SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 11
ตรีโกณมิติ ตรีโกณ ความหมายตามพจนานุกรมแปลว่า  สามเหลี่ยม  ตรีโกณมิติ คือ คณิตศาสตร์แขนงหนึ่งที่ว่า ด้วยการคำนวณ มุมของสามเหลี่ยม
เมื่อ  640-546  ปี ก่อนคริสต์ศักราช ทาเรส  (thales) คำนวณหาความสูง ของพีรามิด ในประเทศอียิปต์โดยอาศัยเงา วิธีหนึ่งที่ทาเรสใช้คือ คำนวณความสูงของพีรามิดจากความยาวของเงาของพีรามิด ในขณะที่เงาของเขามีความยาวเท่ากับความสูงของเขาเอง อีกวิธีหนึ่งที่ทาเรสใช้คำนวณ ความสูงของพีรามิดคือ การเปรียบเทียบความยาวของเงาของพีรามิดกับความยาวของเงาของไม้ ( ไม้ที่ทราบความยาว ถ้าสมัยนี้ก็คือไม้เมตรนั่นเอง )  โดยอาศัยรูปสามเหลี่ยมคล้าย ซึ่งก็คือ อัตราส่วนตรีโกณมิติที่เรียกว่า  แทนเจนต์   (tangent)  นั่นเอง  ความเป็นมา
  อัตราส่วนตรีโกณมิติ  ( Trigonometric Ratio)  หมายถึง อัตราส่วนของด้านของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก การเรียนในเรื่องนี้ผู้เรียนจำเป็นต้อง ใช้ความรู้เดิมเรื่องสามเหลี่ยมคล้ายเพื่อเป็นพื้นฐานในการทำความเข้าใจ การเรียนวิชาตรีโกณมิติให้ได้ดีนั้นต้องจำนิยามของตรีโกณมิติให้ได้ ระดับมัธยมต้นใช้นิยามสามเหลี่ยมมุมฉาก ซึ่งอัตราส่วนตรีโกณมิติ ก็คือ อัตราส่วนของความยาวด้านสองด้านของสามเหลี่ยมมุมฉากซึ่งจะมีชื่อเรียกดังนี้  อัตราส่วนตรีโกณมิติ
จากรูป  ABC  เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก  โดยมี  AĈB  = 90  องศา  ถ้าเราพิจารณาที่มุม  A 1.  ด้าน  AB  เรียกว่า  ด้านตรงข้ามมุมฉาก 2.  ด้าน  BC  เรียกว่า  ด้านตรงข้ามมุม  A 3.  ด้าน  AC  เรียกว่า  ด้านประชิดมุม  A A B C a b c
"Sine A"  ไซน์ของมุม  A  หรือเขียนย่อว่า  sin A  หาได้จากอัตราส่วนของความยาวด้านตรงข้ามมุม  A  ต่อความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก  "Cos A"  โคไซน์ของมุม  A  หรือเขียนย่อว่า  cos A  หาได้จากอัตราส่วนของความยาวด้านประชิดมุม  A  ต่อความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก  "Tangent A"  แทนเจนต์ของมุม  A  หรือเขียนย่อว่า  tan A  หาได้จากอัตราส่วนของความยาวด้านตรงข้ามมุม  A  ต่อความยาวด้านประชิดมุม  A
ส่วนฟังก์ชัน  cosec, sec  และ  cot  นั้น ก็ใช้นิยามเข้าช่วย ซึ่งเป็นส่วนกลับของ  sin, cos  และ  tan  ตามลำดับ จึงต้องจำฟังก์ชัน  sin, cos, tan  ก็จะได้ในส่วนของ  cosec, sec  และ  cot  ขึ้นมาเองโดยอัตโนมัติ  "Cotangent A"  โคแทนเจนต์ของมุม  A  หรือเขียนย่อว่า  cot A  หาได้จากอัตราส่วนของความยาวด้านด้านประชิดมุม  A  ต่อความยาวด้านตรงข้ามมุม  A  "Secant A"  ซีแคนต์ของมุม  A  หรือเขียนย่อว่า  sec A  หาได้จากอัตราส่วนของความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก ต่อ ความยาวด้านประชิดมุม  A  "Cosecant A"  โคซีแคนต์ของมุม  A  หรือเขียนย่อว่า  cosec A  หาได้จากอัตราส่วนของความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก ต่อ ความยาวด้านตรงข้ามมุม  A
ฟังก์ชันตรีโกณมิติ  ฟังก์ชันตรีโกณมิติ   ( อังกฤษ :  Trigonometric function )  คือ  ฟังก์ชัน ของ มุม  ซึ่งมีความสำคัญในการศึกษา รูปสามเหลี่ยม และปรากฏการณ์ในลักษณะเป็นคาบ ฟังก์ชันอาจนิยามด้วย อัตราส่วน ของด้าน  2  ด้านของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก หรืออัตราส่วนของพิกัดของจุดบน วงกลมหนึ่งหน่วย  หรือนิยามในรูปทั่วไปเช่น  อนุกรมอนันต์  หรือ สมการเชิงอนุพันธ์  รูปสามเหลี่ยมที่นำมาใช้จะอยู่ใน ระนาบแบบยุคลิด  ดังนั้น ผลรวมของมุมทุกมุมจึงเท่ากับ  180 °   เสมอ
ค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติ  อัตราส่วนตรีโกณมิติ
เอกลักษณ์ตรีโกณมิติ นิยาม เอกลักษณ์ตรีโกณมิติ  คือ  การเท่ากันของอัตราส่วนตรีโกณมิติที่ต่างกันและเป็นจริงสำหรับทุกๆค่าขององศา  เมื่อกำหนด  A  เป็นมุมแหลม   1.  sin A  x  cosec A  = 1  2.  cos A  x  sec A  = 1 3.  tan A  x  cot A  = 1 4.  cos A  x  tan A  = sin A 5.  cot A  x  sin A  = cos A 6.  sin 2 A  +  cos 2 A  = 1 7.  sec 2 A  -  tan 2 A  = 1 8.  cosec 2 A  -  cot 2 A  = 1
ตัวอย่างที่  1 จงหาค่า  cos 75 ๐
ตัวอย่างที่  2 จงหาค่า                                                     = = = =  2 =

