เน็ต
สื่อการสอนอินเตอร์เน็ตสื่อการสอนอินเตอร์เน็ต
สื่อการสอนอินเตอร์เน็ตkiss_jib
 
สอบปฏิบัติ
สอบปฏิบัติสอบปฏิบัติ
สอบปฏิบัติChin Jsp
 
เทอม 2 คาบ 7 internet และ domain
เทอม 2 คาบ 7 internet และ domainเทอม 2 คาบ 7 internet และ domain
เทอม 2 คาบ 7 internet และ domainMrpopovic Popovic
 
เพาเวอร์พอยต์(พรพร)1
เพาเวอร์พอยต์(พรพร)1เพาเวอร์พอยต์(พรพร)1
เพาเวอร์พอยต์(พรพร)1pattarapornpiman
 

Mais procurados (14)

อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
 
Connect1
Connect1Connect1
Connect1
 
Lernning 05
Lernning 05Lernning 05
Lernning 05
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตบทที่ 5 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ต
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
 
สอบปฏิบัติ
สอบปฏิบัติสอบปฏิบัติ
สอบปฏิบัติ
 
work3-21
work3-21work3-21
work3-21
 
สื่อการสอนอินเตอร์เน็ต
สื่อการสอนอินเตอร์เน็ตสื่อการสอนอินเตอร์เน็ต
สื่อการสอนอินเตอร์เน็ต
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
สอบปฏิบัติ
สอบปฏิบัติสอบปฏิบัติ
สอบปฏิบัติ
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
เทอม 2 คาบ 7 internet และ domain
เทอม 2 คาบ 7 internet และ domainเทอม 2 คาบ 7 internet และ domain
เทอม 2 คาบ 7 internet และ domain
 
เพาเวอร์พอยต์(พรพร)1
เพาเวอร์พอยต์(พรพร)1เพาเวอร์พอยต์(พรพร)1
เพาเวอร์พอยต์(พรพร)1
 

Destaque (9)

ความหมายขอบเขต
ความหมายขอบเขตความหมายขอบเขต
ความหมายขอบเขต
 
Corel video studio pro
Corel video studio proCorel video studio pro
Corel video studio pro
 
Original cai
Original caiOriginal cai
Original cai
 
Moodle
MoodleMoodle
Moodle
 
สอนเลขฐาน
สอนเลขฐานสอนเลขฐาน
สอนเลขฐาน
 
Flip album
Flip albumFlip album
Flip album
 
Mooc
MoocMooc
Mooc
 
Corel video studio pro
Corel video studio proCorel video studio pro
Corel video studio pro
 
E learning (Moodle)
E learning (Moodle)E learning (Moodle)
E learning (Moodle)
 

Semelhante a Internet

Introduction to On-line Documemt Lec02
Introduction to On-line Documemt  Lec02Introduction to On-line Documemt  Lec02
Introduction to On-line Documemt Lec02Jenchoke Tachagomain
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าJenchoke Tachagomain
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าJenchoke Tachagomain
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นthanakorn123
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นrachavo
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตguest31bfdc
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตguest31bfdc
 
Lesson1 2 internet
Lesson1 2 internetLesson1 2 internet
Lesson1 2 internetSamorn Tara
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานPiyanoot Ch
 
ทฤษฎีการออกแบบเว็บ
ทฤษฎีการออกแบบเว็บทฤษฎีการออกแบบเว็บ
ทฤษฎีการออกแบบเว็บprawanya
 
ทฤษฎีการออกแบบเว็บ
ทฤษฎีการออกแบบเว็บทฤษฎีการออกแบบเว็บ
ทฤษฎีการออกแบบเว็บprawanya
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นบทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นxsitezaa
 
การกำหนดที่อยู่บนอินเทอร์เน็ต
การกำหนดที่อยู่บนอินเทอร์เน็ตการกำหนดที่อยู่บนอินเทอร์เน็ต
การกำหนดที่อยู่บนอินเทอร์เน็ตปิยะดนัย วิเคียน
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นสำหรับครูยุคใหม่
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นสำหรับครูยุคใหม่อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นสำหรับครูยุคใหม่
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นสำหรับครูยุคใหม่Kobwit Piriyawat
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10Min Jidapa
 

