SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 44
Baixar para ler offline
ความรูทัวไปเกียวกับ
     ้ ่      ่
      ศิ ลปะ
   Introduction of Art




         นายทวีชัย เจาวัฒนา
     บรรณาธิการศูนย์ ภาพเครื อเนชั่น
ศิลปะคืออะไร?
ศิลปะเป็ นปั จจัยหนึ่งที่อยู่ควบคู่กับวิวัฒนาการของสังคม
มนุษย์ มาตังแต่ ในอดีต แต่ เป็ นเรื่ องยากที่จะสรุ ปให้ แน่
            ้
ชัดว่ าศิลปะคืออะไร
ศิลปะคืออะไร?
ศิ ล ปะ คื อ ผลงานที่ ม นุ ษ ย์ ส ร้ างสรรค์ ขึ น ในรู ป ลั ก ษณ์
                                                ้
ต่ างๆ ให้ ปรากฏซึ่ง สุนทรี ยภาพที่ ให้ ความรู้ สึกต่ อจิตใจ
ทั ง ในด้ า นบวกและด้ า นลบ ตามประสบการณ์ ข องทั ง
   ้                                                           ้
ผู้สร้ างและผู้รับ
ประเภทของศิลปะ
ศิลปะแบ่ งออกเป็ น 2 ประเภท

      • ประเภทวิจตรศิลป (Fine Arts)
                 ิ      ์
      • ประเภทประยุกต์ ศิลป (Applied Arts)
                           ์
วิจตรศิลป (Fine Arts)
   ิ     ์
 วิจิตรศิลปคืองานศิลปะที่ถูกสร้ างขึนโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อความ
           ์                        ้
 งามเป็ นคุณค่ าสาคัญ อาจเพื่อใช้ ประโยชน์ บ้าง แต่ เน้ นความ
 ประณีตในการสร้ างสรรค์ ให้ วิจิตรพิสดารหรู หราเกินประโยชน์ ใช้
 สอย บางครั งอาจเรี ยกว่ า ประณีตศิลป
             ้                        ์
ประเภทของงานวิจตรศิลป (Fine Arts)
               ิ     ์
•   จิตรกรรม (Painting)
•   ประติมากรรม (Sculpture)
•   สถาปั ตยกรรม (Architecture)
•   ภาพพิมพ์ และสื่อผสม (Print and Mixed media)
•   ศิลปะภาพถ่ าย (Photography)                   จักษุศิลปะ/ทัศนศิลป์
•   วรรณกรรม (Literature)                          จินตศิลปะ/
•   ดนตรี และนาฏกรรม-การละครและภาพยนตร์            โสตทัศนศิลป  ์
    (Music and Dance-Drama and Theatrical Art)     และศิลปะผสม
ประยุกต์ ศิลป (Applied Arts)
             ์
ประยุกต์ ศิลปเป็ นศิลปะที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อประโยชน์ ใช้
             ์
สอยเป็ นอันดับแรก และคานึงถึงความงามเป็ นลาดับรอง
            ประเภทของงานประยุกต์ ศิลป    ์
             • พาณิชย์ ศิลป (Commercial Art)
                             ์
             • มัณฑนศิลป (Decorative art) และการตกแต่ งภายใน
                           ์
               (Interior Design) สถาปั ตยกรรม ภูมทัศน์ และผังเมือง
                                                 ิ
             • ศิลปหัตถกรรม (Art & Crafts)
             • อุตสาหกรรมศิลป (Industrial Art) งานออกแบบ
                                 ์
               ผลิตภัณฑ์ (Product design)
องค์ ประกอบศิลปะคืออะไร?
   องค์ ประกอบศิ ล ปะ หมายถึ ง องค์ ประกอบที่ ม องเห็ น ได้
   ประกอบด้ วยจุด เส้ น ทิศทาง รู ปขนาด ลักษณะผิว นาหนั ก้
   อ่ อนแก่ และสี นามาจั ดรวมเข้ าด้ วยกันเกิดเป็ นรู ปทรงของ
   ศิลปะขึน ศิลปิ นใช้ องค์ ประกอบศิลปะเพื่อสื่อความหมายใน
          ้
   การแสดงออกถึงความคิดสร้ างสรรค์ ของตน
องค์ ประกอบศิลปะ
องค์ ประกอบศิลปะ ประกอบด้ วย 3 ส่ วน
• สื่อ/รู ปทรง/องค์ ประกอบพืนฐาน
                            ้
  (Media/For/Elements)

• เนือหา (Content)
     ้

• สุนทรี ยธาตุ (Aesthetical elements)
1. สื่อ/รู ปทรง/องค์ ประกอบพืนฐาน
                             ้
สื่อ (Media) เป็ นส่ วนที่มนุ ษย์ นามาใช้ เพื่อการถ่ ายทอดการ
สร้ างสรรค์ ขึน เป็ นโครงสร้ างทางวัตถุท่ ีสามารถมองเห็นหรื อรั บรู้ ได้
              ้
เกิดขึนด้ วยการประสานกันขององค์ ประกอบอย่ างมีเอกภาพ
      ้
     • องค์ ประกอบศิลปะพืนฐาน (Basic elements)
                               ้
     • ข้ อพิจารณาในการจัดวางองค์ ประกอบในงานศิลปะ
1.1 องค์ ประกอบศิลปะพืนฐาน
                      ้
  ส่ วนประกอบสาคัญอันเป็ นพืนฐานการสร้ างสรรค์ งานศิลปะ
                            ้
  ของนักออกแบบ
  •   จุด (Dot)
  •   เส้ น (Line)
  •   ระนาบ/รู ปร่ าง (Plane/Shape)
  •   รู ปทรง มวล (Form, Mass)
  •   ลักษณะผิว (Texture)
  •   สี (Colour)
  •   นาหนักอ่ อนแก่ ของแสง-เงา (Tone – Light & Shadow)
         ้
  •   ที่ว่าง/ช่ องไฟ (Space)
จุด (Dot)
• จุ ด เป็ นองค์ ป ระกอบเบื อ งต้ น ที่ เ ล็ ก ที่ สุ ด ของการมองเห็ น แต่ มี
                                ้
  ความสาคัญของการไปสู่การเกิดองค์ ประกอบอื่นๆ ลักษณะเฉพาะ
  ของจุดคือมีมตเป็ นศูนย์ ไม่ มีความกว้ าง ยาวและลึก
                   ิ ิ
• จุดเป็ นสิ่งที่ใช้ ในการสร้ างรู ปทรงและสร้ างพลังความเคลื่อนไหวของ
  พืนที่ว่างขึนในภาพ
     ้        ้