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
Jariya Jaiyot
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
kroojaja
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
พัน พัน
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
crazygno
 
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dnaMicrosoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Thanyamon Chat.
 
การค้นพบสารพันธุกรรม
การค้นพบสารพันธุกรรมการค้นพบสารพันธุกรรม
การค้นพบสารพันธุกรรม
Sawaluk Teasakul
 

Mais procurados (20)

ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
 
สถิติสำหรับธุรกิจ
สถิติสำหรับธุรกิจสถิติสำหรับธุรกิจ
สถิติสำหรับธุรกิจ
 
พื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอก
พื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอกพื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอก
พื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอก
 
แบบฝึก
แบบฝึกแบบฝึก
แบบฝึก
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
 
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dnaMicrosoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
 
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
ใบงานที่4หรม
ใบงานที่4หรมใบงานที่4หรม
ใบงานที่4หรม
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการ
 
การค้นพบสารพันธุกรรม
การค้นพบสารพันธุกรรมการค้นพบสารพันธุกรรม
การค้นพบสารพันธุกรรม
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
 
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
 
Bond
BondBond
Bond
 

Destaque (8)

ตรีโกณ
ตรีโกณตรีโกณ
ตรีโกณ
 
เมทริกซ์...
เมทริกซ์...เมทริกซ์...
เมทริกซ์...
 
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ
พรบ.การศึกษาแห่งชาติพรบ.การศึกษาแห่งชาติ
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ
 
31202 mid532
31202 mid53231202 mid532
31202 mid532
 
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม4ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม4ภาคเรียนที2ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม4ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม4ภาคเรียนที2
 
31202 final512
31202 final51231202 final512
31202 final512
 
Final 31201 53
Final 31201 53Final 31201 53
Final 31201 53
 
ปลุกจิตคณิต ม.4 - อัตราส่วนตรีโกณมิติ
ปลุกจิตคณิต ม.4 - อัตราส่วนตรีโกณมิติปลุกจิตคณิต ม.4 - อัตราส่วนตรีโกณมิติ
ปลุกจิตคณิต ม.4 - อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 

Semelhante a ตรีโกณ.