Semelhante a Internet (20)

Introduction to On-line Documemt Lec02
Introduction to On-line Documemt  Lec02Introduction to On-line Documemt  Lec02
Introduction to On-line Documemt Lec02
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
Communication Concept
Communication ConceptCommunication Concept
Communication Concept
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
Lesson1 2 internet
Lesson1 2 internetLesson1 2 internet
Lesson1 2 internet
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
ทฤษฎีการออกแบบเว็บ
ทฤษฎีการออกแบบเว็บทฤษฎีการออกแบบเว็บ
ทฤษฎีการออกแบบเว็บ
 
ทฤษฎีการออกแบบเว็บ
ทฤษฎีการออกแบบเว็บทฤษฎีการออกแบบเว็บ
ทฤษฎีการออกแบบเว็บ
 
Lernning 09
Lernning 09Lernning 09
Lernning 09
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นบทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
 
e-commerce unit1 by Ramase
e-commerce unit1 by Ramasee-commerce unit1 by Ramase
e-commerce unit1 by Ramase
 
Introduction e-Commerce
Introduction e-CommerceIntroduction e-Commerce
Introduction e-Commerce
 
ประวัติความเป็นมาของ Internet
ประวัติความเป็นมาของ Internetประวัติความเป็นมาของ Internet
ประวัติความเป็นมาของ Internet
 
การกำหนดที่อยู่บนอินเทอร์เน็ต
การกำหนดที่อยู่บนอินเทอร์เน็ตการกำหนดที่อยู่บนอินเทอร์เน็ต
การกำหนดที่อยู่บนอินเทอร์เน็ต
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นสำหรับครูยุคใหม่
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นสำหรับครูยุคใหม่อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นสำหรับครูยุคใหม่
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นสำหรับครูยุคใหม่
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 

Mais de mahasarakham university (17)

Regis hemmarat
Regis hemmaratRegis hemmarat
Regis hemmarat
 
Final
FinalFinal
Final
 
Final
FinalFinal
Final
 
Thana pbl
Thana pblThana pbl
Thana pbl
 
การพัฒนามอดูลแบบฐานสมรรถนะ
การพัฒนามอดูลแบบฐานสมรรถนะการพัฒนามอดูลแบบฐานสมรรถนะ
การพัฒนามอดูลแบบฐานสมรรถนะ
 
Thana pbl
Thana pblThana pbl
Thana pbl
 
Picasa tahoma
Picasa tahomaPicasa tahoma
Picasa tahoma
 
Picasa tahoma
Picasa tahomaPicasa tahoma
Picasa tahoma
 
Google calendar
Google calendarGoogle calendar
Google calendar
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
Search engine
Search engineSearch engine
Search engine
 
Internet search engine
Internet search engineInternet search engine
Internet search engine
 
Internet search engine
Internet search engineInternet search engine
Internet search engine
 
Webopac
WebopacWebopac
Webopac
 
Google calendar1
Google calendar1Google calendar1
Google calendar1
 
Google calendar1
Google calendar1Google calendar1
Google calendar1
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 

