SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
Download to read offline
การประชุมระดมความคิดเห็นผู้เชียวชาญระดับสูง (High-level Expert Roundtable) ชุดที 3

      ประเด็นท้ าทายต่ อการขับเคลือน ICT ของประเทศไทยในระยะ 10 ปี
      (Grand Challenges Thematic Session)
       เรืองที 3 บทบาทของ ICT กับการแข่ งขันอย่ างยังยืนของภาคธุรกิจไทย



       นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ
       รองเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ ง ชาติ
       สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ (สศช.)

      วันเสาร์ ที 6 มีนาคม 2553 เวลา 9.00-9.30 น.
      ณ โรงแรม THE TIDE RESORT บางแสน จังหวัดชลบุรี
6 มีนาคม 2553                                             www.nesdb.go.th                  1
ประเด็นการอภิปราย



                1   ผลิตภาพการผลิต (Productivity) คืออะไร?


                    ผลการศึกษาโครงการขับเคลือนระดับการเพิมผลผลิตและบรรยากาศการลงทุน
                2   ประเทศ (PICS) ของ สศช.


                3   โครงสร้ างพืนฐานด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร (ICT) ของไทย



                4   การดําเนินงานระยะต่ อไป : การขับเคลือนเศรษฐกิจสร้ างสรรค์




6 มีนาคม 2553                                    www.nesdb.go.th                                    2
ผลิตภาพการผลิต (Productivity) คืออะไร?
                                                            1



6 มีนาคม 2553                             www.nesdb.go.th       3
ผลิตภาพการผลิต (Productivity) คืออะไร?

                      ผลิตภาพการผลิตบางส่ วน                                        ผลิตภาพการผลิตรวม
                        (Partial Productivity)                                 (Total Factor Productivity ; TFP)

                เป็ นการวัดผลิต ภาพการผลิต ของการใช้ ปั จจัย                 หมายถึงการเพิมขึนผลผลิตโดยมิได้ มาจากการ
                การผลิตชนิดใดชนิดหนึง โดยให้ ปัจจัยอืนๆ คงที                 เพิมขึนของปั จจัยการผลิต คื อ ปั จจัย แรงงาน
                แสดงถึง การใช้ ปัจจัยการผลิต (Input) 1 หน่ว ย                ทีดิน และทุน ซึงนักเศรษฐศาสตร์ จะเรี ยกส่ว นที
                ก่อให้ เกิดผลผลิต (output) กีหน่วย                           เพิมขึนดังกล่า วนีว่ า เป็ น Residual ตามหลัก
                ผลิตภาพการผลิต =              ผลิต                           Growth Accounting Analysis หรื อ เป็ นผลมา
                                        ปั จจัยการผลิต                       จากความก้ าวหน้ า ทางเทคโนโลยี และอื นๆ
                                                                             หลา ย ป ร ะก า ร เ ช่ น ก า ร บ ริ หา ร จั ด ก า ร
                การวั ด ผลิ ต ภาพการผลิต บางส่ว นทีสํา คัญ มี                ประสบการณ์ คุณ ภาพแรงงาน ซึงขึนอยู่กั บ
                2 ประเภท คื อ 1) ผลิ ต ภาพแรงงาน (Labor                      ระดั บ การศึ ก ษา อายุ เพศ และทีสํ า คัญ คื อ
                Productivity) และ 2) ผลิ ต ภาพทุน (Capital                   ความก้ าวหน้ า ทางเทคโนโลยี การวิ จัย และ
                Productivity)                                                พัฒนา




6 มีนาคม 2553                                              www.nesdb.go.th                                                        4
ผลิตภาพการผลิตรวม (TFP) เกิดขึนอย่ างไร?


                                ผลิตภาพการผลิตรวม (Total Factor Productivity : TFP)

            การเพิมประสิทธิภาพของการใช้ ปัจจัยการผลิต                     การสร้ างมูลค่ าสินค้ าและบริการจากการออกแบบ
                                                                          พัฒนาคุณภาพ และสร้ างความแตกต่างทีตรงตาม
                                                                          ความต้องการของผู้บริโภค และสามารถกําหนด
                ความก้ าวหน้ าทางเทคโนโลยี                                ทิศทางตลาดได้
                • นวัตกรรมของกระบวนการผลิต (Process
                    innovation)
                                                                               นวัตกรรมของผลิตภัณฑ์ (Product innovation)
                การพัฒนาคุ ณภาพคน/ ทักษะแรงงาน
                การบริ หารจัดการองค์ กร (เช่ น การใช้ Lean
                production technique และการทําระบบคุ ณภาพ                      การพัฒนาคุ ณภาพคน/ แรงงาน
                                                                               การบริ หารจัดการองค์ ความรู้
                (TQM))
                                                                               การยกระดับเทคโนโลยีและนวัตกรรม
                การพัฒนาระบบโครงสร้ างพืนฐาน และการ                            การศึกษาและวิเคราะห์ แนวโน้ มตลาด
                ให้ บริ การ/ การบริ หารจัดการภาครั ฐ                           R&D


                                       ผลิตภาพการผลิตทีเพิมขึน จึงเป็ นการขยายตัวของเศรษฐกิจ
                                            ในส่ วนทีนอกเหนือจากใช้ ปัจจัยทุนและแรงงาน

6 มีนาคม 2553                                                www.nesdb.go.th                                               5
ความสําคัญของผลิตภาพการผลิตรวม (TFP) ต่ อการพัฒนาเศรษฐกิจอย่ างยังยืน




          การขยายตัวทางเศรษฐกิจ
          ทีมีทมาจากการเพิมปริ มาณ
                ี
                                               แรงกดดันต่ อ
                                                                                                 เศรษฐกิจขยายตัว
          การใช้ ปัจจัยการผลิตเป็ นหลัก
          โดยทีประสิทธิภาพการใช้               ต้ นทุนการผลิต            เงินเฟอสูง
                                                                               ้                 แต่ ขาดเสถียรภาพ
          ปั จจัยการผลิตไม่ เพิมขึนหรื อ                                                         ทางเศรษฐกิจ
          ขาดการเพิมมูลค่ าสินค้ าและ
          บริ การจากองค์ ความรู้




                            ภายใต้ ข้อจํากัดด้ านทรัพยากร ต้ องยกระดับศักยภาพการผลิตและรายได้ ทีมาจาก
                               การเพิมประสิทธิภาพการใช้ ปัจจัยการผลิตและสร้ างมูลค่าเพิมให้ แก่ สินค้ าและ
                                  บริการเป็ นหลัก โดยไม่ ม่ ุงเน้ นทีการใช้ ปัจจัยการผลิตในปริมาณทีเพิมขึน



6 มีนาคม 2553                                               www.nesdb.go.th                                         6
กรอบแผนการเพิมประสิทธิภาพและผลิตภาพของภาคอุตสาหกรรมในระยะยาว
                                     1. ยกระดับความสามารถทักษะแรงงาน (Human Skills)
                                           ยกระดับความรู้ /ทักษะแรงงานใหม่ และทักษะแรงงานทีมีอยู่เดิม
                                           จัดทําฐานข้ อมูลด้ านแรงงาน (Demand Side & Supply Side)
                                           สนับสนุ นให้ มีการกําหนดมาตรฐานฝี มือแรงงานทังในและนอกระบบ
         แผนการเพิม                        สร้ างตัวคูณในการเสริ มสร้ างทักษะให้ แรงงาน
       ประสิทธิภาพและ               2. ยกระดับความสามารถทางด้ านการบริหารจัดการ Management)
        ผลิตภาพของ                         ปรั บปรุ งประสิทธิภาพการผลิต (กระบวนการผลิต การใช้ พลังงาน เครื องจักร)
                                           พัฒนาทักษะการบริ หารจัดการสมัยใหม่ ให้ แก่ ผ้ ูประกอบการ
       ภาคอุตสาหกรรม
                                     3. ปรับปรุง/พัฒนาปั จจัยสนับสนุนในการเพิมผลิตภาพ (Enabling
                                         Factors)
                                           พัฒนาระบบ Logistics & Supply Chain ภายในองค์ กร
                                           พัฒนา/สนับสนุ นการรวมกลุ่ มธุ รกิจในลักษณะเครื อข่ ายวิสาหกิจ (Cluster)
                                           นําระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) มาใช้ ในกระบวนการเพิมผลิตภาพ
         (ในปี งบประมาณ 2553               สร้ างเครื อข่ ายเชือมโยงฐานข้ อมูลร่ วมกัน
      มีโครงการรองรับแผนแม่ บท             สร้ างความเชือมโยงทางวิชาการระหว่ างภาครั ฐ เอกชน และสถาบันการศึกษา
       การเพิมประสิทธิภาพฯ ของ
          ภาคอุตสาหกรรม 26           4. การสร้ างจิตสํานึกและแรงจูงใจ (Awareness & Incentives)
      โครงการ ภายใต้ วงเงิน 249.7          เผยแพร่ ข้ อมูลแก่ สาธารณะด้ านผลิตภาพระดับประเทศ/อุ ตสาหกรรม
                ล้ านบาท)                  สร้ างกระบวนการเพิมผลิตภาพโดยการสร้ างผู้นําการเพิมผลิตภาพในองค์ กร
                                           สร้ างสิงจูงใจให้ ผ้ ูประกอบการทีให้ ความสําคัญกับการเพิมผลิตภาพ
                                           (สนับสนุ นสินเชือ ยกเว้ นภาษี เป็ นต้ น)
                                           ให้ รางวัลคุ ณภาพแห่ ง ชาติ (National Quality Award)ด้ านการเพิมผลิตภาพ
                                           สร้ างวัฒนธรรมในการเพิมผลิตภาพ โดยปรั บแนวคิ ดเพือเปลียนพฤติกรรม

6 มีนาคม 2553                                  www.nesdb.go.th                                                       7
ผลการศึกษาโครงการขับเคลือนระดับการเพิมผลผลิตและ
                บรรยากาศการลงทุนในประเทศ (PICS) ของ สศช.          2



6 มีนาคม 2553                            www.nesdb.go.th              8
ความเป็ นมา
                การขับเคลือนการเพิมผลิตภาพการผลิตของประเทศตังแต่แผนฯ 9 ต่อเนืองถึงแผนฯ 10 ภายใต้
                ยุทธศาสตร์ การปรับโครงสร้ างการผลิตให้ สมดุลและยังยืน โดยมีเปาหมายทีจะเพิมผลิตภาพการผลิต
                                                                             ้
                รวม (TFP) โดยเฉลียไม่ตํากว่าร้ อยละ 3 ต่อปี และเพิมผลิตภาพแรงงานโดยเฉลียร้ อยละ 3.0 ต่อปี
                ในช่วงปี 2550-2554



                 สศช. ได้ ร่วมกับ ธ.โลก และสถาบันเพิมผลผลิตแห่งชาติ สํารวจข้อมูลภายใต้ โครงการ PICS มาแล้ ว
                                      2 ครัง คือ มี.ค. 2547 – ก.พ. 2548 และ พ.ค.–พ.ย. 2550
                  ในปี 2551 ได้ ศกษาในเชิงลึกเรือง กฎระเบียบทีเป็ นอุปสรรคต่อการดําเนินธุรกิจในอุตสาหกรรม
                                   ึ
                                      3 กลุ่ม (ชินส่วนยานยนต์ อาหารแปรรูป และเครืองนุ่งห่ม)



                      ปี 2552 สศช. ได้ ร่วมมือกับสภาหอการค้ าฯ และสภาอุตสาหกรรมฯ สร้ างความตระหนักให้
                 ผู้ประกอบการและหน่วยงานภาครัฐและเอกชนทังในส่วนกลางและภูมิภาค ได้ เห็นความสําคัญและ
                            หาแนวทางปรับปรุงผลิตภาพการผลิตและบรรยากาศการลงทุนในประเทศไทย


6 มีนาคม 2553                                     www.nesdb.go.th                                             9
วัตถุประสงค์ และวิธีการศึกษา
                        วัตถุประสงค์                                               วิธีการศึกษา
   1. เผยแพร่ ผลการศึกษาโครงการสํ า รวจระดับ การเพิ ม 1. ประมวล รวบรวมข้ อมูลจากผลการสํ ารวจโครงการ
      ผลผลิ ต และบรรยากาศการลงทุ น ในประเทศไทย ระดับการเพิมระดับผลผลิตและบรรยากาศการลงทุน
      ซึงเป็ นการวิเคราะห์ข้อมูลการสํ ารวจ 2 ครั ง (ปี 2547 ในประเทศไทย ยกร่างเอกสารประกอบจัดประชุมเชิ ง
      และ 2550) รวมทังผลการศึกษาเชิงลึกด้ านกฎระเบียบ       ปฏิบัติการ ซึงจัดประชุมร่วมกับผู้ทีเกียวข้ องเพือรั บ ฟั ง
      ภาครัฐเพิมเติม ในปี 2551                              ความคิดเห็น 3 ครัง (ขอนแก่น ชลบุรี และกรุงเทพฯ)