ตรีโกณ
ตรีโกณตรีโกณ
ตรีโกณ
guestf22633
 
ตรีโกณ
ตรีโกณตรีโกณ
ตรีโกณ
guestf22633
 
บทที่ 10 งานโครงข่ายสามเหลี่ยม
บทที่ 10 งานโครงข่ายสามเหลี่ยมบทที่ 10 งานโครงข่ายสามเหลี่ยม
บทที่ 10 งานโครงข่ายสามเหลี่ยม
Chattichai
 
ตรีโกณ
ตรีโกณตรีโกณ
ตรีโกณ
guest1d763e
 
เรขาคณิต มัทนา ป.4
เรขาคณิต มัทนา ป.4เรขาคณิต มัทนา ป.4
เรขาคณิต มัทนา ป.4
Krumatt Sinoupakarn
 
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
lekho
 

Semelhante a ตรีโกณ. (20)

ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
ทา
ทาทา
ทา
 
ตรีโกณ
ตรีโกณตรีโกณ
ตรีโกณ
 
02
0202
02
 
ตรีโกณ
ตรีโกณตรีโกณ
ตรีโกณ
 
03
0303
03
 
บทที่ 10 งานโครงข่ายสามเหลี่ยม
บทที่ 10 งานโครงข่ายสามเหลี่ยมบทที่ 10 งานโครงข่ายสามเหลี่ยม
บทที่ 10 งานโครงข่ายสามเหลี่ยม
 
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกลการประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
 
3
33
3
 
2
22
2
 
ตรีโกณ
ตรีโกณตรีโกณ
ตรีโกณ
 
ตรีโกณ
ตรีโกณตรีโกณ
ตรีโกณ
 
1
11
1
 
เรขาคณิต มัทนา ป.4
เรขาคณิต มัทนา ป.4เรขาคณิต มัทนา ป.4
เรขาคณิต มัทนา ป.4
 
Chap5 1
Chap5 1Chap5 1
Chap5 1
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
 
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
 

ตรีโกณ.