Internet

  • 1. Internet and Communication in Daily Life 0012006 อินเตอรเน็ตและการสื่อสารในชีวิตประจําวัน 2(1-2-3) Hemmarat Thanapat Educational Technology and Communications of MSU Hemmarat Thanapat
  • 3. อินเทอรเน็ต : ความหมาย อินเทอรเน็ต (Internet) มาจากคําวา Interconnection Network หมายถึง "เครือขายคอมพิวเตอรขนาดใหญที่ เชื่อมตอกันทั่วโลก โดยใชโปรโตคอล (Protocol ) เปน มาตรฐานในการติดตอสื่อสาร Hemmarat Thanapat
  • 4. เครือขายคอมพิวเตอร : โปรโตคอล ชุดของกฎหรือขอตกลงในการแลกเปลี่ยนขอมูล ผานเครือขายคอมพิวเตอร เพื่อใหคอมพิวเตอร แตละเครื่องสามารถรับ-สงขอมูลระหวางกันไดถูกตอง Hemmarat Thanapat
  • 5. IPX/SPX เปนโปโตคอลที่ใชในเครือขายที่ใชระบบ ปฏิบัติการ Netware NetBIOS และ NetBEUI เปนโปรโตคอลที่บริษัทไอบีเอ็ม พัฒนารวมกับ บริษัท ไมโครซอฟต ใชในเครือขายที่ใชระบบ ปฏิบัติการWindows เวอรชั่นตาง ๆ TCP/IP เปนโปรโตคอลที่นิยมใชกันอยางแพรหลาย ในระบบอินเทอรเน็ตและมีแนวโนมวา จะถูกนํามาใชแทนโปรโตคอลอื่น ๆ ในอนาคต Hemmarat Thanapat
  • 6. TCP/IP ยอมาจาก Transmission Control Protocol / Internet Protocol Hemmarat Thanapat
  • 8. อินเทอรเน็ต : ประวัติ ค.ศ.1969 (พ.ศ.2512) กระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกา ใหการสนับสนุน มหาวิทยาลัยแคลิฟอรเนีย สถาบันวิจัยแสตมฟอรด มหาวิทยาลัย แคลิฟอรเนีย และมหาวิทยาลัยยูทาห ไดเชื่อมตอคอมพิวเตอรโดยใช ชื่อเครือขายวา ARPANET (Advanced Research Projects Agency Network) Hemmarat Thanapat
  • 9. วัตถุประสงคหลักของ ARPANET เพื่อใหนักวิจัยในสถาบันตาง ๆ ไดสื่อสารและแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น ใชทรัพยากรคอมพิวเตอรรวมกัน มุงเนน ประโยชนดานการวิจัยทางทหารเปนหลัก Hemmarat Thanapat
  • 11. ค.ศ.1973 (พ.ศ.2516) มีการเชื่อมโยงเครือขายอารพาเน็ต กับมหาวิทยาลัยลอนดอน ประเทศอังกฤษ และไดเชื่อมโยงเขากับเครือขายคอมพิวเตอรกลุมอื่น ๆ อีกหลายเครือขายทั้งในยุโรปและอเมริกาเชน – NSFNET (National Science Foundation Network) – CSNET ( Computer Science Network) – EUNET (European Unix Network ) เกิดเปนเครือขายในลักษณะ “เครือขายของเครือขาย” Hemmarat Thanapat
  • 13. พ.ศ. 2538 รัฐบาลไทย เปดบริการอินเทอรเน็ตเชิงพาณิชย โดยมี บริษัทอินเทอรเน็ตแหงประเทศไทย จํากัด เปนบริษัทถือหุนระหวางการสื่อสารแหงประเทศไทย องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย และสํานักงานพัฒนา วิทยาศาสตร และเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) Hemmarat Thanapat
  • 16. 3. เพื่อความบันเทิง (entertainment) เชน เว็บไซตบันเทิง เกมสคอมพิวเตอร การดูหนังฟงเพลง Hemmarat Thanapat