                                            http://dotart.blogspot.com/search/label/color%20code
เส้ น (Line)
• เส้ นเป็ นผลจากการน าจุ ดหลายๆจุ ดมาเรี ยงติดต่ อกั นออกไปจน
  เกิดเป็ นความยาวซึ่งเป็ นมิตเดียว
                              ิ
• เส้ น เป็ นองค์ ประกอบพื น ฐานของงานศิ ล ปะเกื อ บทุ ก ประเภท
                            ้
  เนื่องจากสามารถแสดงความรู้ สึกด้ วยตัวมันเอง และสามารถนามา
  ประกอบกันให้ เป็ นรู ปทรงต่ างๆ
เส้ นกับการแสดงความรู้สึก




                        แข็งแรง มั่นคง สง่ างาม น่ าเกรงขาม น่ าศรัทธา


                                    สงบ ราบเรียบ ผ่ อนคลาย หยุดนิ่ง



                                           ขาดหาย ลึกลับ ไม่ สมบูรณ์
นุ่มนวล แข็งแรง หนักแน่ น




                       ขัดแย้ ง น่ ากลัว ตื่นเต้ น แปลกตา




ประสานกัน แข็งแกร่ ง             ไม่ ปลอดภัย ไม่ หยุดนิ่ง
ระนาบ/รู ปร่ าง (Plane/Shape)
• ระนาบ/รู ปร่ างเป็ นการนาเส้ นมาประกอบกับให้ เกิดความกว้ างและ
  ความยาวมีลักษณะ 2 มิติ ไม่ มีความหนาหรื อความลึก ไม่ แสดง
  ความเป็ นรู ปทรง
รู ปทรง (Form)
• รู ปทรงหมายถึงการนาเส้ นมาประกอบกับให้ เกิดความกว้ าง ความยาว
  และความหนา มีลักษณะ 3 มิติ
  รูปทรงมี 3 ชนิด




  รู ปทรงเรขาคณิต          รูปทรงอินทรี ยรูป     รู ปทรงอิสระ
  (Geometrical form)         (Organic form)       (Free Form)
มวล (Mass)
• มวลหมายถึงการรวมกลุ่มของรู ปร่ าง รู ปทรงที่มีความกลมกลืนกัน
  หรื อวัตถุท่ ีมีความหนาแน่ น
ลักษณะผิว (Texture)
                                                                               ลักษณะผิวหมายถึงลักษณะ
                                                                               ภายนอกของวั ต ถุ ต่ างๆที่
                                                                               สามารถจับต้ อง สัมผัส หรื อ
                                                                               มองเห็น แล้ ว เกิด ความรู้ สึ ก
                                                                               ได้
                                                                               ก า ร สั ม ผั ส ที่ รั บ รู้ ไ ด้ จ า ก
                                                                               ลั ก ษณะผิ ว มี ทั ้ง ที่ เกิ ด จาก
                                                                               เทคนิ คภาพลวงตา (artificial
                                                                               texture) และเกิดจากความ
                                                                               เป็ นจริ ง ทางกายภาพ (Real
                                                                               texture)

    http://writer.dek-d.com/Peachgal/story/viewlongc.php?id=378902&chapter=7
สี (Colour)
• สีหมายถึงปรากฏการณ์ ท่ ีแสงส่ องกระทบวัตถุแล้ วสะท้ อนคลื่นแสง
  บางส่ ว นเข้ า ตา ระบบประสาทตาประมวลผลจึง สามารถรั บรู้ ถึง
  ขนาด รู ปร่ าง ลักษณะผิวและสี
• วัตถุมีสีต่างกันเกิดจากคุ ณสมบัติในการดูดกลืนและสะท้ อนคลื่น
  แสงที่แตกต่ างกัน
• สีมี 3 ประเภท – สีของปรากฏการณ์ ทางธรรมชาติ (Naturalistic
  color) สีของเนือวัสดุ (Material/Real color) และสีท่ ีเกิดจากเนือสี
                  ้                                              ้
  (Hue/Specific color)


                                          http://www.fotosearch.com/photos-images/rainbow.html
วงสี
• สีถูกนามาใช้ ในการสร้ างสรรค์ งานต่ างๆ ส่ วนมากเป็ นสีจากเนือสี้
  เรี ยกว่ าสีวัตถุธาตุ สามารถแสดงความสัมพันธ์ ได้ เป็ นวงจรสี (Color
  wheel)




                                       http://realcolorwheel.com/colorwheel/Real_Color_Wheel_475.jpg
วรรณะสีเย็น                                                    วรรณะสีร้อน


                     การออกแบบวงจรสี
              Work of 1st year Architectural student in 2008
ค่ าสี (Value)




                 การออกแบบการไล่ ลาดับค่ าสี
                 Work of 1st year Architectural student in 2008
ความเข้ มสี (Intensity)




การออกแบบการไล่ ลาดับค่ าความเข้ มสี
       Work of 1st year Architectural student in 2008
นาหนักอ่ อนแก่ ของแสงเงา
 ้