   2. รั บ ฟั งความคิดเห็ นจากผู้ทีเกียวข้ องในระดับ ภูมิภาค 2. ประมวลผลที ได้ จ ากการประชุมเชิ งปฏิบัติการฯ เพือ
      และส่ ว นกลาง เพือให้ เกิ ดความเข้ า ใจ สร้ างความ        จั ด ทํ า รายงานและข้ อ เสนอแนะในการขั บ เคลื อน
      ตระหนั ก และใช้ เป็ นแนวทางปรั บ ปรุ งผลิ ต ภาพการ        ยุท ธศาสตร์ การเพิ มผลผลิ ต ฯ และเสนอต่ อ คณะ
      ผลิ ตและบรรยากาศการลงทุน ให้ สอดคล้ องกับ แนว             กรรมการบริ ห าร สศช. เพื อรั บ ฟั งข้ อ คิ ด เห็ น และ
      ทางการเพิ มระดับ ความสามารถในการแข่ง ขัน ใน               ข้ อเ สน อแ นะ เพื อนํ าไ ปปรั บป รุ ง แน วท าง กา ร
      ยุท ธศาสตร์ การปรั บ โครงสร้ างทางเศรษฐกิ จ และ           ขับเคลือนฯ เพือใช้ ในการประสานงานกับ หน่วยงานที
      นโยบายด้ านเศรษฐกิจของรัฐบาลปั จจุบัน                     เกียวข้ องเพือนําไปสู่การปรับ กระบวนการขับ เคลื อนฯ
                                                                ทีสอดคล้ องกัน

6 มีนาคม 2553                                         www.nesdb.go.th                                                    10
ภาพรวมผลการสํารวจฯ ปี 2550 เทียบกับ ปี 2547
                ระดับความรุนแรงของปั จจัยทีผลกระทบต่ อการดําเนินธุรกิจ
                                                 0.00   0.50        1.00            1.50      2.00        2.50    3.00

           ความไม่มีเสถียรภาพของเศรษฐกิ จ
        ความไม่แน่นอนของนโยบายเศรษฐกิ จ                                                                                       ภาพรวมบรรยากาศการลงทุ น
  ทักษะความชํานาญและการศึกษาของพนักงาน
                                                                                                                              ไทยปรั บ ตัวไปในทิ ศทางที แย่ล ง
                        การทุจริ ตคอร์ รปชัน
                                        ั
                          ต้ นทุนทางการเงิน
                                                                                                                              โดยปั จ จัยที เป็ นอุป สรรคต่อการ
                        การค้ าที ไม่เป็ นธรรม                                                                                ดําเนินธุรกิจมีความรุนแรงเพิมขึน
                                  อัตราภาษี                                                                                   ในเกือบทุกปั จจัย (ปี 2550 เที ยบ
          อาชญากรรม โจรกรรม ปั ญหาสังคม
                     ระเบียบวิธีการทางภาษี
                                                                                                                              กับ 2547)
           ระเบียบพิธีการศุลกากรและการค้ า                                                                                    ปั จ จัยด้ านความไม่มีเสถียรภาพ
                                 ระบบไฟฟา
                                        ้                                                                                     ของเศรษฐกิจ มหภาค และความ
                 การขอสินเชือภายในประเทศ
                           กฎหมายแรงงาน                                                                                       ไม่แน่นอนของนโยบายเศรษฐกิจ
                         การคมนาคมขนส่ง                                                                                       ถูกระบุโดยผู้ป ระกอบการว่าเป็ น
                         ระบบโทรคมนาคม
     การขอใบอนุญาตและการจดทะเบียนธุรกิ จ
                                                                                                                              อุปสรรคต่อการดําเนิ นธุ รกิจ มาก
                การขอสินเชือจากต่างประเทศ                                                                                     ทีสุด
                      การถือกรรมสิทธิ ที ดิน

                                                        ปี 2550            ปี 2547/48                หมายเหตุ คะแนนน้ อยทีสุด = 0 และมากทีสุด = 4
6 มีนาคม 2553                                                                           www.nesdb.go.th                                                           11
อุปสรรคสําคัญในลําดับต้ นของการดําเนินธุรกิจ
                   ค่าดัชนี                   อุปสรรค                          อุปสรรคสําคัญ
            มาก      851      ขาดเสถียรภาพทางการเมือง
                     850      ขาดแคลนแรงงาน
                                                                               (1) ความไม่มีเสถียรภาพทางการเมือง
                     360      ขาดช่องทางเข้าถึงแหล่งทุน                        (2) การขาดแคลนแรงงานมีฝีมือ
                     359
                     330
                              กฎระเบียบด้านภาษีและอัตราภาษี
                              ขาดอุป สงค์ของสินค้า
                                                                               (3) การเข้ าถึงแหล่งทุน
                     275      ต้องแข่งขันกับการนําเข้า                         (4) กฎระเบียบด้ านอัตราและภาษี อากร
                     235      ปญหาระบบราชการ
                     193      ต้นทุนค่าสาธารณูปโภค
                     175      กฎระเบียบด้านเงินตราต่างประเทศ                    อย่างไรก็ดี สถานการณ์ ทางการเมืองใน
                     150      อัตราดอกเบียสูง                                   ช่วงเวลาทีทําการสํารวจในปี 2550 ได้ สะท้ อน
                     147      ระเบียบด้านแรงงาน
                     117      การทุจริตของเจ้าหน้าทีรัฐ
                                                                                ภาพเข้ ามาเป็ นส่วนหนึงของปั จจัยทีทําให้
                      55      ขาดแคลนสิงอํานวยความสะดวกพืนฐาน                   ผู้ประกอบการระบุวาเป็ นปั ญหาของการ
                                                                                                   ่
                      51
                      32
                              ระเบียบการนําเข้า
                              ระเบียบการถือครองทรัพย์สิน
                                                                                ประกอบธุรกิจลําดับแรก
                      28      ขาดการบริการสนับสนุนธุรกิจ
                      13      ระเบียบการเปนหุ้นส่ว น                            (หมายเหตุ ผลจากการสอบถามผู้ประกอบการโดยให้ ระบุเพียง 3
                      13      ระเบียบการขอตังกิจการ
                      11      ระเบียบการขอใช้ทีดินและอาคาร                      ปั จจัยทีเป็ นอุปสรรคในการประกอบธุร กิจมากที สุด คํานวณค่าดัชนี
                      11      ขาดความรับผิดชอบในสินค้าและบริการ                 โดยใช้ ค่าถ่วงนําหนัก 3-2-1 สําหรั บอันดับที 1-2-3 ตามลําดับ)
            น้อย      6       อาชญากรรม

6 มีนาคม 2553                                                     www.nesdb.go.th                                                                 12
ปั จจัยทีมีผลกระทบต่ อการตัดสินใจในการลงทุนใหม่ /ขยายกิจการ

                                           ระดับผลกระทบของแต่ละปั จจัยฯ คํานวณจาก
                                           คําถามปลายเปิ ด (มีตวเลื อก) เรี ยงตามคะแนน
                                                               ั
                                           เฉลียของ 5-likert scale (คะแนนน้ อยทีสุดคือ 1
                                           และมากทีสุดคือ 5)



                                                  ราคานํามันเป็ นปั จจัยอันดับ 1 ที มีผลต่อการ
                                                  ตัดสินใจลงทุน รองลงมาคือราคาปั จ จัยการ
                                                  ผลิต และอัตราแลกเปลียน (การสํารวจ PICS
                                                  รอบที 2 ในปี 2550 เป็ นช่วงเวลาที เด่นชัดใน
                                                  เรื องราคานํ ามัน สูง ราคาปั จ จัยการผลิ ตสู ง
                                                  และปั ญหาอัตราแลกเปลียน )



6 มีนาคม 2553                   www.nesdb.go.th                                                    13
ภาพรวมด้ านแรงงาน
                           แหล่ งทีมาของแรงงาน                                                    คุณภาพแรงงาน
   ร้ อยละ
     60                                                                 4.5

                                                                        4.0
     50
                                                                        3.5

                                                                        3.0
     40
                                                                        2.5
     30                                                                 2.0

                                                                        1.5
     20
                                                                        1.0

     10                                                                 0.5

                                                                        0.0
      0
                ในภูมภาค
                     ิ       นอกภูมภาค
                                   ิ     ประเทศเพือนบ้ าน   อืนๆ

                             ปี 2547           ปี 2550                                      ระดับวิชาชีพ    ระดับมีฝีมือการผลิต

 แนวโน้ มการใช้ แรงงานนอกภูมิภาคมากขึน ขณะทีมีการใช้ แรงงานใน                 ผู้ประกอบการมีความเห็นว่ า คุ ณภาพแรงงานระดับฝี มือในภาคการผลิต
 ภูมิภาคลดลงเล็กน้ อย ทีเหลือเป็ นแรงงานจากประเทศเพือนบ้ านซึง                มีระดับด้ อยกว่ าคุ ณภาพแรงงานระดับวิชาชีพโดยเฉลียในทุกด้ าน
 ปรั บตัวลดลงเช่ นกัน โดยเหตุผลของการใช้ แรงงานจากนอกภูมิภาคมาก               โดยเฉพาะด้ านภาษาอังกฤษ และความสามารถด้ านเทคโนโลยี
 ขึน เนื องจากการขาดแคลนแรงงานในภูมิภาค                                       สารสนเทศ
                                                                              (หมายเหตุ คะแนนแย่ ทสุ ดคือ 1 และดีทสุ ดคือ 4)
                                                                                                      ี             ี

6 มีนาคม 2553                                                      www.nesdb.go.th                                                              14
ข้ อเสนอและแนวทางการขับเคลือนฯ
                • การบูรณาการทํางานของหน่วยงานภาครัฐ การประสานงานทีดีจะทําให้ การทํางานของระบบราชการมีประสิทธิภาพ
                  และช่วยลดภาระต้ นทุนให้ แก่ภาคเอกชน

                • การนําระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ ในกระบวนการทํางานให้ มากขึน การใช้ ICT จะช่วยลดระยะเวลาและภาระ
                  ค่าใช้ จ่ายในการติดต่อ

                • การกําหนดนโยบายภาครัฐให้ มีทศทางทีชัดเจนและมีความแน่นอน จะส่งผลกระทบเชิงบวกต่อการตัดสินใจในการ
                                              ิ
                  ลงทุน

                • การปรับปรุงกฎระเบียบของภาครัฐ และจัดโครงสร้ างกฎระเบียบภาครัฐทีมีความชัดเจน จะช่วยเพิมความเชือมันทาง
                  ธุรกิจและส่งเสริมการลงทุน

                • การพัฒนาด้ านโครงสร้ างพืนฐานและระบบสาธารณูปโภคให้ ครอบคลุมพืนทีทังในนิคมอุตสาหกรรม และนอกนิคม
                  อุตสาหกรรม โดยพัฒนาโครงสร้ างพืนฐานด้ านโลจิสติกส์เชือมโยงพืนที

                • การพัฒนาพืนทีในลักษณะทีเป็ นการพัฒนาเศรษฐกิจอุตสาหกรรมและชุมชนอย่างยังยืน เพือเป็ นต้ นแบบสําหรับการ
                  พัฒนาพืนทีเพือรองรับอุตสาหกรรมใหม่

                • การเชือมโยงภาคการผลิต ทังสาขาเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ โดยสนับสนุนการจัดทําเครือข่ายวิสาหกิจ เพือ
                  เพิมความสามารถในการแข่งขันให้ กบผู้ประกอบการ
                                                 ั


6 มีนาคม 2553                                        www.nesdb.go.th                                                     15
โครงสร้ างพืนฐานด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร
                (ICT) ของไทย                                         3



6 มีนาคม 2553                             www.nesdb.go.th                16
ภาพรวมการให้ บริการโทรคมนาคมของไทย

               สั ่ นการมีโทรศพท์ของประชาชน
    เปรียบเทียบสดสวน          ั                                                                      อินเตอร์เน็ ท ความเร็ วสูง


                                         หน่วย : ต่อ 100 คน
                                                                        ThaiLand               2.1
   120.0
                 Fix line                              97.4
                                                                            Korea                                                          27.5
   100.0         Mobile
                                                                       Hong Kong                                                          26.3
                                           79.4
    80.0                       75.2
                                                                         Australia                                                 22.9
                                                   59.8
    60.0
                                       49.2                             Singapore                                                  22.8
                   43.0
    40.0                                                                  Taiwan                                                  22.2

                            16.8                                         Malaysia                    4.6
    20.0        11.0
                                                                            China                    4.4
     0.0
                                                                            India        0.3
                  ไทย       มาเลเซีย     เกาหล ี    ไตหว ัน
                                                      ้

     ทีมา : IMD World Competitive Year Book 2007                                     0               5     10      15     20         25          30


                                                                      ปี 2550 ประเทศไทยมี Penetration Rate
                                                                                        ี
                                                                      2.1% ในขณะทีมาเลเซย ปี 2549 มี 4.6% โดย
                                                                            ี ั ้
                                                                      มาเลเซยตงเปาหมายในปี 2553 เปน 7%
                                                                                                  ็

6 มีนาคม 2553                                                 www.nesdb.go.th                                                                         17
แนวโน้ มการใช้ Broadband Internet ของ โลก ภูมิภาค และไทย
           โครงสร้ างการใช้ Broadband Internet ของโลก
                                                                         จํานวนผู้ใช้ อินเทอร์ เน็ตความเร็วสูงและตําของไทย