  • 17. 4. เพื่อดําเนินกิจกรรมทางธุรกิจ (business) เชน เปนชองทางโฆษณา ประชาสัมพันธ แสดงสินคา และใหบริการลูกคา เปนตน Hemmarat Thanapat
  • 18. ระบบการแทนชื่อในอินเทอรเน็ต การเรียกชื่ออินเทอรเน็ต มี 3 ระดับดังนี้ 1. IP Address (Internet Protocol Address) 2. DNS (Domain Name System) 3. URL (Uniform Resource Locator) Hemmarat Thanapat
  • 20. ในอนาคต อุปกรณสื่อสารทุกชนิดรวมไปถึงเครื่องใชไฟฟาภายในบาน จะมี IP Address เปนของตนเอง และสามารถติดตอสื่อสารกันได Hemmarat Thanapat
  • 21. Domain Name System คือ ระบบการแทนหมายเลขไอพีของเครื่องคอมพิวเตอร ดวยชื่อที่สื่อความหมายและเขาใจไดงาย หนวยงาน IP AddressDomain Name มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย 192.168.83. www.dpu.ac.th 25 ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส 202.44.204.33 www.nectec.or.th และคอมพิวเตอรแหงชาติ Dtac www.dtac.co.th 203.155.21.178 เนื่องจากการจดจําหมายเลข IP ทําใหยุงยาก และไมสามารถจําได Hemmarat Thanapat
  • 23. โดเมนเนมระดับสูงสุด (top level domain) คือสวนที่อยูตําแหนงขวาสุด เปนสวนที่บอกชื่อ ประเทศและลักษณะขององคกร แบงออกเปน 2 กลุม * โดเมนเนมระดับสูงสุดที่บอกถึงประเทศเจาของ โดเมน * โดเมนเนมระดับสูงสุดที่บอกถึงประเภทของ องคกรเจาของโดเมน Hemmarat Thanapat
  • 26. ชื่อโดเมน ชื่อเต็ม ประเภทองคกร/  ตัวอยาง หนวยงาน .com Commercial กลุมธุรกิจการคา www.msn.com .edu Education สถาบันการศึกษา www.ucla.edu .gov Government หนวยงานรัฐบาล www.nasa.gov .mil Military หนวยงานทางทหาร www.army.mil .net Networking หนวยงานที่เกี่ยวกับเครือขาย www.isp.net .org Non-commercial องคกรที่ไมแสวงหากําไร www.un.org Hemmarat Thanapat
  • 27. ปจจุบันไดมีการอนุมัตใหใชชื่อโดเมนระดับบนสุด ิ เพิ่มขึ้นอีก 7 ชื่อ ไดแก ชื่อโดเมน ชื่อเต็ม ประเภทองคกร/หนวยงาน .aero Air-transport อุตสาหกรรมขนสงทางอากาศ .biz Business หนวยงานธุรกิจ .coop Cooperatives สหกรณ .info Information ขอมูลไมจํากัดผูใชงานและไมจํากัดการใช ประโยชน .museum Museum พิพิธภัณฑสถาน .name Individual Name เว็บไซตสวนบุคคล .pro Professional สําหรับผูเชี่ยวชาญในวิชาชีพตาง ๆ Hemmarat Thanapat
  • 28. โดเมนเนมระดบรอง (second level domain) ั ใชคูกับโดเมนเนมระดับสูงสุดที่บอกชื่อประเทศ เพื่อระบุประเภทขององคกรเหลานั้น Hemmarat Thanapat
  • 29. โดเมนเนมระดับที่สาม (third level domain) เปนสวนของโดเมนที่ระบุชื่อขององคกร เชน dpu.ac.th nectec.or.th ais.co.th navy.mil.th เปนตน Hemmarat Thanapat