  นาหนักอ่ อนแก่ ของแสงเงา (Tone/Light&Shadow)
   ้
  หมายถึงค่ าความอ่ อนแก่ ของบริ เวณที่ถูกแสงสว่ างและบริ เวณที่เป็ น
  เงาของวัตถุ การไล่ ค่านาหนักจะเป็ นสีเดียวหรื อหลายสีกได้
                         ้                              ็
ที่ว่าง (Space)
• ที่ว่างหรื อช่ องไฟ เป็ นสิ่งที่มองไม่ เห็น จะรั บรู้ ได้ เมื่อมีองค์ ประกอบ
  อื่นๆปรากฏขึน      ้
• ที่ว่างมี 3 ประเภท
   - ที่ว่าง 2 มิติ (Two dimensional space)-กาหนดด้ วยความกว้ าง
       และความยาว มีพนที่แบนราบไม่ แสดงความลึก ไม่ เคลื่อนไหว
                              ื้
   - ที่ว่าง 3 มิติ (Three dimensional space)-กาหนดด้ วยความกว้ าง
       ความยาว ความลึก (แสดงใกล้ -ไกล) มีทัง...     ้
       ที่ว่างที่เป็ นจริ ง (Physical space) พบในงานประติมากรรมและ
      สถาปั ตยกรรม
      ที่ว่างที่ลวงตา (Pictorial space) มีลักษณะ 3 มิติ ที่มองเห็นแล้ วลวงตา
      ไม่ ใช่ ความลึกจริง พบในงานจิตรกรรม ภาพพิมพ์ หรือภาพถ่ าย
การผสานระหว่ าง Dot-Line-Plane และการจัดที่ว่าง 2 มิติ
                         Work of 1st year Architectural student in 2008
ที่ว่างลวงตาลักษณะ 3 มิติ
Modern Art (Cubism)-Work of 1st year Architectural student in 2008
ที่ว่างลวงตาลักษณะ 3 มิติ




                                   ARTIST: M.C. Escher        HOLOGRAM graphic projection
http://www.puzzlehouse.com/images/webpage/drawinghands2.jpg
- ที่ว่างสองนัย (Ambiguous space) เป็ นที่ว่างที่ถูกกาหนดแบ่ ง
  ด้ วยเส้ นให้ เป็ นรู ปร่ างขึนมา แต่ ส่วนที่เป็ นรู ปร่ างและส่ วนที่ว่าง
                                ้
  นั ้น มี ค วามส าคั ญ เท่ า กั น ที่ ว่ า งลั ก ษณะนี มั ก ท าให้ เ กิ ด พลั ง
                                                        ้
  ความเคลื่อนไหวและความไม่ แน่ นอนสลับกันไปมาตลอดเวลา
1.2 ข้ อพิจารณาในการจัดวางองค์ ประกอบศิลปะ
    (Composition)
     •   สัดส่ วน (Proportion)
     •   เอกภาพ (Unity)
     •   จุดเด่ น (Dominance) และการแปรเปลี่ยน (Variation)
     •   หลักการดุลยภาพ (Balance)
     •   จังหวะ (Rhythm)
สัดส่ วน (Proportion)
• สั ด ส่ ว นหมายถึ ง ความสั ม พั น ธ์ กั น ในเรื่ องขนาด รู ป ทรง เนื อ ที่
                                                                       ้
  ความเข้ ม ความหนักเบาของส่ วนต่ างๆในตัวองค์ ประกอบเองและ
  ความสั มพันธ์ เมื่ อเทียบเคี ยงกั บองค์ ประกอบที่อยู่ แวดล้ อมให้ มี
  ความเหมาะสม




              http://www.mew6.com/composer/art/sculpture.php   http://www.elizabethjorn.com/popup/pandora.html#
เอกภาพ (Unity)
• เอกภาพหมายถึงการรวมเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน มีความประสาน
  เชื่อมโยงสัมพันธ์ กันของส่ วนต่ างๆให้ เกิดเป็ นผลงานอันหนึ่งอัน
  เดี ย วกั น ที่ ไ ม่ อาจแบ่ ง แยกได้ ให้ เ กิ ด งานศิ ล ปะที่ ส ามารถสื่ อ /
  นาเสนอเนือหา (Contents) ตามความตังใจของผู้ออกแบบ
                  ้                              ้
• เอกภาพในงานศิลปะมีอยู่ 2 ลักษณะ – ลักษณะเอกภาพที่น่ ิง
  (Static unity) และลักษณะเอกภาพที่มีความเคลื่อนไหว (Dynamic
  unity)
• กฎเกณฑ์ หลักที่สาคัญของเอกภาพมี 2 ลักษณะ
         - กฎเกณฑ์ ของความขัดแย้ ง (Opposition)
         - กฎเกณฑ์ ของความประสาน
เอกภาพ
                                                                       กฎเกณฑ์ ของความขัดแย้ ง
                                                                       (Opposition)

                                                                       การสร้ างความขั ด แย้ งในงาน
                                                                       ศิ ล ป ะ - ขั ด แย้ งข องลั ก ษณะ
                                                                       รู ปทรง ขนาด ทิศทาง และการ
                                                                       เว้ นพืนที่หรื อจังหวะช่ องไฟ
                                                                              ้




Modern art (Cubism) - Work of 1st year Architectural student in 2008
เอกภาพ
กฎเกณฑ์ ของความประสาน
• การเป็ นตัวกลาง (Transition)
• การซา (Repetition)
       ้




           Work of 1st year Architectural student in 2008
เอกภาพ
จุดเด่ น (Dominance) และการแปรเปลี่ยน (Variation)




                                             Work of 1st year Architectural student in 2008
หลักการดุลยภาพ (Balance)
• การจัดองค์ ประกอบศิลปะด้ วยวิธีการถ่ วงนาหนักให้ เท่ ากัน
                                          ้




                                           Work of 1st year Architectural student in 2008
จังหวะ (Rhythm)
• จังหวะหมายถึงลักษณะความเคลื่อนไหวที่เกิดจากการซาให้ เกิด
                                                        ้
  ความถี่ห่างที่เท่ ากันหรื อแตกต่ างกัน หากผลงานทางศิลปะใดขาด
  ซึ่งจังหวะย่ อมทาให้ ขาดสุนทรี ยภาพความงามไปด้ วย




      http://www.fotosearch.com/photos-images/rainbow.html   Work of 1st year Architectural student in 2008
องค์ ประกอบศิลปะ
องค์ ประกอบศิลปะ ประกอบด้ วย 3 ส่ วน
• สื่อ/รู ปทรง/องค์ ประกอบพืนฐาน (Media/For/Elements)
                             ้
• เนือหา (Content)
      ้
• สุนทรี ยธาตุ (Aesthetical elements)
ความรู้ ท่ ัวไปเกี่ยวกับศิลปะ