                                                         Growth 73.9 %




                                                          Growth -10.6
                                                          %

          ทีมา: Gartner (November 2008)
                                                                              ทีมา: IDC Thailand
       โครงสร้ างการใช้ Broadband Internet ของเอเชียแปซิฟิก
                                                                         • โลก การใช้ Broadband Internet ของโลกทีระดับสูงกว่า 25
                                                                       Mbps มีแนวโน้ มเพิมขึนในอัตราทีสูงมาก โดยระดับความเร็ว 25-50
                                                                       Mbps มีอตราการเติบโตเฉลียเพิมขึนถึง 73.9 % (2550-2555)
                                                                                 ั
                                                                       •เอเชียแปซิฟิก การใช้ Broadband Internet ของเอเชียแปซิฟิก
                                                        Growth -4.3 % ในระดับความเร็ ว 25-50 Mbps มี อตราการเติบโตเฉลียสูงถึง 31.6 %
                                                                                                       ั
                                                                       (2550-2555)
                                                         Growth 31.6 % •ไทย การใช้ Broadband Internet ของไทยมี อตราเติบโตใน
                                                                                                                  ั
                                                                       ระดับสูงโดยเฉลีย 66 % (2548-2551) ส่วน Narrowband มีอตราั
                                                                       การเติบโตทีลดลงโดยเฉลียปี ละ 25.6 %
            ทีมา: Gartner (November 2008)
6 มีนาคม 2553                                               www.nesdb.go.th                                                        18
พืนทีการให้ บริการโทรคมนาคมของ บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน)
                                CRI
                         CM I
                MSNT                PYO
                                            NAN
                                                                                                                  Core Router
                       LPN             PRE
                             LPG

                                      UTT           LEIT     NLP
                                                                   NKI
                                                                     UDN
                                                                                 NPM                                     (หล
                                                                                                                 กทม . (หล ักสี่ , กรุงเกษม )
                                    STI PLK                                    SNK
                        TAK                                              KKN                                     เชี ยงใหม
                                                                             MDH
                              KPT         PCTT
                                                  PBN                    KSN                                     แพร
                                      NSN                             MKM RET
                                                                                 ACR
                                               CPM                           YST
                                                                                         UBN                     พิษ ณุ โลก
                              UTI                        BRM
                               CNT
                                  SBR LRI
                                                 NMA
                                                             SRN
                                                                                   SSK                           นครสวรรค
                                        SRI
                             SPB ATG
                                    AYA   NYK PRI                                                                อุดรธานี
                           KRI       BKK           SKE
                         NPT
                             RBR
                                           CCO
                                             CBI
                                                                                                                 ขอนแกน
                                   SKM
                                   PBIT
                                             RYG
                                                                                                                 อุบลราชธานี
                                                   CTI
                                                     TRT
                                                                                                                 นครราชสีมา
                                      PKN
                                                                                                                 อยุ ธยา
                                                                                                                 นครปฐม
                                                                                                                 ปราจีนบุ รี
                               CPN
                RNGT
                                                                                                                 ชลบุ รี
                   PNA PPN SNI                                                                                   พุนพิน
                             KBI
                                      NRT
                                                                                                                 พ ังงา
                       PKT           PLG
                                   TRG            SKA                                                            สงขลา
                                                        PTN
                                                 HYA                                                             หาดใหญ
                                                               NWT
                                      STN              YLA

                                                             SKL



* พืนทีการให้ บริการโทรคมนาคมของ บริษัท กสท. โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) ครอบคลุ มทัวประเทศเช่ นเดียวกัน แต่ ชุมสายสัญญาณนําส่ งข้ อมูลความเร็วสูง
  (Router) แตกต่ างกันในแต่ ละพืนที
6 มีนาคม 2553                                                                                  www.nesdb.go.th                                    19
ภาพรวมการพัฒนาระบบโทรคมนาคมสือสารระหว่ างประเทศ : ระบบเคเบิลใต้ นํา
                                                     ของ บริ ษัท กสท. โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน)




                                  Phetch                 Srira
                                  aburi                  cha

                              Chumphon
                                                                   To:Vietnam, Hong Kong
                                 Ko-Samui                          To:Malaysia, Singapore


                                                                       To:Hong kong
                To:Middle East Europe                                           ขนาดโครงข่ าย
                                        FLAG                                     160 Gigabits
                 To:Middle East
                                               Satun Songkhla

6 มีนาคม 2553                                    www.nesdb.go.th                                   20
การดําเนินงานระยะต่ อไป : การขับเคลือนเศรษฐกิจสร้ างสรรค์
                                                                            4



6 มีนาคม 2553                                    www.nesdb.go.th                21
นิยามและขอบเขตเศรษฐกิจสร้ างสรรค์ ของไทย
  “เศรษฐกิจสร้ างสรรค์ ” คือ ระบบเศรษฐกิจทีผสมผสานสินทรัพย์ทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้ องถิน และเอกลักษณ์ ค วามเป็ น
  ไทย เข้ ากับความรู้และเทคโนโลยีทีเหมาะสม เพือผลิตสินค้ าและบริ การทีมีคุณลักษณะเฉพาะตัว มีการออกแบบและนวัตกรรม
  ของตนเอง ซึงจะเป็ นการสร้ างงานและสร้ างมูลค่าทางเศรษฐกิจ ตลอดจนเพิมขีดความสามารถในการแข่งขันของไทย อันจะ
  นําไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในทีสุด
                 ท ุนทางวัฒนธรรม+ คนทีมีความคิดสร้างสรรค์ เปนวัตถ ุดิบชันเยียมของเศรษฐกิจสร้างสรรค์
                                                            ็
           ขอบเขตของ                              มรดกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ
        เศรษฐกิจสร้ างสรรค์                         (1) งานฝี มือ/หัตถกรรม (2) การแพทย์แผนไทย
          ในประเทศไทย                               (3) อาหารไทย           (4) การท่องเทียวเชิงวัฒนธรรม/
                                                                               ความหลากหลายทางชีวภาพ
  สศช. ไ ด้ จั ด ประเภทเ ศรษฐกิ จ                 ศิลปะ
  สร้ างสรรค์ โ ดยยึ ด รู ปแบบของ                   (1) ศิลปะการแสดง
  UNCTAD เ ป็ นกรอบ และปรั บ                        (2) ทัศนศิลป์
  เ พิ ม เ ติ ม ต า ม รู ป แ บ บ ข อ ง
  UNESCO ทั งนี เป็ นการกํ า หนด
  กรอบโดยกว้ า งเพือประโยชน์ ใ น
                                                  สือ                                                         N
                                                                                                              O
  การวั ด ขนาดทางเศรษฐกิ จ ของ                      (1) ภาพยนตร์และวีดีทศน์
                                                                        ั             (2) การพิมพ์            N
  อุตสาหกรรมและบริ การสร้ างสรรค์                   (3) การกระจายเสียง                (4) ดนตรี               C
                                                                                                              U
  ข อ ง ไ ท ย แ ล ะ ส ะ ท้ อ น ถึ ง                                                                           L
  ความสํ า คั ญ ต่ อ ระบบเศรษฐกิ จ                งานสร้ างสรรค์ และออกแบบ                                    T
  ไทย โดยแบ่ ง เป็ น 4 กลุ่ ม หลั ก                 (1) การออกแบบ         (2) แฟชัน                           U
  และ 15 สาขาย่ อย                                  (3) สถาปั ตยกรรม      (4) การโฆษณา      (5) ซอฟต์แวร์     R
                                                                                                              E
NESDB                                                                                                         22
เศรษฐกิจสร้ างสรรค์ ของไทยเปรี ยบเทียบกับต่ างประเทศ
                                            DCMS   Symbolic   Concentric   WIPO   UNCTAD   UNESCO/   Thailand
             ประเภทสินค้า/บริการ
                                            (UK)     Texts      Circles                      UIS
  1.   การโฆษณา
  2.   สถาปั ตยกรรม
  3.   การออกแบบ
  4.   แฟชัน
  5.   ฟิ ลม และวีดโอ
           ์       ี
  6.   ฮาร์ดแวร์ (อุปกรณ์)
  7.   บริการท่องเทียว
  8.   วรรณกรรม
  9.   ดนตรี
  10. พิพธภัณฑ์ ห ้องแสดง ห ้องสมุด
         ิ
  11. การพิมพ์ สือสิงพิมพ์
  12. ซอฟต์แวร์
  13. กีฬา
  14. ศิลปะการแสดง (ละครเวที และเต ้นรํา)
  15. การกระจายเสียง
  16. วีดโอเกมส์
         ี
  17. ทัศนศิลป์ การถ่ายภาพ งานฝี มือ
  18. อาหารไทย
  19. การแพทย์แผนไทย

  การจัดขอบเขตของเศรษฐกิจสร ้างสรรค์ของแต่ละประเทศหรือองค์การระหว่างประเทศ แม ้ว่าจะมีทังความเหมือนและแตกต่าง
                        กัน แต่ด ้วยภูมสังคมทีแตกต่า งกัน ทํ าให ้มีเอกลั กษณ์ทีเป็ นเฉพาะตัว
                                       ิ
NESDB                                                                                                     23
จุดเริ มต้ นของเศรษฐกิจสร้ างสรรค์ ในประเทศไทย

            หลังวิกฤตเศรษฐกิจปี 2540 ต่อเนืองถึงแผน 10 : เริมมีการกล่าวถึง Value creation การเพิมคุณค่าของสินค้ า
                        และบริการบนฐานความรู้และนวัตกรรม และเน้ นการสร้ างคุณค่าตลอด Value chain




        จากแผนฯ 10 สู่แผนฯ 11: ทุนของประเทศ เพือสร้ างความสมดุลระหว่างทุน 3 ทุน คือ ทุนเศรษฐกิจ ทุนสังคม และทุน
        ทรัพยากรธรรมชาติ/สิงแวดล้อม เพือมุ่งสูสงคมอยู่เย็นเป็ นสุขร่วมกัน ได้ มีบริบทของทุนทีละเอียดซับซ้ อนขึนเป็ น 6 ทุน
                                             ่ ั
                  โดยมีทนวัฒนธรรมเข้ ามาเป็ นส่ วนสําคัญและยึดโยงทุนด้านอืนๆ ของการพัฒนาประเทศ
                         ุ

                                                                                                                      Financial Capital (FC)
               ั
           ทุนสงคม                    ทุนเศรษฐกิจ




                                                                          Tangible
                                                                                         Natural Capital           Physical Capital
                                                                                             (NC)                       (PC)




                                                                      Feature
                                                                                                           Cultural
                                                                                                           Capital
                                                                                                            (CC)

                   ทุนทร ัพยากรธรรมชาติ/
                          สิงแวดล้อม
                                                                          Intangible

                                                                                          Social Capital              Human Capital
                                                                                              (SC)                       (HC)

                                                                                       Broad-                                 Specific
                                                                                                             Scope
                                                                                       based
NESDB                                                                                                                                          24 24
ในระยะยาวเศรษฐกิจสร้ างสรรค์ จะเป็ นทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
                                                                        โดยเน้ นความเชือมโยงกับภาคเศรษฐกิจจริง
            ภาคเกษตรและ                                              ภาคอุ ตสาหกรรม                                              การท่ องเทียว โดยสร้ างสินค้ า




                                                        อุตสาหกรรม
    เกษตร




                                                                                                              ท่องเทียว/บริการ
            ทรั พยากรธรรมชาติ                                                                                                    ท่ องเทียวใหม่ ๆ แก่ ธุรกิจการ
                                                                     • สร้ างสินค้ าทีมี การออกแบบ (ODM)                         ท่ องเทียวไทยให้ เป็ นแหล่ ง
            • ใช้ ประโยชน์ จากการทีไทยเป็ น                            และสร้ างแบรนด์ หรื อตราสินค้ าเป็ น
                                                                                                                                 ท่ องเทียวของตลาดท่ องเที ยวโลก
              ประเทศผู้ ผลิตอาหารโลก รวมทัง                            ของตนเอง (OBM) เช่ น
              ความหลากหลายทางชี วภาพและ                                อุตสาหกรรมแฟชั น สินค้ าไลฟสไตล์
                                                                                                     ์                           มี การบริ หารจัดการทีดีควบคู่ไปการ
              สมุ นไพร ซึงวั นนี สินค้ าส่ งออกของ                     ผลิตภัณฑ์ สุขภาพ                                          สร้ างสินค้ าท่ องเทียวใหม่ รวมทัง
              ไทยทีมาจากมิปัญญาและสมุ นไพร                             เป็ นต้ น                                                 สร้ างเรื องราวของสินค้ าท่ องเทียวที
              ไทยเป็ นทีนิ ยมและราคาค่ อนข้ างดี                     • ขณะเดียวกั น การออกแบบสามารถ                              เชื อมโยงกั บวั ฒนธรรมและวิถีชีวิต
              เนื องจากแนวโน้ มของโลกมี ความ                           สอดแทรกเข้ าไปได้ ในทุก                                   เช่ น การท่ องเทียวเชิงวั ฒนธรรม
              ชั ดเจนว่ าจะให้ ความสําคั ญกั บสินค้ า                  อุตสาหกรรม อีกนั ยหนึงคือ                                 สําหรั บเยาวชนในภูมิภาคเอเชี ยแป
              สุ ขภาพมากขึน                                            ความคิดสร้ างสรรค์ (Creativity)                           ซิฟิค เป็ นต้ น
            • การย้ อนกลั บมาเห็นความสําคั ญของ                        สามารถนําเข้ าสู่ ในกระบวนการผลิต                         ภาคบริ การ เพือเพิมศั กยภาพ
              ภาคเกษตร ซึงถื อเป็ นรากฐานและ                           สินค้ าอุตสาหกรรม: นี คือ                                 และขี ดความสามารถในการแข่ งขั น
              เป็ นจุดแข็งของประเทศไทยและหา                            ความหมายของเศรษฐกิจสร้ างสรรค์                            ของบริ การสาขาต่ างๆ ของ
              แนวทางเพิมคุณค่ าจะช่ วยให้ มีการ                        เพือการพัฒนาอุ ตสาหกรรมในวง                               ประเทศ ให้ ไทยเป็ น service-driven
              พัฒนาอย่ างยังยืนอย่ างแท้ จริ ง                         กว้ าง                                                    economy บนพืนฐานของความ
                                                                                                                                 ชํานาญเฉพาะด้ านและเอกลั กษณ์
                                                                                                                                 ความเป็ นไทย เช่ น บริ การสาขา
                                                                                                                                 โสตทัศน์ ซึงรวมภาพยนตร์ และ
                                                                                                                                 เพลง บริ การโฆษณา เป็ นต้ น