  • 30. URL (Uniform Resource Locator) เปนหลักการกําหนดชื่ออางอิงของทรัพยากรตาง ๆ ที่อยูภายใน เครือขายอินเทอรเน็ต สามารถบงบอกชื่อหรือแอดเดรสของ เครื่องคอมพิวเตอรในเครือขาย และโปรโตคอลที่ใชงาน URL ยอมาจาก Uniform Resource Locator หมายถึงรหัสคนขอมูลบนขายงานอินเตอรเน็ตที่เปนบริการเวิลดไวดเว็บ Hemmarat Thanapat
  • 31. ซึ่งมีรูปแบบดังนี้ type://host.path.file type : เปนรูปแบบการสื่อสาร เชน http , ftp host : เปนชื่อโฮสตของคอมพิวเตอรเซอรเวอร path : เปนไดเรกทอรีบนเซิรฟเวอรในรูปแบบของระบบยูนิกซ file : เปนชื่อไฟลขอมูล เชน http://www.nanaidea.com c Hemmarat Thanapat
  • 33. type://host.path.file host แมขาย , แมงาน คอมพิวเตอรเครื่องใดๆ ในอินเทอรเน็ตที่ สามารถทํางานเปนจุดเริ่มตนและจุดสิ้นสุดในการถายโอน ขอมูล คอมพิวเตอรที่ทําหนาที่นี้จะมีเลขอยู (เรียกวา IP address) และชื่อเขตเปนของตนเอง Hemmarat Thanapat
  • 34. เว็บไซตของมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย IP Address 192.168.83.25 DNS dpu.ac.th URL คือ http://www.dpu.ac.th เว็บไซตของเนคเทค IP Address 202.44.204.33 DNS nectec.or.th URL คือ http://www.nectec.or.th Hemmarat Thanapat
  • 35. วิธีการเชื่อมตออินเทอรเน็ต การเชื่อมตอเครือขายอินเทอรเน็ตทีนิยมมี 6 วิธี คือ ่ • การเชื่อมตอแบบหมุนโทรศัพท ( Dial up connection ) • ISDN (Integrated Services Digital Network) • ADSL (Asymmetric Digital Subscriber Line) • Cable Modem • Satellite • Leased Line Hemmarat Thanapat
  • 36. การเชือมตอแบบหมุนโทรศัพท ( Dial up connection ) ่ เปนวิธีเชื่อมตออินเทอรเน็ตโดยใชสายโทรศัพท และติดตอผาน โมเด็ม(Modem) เพื่อติดตอกับคอมพิวเตอรที่ใหบริการ อินเทอรเน็ตซึ่งโดยทั่วไปไดแก ISP (Internet Service Provider) Hemmarat Thanapat
  • 37. สวนประกอบของการเชื่อมตอ 1. คอมพิวเตอรสวนบุคคล ( PC: Personnel computer) 2. หมายเลขโทรศัพทพื้นฐาน 3. โมเด็ม ( Modem ) 4. ชั่วโมงอินเทอรเน็ตจากผูใหบริการอินเตอรเน็ต (ISP) Hemmarat Thanapat
  • 38. โมเด็ม (Modulator Demodulator : Modem) มีหนาที่แปลงสัญญาณขอมูล จากดิจิทัลใหเปนอนาลอกและ สงผานสายโทรศัพทไปยังปลายทาง ดวยความเร็ว 56 Kbps คาใชจายมีเพียงคาโทรศัพทครั้งละ 3 บาทและคาบริการ อินเทอรเน็ตชั่วโมงละประมาณ 3-12 บาท Hemmarat Thanapat
  • 39. ไอเอสพี ( Internet Service Provider : ISP ) บริษัทที่ใหบริการทางดานอินเทอรเน็ต เปนเสมือนตัวแทนของ ผูใชอินเทอรเน็ตเพื่อเขาถึงแหลงขอมูลตาง ๆ Hemmarat Thanapat
  • 40. ISDN (Integrated Services Digital Network) เปนการสื่อสารผานสายโทรศัพทที่เปนแบบดิจิตอลใหคุณภาพ ในการรับสงขอมูลที่สม่ําเสมอ และความเร็วในการสงผานขอมูล สูงกวาการหมุนสายโทรศัพท ตั้งแต 64 Kbps - 128 Kbps ISDN เปนโปรโตคอลรับสงขอมูล ความเร็วสูง ทั้งภาพ เสียง หรือวิดีโอคอนเฟอเรนซ ผาน ทางสายโทรศัพทดิจิทัลโดยใชอุปกรณที่รองรับ ระบบ ISDN Hemmarat Thanapat
