SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 14
ระบบสุริยะชั้นใน เป็นชื่อดั้งเดิมของย่านอวกาศที่ประกอบด้วยกลุ่ม
ดาวเคราะห์ใกล้โลกและแถบดาวเคราะห์น้อย มีส่วนประกอบหลัก
เป็นซิลิเกตกับโลหะ เทหวัตถุในระบบสุริยะชั้นในจะเกาะกลุ่มอยู่
ด้วยกันและใกล้กับดวงอาทิตย์มาก รัศมีของย่านระบบสุริยะชั้นในนี้
ยังสั้นกว่าระยะห่างจากดาวพฤหัสบดีไปดาวเสาร์เสียอีก
ดาวเคราะห์ชั้นในหรือดาวเคราะห์ใกล้โลก มี 4 ดวง โดยมาก
ประกอบด้วยส่วนประกอบหิน มีความหนาแน่นสูง มีดวงจันทร์น้อย
หรืออาจไม่มีเลย และไม่มีระบบวงแหวนรอบตัวเอง สสารที่เป็น
องค์ประกอบมักเป็นแร่ธาตุที่มีจุดหลอมเหลวสูง เช่นซิลิเกตที่ชั้น
เปลือกและผิว หรือโลหะ เหล็ก นิเกิล ที่เป็นแกนกลางของดาว สาม
ในสี่ของดาวเคราะห์กลุ่มนี้ (ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร) มีชั้น
บรรยากาศที่เห็นได้ชัด พื้นผิวมีร่องรอยของหลุมบ่อที่เกิดจากการ
ปะทะโดยชิ้นส่วนจากอวกาศ และมีความเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา
ที่พื้นผิวด้วยเช่น การแยกตัวของร่องหุบเขาและภูเขาไฟ
ดาวพุธ คือดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด และเป็นดาวเคราะห์ที่
มีขนาดเล็กที่สุด (0.055 เท่าของมวลโลก) ดาวพุธไม่มีดาวบริวารของ
ตัวเอง สภาพพื้นผิวที่มีนอกเหนือจากหลุมบ่อจากการปะทะ ก็จะเป็นสันเขา
สูงชัน ชั้นบรรยากาศของดาวพุธเบาบางมากจนแทบจะเรียกได้ว่าไม่มี
บรรยากาศ ประกอบด้วยอะตอมที่ถูกลมสุริยะพัดพาขับไล่ไปจนเกือบ
หมด แกนกลางของดาวเป็นเหล็กที่มีขนาดค่อนข้างใหญ่มาก ต่อมาเป็นชั้น
เปลือกบาง ๆ ที่ยังไม่สามารถอธิบายได้อย่างชัดเจน ทฤษฎีเกี่ยวกับชั้น
เปลือกของดาวจานวนหนึ่งอธิบายถึงชั้นผิวรอบนอกที่ถูกฉีกออกด้วยการ
ปะทะครั้งใหญ่ บ้างก็ว่ามันถูกกีดกันจากการพอกรวมของชั้นผิวเนื่องจาก
พลังงานมหาศาลของดวงอาทิตย์อันเยาว์
 ดาวศุกร์ มีขนาดใกล้เคียงกับโลก (0.815 เท่าของมวลโลก) และมีลักษณะคล้าย
โลกมาก มีชั้นเปลือกซิลิเกตอย่างหนาปกคลุมรอบแกนกลางของดาวซึ่งเป็นเหล็ก
มีชั้นบรรยากาศ และมีหลักฐานแสดงถึงความเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาภายใน
ของดาว ทว่าดาวศุกร์แห้งแล้งกว่าโลกมาก ชั้นบรรยากาศของมันก็หนาแน่นกว่า
โลกถึงกว่า 90 เท่า ดาวศุกร์ไม่มีดาวบริวารของตัวเอง กล่าวได้ว่า ดาวศุกร์เป็น
ดาวเคราะห์ที่ร้อนที่สุด ด้วยอุณหภูมิพื้นผิวสูงถึงกว่า 400 °C ซึ่งเป็นผลจาก
ปริมาณแก๊สเรือนกระจกที่มีอยู่เป็นจานวนมากในชั้นบรรยากาศ ในปัจจุบันไม่มี
การตรวจพบการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาใหม่ ๆ บนดาวศุกร์อีกแล้ว แต่ดาว
ศุกร์ไม่มีสนามแม่เหล็กของตัวเองที่จะช่วยป้ องกันการสูญเสียชั้นบรรยากาศ
ดังนั้นการที่ดาวศุกร์ยังรักษาชั้นบรรยากาศของตัวเองไว้ได้จึงคาดว่าน่าจะเกิด
จากการระเบิดของภูเขาไฟ
โลก เป็ นดาวเคราะห์ที่ค่อนข้างใหญ่และมีความหนาแน่นมากที่สุด
ในกลุ่มดาวเคราะห์ชั้นใน เป็ นดาวเคราะห์เพียงดวงเดียวที่พบว่า
ยังมีปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาอยู่ และเป็ นดาวเคราะห์เพียง