2. เนือหา (Content)
      ้
 เนือหา (Content) เป็ นส่ วนที่เป็ นนามธรรมของงานศิลปะ ซึ่ง
    ้
 ประกอบด้ วย เรื่ อง(Subject) และแนวเรื่ อง/แนวคิด
 (Theme/Concept)
  • เรื่ อง - สิ่งที่ศิลปิ นนามาเป็ นแรงบันดาลใจในการสร้ างผลงาน
  • แนวเรื่ อง/แนวคิด – เป็ นความหมายของรู ปทรงสัญลักษณ์ ใน
      งานศิลปะที่ศิลปิ นได้ ส่ ือความหมายและแสดงออกมา มีความ
      เป็ นนามธรรม/ความรู้ สก    ึ
สุนทรี ยธาตุ/สุนทรี ยภาพ...?
  สุนทรี = ดี หรื อ งาม
  สุนทรี ย- หรื อ สุนทรี ยะ (Aesthetic, esthetic)
  ที่เกี่ยวกับความนิยมความงาม
 สุนทรี ยภาพ (Aesthetics)
 - ความงามในธรรมชาติหรื องานศิลปะที่แต่ ละบุคคลสามารถเข้ าใจ
    และรู้ สกได้ มีทังความงาม (Beauty) ความแปลกหูแปลกตา
            ึ        ้
    (Picturesqueness) และความน่ าทึ่ง (Sublimity)
 - รสนิยมความรู้ สก (Taste)
                       ึ
สุนทรีย์ หรือ สุนทรียศาสตร์ (Aesthetics)
หมายถึง วิชาที่ว่าด้ วยความนิยมความงามหรื อความนิยมในความงาม
(การวิเคราะห์ ความงาม) เป็ นอารมณ์ ความซาบซึงในคุณค่ าของสิ่ง
                                                     ้
ต่ างๆ ไม่ ว่าจะเป็ นธรรมชาติหรื องานศิลปะ ความรู้ สึกนี เ้ กิดขึนด้ วย
                                                                 ้
ประสบการณ์ การศึกษาอบรมและพัฒนาเป็ นรสนิยม เป็ นการสร้ าง
ความรู้ ความเข้ าใจทางประวัติศาสตร์ สามารถเสริ มสร้ างพัฒนาการ
ทางสุนทรี ยภาพให้ เพิ่มมากขึน รู้ และเข้ าใจคุณค่ าของความงาม
                            ้

                                    พจนานุกรมศัพท์ ศิลปะ ฉบับไทย-อังกฤษ 2530
การรับรู้สุนทรียภาพ/สุนทรียศาสตร์ (Aesthetics perception)
1. เป็ นความรู้ โดยตรง (Intuitive knowledge) เกิดอย่ างฉบับพลัน เป็ น
   ความรู้ ที่ใช้ ในการตัดสินความงาม โดยไม่ จาเป็ นต้ องอาศัยเหตุผล
   อื่นมาเกี่ยวข้ อง
2. เป็ นความรู้ จากประสบการณ์ (Conceptual knowledge)
      - เชิงปรั ชญา เป็ นการเรี ยนรู้ โดยการสนทนาและอภิปรายบน
        เรื่ องราวความจริงที่สัมผัสได้ ข้ อเท็จจริงที่อธิบายได้ และความ
        จริงที่ไม่ เปลี่ยนแปลง
      - เชิงจิตวิทยา เป็ นการปฏิบัตให้ เกิดประสบการณ์ สุนทรี ยะ เรี ยนรู้
                                       ิ
        ด้ วยการฝึ กฝน
ศิลปะในชีวิตประจาวัน
                        เนือหา (เรื่อง+แนวคิด)
                           ้
องค์ ประกอบพืนฐานในงานศิลปะ
              ้                     ข้ อพิจารณาในการจัดวางองค์ ประกอบศิลปะ
  • จุด (Dot)                       (Composition)
  • เส้ น (Line)                     • สัดส่ วน (Proportion)
  • ระนาบ/รูปร่ าง (Plane/Shape)     • เอกภาพ (Unity)
  • นาหนักอ่ อนแก่ ของแสงและเงา
       ้                             • จุดเด่ น (Dominance) และการแปรเปลี่ยน
    (Tone – Light & Shadow)            (Variation)
  • ที่ว่าง/ช่ องไฟ (Space)          • หลักการดุลยภาพ (Balance)
  • รูปทรง มวล (Form, Mass)          • จังหวะ (Rhythm)
  • ลักษณะผิว (Texture)
  • สี (Colour)


                      การรับรู้ทางสุนทรียภาพ

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

หลักการออกแบบโปสเตอร์
หลักการออกแบบโปสเตอร์หลักการออกแบบโปสเตอร์
หลักการออกแบบโปสเตอร์Nutthawit Srisuriyachai
 
ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1peter dontoom
 
บทที่ 2 ทักษะเบื้องต้นของการวาดเส้น
บทที่ 2 ทักษะเบื้องต้นของการวาดเส้นบทที่ 2 ทักษะเบื้องต้นของการวาดเส้น
บทที่ 2 ทักษะเบื้องต้นของการวาดเส้นLtid_2017
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 05. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0Nattarika Wonkumdang
 
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1teerachon
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้น
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้นบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้น
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้นLtid_2017
 
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์srkschool
 
โครงการชุมนุมดนตรีไทย
โครงการชุมนุมดนตรีไทยโครงการชุมนุมดนตรีไทย
โครงการชุมนุมดนตรีไทยพรรณภา ดาวตก
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์พัน พัน
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 05. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0Preeyaporn Chamnan
 
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4peter dontoom
 
แผนจัดการเรียนรู้ 1-6
แผนจัดการเรียนรู้ 1-6แผนจัดการเรียนรู้ 1-6
แผนจัดการเรียนรู้ 1-6peter dontoom
 
องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์actioncutpro
 
แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อหรร 'ษๅ
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 
แผนนาฏศิลป์ 1
แผนนาฏศิลป์ 1แผนนาฏศิลป์ 1
แผนนาฏศิลป์ 10898230029
 
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)peter dontoom
 
2 ขั้นทดลองสอนในสถานศึกษา-1
2 ขั้นทดลองสอนในสถานศึกษา-12 ขั้นทดลองสอนในสถานศึกษา-1
2 ขั้นทดลองสอนในสถานศึกษา-1jirayutcom
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะSuriyawaranya Asatthasonthi
 

Mais procurados (20)

หลักการออกแบบโปสเตอร์
หลักการออกแบบโปสเตอร์หลักการออกแบบโปสเตอร์
หลักการออกแบบโปสเตอร์
 
ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1
 
บทที่ 2 ทักษะเบื้องต้นของการวาดเส้น
บทที่ 2 ทักษะเบื้องต้นของการวาดเส้นบทที่ 2 ทักษะเบื้องต้นของการวาดเส้น
บทที่ 2 ทักษะเบื้องต้นของการวาดเส้น
 
The criticism of art
The criticism of artThe criticism of art
The criticism of art
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 05. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
 
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้น
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้นบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้น
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้น
 
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
 
โครงการชุมนุมดนตรีไทย
โครงการชุมนุมดนตรีไทยโครงการชุมนุมดนตรีไทย
โครงการชุมนุมดนตรีไทย
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 05. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
 
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
 
แผนจัดการเรียนรู้ 1-6
แผนจัดการเรียนรู้ 1-6แผนจัดการเรียนรู้ 1-6
แผนจัดการเรียนรู้ 1-6
 
องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์
 
แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อ
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
แผนนาฏศิลป์ 1
แผนนาฏศิลป์ 1แผนนาฏศิลป์ 1
แผนนาฏศิลป์ 1
 
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
 
2 ขั้นทดลองสอนในสถานศึกษา-1
2 ขั้นทดลองสอนในสถานศึกษา-12 ขั้นทดลองสอนในสถานศึกษา-1
2 ขั้นทดลองสอนในสถานศึกษา-1
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
 

Semelhante a ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสง

ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบpptความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบpptPreeda Chanlutin
 
9789740329640
97897403296409789740329640
9789740329640CUPress
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2Yatphirun Phuangsuwan
 
ความเข้าใจในศิลปะ
ความเข้าใจในศิลปะความเข้าใจในศิลปะ
ความเข้าใจในศิลปะkthananchai
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศกลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศYatphirun Phuangsuwan
 
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะพิพัฒน์ ตะภา
 
กำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะกำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะYatphirun Phuangsuwan
 
สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2
สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2พัน พัน
 
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ ครูหนุ่ม สอนศิลปะ
 
ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุsarungolf
 
9789740329237
97897403292379789740329237
9789740329237CUPress
 
ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุNattapon
 

Semelhante a ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสง (20)

Content01
Content01Content01
Content01
 
Content01
Content01Content01
Content01
 
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบpptความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
 
Graphics Design
Graphics DesignGraphics Design
Graphics Design
 
9789740329640
97897403296409789740329640
9789740329640
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
 
ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุ
 
ความเข้าใจในศิลปะ
ความเข้าใจในศิลปะความเข้าใจในศิลปะ
ความเข้าใจในศิลปะ
 
กำหนดการสอน
กำหนดการสอนกำหนดการสอน
กำหนดการสอน
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศกลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
 
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
 
กำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะกำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะ
 
ทัศนศิลป์
ทัศนศิลป์ทัศนศิลป์
ทัศนศิลป์
 
สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2
สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
 