  • 41. ผูใหบริการ ISDN ไดแก องคการโทรศัพท TOT เมื่อ ผูใชขอใชบริการ TOT จะทําการแกไขหมายเลขที่ขอ ใชใหเปนระบบ ISDN และตองเปลี่ยนอุปกรณที่ใช งานกับ ISDN รวมทั้งเครื่องโทรศัพททั้งหมด จากนั้นเมื่อตองการรับสงขอมูลการเชื่อมตอจะมี ความเร็วสูงมาก หากเครื่องทั้งสองเปน ระบบ ISDN แตถาอีกฝายหนึ่งเปนสายธรรมดา ก็จะเปนการ รับสงขอมูลดวยความเร็วธรรมดา Hemmarat Thanapat
  • 42. ISDN สแตนดารด 64 Kbps ISDN พรีเมี่ยม 128 Kbps 50 ชั่วโมง ราคา 1,100 บาทตอเดือน 50 ชั่วโมง ราคา 2,200 บาทตอเดือน 100 ชั่วโมง ราคา 1,980 บาทตอเดือน 100 ชั่วโมง ราคา 3,960 บาทตอเดือน ไมจํากัดชั่วโมง ราคา 4,950 บาทตอเดือน ไมจํากัดชั่วโมง ราคา 9,900 บาทตอเดือน Hemmarat Thanapat
  • 43. ADSL (Asymmetric Digital Subscriber Line) เปนเทคโนโลยีสื่อสารความเร็วสูงบนขายสายทองแดง หรือคู สายโทรศัพทแบบเกา ซึ่งสามารถแยกสัญญาณ ขอมูล และ เสียง ออกจากกัน ทําใหสามารถ โทรศัพทและ ใชอินเตอรเน็ตได พรอมกัน โดยมีความเรว 64/128 Kbps 128/256 Kbps ็ 256/512 Kbps ตัวเลขนอย ความเร็วในการอัพโหลด (upload) ตัวเลขมาก ความเร็วในการดาวนโหลด (download) โดยระดบ ั ความเร็วในการ รับ-สง ขอมูลจะขึ้นอยูกับ ระยะทาง และ คุณภาพ ของคูสายนั้นๆ Hemmarat Thanapat
  • 44. ADSL เปน อินเตอรเน็ตความเร็วสูง ผานสายโทรศัพท ธรรมดา แตตองใชโมเด็มที่เปน ADSL ดวย Hemmarat Thanapat
  • 45. ADSL สแตนดารด ADSLพรีเมี่ยม ADSL โปรเฟสชั่นแนล 512/256 Kbps 1024/512 Kbps 2048/512 Kbps − อีเมลสวนตัวจํานวน − อีเมลสวนตัวจํานวน 10 − อีเมลสวนตัวจํานวน 20 4 บัญชี บัญชี บัญชี − พื้นที่เก็บเอกสาร − พื้นที่เก็บเอกสาร − พื้นที่เก็บเอกสาร ออนไลนจํานวน 200 ออนไลนจํานวน 500 ออนไลนจํานวน 1,000 MB MB MB 100 ชม. 1,400 /เดือน 100 ชม. 2,600 /เดือน 100 ชม. 3,600 /เดือน Unlimited 1,900 /เดือน Unlimited 3,600 /เดือน Unlimited 4,900 /เดือน Hemmarat Thanapat
  • 46. Cable Modem คือบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูงผานเครือขายมัลติมีเดีย ความเร็วสูง Hybrid Fiber-Optic Coaxial (HFC) ซึ่งเปน เครือขายเดียวกันกับที่ใหบริการเคเบิลทีวี ผูใชสามารถรับชมเคเบิลทีวี และใชงานอินเทอรเน็ต หรือคุยโทรศัพทไดในเวลาเดียวกัน Hemmarat Thanapat
  • 47. ความเร็วการรับสงขอมูลของบริการ cable modem จะสูงกวา แบบ ISDN และ ADSL เริ่มตั้งแต 64 Kbps ไปจนถึงความเร็ว สูงสุดที่ 10 Mbps ดังนั้นจึงเหมาะสําหรับการใชงานรับสง ขอมูลปริมาณมากดวยความเร็วสูง Hemmarat Thanapat