NESDB                                                                                                                                                                    25 25
ประเด็นเชิงยุทธศาสตร์ เพือการขับเคลือนเศรษฐกิจและสังคมสร้ างสรรค์




        1) การพัฒนาระดับมหภาค                            2) การพัฒนาโครงสร้ างพืนฐานและ                                 3) การพัฒนาผู้ประกอบการ
        - พัฒนาเศรษฐกิจสร้ างสรรค์                           สภาพแวดล้ อม                                                 ธุรกิจและบุคลากรด้ าน
          ควบคู่ไปกับการพัฒนา                            - พัฒนาปั จจัยแวดล้ อมทีกระตุ้นให้ ภาคเอกชน
                                                                                                                          สร้ างสรรค์
          เศรษฐกิจฐานความรู้                                 ลงทุนผลิต สินค้ าเชิง สร้ างสรรค์
                                                                                                                        - ขับเคลือนและสร้ างโอกาสให้กบ  ั
        - กําหนดนโยบายบูรณาการการ                        - พัฒนาระบบฐานข้ อมูล สือสาร และ
                                                             คมนาคมทีมีประสิทธิภาพ                                        ผู้ประกอบการธุรกิจสร้ างสรรค์
          ดําเนินงานของหน่วยงาน                                                                                         - พัฒนาบุคลากรวิชาชีพเชิง
                                                         - ให้ คุณค่าต่อทรัพย์สินทางปั ญญาจาก
        - ปรับโครงสร้ างการผลิตและ                                                                                        สร้ างสรรค์
                                                             ความคิดสร้ างสรรค์
          บริการของประเทศอย่าง                           - ศึกษาวิจยและพัฒนาเชิงลึกในสาขา
                                                                      ั
          ต่อเนือง                                           เศรษฐกิจสร้ างสรรค์และทุนวัฒนธรรม
                                                         - จัดและพัฒนาพืนทีทีเป็ นแหล่งเรียนรู้ นอก
                                                             ห้ องเรียน รวมทังสร้ างเมืองสร้ างสรรค์




  * อุตสาหกรรม ICT เป็ นอีกสาขาของเศรษฐกิจสร้ างสรรค์ ทสามารถสร้ างรายได้ ให้ แก่ประเทศไทยได้ (End) พร้ อมทังเป็ นปั จ จัยสนับสนุนให้ เกิดธุรกิจสร้ างสรรค์ อืนๆ
                                                       ี
  ตามมาเนืองจากประชาชนสามารถเข้ าถึงความรู้ และเทคโนโลยีได้ ง่ายขึน โดยใช้ ระบบ ICT เป็ นสือ (Mean)
NESDB                                                                                                                                                              26 26
กลไกระดับคณะกรรมการเพือส่ งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจสร้ างสรรค์ ไทย



                                                             คณะกรรมการนโยบาย
                                                    เศรษฐกิจสร้ างสรรค์ แห่ งชาติ นายกรัฐมนตรี
                                                                  เป็ นประธาน*
                                                                                                      เปาหมาย
                                                                                                        ้

                                                                                                   เพิมสัด้ ส่ วนเศรษฐกิจ
                                                                                                         เปาหมาย
                                                                                                   สร้ างสรรค์ ต่อ GDP
                                                           คณะอนุกรรมการบริหารนโยบาย               จากร้ อยละ 10-12
                                                               เศรษฐกิจสร้ างสรรค์                 เป็ นร้ อยละ 20 ใน
                                                             รมช. พณ. อลงกรณ์ พลบุตร               ปี 2555
                                                                   เป็ นประธาน


                                       รัฐบาลจัดเงินให้ ในแผนปฏิบัติการไทยเข้ มแข็ง
                       แผนการพัฒนาศักยภาพเศรษฐกิจสร้ างสรรค์ ภายใต้ แผนฟื นฟูเศรษฐกิจระยะที 2 (SP2)
                   หรือแผนปฏิบัติการไทยเข้ มแข็ง 2555 (อนุมัติแล้ ว 2,330.59 ล.บ. ภายใต้ กรอบ 6,925.93 ล.บ.)
  * มติ ครม. วันที 15 ก.ย. 52 เพือยกระดับกลไกขับเคลือนพัฒนาเศรษฐกิจสร้ างสรรค์ เป็ นวาระแห่งชาติ
  อีกทังยังบู รณาการกลไกขับเคลือนทีมีอยูแล้ วเพือขับเคลือนพันธสัญญา 12 ข้ อ
                                         ่
NESDB                                                                                                                       27
ตัวอย่ างโครงการเศรษฐกิจสร้ างสรรค์ ของ OKMD, TCDC ทีจะเกิดในปี 2553

                  1. โครงการ Creative City ระหว่ าง พ.ย. 52 - มี.ค. 53
        พ.ย. 52          26-27 ธ.ค. 52       (ระหว่ างดําเนินการ)   (ระหว่ างดําเนินการ)   (ระหว่ างดําเนินการ)

 1. โครงการเปิ ดตัว   2. มหกรรมเครือข่ าย     3. เปิ ดตัวโครงการ    4. มหกรรมเครือข่ าย    5. งาน Creativities
    Skill Mapping        ดนตรีกรุงเทพฯ         Creative Studio        อาหารกรุงเทพฯ        Unfold 2009-2010


                               CREATIVE CITY




NESDB                                                                                                       28
2. โครงการ มหกรรมเครื อข่ ายอาหารกรุ งเทพฯ
                             แนวทางการดําเนินงาน                                                             เมืองโพพายัน ประเทศโคลัมเบีย

     ร่ วมมือกับกรุ งเทพมหานครในการ
     จัดมหกรรมเครื อ ข่ายอาหาร 3 วัน    การสาธิตการทํ าอาหารที มีความหลากหลาย
       บริ เวณลานคนเมือ งเพือเป็ นการ    ตังแต่สตรของอาหารไปจนถึงวัตถุดิบที แตกต่าง
                                                ู
    สร้ างภาพลักษณ์ ของเมืองกรุ งเทพฯ    กันในราคาหลากหลายระดับ
    ในการเป็ นเมืองแห่งอาหารการกิ นที   เวทีสมมนาสูตรอาหารต้ นตํารั บเพือเกาะกระแส
                                             ั
        มีอาหารทีเป็ นเอกลักษณ์ และมี    Slow Food
     ความหลากหลายของวัตถุดิบทีจะ        บูธขายอาหารสูตรเด็ดจากทัวกรุ งเทพฯ
           มาประกอบเป็ นอาหารเพือ       เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ งานผ่านเครื อข่ายสือที
      ตอบสนองผู้บริ โภคทีหลากหลาย        สนับสนุ น
             ระดับ โดยผ่านกิจกรรม




                         กรุงเทพ... มหานครแห่ งอาหาร
                            (Bangkok…City
                             Bangkok…City
                             of Gastronomy)



                                                                           ทีมา TCDC: นิตยสารส่ งเสริมความคิดสร้ างสรรค์ผลักดันเศรษฐกิจไทย
NESDB                                                                                                                                        29
3. โครงการของ SIPA “Digital Media Asia 2010”


        • เป็ นการดํ า เนิน การจัดนิทรรศการระดับ นานาชาติ เพือให้ เ กิด การรวมตัว ของประเทศใน
          อาเซียน ญีปุ่ น เกาหลี และจีน ในการสร้ างศักยภาพความแข็งแกร่งของอุตสาหกรรมเนือหาดิ
          จิตัลรวมทังจัดการสัมมนาวิชาการ สัมมนาปฏิบติ การระดับ โลก เพือให้ เ กิดการถ่า ยทอด
                                                          ั
          เทคโนโลยีและประสบการณ์ขนสูงในการประกอบธุรกิจในสาขานี โดยมี กระทรวงเทคโนโลยี
                                       ั
          สารสนเทศและการสือสารเป็ นผู้รับผิดชอบ วงเงินงบประมาณรวม 200 ล้ านบาท




NESDB                                                                                           30
ตัวอย่ างความสําเร็ จของอุตสาหกรรมสร้ างสรรค์ ไทย
   บริ ษัท โยธกา อินเตอร์ เนชั นแนล จํากั ด
                  ชุ บชี วิตผั กตบชวาให้ กลายเป็ นเฟอร์ นิเจอร์ ทําเงิน            โยธกา เป็ นบริ ษัทแรกของโลกที พั ฒนาเทคนิ ค การใช้ ผั ก ตบชวาเพื อการผลิ ต
                                                                                  เฟอร์ นิเจอร์ และของตกแต่ งบ้ านครบวงจร ด้ วยการออกแบบที ผสมผสานความ
                                                                                  เป็ นไทยและความทันสมั ยอย่ างกลมกลื น รวมทั งช่ างฝี มื อ ที มี ค วามชํ านาญใน
                                                                                  การพัฒนาวั สดุ ธ รรมชาติอื นๆ ที หาได้ ในท้ อ งถิ น เช่ น สิ เภา กระดาษจากใบ
                                                                                  สั บปะรด เป็ นต้ น ไปจนถึงการพัฒนาเทคนิคปองกั นเชื อรา
                                                                                                                              ้
                                                                                  โยธกา สามารถคว้ ารางวั ล การออกแบบจํานวนมาก และสร้ างรายได้ ให้ กั บ
                                                                                  ประเทศหลายพันล้ านบาทตลอดช่ วง 10 ปี ทีผ่ านมา
   บริ ษัท HARNN PRODUCTS จํากั ด
               โฮมสปาสั ญชาติไทยที เติบโตเป็ นธุ รกิจร้ อยล้ านใน 10 ปี            บริ ษัทเริ มธุ รกิจจากการขายสบู่ธรรมชาติ และขยายเป็ นผลิ ตภั ณ ฑ์ โฮมสปา ได้
                                                                                  เริ มทําตลาดในประเทศควบคู่ ไ ปกั บ การให้ ค วามรู้ เรื องอโรมาเธอราพี ซึ งเป็ น
                                                                                  เรื องใหม่ สําหรั บผู้ บริ โภคเวลานั น
                                                                                  ด้ ว ยการมี แ บรนด์ ที ชั ดเจน ได้ เริ มจดสิ ท ธิ บั ตรในการใช้ นํ ามั น รํ าข้ าวมาเป็ น
                                                                                  วั ตถุ ดบหลั กในการทําสบู่ รวมทังการให้ ความสําคัญในการวิ จัยและพั ฒนา เพื อ
                                                                                          ิ
                                                                                  คิดค้ นผลิตภั ณ ฑ์ ใหม่ ๆ จากธรรมชาติ การออกแบบบรรจุ ภั ณ ฑ์ ที โดดเด่ น มี
                                                                                  เอกลั กษณ์ ของความเป็ นไทย การบริ ห ารด้ านการตลาด ทําให้ บ ริ ษัท ฯ มี ส าขา
                                                                                  ให้ บริ การอยู่ใน 20 ประเทศทัวโลก
   ISSUE เสื อผ้ าแบรนด์ ไทย บันดาลใจจากวั ฒนธรรมทีพบเห็นจากการเดินทาง
                                                                                  ภูภ วิ ศ กฤตพลนารา เจ้ าของเสื อผ้ าแบรนด์ ไ ทย ISSUE เกิ ดความคิดในการ
                                                                                  ออกแบบเสื อผ้ าที สามารถแสดงความเป็ นปั จเจกบุ ค คล ซึ งภู ภ วิ ศ เริ มหา
                                                                                  ประสบการณ์ จากการทํางานกั บแบรนด์ ชันนําเป็ นเวลาหลายปี จากนั นจึง ค่ อ ยมา
                                                                                  สร้ างแบรนด์ ของตนเอง
                                                                                  การนําเสนอวั ฒนธรรมดั งเดิม ความเชื อ ความศรั ทธา และการเดิน ทางผ่ าน
                                                                                  เสื อผ้ าเป็ นเอกลั กษณ์ ทีโดดเด่ นของ ISSUE อีกทัง การพิถี พ ิถั น เลื อ กใช้ เนื อผ้ า
                                                                                  และปราณี ตในเทคนิคการผลิ ตทั งปั ก ถั ก มั ด ย้ อ ม ทําให้ ISSUE เป็ นแบรนด์
                                                                                  แฟชั นทีสร้ างความประทับใจมานานกว่ า 9 ปี
NESDB                                                                                                                                                                  31

More Related Content

What's hot

Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016sakarinkhul
 
Strategic management
Strategic managementStrategic management
Strategic managementTum Aditap
 
การวางแผนการจัดการความรู้
การวางแผนการจัดการความรู้การวางแผนการจัดการความรู้
การวางแผนการจัดการความรู้Prachyanun Nilsook
 