  • 1. ตรีโกณมิติ ตรีโกณ ความหมายตามพจนานุกรมแปลว่า สามเหลี่ยม ตรีโกณมิติ คือ คณิตศาสตร์แขนงหนึ่งที่ว่า ด้วยการคำนวณ มุมของสามเหลี่ยม
  • 2. เมื่อ 640-546 ปี ก่อนคริสต์ศักราช ทาเรส (thales) คำนวณหาความสูง ของพีรามิด ในประเทศอียิปต์โดยอาศัยเงา วิธีหนึ่งที่ทาเรสใช้คือ คำนวณความสูงของพีรามิดจากความยาวของเงาของพีรามิด ในขณะที่เงาของเขามีความยาวเท่ากับความสูงของเขาเอง อีกวิธีหนึ่งที่ทาเรสใช้คำนวณ ความสูงของพีรามิดคือ การเปรียบเทียบความยาวของเงาของพีรามิดกับความยาวของเงาของไม้ ( ไม้ที่ทราบความยาว ถ้าสมัยนี้ก็คือไม้เมตรนั่นเอง ) โดยอาศัยรูปสามเหลี่ยมคล้าย ซึ่งก็คือ อัตราส่วนตรีโกณมิติที่เรียกว่า แทนเจนต์ (tangent) นั่นเอง ความเป็นมา
  • 3.   อัตราส่วนตรีโกณมิติ ( Trigonometric Ratio) หมายถึง อัตราส่วนของด้านของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก การเรียนในเรื่องนี้ผู้เรียนจำเป็นต้อง ใช้ความรู้เดิมเรื่องสามเหลี่ยมคล้ายเพื่อเป็นพื้นฐานในการทำความเข้าใจ การเรียนวิชาตรีโกณมิติให้ได้ดีนั้นต้องจำนิยามของตรีโกณมิติให้ได้ ระดับมัธยมต้นใช้นิยามสามเหลี่ยมมุมฉาก ซึ่งอัตราส่วนตรีโกณมิติ ก็คือ อัตราส่วนของความยาวด้านสองด้านของสามเหลี่ยมมุมฉากซึ่งจะมีชื่อเรียกดังนี้ อัตราส่วนตรีโกณมิติ
  • 4. จากรูป ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก โดยมี AĈB = 90 องศา ถ้าเราพิจารณาที่มุม A 1. ด้าน AB เรียกว่า ด้านตรงข้ามมุมฉาก 2. ด้าน BC เรียกว่า ด้านตรงข้ามมุม A 3. ด้าน AC เรียกว่า ด้านประชิดมุม A A B C a b c
  • 5. "Sine A" ไซน์ของมุม A หรือเขียนย่อว่า sin A หาได้จากอัตราส่วนของความยาวด้านตรงข้ามมุม A ต่อความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก "Cos A" โคไซน์ของมุม A หรือเขียนย่อว่า cos A หาได้จากอัตราส่วนของความยาวด้านประชิดมุม A ต่อความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก "Tangent A" แทนเจนต์ของมุม A หรือเขียนย่อว่า tan A หาได้จากอัตราส่วนของความยาวด้านตรงข้ามมุม A ต่อความยาวด้านประชิดมุม A
  • 6. ส่วนฟังก์ชัน cosec, sec และ cot นั้น ก็ใช้นิยามเข้าช่วย ซึ่งเป็นส่วนกลับของ sin, cos และ tan ตามลำดับ จึงต้องจำฟังก์ชัน sin, cos, tan ก็จะได้ในส่วนของ cosec, sec และ cot ขึ้นมาเองโดยอัตโนมัติ "Cotangent A" โคแทนเจนต์ของมุม A หรือเขียนย่อว่า cot A หาได้จากอัตราส่วนของความยาวด้านด้านประชิดมุม A ต่อความยาวด้านตรงข้ามมุม A "Secant A" ซีแคนต์ของมุม A หรือเขียนย่อว่า sec A หาได้จากอัตราส่วนของความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก ต่อ ความยาวด้านประชิดมุม A "Cosecant A" โคซีแคนต์ของมุม A หรือเขียนย่อว่า cosec A หาได้จากอัตราส่วนของความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก ต่อ ความยาวด้านตรงข้ามมุม A
  • 7. ฟังก์ชันตรีโกณมิติ ฟังก์ชันตรีโกณมิติ ( อังกฤษ : Trigonometric function ) คือ ฟังก์ชัน ของ มุม ซึ่งมีความสำคัญในการศึกษา รูปสามเหลี่ยม และปรากฏการณ์ในลักษณะเป็นคาบ ฟังก์ชันอาจนิยามด้วย อัตราส่วน ของด้าน 2 ด้านของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก หรืออัตราส่วนของพิกัดของจุดบน วงกลมหนึ่งหน่วย หรือนิยามในรูปทั่วไปเช่น อนุกรมอนันต์ หรือ สมการเชิงอนุพันธ์ รูปสามเหลี่ยมที่นำมาใช้จะอยู่ใน ระนาบแบบยุคลิด ดังนั้น ผลรวมของมุมทุกมุมจึงเท่ากับ 180 ° เสมอ
  • 9. เอกลักษณ์ตรีโกณมิติ นิยาม เอกลักษณ์ตรีโกณมิติ คือ การเท่ากันของอัตราส่วนตรีโกณมิติที่ต่างกันและเป็นจริงสำหรับทุกๆค่าขององศา เมื่อกำหนด A เป็นมุมแหลม 1. sin A x cosec A = 1 2. cos A x sec A = 1 3. tan A x cot A = 1 4. cos A x tan A = sin A 5. cot A x sin A = cos A 6. sin 2 A + cos 2 A = 1 7. sec 2 A - tan 2 A = 1 8. cosec 2 A - cot 2 A = 1
  • 10. ตัวอย่างที่ 1 จงหาค่า cos 75 ๐
  • 11. ตัวอย่างที่ 2 จงหาค่า                                                  = = = = 2 =