  • 49. Leased Line เปนการเชาชองทางการสื่อสารเพื่อเชื่อมตอกับเครือขาย อินเทอรเน็ตตลอดเวลา โดยสายที่เรียกวา DDN (Digital Data Network) ซึ่งใหบริการโดย บ.ทศท.คอรปอเรชั่น และ บ. ทรูคอรปอเรชั่น มึความเร็วตั้งแต 64 128 256 512 Kbps ไปจนถึง ระดับ 2 Mbps Hemmarat Thanapat
  • 51. World Wide Web เปนเครือขายยอยของอินเทอรเน็ตที่เกิดขึ้นในป 1989 โดย ทิม เบอรเนอร ลี นักวิศวกรรมซอฟตแวรจากหองปฏิบัติการ ทางจุลภาคฟสิกสแหงยุโรปหรือ CERN (Conseil European pour la Recherche Nucleaire) ประเทศสวิตเซอรแลนด โดยใชตัวอักษรและภาพกราฟก ขอมูลจะอยูในลักษณะ ของมัลติมีเดีย แสดงผลในรูปของ hypertext links Hemmarat Thanapat
  • 52. บริการคนหาขอมูลผานเครือขาย WWW (World Wide Web) WWW เปนบริการที่ใหผูใชสามารถเขาไปคนหาขอมูลตางๆ ใน อินเทอรเน็ตไดงายและสะดวก ดวยลักษณะของการแสดงผลในรูปของ Hypertext Links ซึ่งเปนวิธีการที่จะเชื่อมโยงขอมูลจากเอกสารหนึ่ง ไปยังเอกสารอื่น ๆ ไดอยางสะดวก WWW จะอยูในลักษณะของมัลติมีเดีย (Multimedia) คือ มีทั้ง ตัวอักษร รูปภาพ เสียง และภาพเคลื่อนไหว ผูใชสามารถคนหาขอมูล เกือบทุกประเภทผานทางเครือขายนี้ได ไมวาเปนบทความ ขาว งานวิจัยขอมูลสินคา หรือบริการตางๆ สาระบันเทิงประเภทตางๆ รวมถึงฟงเพลงและชมภาพยนตร Hemmarat Thanapat
  • 53. ค.ศ.1991 หลังจากมีระบบอินเทอรเน็ตขึ้น ในโลก Time Berners Lee ไดใชเทคโนโลยีตางๆออกแบบ World wild web ขึ้น กอใหเกิดประโยชนในการเชื่อมโยง สารสนเทศจากหองสมุดตางๆ อยางกวางขวางและแพรหลาย ในลักษณะของสื่อประสม Hemmarat Thanapat
  • 54. โปรแกรมคนดูเว็บ (Web Browser ) โปรแกรมเว็บเบราวเซอรจะทํางานโดยดึงขอมูลซึ่งจัดเก็บอยู ในรูปแบบที่เรียกวา HTML (HyperText Markup Language) มาจากเว็บเซิรฟเวอรและแปลความหมายของ รูปแบบขอมูล ที่ไดกําหนดเอาไวเพื่อนําเสนอแกผูใช Hemmarat Thanapat
  • 55. Microsoft Internet Explorer (IE) เปนเว็บเบราวเซอร ที่กําลังไดรับความนิยมมากที่สุด ผลิตโดย บริษัท Microsoft มีประสิทธิภาพสูง Hemmarat Thanapat
  • 57. โฮมเพจ เว็บเพจ และเว็บไซต (home page , web page และ web site) – web page หนาเอกสารที่เปนกระดาษแตละหนา – home page หนาแรกที่ผูใชจะพบเมื่อเรียกเขาไปยัง เว็บไซตใด  – Web Site โฮมเพจและเว็บเพจหลาย ๆ หนาซึ่ง เปนของหนวยงานเดียวกัน Hemmarat Thanapat
  • 58. เว็บเซิรฟเวอร (web server) คือเครื่องคอมพิวเตอรที่ทําหนาที่เก็บขอมูลทุกอยางที่แสดงผล ในเว็บไซต ในรูปแบบของเอกสาร HTML โดยเว็บเซิรฟเวอร จะทําหนาที่สงเอกสาร HTML ไปแสดงผลในเว็บบราวเซอร ของผูใชเมื่อมีการเรียกใช Hemmarat Thanapat
  • 59. Task ใหนิสิตสืบคนงาน เรื่อง บริการบนอินเทอรเน็ต Internet Service นําไฟลไปฝากที่ mediafire ทําลิ้งคมาในบล็อกเปนงานชิ้นที่2 สงงานภายในวันที่ 5 กรกฎาคม 2553 สงภายใน midnight Hemmarat Thanapat
  • 60. Thank you for your attention. Hemmarat Thanapat