Business concept competition and cooperations
Business concept competition and cooperationsBusiness concept competition and cooperations
Business concept competition and cooperationsUtai Sukviwatsirikul
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์Thida Noodaeng
 
การจัดการพื้นที่ร้านและMerchandise Management by ผศ.ดร.วิพุธ อ่องสกุล
การจัดการพื้นที่ร้านและMerchandise Management  by ผศ.ดร.วิพุธ อ่องสกุลการจัดการพื้นที่ร้านและMerchandise Management  by ผศ.ดร.วิพุธ อ่องสกุล
การจัดการพื้นที่ร้านและMerchandise Management by ผศ.ดร.วิพุธ อ่องสกุลUtai Sukviwatsirikul
 
Strategic management drugstore by dr. viput
Strategic management drugstore by dr. viputStrategic management drugstore by dr. viput
Strategic management drugstore by dr. viputUtai Sukviwatsirikul
 

What's hot (16)

D:\2
D:\2D:\2
D:\2
 
Po
PoPo
Po
 
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
 
Swot(sk)
Swot(sk)Swot(sk)
Swot(sk)
 
Strategic Management
Strategic ManagementStrategic Management
Strategic Management
 
Strategic management
Strategic managementStrategic management
Strategic management
 
Pol 6300 rawipa 16 nov 2012 line 1 (1)
Pol 6300 rawipa 16 nov 2012 line 1 (1)Pol 6300 rawipa 16 nov 2012 line 1 (1)
Pol 6300 rawipa 16 nov 2012 line 1 (1)
 
Tu tot1
Tu tot1Tu tot1
Tu tot1
 
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
 
No1
No1No1
No1
 
DGD641-Strategic selection
DGD641-Strategic selectionDGD641-Strategic selection
DGD641-Strategic selection
 
การวางแผนการจัดการความรู้
การวางแผนการจัดการความรู้การวางแผนการจัดการความรู้
การวางแผนการจัดการความรู้
 
Business concept competition and cooperations
Business concept competition and cooperationsBusiness concept competition and cooperations
Business concept competition and cooperations
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์
 
การจัดการพื้นที่ร้านและMerchandise Management by ผศ.ดร.วิพุธ อ่องสกุล
การจัดการพื้นที่ร้านและMerchandise Management  by ผศ.ดร.วิพุธ อ่องสกุลการจัดการพื้นที่ร้านและMerchandise Management  by ผศ.ดร.วิพุธ อ่องสกุล
การจัดการพื้นที่ร้านและMerchandise Management by ผศ.ดร.วิพุธ อ่องสกุล
 
Strategic management drugstore by dr. viput
Strategic management drugstore by dr. viputStrategic management drugstore by dr. viput
Strategic management drugstore by dr. viput
 

Similar to NESDB View on ICT and Productivity

C:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With Ict
C:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With IctC:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With Ict
C:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With Ictthanapat yeekhaday
 
Scaling the Smart Factory - Value of the Ecosystem Approach
Scaling the Smart Factory - Value of the Ecosystem ApproachScaling the Smart Factory - Value of the Ecosystem Approach
Scaling the Smart Factory - Value of the Ecosystem ApproachPanita Pongpaibool
 
NSTDA Bio Technology Industry
NSTDA Bio Technology IndustryNSTDA Bio Technology Industry
NSTDA Bio Technology IndustryNSTDA Thailand
 
01 sirirurg-songsivilai-royin-20190831
01 sirirurg-songsivilai-royin-2019083101 sirirurg-songsivilai-royin-20190831
01 sirirurg-songsivilai-royin-20190831thanaruk theeramunkong
 
ศูนย์ภาคีวิจัยล้านนา
ศูนย์ภาคีวิจัยล้านนาศูนย์ภาคีวิจัยล้านนา
ศูนย์ภาคีวิจัยล้านนาrattapol
 
Thai-Japan : Management of Technology
Thai-Japan : Management of TechnologyThai-Japan : Management of Technology
Thai-Japan : Management of Technologypantapong
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์นันทนา วงศ์สมิตกุล
 
Communication innovation swu week#3
Communication innovation swu week#3Communication innovation swu week#3
Communication innovation swu week#3pantapong
 
สรุปกลยุทธ์
สรุปกลยุทธ์สรุปกลยุทธ์
สรุปกลยุทธ์Saran Yuwanna
 

Similar to NESDB View on ICT and Productivity (20)

C:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With Ict
C:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With IctC:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With Ict
C:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With Ict
 
Po
PoPo
Po
 
Watsubsamosorn
WatsubsamosornWatsubsamosorn
Watsubsamosorn
 
Scaling the Smart Factory - Value of the Ecosystem Approach
Scaling the Smart Factory - Value of the Ecosystem ApproachScaling the Smart Factory - Value of the Ecosystem Approach
Scaling the Smart Factory - Value of the Ecosystem Approach
 
1
11
1
 
NSTDA Plan 2552
NSTDA Plan 2552NSTDA Plan 2552
NSTDA Plan 2552
 
Plans
PlansPlans
Plans
 
NSTDA Bio Technology Industry
NSTDA Bio Technology IndustryNSTDA Bio Technology Industry
NSTDA Bio Technology Industry
 
01 sirirurg-songsivilai-royin-20190831
01 sirirurg-songsivilai-royin-2019083101 sirirurg-songsivilai-royin-20190831
01 sirirurg-songsivilai-royin-20190831
 
Nrct
NrctNrct
Nrct
 
ศูนย์ภาคีวิจัยล้านนา
ศูนย์ภาคีวิจัยล้านนาศูนย์ภาคีวิจัยล้านนา
ศูนย์ภาคีวิจัยล้านนา
 
การประยุกต์ใช้แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานด้านการจัดการโลจิสติกส์ของบริษัท ...
การประยุกต์ใช้แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานด้านการจัดการโลจิสติกส์ของบริษัท ...การประยุกต์ใช้แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานด้านการจัดการโลจิสติกส์ของบริษัท ...
การประยุกต์ใช้แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานด้านการจัดการโลจิสติกส์ของบริษัท ...
 
Thai-Japan : Management of Technology
Thai-Japan : Management of TechnologyThai-Japan : Management of Technology
Thai-Japan : Management of Technology
 
Planning with PDCA
Planning with PDCAPlanning with PDCA
Planning with PDCA
 
Nstda annual 2009
Nstda annual 2009Nstda annual 2009
Nstda annual 2009
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
 
Communication innovation swu week#3
Communication innovation swu week#3Communication innovation swu week#3
Communication innovation swu week#3
 
สรุปกลยุทธ์
สรุปกลยุทธ์สรุปกลยุทธ์
สรุปกลยุทธ์
 
Pea Workshop 2009 20 5 09
Pea Workshop 2009 20 5 09Pea Workshop 2009 20 5 09
Pea Workshop 2009 20 5 09
 