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ
 
ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุ
 
9789740329237
97897403292379789740329237
9789740329237
 
ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุ
 
Tha464 3
Tha464 3Tha464 3
Tha464 3
 
กราฟิก
กราฟิกกราฟิก
กราฟิก
 

ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสง

  • 1. ความรูทัวไปเกียวกับ ้ ่ ่ ศิ ลปะ Introduction of Art นายทวีชัย เจาวัฒนา บรรณาธิการศูนย์ ภาพเครื อเนชั่น
  • 2. ศิลปะคืออะไร? ศิลปะเป็ นปั จจัยหนึ่งที่อยู่ควบคู่กับวิวัฒนาการของสังคม มนุษย์ มาตังแต่ ในอดีต แต่ เป็ นเรื่ องยากที่จะสรุ ปให้ แน่ ้ ชัดว่ าศิลปะคืออะไร
  • 3. ศิลปะคืออะไร? ศิ ล ปะ คื อ ผลงานที่ ม นุ ษ ย์ ส ร้ างสรรค์ ขึ น ในรู ป ลั ก ษณ์ ้ ต่ างๆ ให้ ปรากฏซึ่ง สุนทรี ยภาพที่ ให้ ความรู้ สึกต่ อจิตใจ ทั ง ในด้ า นบวกและด้ า นลบ ตามประสบการณ์ ข องทั ง ้ ้ ผู้สร้ างและผู้รับ
  • 4. ประเภทของศิลปะ ศิลปะแบ่ งออกเป็ น 2 ประเภท • ประเภทวิจตรศิลป (Fine Arts) ิ ์ • ประเภทประยุกต์ ศิลป (Applied Arts) ์
  • 5. วิจตรศิลป (Fine Arts) ิ ์ วิจิตรศิลปคืองานศิลปะที่ถูกสร้ างขึนโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อความ ์ ้ งามเป็ นคุณค่ าสาคัญ อาจเพื่อใช้ ประโยชน์ บ้าง แต่ เน้ นความ ประณีตในการสร้ างสรรค์ ให้ วิจิตรพิสดารหรู หราเกินประโยชน์ ใช้ สอย บางครั งอาจเรี ยกว่ า ประณีตศิลป ้ ์
  • 6. ประเภทของงานวิจตรศิลป (Fine Arts) ิ ์ • จิตรกรรม (Painting) • ประติมากรรม (Sculpture) • สถาปั ตยกรรม (Architecture) • ภาพพิมพ์ และสื่อผสม (Print and Mixed media) • ศิลปะภาพถ่ าย (Photography) จักษุศิลปะ/ทัศนศิลป์ • วรรณกรรม (Literature) จินตศิลปะ/ • ดนตรี และนาฏกรรม-การละครและภาพยนตร์ โสตทัศนศิลป ์ (Music and Dance-Drama and Theatrical Art) และศิลปะผสม
  • 7. ประยุกต์ ศิลป (Applied Arts) ์ ประยุกต์ ศิลปเป็ นศิลปะที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อประโยชน์ ใช้ ์ สอยเป็ นอันดับแรก และคานึงถึงความงามเป็ นลาดับรอง ประเภทของงานประยุกต์ ศิลป ์ • พาณิชย์ ศิลป (Commercial Art) ์ • มัณฑนศิลป (Decorative art) และการตกแต่ งภายใน ์ (Interior Design) สถาปั ตยกรรม ภูมทัศน์ และผังเมือง ิ • ศิลปหัตถกรรม (Art & Crafts) • อุตสาหกรรมศิลป (Industrial Art) งานออกแบบ ์ ผลิตภัณฑ์ (Product design)
  • 8. องค์ ประกอบศิลปะคืออะไร? องค์ ประกอบศิ ล ปะ หมายถึ ง องค์ ประกอบที่ ม องเห็ น ได้ ประกอบด้ วยจุด เส้ น ทิศทาง รู ปขนาด ลักษณะผิว นาหนั ก้ อ่ อนแก่ และสี นามาจั ดรวมเข้ าด้ วยกันเกิดเป็ นรู ปทรงของ ศิลปะขึน ศิลปิ นใช้ องค์ ประกอบศิลปะเพื่อสื่อความหมายใน ้ การแสดงออกถึงความคิดสร้ างสรรค์ ของตน
  • 9. องค์ ประกอบศิลปะ องค์ ประกอบศิลปะ ประกอบด้ วย 3 ส่ วน • สื่อ/รู ปทรง/องค์ ประกอบพืนฐาน ้ (Media/For/Elements) • เนือหา (Content) ้ • สุนทรี ยธาตุ (Aesthetical elements)
  • 10. 1. สื่อ/รู ปทรง/องค์ ประกอบพืนฐาน ้ สื่อ (Media) เป็ นส่ วนที่มนุ ษย์ นามาใช้ เพื่อการถ่ ายทอดการ สร้ างสรรค์ ขึน เป็ นโครงสร้ างทางวัตถุท่ ีสามารถมองเห็นหรื อรั บรู้ ได้ ้ เกิดขึนด้ วยการประสานกันขององค์ ประกอบอย่ างมีเอกภาพ ้ • องค์ ประกอบศิลปะพืนฐาน (Basic elements) ้ • ข้ อพิจารณาในการจัดวางองค์ ประกอบในงานศิลปะ
  • 11. 1.1 องค์ ประกอบศิลปะพืนฐาน ้ ส่ วนประกอบสาคัญอันเป็ นพืนฐานการสร้ างสรรค์ งานศิลปะ ้ ของนักออกแบบ • จุด (Dot) • เส้ น (Line) • ระนาบ/รู ปร่ าง (Plane/Shape) • รู ปทรง มวล (Form, Mass) • ลักษณะผิว (Texture) • สี (Colour) • นาหนักอ่ อนแก่ ของแสง-เงา (Tone – Light & Shadow) ้ • ที่ว่าง/ช่ องไฟ (Space)
  • 12. จุด (Dot) • จุ ด เป็ นองค์ ป ระกอบเบื อ งต้ น ที่ เ ล็ ก ที่ สุ ด ของการมองเห็ น แต่ มี ้ ความสาคัญของการไปสู่การเกิดองค์ ประกอบอื่นๆ ลักษณะเฉพาะ ของจุดคือมีมตเป็ นศูนย์ ไม่ มีความกว้ าง ยาวและลึก ิ ิ • จุดเป็ นสิ่งที่ใช้ ในการสร้ างรู ปทรงและสร้ างพลังความเคลื่อนไหวของ พืนที่ว่างขึนในภาพ ้ ้ http://dotart.blogspot.com/search/label/color%20code
  • 13. เส้ น (Line) • เส้ นเป็ นผลจากการน าจุ ดหลายๆจุ ดมาเรี ยงติดต่ อกั นออกไปจน เกิดเป็ นความยาวซึ่งเป็ นมิตเดียว ิ • เส้ น เป็ นองค์ ประกอบพื น ฐานของงานศิ ล ปะเกื อ บทุ ก ประเภท ้ เนื่องจากสามารถแสดงความรู้ สึกด้ วยตัวมันเอง และสามารถนามา ประกอบกันให้ เป็ นรู ปทรงต่ างๆ
  • 14. เส้ นกับการแสดงความรู้สึก แข็งแรง มั่นคง สง่ างาม น่ าเกรงขาม น่ าศรัทธา สงบ ราบเรียบ ผ่ อนคลาย หยุดนิ่ง ขาดหาย ลึกลับ ไม่ สมบูรณ์
  • 15. นุ่มนวล แข็งแรง หนักแน่ น ขัดแย้ ง น่ ากลัว ตื่นเต้ น แปลกตา ประสานกัน แข็งแกร่ ง ไม่ ปลอดภัย ไม่ หยุดนิ่ง
  • 16. ระนาบ/รู ปร่ าง (Plane/Shape) • ระนาบ/รู ปร่ างเป็ นการนาเส้ นมาประกอบกับให้ เกิดความกว้ างและ ความยาวมีลักษณะ 2 มิติ ไม่ มีความหนาหรื อความลึก ไม่ แสดง ความเป็ นรู ปทรง
  • 17. รู ปทรง (Form) • รู ปทรงหมายถึงการนาเส้ นมาประกอบกับให้ เกิดความกว้ าง ความยาว และความหนา มีลักษณะ 3 มิติ รูปทรงมี 3 ชนิด รู ปทรงเรขาคณิต รูปทรงอินทรี ยรูป รู ปทรงอิสระ (Geometrical form) (Organic form) (Free Form)
  • 18. มวล (Mass) • มวลหมายถึงการรวมกลุ่มของรู ปร่ าง รู ปทรงที่มีความกลมกลืนกัน หรื อวัตถุท่ ีมีความหนาแน่ น
  • 19. ลักษณะผิว (Texture) ลักษณะผิวหมายถึงลักษณะ ภายนอกของวั ต ถุ ต่ างๆที่ สามารถจับต้ อง สัมผัส หรื อ มองเห็น แล้ ว เกิด ความรู้ สึ ก ได้ ก า ร สั ม ผั ส ที่ รั บ รู้ ไ ด้ จ า ก ลั ก ษณะผิ ว มี ทั ้ง ที่ เกิ ด จาก เทคนิ คภาพลวงตา (artificial texture) และเกิดจากความ เป็ นจริ ง ทางกายภาพ (Real texture) http://writer.dek-d.com/Peachgal/story/viewlongc.php?id=378902&chapter=7
  • 20. สี (Colour) • สีหมายถึงปรากฏการณ์ ท่ ีแสงส่ องกระทบวัตถุแล้ วสะท้ อนคลื่นแสง บางส่ ว นเข้ า ตา ระบบประสาทตาประมวลผลจึง สามารถรั บรู้ ถึง ขนาด รู ปร่ าง ลักษณะผิวและสี • วัตถุมีสีต่างกันเกิดจากคุ ณสมบัติในการดูดกลืนและสะท้ อนคลื่น แสงที่แตกต่ างกัน • สีมี 3 ประเภท – สีของปรากฏการณ์ ทางธรรมชาติ (Naturalistic color) สีของเนือวัสดุ (Material/Real color) และสีท่ ีเกิดจากเนือสี ้ ้ (Hue/Specific color) http://www.fotosearch.com/photos-images/rainbow.html
  • 21. วงสี • สีถูกนามาใช้ ในการสร้ างสรรค์ งานต่ างๆ ส่ วนมากเป็ นสีจากเนือสี้ เรี ยกว่ าสีวัตถุธาตุ สามารถแสดงความสัมพันธ์ ได้ เป็ นวงจรสี (Color wheel) http://realcolorwheel.com/colorwheel/Real_Color_Wheel_475.jpg
  • 22. วรรณะสีเย็น วรรณะสีร้อน การออกแบบวงจรสี Work of 1st year Architectural student in 2008
  • 23. ค่ าสี (Value) การออกแบบการไล่ ลาดับค่ าสี Work of 1st year Architectural student in 2008
  • 24. ความเข้ มสี (Intensity) การออกแบบการไล่ ลาดับค่ าความเข้ มสี Work of 1st year Architectural student in 2008
  • 25. นาหนักอ่ อนแก่ ของแสงเงา ้ นาหนักอ่ อนแก่ ของแสงเงา (Tone/Light&Shadow) ้ หมายถึงค่ าความอ่ อนแก่ ของบริ เวณที่ถูกแสงสว่ างและบริ เวณที่เป็ น เงาของวัตถุ การไล่ ค่านาหนักจะเป็ นสีเดียวหรื อหลายสีกได้ ้ ็
  • 26. ที่ว่าง (Space) • ที่ว่างหรื อช่ องไฟ เป็ นสิ่งที่มองไม่ เห็น จะรั บรู้ ได้ เมื่อมีองค์ ประกอบ อื่นๆปรากฏขึน ้ • ที่ว่างมี 3 ประเภท - ที่ว่าง 2 มิติ (Two dimensional space)-กาหนดด้ วยความกว้ าง และความยาว มีพนที่แบนราบไม่ แสดงความลึก ไม่ เคลื่อนไหว ื้ - ที่ว่าง 3 มิติ (Three dimensional space)-กาหนดด้ วยความกว้ าง ความยาว ความลึก (แสดงใกล้ -ไกล) มีทัง... ้ ที่ว่างที่เป็ นจริ ง (Physical space) พบในงานประติมากรรมและ สถาปั ตยกรรม ที่ว่างที่ลวงตา (Pictorial space) มีลักษณะ 3 มิติ ที่มองเห็นแล้ วลวงตา ไม่ ใช่ ความลึกจริง พบในงานจิตรกรรม ภาพพิมพ์ หรือภาพถ่ าย
  • 27. การผสานระหว่ าง Dot-Line-Plane และการจัดที่ว่าง 2 มิติ Work of 1st year Architectural student in 2008
  • 28. ที่ว่างลวงตาลักษณะ 3 มิติ Modern Art (Cubism)-Work of 1st year Architectural student in 2008
  • 29. ที่ว่างลวงตาลักษณะ 3 มิติ ARTIST: M.C. Escher HOLOGRAM graphic projection http://www.puzzlehouse.com/images/webpage/drawinghands2.jpg
  • 30. - ที่ว่างสองนัย (Ambiguous space) เป็ นที่ว่างที่ถูกกาหนดแบ่ ง ด้ วยเส้ นให้ เป็ นรู ปร่ างขึนมา แต่ ส่วนที่เป็ นรู ปร่ างและส่ วนที่ว่าง ้ นั ้น มี ค วามส าคั ญ เท่ า กั น ที่ ว่ า งลั ก ษณะนี มั ก ท าให้ เ กิ ด พลั ง ้ ความเคลื่อนไหวและความไม่ แน่ นอนสลับกันไปมาตลอดเวลา
  • 31. 1.2 ข้ อพิจารณาในการจัดวางองค์ ประกอบศิลปะ (Composition) • สัดส่ วน (Proportion) • เอกภาพ (Unity) • จุดเด่ น (Dominance) และการแปรเปลี่ยน (Variation) • หลักการดุลยภาพ (Balance) • จังหวะ (Rhythm)
  • 32. สัดส่ วน (Proportion) • สั ด ส่ ว นหมายถึ ง ความสั ม พั น ธ์ กั น ในเรื่ องขนาด รู ป ทรง เนื อ ที่ ้ ความเข้ ม ความหนักเบาของส่ วนต่ างๆในตัวองค์ ประกอบเองและ ความสั มพันธ์ เมื่ อเทียบเคี ยงกั บองค์ ประกอบที่อยู่ แวดล้ อมให้ มี ความเหมาะสม http://www.mew6.com/composer/art/sculpture.php http://www.elizabethjorn.com/popup/pandora.html#