Business plan
Business planBusiness plan
Business plan
 

NESDB View on ICT and Productivity

  • 1. การประชุมระดมความคิดเห็นผู้เชียวชาญระดับสูง (High-level Expert Roundtable) ชุดที 3 ประเด็นท้ าทายต่ อการขับเคลือน ICT ของประเทศไทยในระยะ 10 ปี (Grand Challenges Thematic Session) เรืองที 3 บทบาทของ ICT กับการแข่ งขันอย่ างยังยืนของภาคธุรกิจไทย นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ รองเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ ง ชาติ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ (สศช.) วันเสาร์ ที 6 มีนาคม 2553 เวลา 9.00-9.30 น. ณ โรงแรม THE TIDE RESORT บางแสน จังหวัดชลบุรี 6 มีนาคม 2553 www.nesdb.go.th 1
  • 2. ประเด็นการอภิปราย 1 ผลิตภาพการผลิต (Productivity) คืออะไร? ผลการศึกษาโครงการขับเคลือนระดับการเพิมผลผลิตและบรรยากาศการลงทุน 2 ประเทศ (PICS) ของ สศช. 3 โครงสร้ างพืนฐานด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร (ICT) ของไทย 4 การดําเนินงานระยะต่ อไป : การขับเคลือนเศรษฐกิจสร้ างสรรค์ 6 มีนาคม 2553 www.nesdb.go.th 2
  • 4. ผลิตภาพการผลิต (Productivity) คืออะไร? ผลิตภาพการผลิตบางส่ วน ผลิตภาพการผลิตรวม (Partial Productivity) (Total Factor Productivity ; TFP) เป็ นการวัดผลิต ภาพการผลิต ของการใช้ ปั จจัย หมายถึงการเพิมขึนผลผลิตโดยมิได้ มาจากการ การผลิตชนิดใดชนิดหนึง โดยให้ ปัจจัยอืนๆ คงที เพิมขึนของปั จจัยการผลิต คื อ ปั จจัย แรงงาน แสดงถึง การใช้ ปัจจัยการผลิต (Input) 1 หน่ว ย ทีดิน และทุน ซึงนักเศรษฐศาสตร์ จะเรี ยกส่ว นที ก่อให้ เกิดผลผลิต (output) กีหน่วย เพิมขึนดังกล่า วนีว่ า เป็ น Residual ตามหลัก ผลิตภาพการผลิต = ผลิต Growth Accounting Analysis หรื อ เป็ นผลมา ปั จจัยการผลิต จากความก้ าวหน้ า ทางเทคโนโลยี และอื นๆ หลา ย ป ร ะก า ร เ ช่ น ก า ร บ ริ หา ร จั ด ก า ร การวั ด ผลิ ต ภาพการผลิต บางส่ว นทีสํา คัญ มี ประสบการณ์ คุณ ภาพแรงงาน ซึงขึนอยู่กั บ 2 ประเภท คื อ 1) ผลิ ต ภาพแรงงาน (Labor ระดั บ การศึ ก ษา อายุ เพศ และทีสํ า คัญ คื อ Productivity) และ 2) ผลิ ต ภาพทุน (Capital ความก้ าวหน้ า ทางเทคโนโลยี การวิ จัย และ Productivity) พัฒนา 6 มีนาคม 2553 www.nesdb.go.th 4
  • 5. ผลิตภาพการผลิตรวม (TFP) เกิดขึนอย่ างไร? ผลิตภาพการผลิตรวม (Total Factor Productivity : TFP) การเพิมประสิทธิภาพของการใช้ ปัจจัยการผลิต การสร้ างมูลค่ าสินค้ าและบริการจากการออกแบบ พัฒนาคุณภาพ และสร้ างความแตกต่างทีตรงตาม ความต้องการของผู้บริโภค และสามารถกําหนด ความก้ าวหน้ าทางเทคโนโลยี ทิศทางตลาดได้ • นวัตกรรมของกระบวนการผลิต (Process innovation) นวัตกรรมของผลิตภัณฑ์ (Product innovation) การพัฒนาคุ ณภาพคน/ ทักษะแรงงาน การบริ หารจัดการองค์ กร (เช่ น การใช้ Lean production technique และการทําระบบคุ ณภาพ การพัฒนาคุ ณภาพคน/ แรงงาน การบริ หารจัดการองค์ ความรู้ (TQM)) การยกระดับเทคโนโลยีและนวัตกรรม การพัฒนาระบบโครงสร้ างพืนฐาน และการ การศึกษาและวิเคราะห์ แนวโน้ มตลาด ให้ บริ การ/ การบริ หารจัดการภาครั ฐ R&D ผลิตภาพการผลิตทีเพิมขึน จึงเป็ นการขยายตัวของเศรษฐกิจ ในส่ วนทีนอกเหนือจากใช้ ปัจจัยทุนและแรงงาน 6 มีนาคม 2553 www.nesdb.go.th 5
  • 6. ความสําคัญของผลิตภาพการผลิตรวม (TFP) ต่ อการพัฒนาเศรษฐกิจอย่ างยังยืน การขยายตัวทางเศรษฐกิจ ทีมีทมาจากการเพิมปริ มาณ ี แรงกดดันต่ อ เศรษฐกิจขยายตัว การใช้ ปัจจัยการผลิตเป็ นหลัก โดยทีประสิทธิภาพการใช้ ต้ นทุนการผลิต เงินเฟอสูง ้ แต่ ขาดเสถียรภาพ ปั จจัยการผลิตไม่ เพิมขึนหรื อ ทางเศรษฐกิจ ขาดการเพิมมูลค่ าสินค้ าและ บริ การจากองค์ ความรู้ ภายใต้ ข้อจํากัดด้ านทรัพยากร ต้ องยกระดับศักยภาพการผลิตและรายได้ ทีมาจาก การเพิมประสิทธิภาพการใช้ ปัจจัยการผลิตและสร้ างมูลค่าเพิมให้ แก่ สินค้ าและ บริการเป็ นหลัก โดยไม่ ม่ ุงเน้ นทีการใช้ ปัจจัยการผลิตในปริมาณทีเพิมขึน 6 มีนาคม 2553 www.nesdb.go.th 6
  • 7. กรอบแผนการเพิมประสิทธิภาพและผลิตภาพของภาคอุตสาหกรรมในระยะยาว 1. ยกระดับความสามารถทักษะแรงงาน (Human Skills) ยกระดับความรู้ /ทักษะแรงงานใหม่ และทักษะแรงงานทีมีอยู่เดิม จัดทําฐานข้ อมูลด้ านแรงงาน (Demand Side & Supply Side) สนับสนุ นให้ มีการกําหนดมาตรฐานฝี มือแรงงานทังในและนอกระบบ แผนการเพิม สร้ างตัวคูณในการเสริ มสร้ างทักษะให้ แรงงาน ประสิทธิภาพและ 2. ยกระดับความสามารถทางด้ านการบริหารจัดการ Management) ผลิตภาพของ ปรั บปรุ งประสิทธิภาพการผลิต (กระบวนการผลิต การใช้ พลังงาน เครื องจักร) พัฒนาทักษะการบริ หารจัดการสมัยใหม่ ให้ แก่ ผ้ ูประกอบการ ภาคอุตสาหกรรม 3. ปรับปรุง/พัฒนาปั จจัยสนับสนุนในการเพิมผลิตภาพ (Enabling Factors) พัฒนาระบบ Logistics & Supply Chain ภายในองค์ กร พัฒนา/สนับสนุ นการรวมกลุ่ มธุ รกิจในลักษณะเครื อข่ ายวิสาหกิจ (Cluster) นําระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) มาใช้ ในกระบวนการเพิมผลิตภาพ (ในปี งบประมาณ 2553 สร้ างเครื อข่ ายเชือมโยงฐานข้ อมูลร่ วมกัน มีโครงการรองรับแผนแม่ บท สร้ างความเชือมโยงทางวิชาการระหว่ างภาครั ฐ เอกชน และสถาบันการศึกษา การเพิมประสิทธิภาพฯ ของ ภาคอุตสาหกรรม 26 4. การสร้ างจิตสํานึกและแรงจูงใจ (Awareness & Incentives) โครงการ ภายใต้ วงเงิน 249.7 เผยแพร่ ข้ อมูลแก่ สาธารณะด้ านผลิตภาพระดับประเทศ/อุ ตสาหกรรม ล้ านบาท) สร้ างกระบวนการเพิมผลิตภาพโดยการสร้ างผู้นําการเพิมผลิตภาพในองค์ กร สร้ างสิงจูงใจให้ ผ้ ูประกอบการทีให้ ความสําคัญกับการเพิมผลิตภาพ (สนับสนุ นสินเชือ ยกเว้ นภาษี เป็ นต้ น) ให้ รางวัลคุ ณภาพแห่ ง ชาติ (National Quality Award)ด้ านการเพิมผลิตภาพ สร้ างวัฒนธรรมในการเพิมผลิตภาพ โดยปรั บแนวคิ ดเพือเปลียนพฤติกรรม 6 มีนาคม 2553 www.nesdb.go.th 7
  • 8. ผลการศึกษาโครงการขับเคลือนระดับการเพิมผลผลิตและ บรรยากาศการลงทุนในประเทศ (PICS) ของ สศช. 2 6 มีนาคม 2553 www.nesdb.go.th 8
  • 9. ความเป็ นมา การขับเคลือนการเพิมผลิตภาพการผลิตของประเทศตังแต่แผนฯ 9 ต่อเนืองถึงแผนฯ 10 ภายใต้ ยุทธศาสตร์ การปรับโครงสร้ างการผลิตให้ สมดุลและยังยืน โดยมีเปาหมายทีจะเพิมผลิตภาพการผลิต ้ รวม (TFP) โดยเฉลียไม่ตํากว่าร้ อยละ 3 ต่อปี และเพิมผลิตภาพแรงงานโดยเฉลียร้ อยละ 3.0 ต่อปี ในช่วงปี 2550-2554 สศช. ได้ ร่วมกับ ธ.โลก และสถาบันเพิมผลผลิตแห่งชาติ สํารวจข้อมูลภายใต้ โครงการ PICS มาแล้ ว 2 ครัง คือ มี.ค. 2547 – ก.พ. 2548 และ พ.ค.–พ.ย. 2550 ในปี 2551 ได้ ศกษาในเชิงลึกเรือง กฎระเบียบทีเป็ นอุปสรรคต่อการดําเนินธุรกิจในอุตสาหกรรม ึ 3 กลุ่ม (ชินส่วนยานยนต์ อาหารแปรรูป และเครืองนุ่งห่ม) ปี 2552 สศช. ได้ ร่วมมือกับสภาหอการค้ าฯ และสภาอุตสาหกรรมฯ สร้ างความตระหนักให้ ผู้ประกอบการและหน่วยงานภาครัฐและเอกชนทังในส่วนกลางและภูมิภาค ได้ เห็นความสําคัญและ หาแนวทางปรับปรุงผลิตภาพการผลิตและบรรยากาศการลงทุนในประเทศไทย 6 มีนาคม 2553 www.nesdb.go.th 9
  • 10. วัตถุประสงค์ และวิธีการศึกษา วัตถุประสงค์ วิธีการศึกษา 1. เผยแพร่ ผลการศึกษาโครงการสํ า รวจระดับ การเพิ ม 1. ประมวล รวบรวมข้ อมูลจากผลการสํ ารวจโครงการ ผลผลิ ต และบรรยากาศการลงทุ น ในประเทศไทย ระดับการเพิมระดับผลผลิตและบรรยากาศการลงทุน ซึงเป็ นการวิเคราะห์ข้อมูลการสํ ารวจ 2 ครั ง (ปี 2547 ในประเทศไทย ยกร่างเอกสารประกอบจัดประชุมเชิ ง และ 2550) รวมทังผลการศึกษาเชิงลึกด้ านกฎระเบียบ ปฏิบัติการ ซึงจัดประชุมร่วมกับผู้ทีเกียวข้ องเพือรั บ ฟั ง ภาครัฐเพิมเติม ในปี 2551 ความคิดเห็น 3 ครัง (ขอนแก่น ชลบุรี และกรุงเทพฯ) 2. รั บ ฟั งความคิดเห็ นจากผู้ทีเกียวข้ องในระดับ ภูมิภาค 2. ประมวลผลที ได้ จ ากการประชุมเชิ งปฏิบัติการฯ เพือ และส่ ว นกลาง เพือให้ เกิ ดความเข้ า ใจ สร้ างความ จั ด ทํ า รายงานและข้ อ เสนอแนะในการขั บ เคลื อน ตระหนั ก และใช้ เป็ นแนวทางปรั บ ปรุ งผลิ ต ภาพการ ยุท ธศาสตร์ การเพิ มผลผลิ ต ฯ และเสนอต่ อ คณะ ผลิ ตและบรรยากาศการลงทุน ให้ สอดคล้ องกับ แนว กรรมการบริ ห าร สศช. เพื อรั บ ฟั งข้ อ คิ ด เห็ น และ ทางการเพิ มระดับ ความสามารถในการแข่ง ขัน ใน ข้ อเ สน อแ นะ เพื อนํ าไ ปปรั บป รุ ง แน วท าง กา ร ยุท ธศาสตร์ การปรั บ โครงสร้ างทางเศรษฐกิ จ และ ขับเคลือนฯ เพือใช้ ในการประสานงานกับ หน่วยงานที นโยบายด้ านเศรษฐกิจของรัฐบาลปั จจุบัน เกียวข้ องเพือนําไปสู่การปรับ กระบวนการขับ เคลื อนฯ ทีสอดคล้ องกัน 6 มีนาคม 2553 www.nesdb.go.th 10
  • 11. ภาพรวมผลการสํารวจฯ ปี 2550 เทียบกับ ปี 2547 ระดับความรุนแรงของปั จจัยทีผลกระทบต่ อการดําเนินธุรกิจ 0.00 0.50 1.00 1.50 2.00 2.50 3.00 ความไม่มีเสถียรภาพของเศรษฐกิ จ ความไม่แน่นอนของนโยบายเศรษฐกิ จ ภาพรวมบรรยากาศการลงทุ น ทักษะความชํานาญและการศึกษาของพนักงาน ไทยปรั บ ตัวไปในทิ ศทางที แย่ล ง การทุจริ ตคอร์ รปชัน ั ต้ นทุนทางการเงิน โดยปั จ จัยที เป็ นอุป สรรคต่อการ การค้ าที ไม่เป็ นธรรม ดําเนินธุรกิจมีความรุนแรงเพิมขึน อัตราภาษี ในเกือบทุกปั จจัย (ปี 2550 เที ยบ อาชญากรรม โจรกรรม ปั ญหาสังคม ระเบียบวิธีการทางภาษี กับ 2547) ระเบียบพิธีการศุลกากรและการค้ า ปั จ จัยด้ านความไม่มีเสถียรภาพ ระบบไฟฟา ้ ของเศรษฐกิจ มหภาค และความ การขอสินเชือภายในประเทศ กฎหมายแรงงาน ไม่แน่นอนของนโยบายเศรษฐกิจ การคมนาคมขนส่ง ถูกระบุโดยผู้ป ระกอบการว่าเป็ น ระบบโทรคมนาคม การขอใบอนุญาตและการจดทะเบียนธุรกิ จ อุปสรรคต่อการดําเนิ นธุ รกิจ มาก การขอสินเชือจากต่างประเทศ ทีสุด การถือกรรมสิทธิ ที ดิน ปี 2550 ปี 2547/48 หมายเหตุ คะแนนน้ อยทีสุด = 0 และมากทีสุด = 4 6 มีนาคม 2553 www.nesdb.go.th 11