  • 33. เอกภาพ (Unity) • เอกภาพหมายถึงการรวมเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน มีความประสาน เชื่อมโยงสัมพันธ์ กันของส่ วนต่ างๆให้ เกิดเป็ นผลงานอันหนึ่งอัน เดี ย วกั น ที่ ไ ม่ อาจแบ่ ง แยกได้ ให้ เ กิ ด งานศิ ล ปะที่ ส ามารถสื่ อ / นาเสนอเนือหา (Contents) ตามความตังใจของผู้ออกแบบ ้ ้ • เอกภาพในงานศิลปะมีอยู่ 2 ลักษณะ – ลักษณะเอกภาพที่น่ ิง (Static unity) และลักษณะเอกภาพที่มีความเคลื่อนไหว (Dynamic unity) • กฎเกณฑ์ หลักที่สาคัญของเอกภาพมี 2 ลักษณะ - กฎเกณฑ์ ของความขัดแย้ ง (Opposition) - กฎเกณฑ์ ของความประสาน
  • 34. เอกภาพ กฎเกณฑ์ ของความขัดแย้ ง (Opposition) การสร้ างความขั ด แย้ งในงาน ศิ ล ป ะ - ขั ด แย้ งข องลั ก ษณะ รู ปทรง ขนาด ทิศทาง และการ เว้ นพืนที่หรื อจังหวะช่ องไฟ ้ Modern art (Cubism) - Work of 1st year Architectural student in 2008
  • 35. เอกภาพ กฎเกณฑ์ ของความประสาน • การเป็ นตัวกลาง (Transition) • การซา (Repetition) ้ Work of 1st year Architectural student in 2008
  • 36. เอกภาพ จุดเด่ น (Dominance) และการแปรเปลี่ยน (Variation) Work of 1st year Architectural student in 2008
  • 37. หลักการดุลยภาพ (Balance) • การจัดองค์ ประกอบศิลปะด้ วยวิธีการถ่ วงนาหนักให้ เท่ ากัน ้ Work of 1st year Architectural student in 2008
  • 38. จังหวะ (Rhythm) • จังหวะหมายถึงลักษณะความเคลื่อนไหวที่เกิดจากการซาให้ เกิด ้ ความถี่ห่างที่เท่ ากันหรื อแตกต่ างกัน หากผลงานทางศิลปะใดขาด ซึ่งจังหวะย่ อมทาให้ ขาดสุนทรี ยภาพความงามไปด้ วย http://www.fotosearch.com/photos-images/rainbow.html Work of 1st year Architectural student in 2008
  • 39. องค์ ประกอบศิลปะ องค์ ประกอบศิลปะ ประกอบด้ วย 3 ส่ วน • สื่อ/รู ปทรง/องค์ ประกอบพืนฐาน (Media/For/Elements) ้ • เนือหา (Content) ้ • สุนทรี ยธาตุ (Aesthetical elements)
  • 40. ความรู้ ท่ ัวไปเกี่ยวกับศิลปะ 2. เนือหา (Content) ้ เนือหา (Content) เป็ นส่ วนที่เป็ นนามธรรมของงานศิลปะ ซึ่ง ้ ประกอบด้ วย เรื่ อง(Subject) และแนวเรื่ อง/แนวคิด (Theme/Concept) • เรื่ อง - สิ่งที่ศิลปิ นนามาเป็ นแรงบันดาลใจในการสร้ างผลงาน • แนวเรื่ อง/แนวคิด – เป็ นความหมายของรู ปทรงสัญลักษณ์ ใน งานศิลปะที่ศิลปิ นได้ ส่ ือความหมายและแสดงออกมา มีความ เป็ นนามธรรม/ความรู้ สก ึ
  • 41. สุนทรี ยธาตุ/สุนทรี ยภาพ...? สุนทรี = ดี หรื อ งาม สุนทรี ย- หรื อ สุนทรี ยะ (Aesthetic, esthetic) ที่เกี่ยวกับความนิยมความงาม สุนทรี ยภาพ (Aesthetics) - ความงามในธรรมชาติหรื องานศิลปะที่แต่ ละบุคคลสามารถเข้ าใจ และรู้ สกได้ มีทังความงาม (Beauty) ความแปลกหูแปลกตา ึ ้ (Picturesqueness) และความน่ าทึ่ง (Sublimity) - รสนิยมความรู้ สก (Taste) ึ
  • 42. สุนทรีย์ หรือ สุนทรียศาสตร์ (Aesthetics) หมายถึง วิชาที่ว่าด้ วยความนิยมความงามหรื อความนิยมในความงาม (การวิเคราะห์ ความงาม) เป็ นอารมณ์ ความซาบซึงในคุณค่ าของสิ่ง ้ ต่ างๆ ไม่ ว่าจะเป็ นธรรมชาติหรื องานศิลปะ ความรู้ สึกนี เ้ กิดขึนด้ วย ้ ประสบการณ์ การศึกษาอบรมและพัฒนาเป็ นรสนิยม เป็ นการสร้ าง ความรู้ ความเข้ าใจทางประวัติศาสตร์ สามารถเสริ มสร้ างพัฒนาการ ทางสุนทรี ยภาพให้ เพิ่มมากขึน รู้ และเข้ าใจคุณค่ าของความงาม ้ พจนานุกรมศัพท์ ศิลปะ ฉบับไทย-อังกฤษ 2530
  • 43. การรับรู้สุนทรียภาพ/สุนทรียศาสตร์ (Aesthetics perception) 1. เป็ นความรู้ โดยตรง (Intuitive knowledge) เกิดอย่ างฉบับพลัน เป็ น ความรู้ ที่ใช้ ในการตัดสินความงาม โดยไม่ จาเป็ นต้ องอาศัยเหตุผล อื่นมาเกี่ยวข้ อง 2. เป็ นความรู้ จากประสบการณ์ (Conceptual knowledge) - เชิงปรั ชญา เป็ นการเรี ยนรู้ โดยการสนทนาและอภิปรายบน เรื่ องราวความจริงที่สัมผัสได้ ข้ อเท็จจริงที่อธิบายได้ และความ จริงที่ไม่ เปลี่ยนแปลง - เชิงจิตวิทยา เป็ นการปฏิบัตให้ เกิดประสบการณ์ สุนทรี ยะ เรี ยนรู้ ิ ด้ วยการฝึ กฝน
  • 44. ศิลปะในชีวิตประจาวัน เนือหา (เรื่อง+แนวคิด) ้ องค์ ประกอบพืนฐานในงานศิลปะ ้ ข้ อพิจารณาในการจัดวางองค์ ประกอบศิลปะ • จุด (Dot) (Composition) • เส้ น (Line) • สัดส่ วน (Proportion) • ระนาบ/รูปร่ าง (Plane/Shape) • เอกภาพ (Unity) • นาหนักอ่ อนแก่ ของแสงและเงา ้ • จุดเด่ น (Dominance) และการแปรเปลี่ยน (Tone – Light & Shadow) (Variation) • ที่ว่าง/ช่ องไฟ (Space) • หลักการดุลยภาพ (Balance) • รูปทรง มวล (Form, Mass) • จังหวะ (Rhythm) • ลักษณะผิว (Texture) • สี (Colour) การรับรู้ทางสุนทรียภาพ