  • 12. อุปสรรคสําคัญในลําดับต้ นของการดําเนินธุรกิจ ค่าดัชนี อุปสรรค อุปสรรคสําคัญ มาก 851 ขาดเสถียรภาพทางการเมือง 850 ขาดแคลนแรงงาน (1) ความไม่มีเสถียรภาพทางการเมือง 360 ขาดช่องทางเข้าถึงแหล่งทุน (2) การขาดแคลนแรงงานมีฝีมือ 359 330 กฎระเบียบด้านภาษีและอัตราภาษี ขาดอุป สงค์ของสินค้า (3) การเข้ าถึงแหล่งทุน 275 ต้องแข่งขันกับการนําเข้า (4) กฎระเบียบด้ านอัตราและภาษี อากร 235 ปญหาระบบราชการ 193 ต้นทุนค่าสาธารณูปโภค 175 กฎระเบียบด้านเงินตราต่างประเทศ อย่างไรก็ดี สถานการณ์ ทางการเมืองใน 150 อัตราดอกเบียสูง ช่วงเวลาทีทําการสํารวจในปี 2550 ได้ สะท้ อน 147 ระเบียบด้านแรงงาน 117 การทุจริตของเจ้าหน้าทีรัฐ ภาพเข้ ามาเป็ นส่วนหนึงของปั จจัยทีทําให้ 55 ขาดแคลนสิงอํานวยความสะดวกพืนฐาน ผู้ประกอบการระบุวาเป็ นปั ญหาของการ ่ 51 32 ระเบียบการนําเข้า ระเบียบการถือครองทรัพย์สิน ประกอบธุรกิจลําดับแรก 28 ขาดการบริการสนับสนุนธุรกิจ 13 ระเบียบการเปนหุ้นส่ว น (หมายเหตุ ผลจากการสอบถามผู้ประกอบการโดยให้ ระบุเพียง 3 13 ระเบียบการขอตังกิจการ 11 ระเบียบการขอใช้ทีดินและอาคาร ปั จจัยทีเป็ นอุปสรรคในการประกอบธุร กิจมากที สุด คํานวณค่าดัชนี 11 ขาดความรับผิดชอบในสินค้าและบริการ โดยใช้ ค่าถ่วงนําหนัก 3-2-1 สําหรั บอันดับที 1-2-3 ตามลําดับ) น้อย 6 อาชญากรรม 6 มีนาคม 2553 www.nesdb.go.th 12
  • 13. ปั จจัยทีมีผลกระทบต่ อการตัดสินใจในการลงทุนใหม่ /ขยายกิจการ ระดับผลกระทบของแต่ละปั จจัยฯ คํานวณจาก คําถามปลายเปิ ด (มีตวเลื อก) เรี ยงตามคะแนน ั เฉลียของ 5-likert scale (คะแนนน้ อยทีสุดคือ 1 และมากทีสุดคือ 5) ราคานํามันเป็ นปั จจัยอันดับ 1 ที มีผลต่อการ ตัดสินใจลงทุน รองลงมาคือราคาปั จ จัยการ ผลิต และอัตราแลกเปลียน (การสํารวจ PICS รอบที 2 ในปี 2550 เป็ นช่วงเวลาที เด่นชัดใน เรื องราคานํ ามัน สูง ราคาปั จ จัยการผลิ ตสู ง และปั ญหาอัตราแลกเปลียน ) 6 มีนาคม 2553 www.nesdb.go.th 13
  • 14. ภาพรวมด้ านแรงงาน แหล่ งทีมาของแรงงาน คุณภาพแรงงาน ร้ อยละ 60 4.5 4.0 50 3.5 3.0 40 2.5 30 2.0 1.5 20 1.0 10 0.5 0.0 0 ในภูมภาค ิ นอกภูมภาค ิ ประเทศเพือนบ้ าน อืนๆ ปี 2547 ปี 2550 ระดับวิชาชีพ ระดับมีฝีมือการผลิต แนวโน้ มการใช้ แรงงานนอกภูมิภาคมากขึน ขณะทีมีการใช้ แรงงานใน ผู้ประกอบการมีความเห็นว่ า คุ ณภาพแรงงานระดับฝี มือในภาคการผลิต ภูมิภาคลดลงเล็กน้ อย ทีเหลือเป็ นแรงงานจากประเทศเพือนบ้ านซึง มีระดับด้ อยกว่ าคุ ณภาพแรงงานระดับวิชาชีพโดยเฉลียในทุกด้ าน ปรั บตัวลดลงเช่ นกัน โดยเหตุผลของการใช้ แรงงานจากนอกภูมิภาคมาก โดยเฉพาะด้ านภาษาอังกฤษ และความสามารถด้ านเทคโนโลยี ขึน เนื องจากการขาดแคลนแรงงานในภูมิภาค สารสนเทศ (หมายเหตุ คะแนนแย่ ทสุ ดคือ 1 และดีทสุ ดคือ 4) ี ี 6 มีนาคม 2553 www.nesdb.go.th 14
  • 15. ข้ อเสนอและแนวทางการขับเคลือนฯ • การบูรณาการทํางานของหน่วยงานภาครัฐ การประสานงานทีดีจะทําให้ การทํางานของระบบราชการมีประสิทธิภาพ และช่วยลดภาระต้ นทุนให้ แก่ภาคเอกชน • การนําระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ ในกระบวนการทํางานให้ มากขึน การใช้ ICT จะช่วยลดระยะเวลาและภาระ ค่าใช้ จ่ายในการติดต่อ • การกําหนดนโยบายภาครัฐให้ มีทศทางทีชัดเจนและมีความแน่นอน จะส่งผลกระทบเชิงบวกต่อการตัดสินใจในการ ิ ลงทุน • การปรับปรุงกฎระเบียบของภาครัฐ และจัดโครงสร้ างกฎระเบียบภาครัฐทีมีความชัดเจน จะช่วยเพิมความเชือมันทาง ธุรกิจและส่งเสริมการลงทุน • การพัฒนาด้ านโครงสร้ างพืนฐานและระบบสาธารณูปโภคให้ ครอบคลุมพืนทีทังในนิคมอุตสาหกรรม และนอกนิคม อุตสาหกรรม โดยพัฒนาโครงสร้ างพืนฐานด้ านโลจิสติกส์เชือมโยงพืนที • การพัฒนาพืนทีในลักษณะทีเป็ นการพัฒนาเศรษฐกิจอุตสาหกรรมและชุมชนอย่างยังยืน เพือเป็ นต้ นแบบสําหรับการ พัฒนาพืนทีเพือรองรับอุตสาหกรรมใหม่ • การเชือมโยงภาคการผลิต ทังสาขาเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ โดยสนับสนุนการจัดทําเครือข่ายวิสาหกิจ เพือ เพิมความสามารถในการแข่งขันให้ กบผู้ประกอบการ ั 6 มีนาคม 2553 www.nesdb.go.th 15
  • 17. ภาพรวมการให้ บริการโทรคมนาคมของไทย สั ่ นการมีโทรศพท์ของประชาชน เปรียบเทียบสดสวน ั อินเตอร์เน็ ท ความเร็ วสูง หน่วย : ต่อ 100 คน ThaiLand 2.1 120.0 Fix line 97.4 Korea 27.5 100.0 Mobile Hong Kong 26.3 79.4 80.0 75.2 Australia 22.9 59.8 60.0 49.2 Singapore 22.8 43.0 40.0 Taiwan 22.2 16.8 Malaysia 4.6 20.0 11.0 China 4.4 0.0 India 0.3 ไทย มาเลเซีย เกาหล ี ไตหว ัน ้ ทีมา : IMD World Competitive Year Book 2007 0 5 10 15 20 25 30 ปี 2550 ประเทศไทยมี Penetration Rate ี 2.1% ในขณะทีมาเลเซย ปี 2549 มี 4.6% โดย ี ั ้ มาเลเซยตงเปาหมายในปี 2553 เปน 7% ็ 6 มีนาคม 2553 www.nesdb.go.th 17
  • 18. แนวโน้ มการใช้ Broadband Internet ของ โลก ภูมิภาค และไทย โครงสร้ างการใช้ Broadband Internet ของโลก จํานวนผู้ใช้ อินเทอร์ เน็ตความเร็วสูงและตําของไทย Growth 73.9 % Growth -10.6 % ทีมา: Gartner (November 2008) ทีมา: IDC Thailand โครงสร้ างการใช้ Broadband Internet ของเอเชียแปซิฟิก • โลก การใช้ Broadband Internet ของโลกทีระดับสูงกว่า 25 Mbps มีแนวโน้ มเพิมขึนในอัตราทีสูงมาก โดยระดับความเร็ว 25-50 Mbps มีอตราการเติบโตเฉลียเพิมขึนถึง 73.9 % (2550-2555) ั •เอเชียแปซิฟิก การใช้ Broadband Internet ของเอเชียแปซิฟิก Growth -4.3 % ในระดับความเร็ ว 25-50 Mbps มี อตราการเติบโตเฉลียสูงถึง 31.6 % ั (2550-2555) Growth 31.6 % •ไทย การใช้ Broadband Internet ของไทยมี อตราเติบโตใน ั ระดับสูงโดยเฉลีย 66 % (2548-2551) ส่วน Narrowband มีอตราั การเติบโตทีลดลงโดยเฉลียปี ละ 25.6 % ทีมา: Gartner (November 2008) 6 มีนาคม 2553 www.nesdb.go.th 18
  • 19. พืนทีการให้ บริการโทรคมนาคมของ บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) CRI CM I MSNT PYO NAN Core Router LPN PRE LPG UTT LEIT NLP NKI UDN NPM (หล กทม . (หล ักสี่ , กรุงเกษม ) STI PLK SNK TAK KKN เชี ยงใหม MDH KPT PCTT PBN KSN แพร NSN MKM RET ACR CPM YST UBN พิษ ณุ โลก UTI BRM CNT SBR LRI NMA SRN SSK นครสวรรค SRI SPB ATG AYA NYK PRI อุดรธานี KRI BKK SKE NPT RBR CCO CBI ขอนแกน SKM PBIT RYG อุบลราชธานี CTI TRT นครราชสีมา PKN อยุ ธยา นครปฐม ปราจีนบุ รี CPN RNGT ชลบุ รี PNA PPN SNI พุนพิน KBI NRT พ ังงา PKT PLG TRG SKA สงขลา PTN HYA หาดใหญ NWT STN YLA SKL * พืนทีการให้ บริการโทรคมนาคมของ บริษัท กสท. โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) ครอบคลุ มทัวประเทศเช่ นเดียวกัน แต่ ชุมสายสัญญาณนําส่ งข้ อมูลความเร็วสูง (Router) แตกต่ างกันในแต่ ละพืนที 6 มีนาคม 2553 www.nesdb.go.th 19
  • 20. ภาพรวมการพัฒนาระบบโทรคมนาคมสือสารระหว่ างประเทศ : ระบบเคเบิลใต้ นํา ของ บริ ษัท กสท. โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) Phetch Srira aburi cha Chumphon To:Vietnam, Hong Kong Ko-Samui To:Malaysia, Singapore To:Hong kong To:Middle East Europe ขนาดโครงข่ าย FLAG 160 Gigabits To:Middle East Satun Songkhla 6 มีนาคม 2553 www.nesdb.go.th 20
  • 21. การดําเนินงานระยะต่ อไป : การขับเคลือนเศรษฐกิจสร้ างสรรค์ 4 6 มีนาคม 2553 www.nesdb.go.th 21
  • 22. นิยามและขอบเขตเศรษฐกิจสร้ างสรรค์ ของไทย “เศรษฐกิจสร้ างสรรค์ ” คือ ระบบเศรษฐกิจทีผสมผสานสินทรัพย์ทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้ องถิน และเอกลักษณ์ ค วามเป็ น ไทย เข้ ากับความรู้และเทคโนโลยีทีเหมาะสม เพือผลิตสินค้ าและบริ การทีมีคุณลักษณะเฉพาะตัว มีการออกแบบและนวัตกรรม ของตนเอง ซึงจะเป็ นการสร้ างงานและสร้ างมูลค่าทางเศรษฐกิจ ตลอดจนเพิมขีดความสามารถในการแข่งขันของไทย อันจะ นําไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในทีสุด ท ุนทางวัฒนธรรม+ คนทีมีความคิดสร้างสรรค์ เปนวัตถ ุดิบชันเยียมของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ็ ขอบเขตของ มรดกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ เศรษฐกิจสร้ างสรรค์ (1) งานฝี มือ/หัตถกรรม (2) การแพทย์แผนไทย ในประเทศไทย (3) อาหารไทย (4) การท่องเทียวเชิงวัฒนธรรม/ ความหลากหลายทางชีวภาพ สศช. ไ ด้ จั ด ประเภทเ ศรษฐกิ จ ศิลปะ สร้ างสรรค์ โ ดยยึ ด รู ปแบบของ (1) ศิลปะการแสดง UNCTAD เ ป็ นกรอบ และปรั บ (2) ทัศนศิลป์ เ พิ ม เ ติ ม ต า ม รู ป แ บ บ ข อ ง UNESCO ทั งนี เป็ นการกํ า หนด กรอบโดยกว้ า งเพือประโยชน์ ใ น สือ N O การวั ด ขนาดทางเศรษฐกิ จ ของ (1) ภาพยนตร์และวีดีทศน์ ั (2) การพิมพ์ N อุตสาหกรรมและบริ การสร้ างสรรค์ (3) การกระจายเสียง (4) ดนตรี C U ข อ ง ไ ท ย แ ล ะ ส ะ ท้ อ น ถึ ง L ความสํ า คั ญ ต่ อ ระบบเศรษฐกิ จ งานสร้ างสรรค์ และออกแบบ T ไทย โดยแบ่ ง เป็ น 4 กลุ่ ม หลั ก (1) การออกแบบ (2) แฟชัน U และ 15 สาขาย่ อย (3) สถาปั ตยกรรม (4) การโฆษณา (5) ซอฟต์แวร์ R E NESDB 22
  • 23. เศรษฐกิจสร้ างสรรค์ ของไทยเปรี ยบเทียบกับต่ างประเทศ DCMS Symbolic Concentric WIPO UNCTAD UNESCO/ Thailand ประเภทสินค้า/บริการ (UK) Texts Circles UIS 1. การโฆษณา 2. สถาปั ตยกรรม 3. การออกแบบ 4. แฟชัน 5. ฟิ ลม และวีดโอ ์ ี 6. ฮาร์ดแวร์ (อุปกรณ์) 7. บริการท่องเทียว 8. วรรณกรรม 9. ดนตรี 10. พิพธภัณฑ์ ห ้องแสดง ห ้องสมุด ิ 11. การพิมพ์ สือสิงพิมพ์ 12. ซอฟต์แวร์ 13. กีฬา 14. ศิลปะการแสดง (ละครเวที และเต ้นรํา) 15. การกระจายเสียง 16. วีดโอเกมส์ ี 17. ทัศนศิลป์ การถ่ายภาพ งานฝี มือ 18. อาหารไทย 19. การแพทย์แผนไทย การจัดขอบเขตของเศรษฐกิจสร ้างสรรค์ของแต่ละประเทศหรือองค์การระหว่างประเทศ แม ้ว่าจะมีทังความเหมือนและแตกต่าง กัน แต่ด ้วยภูมสังคมทีแตกต่า งกัน ทํ าให ้มีเอกลั กษณ์ทีเป็ นเฉพาะตัว ิ NESDB 23
  • 24. จุดเริ มต้ นของเศรษฐกิจสร้ างสรรค์ ในประเทศไทย หลังวิกฤตเศรษฐกิจปี 2540 ต่อเนืองถึงแผน 10 : เริมมีการกล่าวถึง Value creation การเพิมคุณค่าของสินค้ า และบริการบนฐานความรู้และนวัตกรรม และเน้ นการสร้ างคุณค่าตลอด Value chain จากแผนฯ 10 สู่แผนฯ 11: ทุนของประเทศ เพือสร้ างความสมดุลระหว่างทุน 3 ทุน คือ ทุนเศรษฐกิจ ทุนสังคม และทุน ทรัพยากรธรรมชาติ/สิงแวดล้อม เพือมุ่งสูสงคมอยู่เย็นเป็ นสุขร่วมกัน ได้ มีบริบทของทุนทีละเอียดซับซ้ อนขึนเป็ น 6 ทุน ่ ั โดยมีทนวัฒนธรรมเข้ ามาเป็ นส่ วนสําคัญและยึดโยงทุนด้านอืนๆ ของการพัฒนาประเทศ ุ Financial Capital (FC) ั ทุนสงคม ทุนเศรษฐกิจ Tangible Natural Capital Physical Capital (NC) (PC) Feature Cultural Capital (CC) ทุนทร ัพยากรธรรมชาติ/ สิงแวดล้อม Intangible Social Capital Human Capital (SC) (HC) Broad- Specific Scope based NESDB 24 24
  • 25. ในระยะยาวเศรษฐกิจสร้ างสรรค์ จะเป็ นทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจไทย โดยเน้ นความเชือมโยงกับภาคเศรษฐกิจจริง ภาคเกษตรและ ภาคอุ ตสาหกรรม การท่ องเทียว โดยสร้ างสินค้ า อุตสาหกรรม เกษตร ท่องเทียว/บริการ ทรั พยากรธรรมชาติ ท่ องเทียวใหม่ ๆ แก่ ธุรกิจการ • สร้ างสินค้ าทีมี การออกแบบ (ODM) ท่ องเทียวไทยให้ เป็ นแหล่ ง • ใช้ ประโยชน์ จากการทีไทยเป็ น และสร้ างแบรนด์ หรื อตราสินค้ าเป็ น ท่ องเทียวของตลาดท่ องเที ยวโลก ประเทศผู้ ผลิตอาหารโลก รวมทัง ของตนเอง (OBM) เช่ น ความหลากหลายทางชี วภาพและ อุตสาหกรรมแฟชั น สินค้ าไลฟสไตล์ ์ มี การบริ หารจัดการทีดีควบคู่ไปการ สมุ นไพร ซึงวั นนี สินค้ าส่ งออกของ ผลิตภัณฑ์ สุขภาพ สร้ างสินค้ าท่ องเทียวใหม่ รวมทัง ไทยทีมาจากมิปัญญาและสมุ นไพร เป็ นต้ น สร้ างเรื องราวของสินค้ าท่ องเทียวที ไทยเป็ นทีนิ ยมและราคาค่ อนข้ างดี • ขณะเดียวกั น การออกแบบสามารถ เชื อมโยงกั บวั ฒนธรรมและวิถีชีวิต เนื องจากแนวโน้ มของโลกมี ความ สอดแทรกเข้ าไปได้ ในทุก เช่ น การท่ องเทียวเชิงวั ฒนธรรม ชั ดเจนว่ าจะให้ ความสําคั ญกั บสินค้ า อุตสาหกรรม อีกนั ยหนึงคือ สําหรั บเยาวชนในภูมิภาคเอเชี ยแป สุ ขภาพมากขึน ความคิดสร้ างสรรค์ (Creativity) ซิฟิค เป็ นต้ น • การย้ อนกลั บมาเห็นความสําคั ญของ สามารถนําเข้ าสู่ ในกระบวนการผลิต ภาคบริ การ เพือเพิมศั กยภาพ ภาคเกษตร ซึงถื อเป็ นรากฐานและ สินค้ าอุตสาหกรรม: นี คือ และขี ดความสามารถในการแข่ งขั น เป็ นจุดแข็งของประเทศไทยและหา ความหมายของเศรษฐกิจสร้ างสรรค์ ของบริ การสาขาต่ างๆ ของ แนวทางเพิมคุณค่ าจะช่ วยให้ มีการ เพือการพัฒนาอุ ตสาหกรรมในวง ประเทศ ให้ ไทยเป็ น service-driven พัฒนาอย่ างยังยืนอย่ างแท้ จริ ง กว้ าง economy บนพืนฐานของความ ชํานาญเฉพาะด้ านและเอกลั กษณ์ ความเป็ นไทย เช่ น บริ การสาขา โสตทัศน์ ซึงรวมภาพยนตร์ และ เพลง บริ การโฆษณา เป็ นต้ น NESDB 25 25
  • 26. ประเด็นเชิงยุทธศาสตร์ เพือการขับเคลือนเศรษฐกิจและสังคมสร้ างสรรค์ 1) การพัฒนาระดับมหภาค 2) การพัฒนาโครงสร้ างพืนฐานและ 3) การพัฒนาผู้ประกอบการ - พัฒนาเศรษฐกิจสร้ างสรรค์ สภาพแวดล้ อม ธุรกิจและบุคลากรด้ าน ควบคู่ไปกับการพัฒนา - พัฒนาปั จจัยแวดล้ อมทีกระตุ้นให้ ภาคเอกชน สร้ างสรรค์ เศรษฐกิจฐานความรู้ ลงทุนผลิต สินค้ าเชิง สร้ างสรรค์ - ขับเคลือนและสร้ างโอกาสให้กบ ั - กําหนดนโยบายบูรณาการการ - พัฒนาระบบฐานข้ อมูล สือสาร และ คมนาคมทีมีประสิทธิภาพ ผู้ประกอบการธุรกิจสร้ างสรรค์ ดําเนินงานของหน่วยงาน - พัฒนาบุคลากรวิชาชีพเชิง - ให้ คุณค่าต่อทรัพย์สินทางปั ญญาจาก - ปรับโครงสร้ างการผลิตและ สร้ างสรรค์ ความคิดสร้ างสรรค์ บริการของประเทศอย่าง - ศึกษาวิจยและพัฒนาเชิงลึกในสาขา ั ต่อเนือง เศรษฐกิจสร้ างสรรค์และทุนวัฒนธรรม - จัดและพัฒนาพืนทีทีเป็ นแหล่งเรียนรู้ นอก ห้ องเรียน รวมทังสร้ างเมืองสร้ างสรรค์ * อุตสาหกรรม ICT เป็ นอีกสาขาของเศรษฐกิจสร้ างสรรค์ ทสามารถสร้ างรายได้ ให้ แก่ประเทศไทยได้ (End) พร้ อมทังเป็ นปั จ จัยสนับสนุนให้ เกิดธุรกิจสร้ างสรรค์ อืนๆ ี ตามมาเนืองจากประชาชนสามารถเข้ าถึงความรู้ และเทคโนโลยีได้ ง่ายขึน โดยใช้ ระบบ ICT เป็ นสือ (Mean) NESDB 26 26
  • 27. กลไกระดับคณะกรรมการเพือส่ งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจสร้ างสรรค์ ไทย คณะกรรมการนโยบาย เศรษฐกิจสร้ างสรรค์ แห่ งชาติ นายกรัฐมนตรี เป็ นประธาน* เปาหมาย ้ เพิมสัด้ ส่ วนเศรษฐกิจ เปาหมาย สร้ างสรรค์ ต่อ GDP คณะอนุกรรมการบริหารนโยบาย จากร้ อยละ 10-12 เศรษฐกิจสร้ างสรรค์ เป็ นร้ อยละ 20 ใน รมช. พณ. อลงกรณ์ พลบุตร ปี 2555 เป็ นประธาน รัฐบาลจัดเงินให้ ในแผนปฏิบัติการไทยเข้ มแข็ง แผนการพัฒนาศักยภาพเศรษฐกิจสร้ างสรรค์ ภายใต้ แผนฟื นฟูเศรษฐกิจระยะที 2 (SP2) หรือแผนปฏิบัติการไทยเข้ มแข็ง 2555 (อนุมัติแล้ ว 2,330.59 ล.บ. ภายใต้ กรอบ 6,925.93 ล.บ.) * มติ ครม. วันที 15 ก.ย. 52 เพือยกระดับกลไกขับเคลือนพัฒนาเศรษฐกิจสร้ างสรรค์ เป็ นวาระแห่งชาติ อีกทังยังบู รณาการกลไกขับเคลือนทีมีอยูแล้ วเพือขับเคลือนพันธสัญญา 12 ข้ อ ่ NESDB 27
  • 28. ตัวอย่ างโครงการเศรษฐกิจสร้ างสรรค์ ของ OKMD, TCDC ทีจะเกิดในปี 2553 1. โครงการ Creative City ระหว่ าง พ.ย. 52 - มี.ค. 53 พ.ย. 52 26-27 ธ.ค. 52 (ระหว่ างดําเนินการ) (ระหว่ างดําเนินการ) (ระหว่ างดําเนินการ) 1. โครงการเปิ ดตัว 2. มหกรรมเครือข่ าย 3. เปิ ดตัวโครงการ 4. มหกรรมเครือข่ าย 5. งาน Creativities Skill Mapping ดนตรีกรุงเทพฯ Creative Studio อาหารกรุงเทพฯ Unfold 2009-2010 CREATIVE CITY NESDB 28
  • 29. 2. โครงการ มหกรรมเครื อข่ ายอาหารกรุ งเทพฯ แนวทางการดําเนินงาน เมืองโพพายัน ประเทศโคลัมเบีย ร่ วมมือกับกรุ งเทพมหานครในการ จัดมหกรรมเครื อ ข่ายอาหาร 3 วัน การสาธิตการทํ าอาหารที มีความหลากหลาย บริ เวณลานคนเมือ งเพือเป็ นการ ตังแต่สตรของอาหารไปจนถึงวัตถุดิบที แตกต่าง ู สร้ างภาพลักษณ์ ของเมืองกรุ งเทพฯ กันในราคาหลากหลายระดับ ในการเป็ นเมืองแห่งอาหารการกิ นที เวทีสมมนาสูตรอาหารต้ นตํารั บเพือเกาะกระแส ั มีอาหารทีเป็ นเอกลักษณ์ และมี Slow Food ความหลากหลายของวัตถุดิบทีจะ บูธขายอาหารสูตรเด็ดจากทัวกรุ งเทพฯ มาประกอบเป็ นอาหารเพือ เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ งานผ่านเครื อข่ายสือที ตอบสนองผู้บริ โภคทีหลากหลาย สนับสนุ น ระดับ โดยผ่านกิจกรรม กรุงเทพ... มหานครแห่ งอาหาร (Bangkok…City Bangkok…City of Gastronomy) ทีมา TCDC: นิตยสารส่ งเสริมความคิดสร้ างสรรค์ผลักดันเศรษฐกิจไทย NESDB 29
  • 30. 3. โครงการของ SIPA “Digital Media Asia 2010” • เป็ นการดํ า เนิน การจัดนิทรรศการระดับ นานาชาติ เพือให้ เ กิด การรวมตัว ของประเทศใน อาเซียน ญีปุ่ น เกาหลี และจีน ในการสร้ างศักยภาพความแข็งแกร่งของอุตสาหกรรมเนือหาดิ จิตัลรวมทังจัดการสัมมนาวิชาการ สัมมนาปฏิบติ การระดับ โลก เพือให้ เ กิดการถ่า ยทอด ั เทคโนโลยีและประสบการณ์ขนสูงในการประกอบธุรกิจในสาขานี โดยมี กระทรวงเทคโนโลยี ั สารสนเทศและการสือสารเป็ นผู้รับผิดชอบ วงเงินงบประมาณรวม 200 ล้ านบาท NESDB 30
  • 31. ตัวอย่ างความสําเร็ จของอุตสาหกรรมสร้ างสรรค์ ไทย บริ ษัท โยธกา อินเตอร์ เนชั นแนล จํากั ด ชุ บชี วิตผั กตบชวาให้ กลายเป็ นเฟอร์ นิเจอร์ ทําเงิน โยธกา เป็ นบริ ษัทแรกของโลกที พั ฒนาเทคนิ ค การใช้ ผั ก ตบชวาเพื อการผลิ ต เฟอร์ นิเจอร์ และของตกแต่ งบ้ านครบวงจร ด้ วยการออกแบบที ผสมผสานความ เป็ นไทยและความทันสมั ยอย่ างกลมกลื น รวมทั งช่ างฝี มื อ ที มี ค วามชํ านาญใน การพัฒนาวั สดุ ธ รรมชาติอื นๆ ที หาได้ ในท้ อ งถิ น เช่ น สิ เภา กระดาษจากใบ สั บปะรด เป็ นต้ น ไปจนถึงการพัฒนาเทคนิคปองกั นเชื อรา ้ โยธกา สามารถคว้ ารางวั ล การออกแบบจํานวนมาก และสร้ างรายได้ ให้ กั บ ประเทศหลายพันล้ านบาทตลอดช่ วง 10 ปี ทีผ่ านมา บริ ษัท HARNN PRODUCTS จํากั ด โฮมสปาสั ญชาติไทยที เติบโตเป็ นธุ รกิจร้ อยล้ านใน 10 ปี บริ ษัทเริ มธุ รกิจจากการขายสบู่ธรรมชาติ และขยายเป็ นผลิ ตภั ณ ฑ์ โฮมสปา ได้ เริ มทําตลาดในประเทศควบคู่ ไ ปกั บ การให้ ค วามรู้ เรื องอโรมาเธอราพี ซึ งเป็ น เรื องใหม่ สําหรั บผู้ บริ โภคเวลานั น ด้ ว ยการมี แ บรนด์ ที ชั ดเจน ได้ เริ มจดสิ ท ธิ บั ตรในการใช้ นํ ามั น รํ าข้ าวมาเป็ น วั ตถุ ดบหลั กในการทําสบู่ รวมทังการให้ ความสําคัญในการวิ จัยและพั ฒนา เพื อ ิ คิดค้ นผลิตภั ณ ฑ์ ใหม่ ๆ จากธรรมชาติ การออกแบบบรรจุ ภั ณ ฑ์ ที โดดเด่ น มี เอกลั กษณ์ ของความเป็ นไทย การบริ ห ารด้ านการตลาด ทําให้ บ ริ ษัท ฯ มี ส าขา ให้ บริ การอยู่ใน 20 ประเทศทัวโลก ISSUE เสื อผ้ าแบรนด์ ไทย บันดาลใจจากวั ฒนธรรมทีพบเห็นจากการเดินทาง ภูภ วิ ศ กฤตพลนารา เจ้ าของเสื อผ้ าแบรนด์ ไ ทย ISSUE เกิ ดความคิดในการ ออกแบบเสื อผ้ าที สามารถแสดงความเป็ นปั จเจกบุ ค คล ซึ งภู ภ วิ ศ เริ มหา ประสบการณ์ จากการทํางานกั บแบรนด์ ชันนําเป็ นเวลาหลายปี จากนั นจึง ค่ อ ยมา สร้ างแบรนด์ ของตนเอง การนําเสนอวั ฒนธรรมดั งเดิม ความเชื อ ความศรั ทธา และการเดิน ทางผ่ าน เสื อผ้ าเป็ นเอกลั กษณ์ ทีโดดเด่ นของ ISSUE อีกทัง การพิถี พ ิถั น เลื อ กใช้ เนื อผ้ า และปราณี ตในเทคนิคการผลิ ตทั งปั ก ถั ก มั ด ย้ อ ม ทําให้ ISSUE เป็ นแบรนด์ แฟชั นทีสร้ างความประทับใจมานานกว่ า 9 ปี NESDB 31