ดวงเดียวเท่าที่ทราบว่ามีสิ่งมีชีวิต โลกเป็ นดาวเคราะห์ที่มีน้ามาก
เป็ นเอกลักษณ์ที่แตกต่างจากกลุ่มดาวเคราะห์ใกล้โลกทั้งหมด
และยังเป็ นดาวเคราะห์เพียงดวงเดียวที่ยังมีการเปลี่ยนแปลงของ
เปลือกโลกอยู่ ชั้นบรรยากาศของโลกค่อนข้างจะแตกต่างกับดาว
เคราะห์ดวงอื่น เนื่องจากการที่มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ ในบรรยากาศ
จึงมีออกซิเจนอิสระอยู่ถึง 21% โลกมีดาวเคราะห์บริวารหนึ่งดวง
คือ ดวงจันทร์ ซึ่งเป็ นดาวเคราะห์บริวารขนาดใหญ่เพียงดวง
เดียวในเขตระบบสุริยะชั้นใน
ดาวอังคาร มีขนาดเล็กกว่าโลกและดาวศุกร์ (0.107 เท่าของมวล
โลก) มีชั้นบรรยากาศเจือจางที่เต็มไปด้วยคาร์บอนไดออกไซด์ พื้นผิว
ของดาวอังคารระเกะระกะด้วยภูเขาไฟจานวนมาก เช่น Olympus
Mons และหุบเขาลึกชันมากมายเช่น Valles Marineris
แสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาที่เคยเกิดขึ้นก่อนหน้า
นี้ สีของดาวอังคารที่เราเห็นเป็นสีแดง เป็นเพราะสนิมที่มีอยู่ในพื้นดิน
อันเต็มไปด้วยเหล็ก ดาวอังคารมีดวงจันทร์บริวารขนาดเล็กสองดวง
(คือ ไดมอส กับ โฟบอส) ซึ่งคาดว่าน่าจะเป็นดาวเคราะห์น้อยที่
บังเอิญถูกแรงดึงดูดของดาวอังคารจับตัวเอาไว้
บริเวณรอบนอกของระบบสุริยะเป็นถิ่นที่อยู่ของดาวแก๊สยักษ์และ
บรรดาดาวบริวารของมันที่มีขนาดใหญ่พอจะเป็นดาวเคราะห์ได้
นอกจากนี้ยังมีดาวหางคาบสั้น และเซนทอร์ ที่โคจรอยู่ในย่านนี้
เช่นกัน วัตถุตันที่อยู่ในย่านนี้จะมีองค์ประกอบของสสารที่ระเหยง่าย
(เช่น น้าแอมโมเนีย มีเทน ในทางวิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์จะเรียกว่า
เป็น น้าแข็ง) ไม่ค่อยมีส่วนประกอบของสสารประเภทหินเหมือน
อย่างเทหวัตถุในระบบสุริยะชั้นใน
ดาวเคราะห์ชั้นนอก 4 ดวง หรือดาวแก๊สยักษ์ (บางครั้งเรียกว่า
ดาวเคราะห์โจเวียน) มีมวลรวมกันถึงกว่า 99% ของมวลสาร
ทั้งหมดที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ ดาวพฤหัสบดีกับดาวเสาร์มี
องค์ประกอบเต็มไปด้วยไฮโดรเจนและฮีเลียม ดาวยูเรนัสกับดาว
เนปจูนมีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นน้าแข็ง นักดาราศาสตร์จานวน
หนึ่งเห็นว่าดาวสองดวงหลังนี้ควรจัดเป็นประเภทเฉพาะของมันเอง
คือ "ดาวน้าแข็งยักษ์" ดาวแก๊สยักษ์ทั้งสี่มีวงแหวนอยู่รอบตัว แม้
เมื่อมองจากโลกจะเห็นได้ชัดแต่เพียงวงแหวนของดาวเสาร์เท่านั้น
ดาวพฤหัสบดี มีมวลประมาณ 318 เท่าของมวลโลก นับเป็นมวลมหาศาล
ถึง 2.5 เท่าของมวลรวมทั้งหมดของดาวเคราะห์ที่เหลือรวมกัน
ประกอบด้วยก๊าซไฮโดรเจนและฮีเลียมจานวนมาก ความร้อนที่สูงมาก
ภายในของดาวทาให้เกิดคุณลักษณะแบบกึ่งถาวรหลายประการในสภาพ
บรรยากาศของดาว เช่นแถบเมฆ และจุดแดงใหญ่ ดาวพฤหัสบดีมีดวง
จันทร์บริวารที่รู้จักแล้วทั้งสิ้น 63 ดวง ดวงที่ใหญ่ที่สุด 4 ดวงคือ แกนิ
มีด คัลลิสโต ไอโอ และยูโรปา มีลักษณะคล้ายคลึงกับลักษณะของดาว
เคราะห์ใกล้โลก เช่นมีภูเขาไฟ และมีกระบวนการความร้อนภายในของ
ดาว ดวงจันทร์แกนิมีดเป็นดาวบริวารที่ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ มีขนาด
ใหญ่กว่าดาวพุธเสียอีก
ดาวเสาร์ เป็นดาวเคราะห์ที่โดดเด่นเนื่องจากระบบวงแหวนขนาดใหญ่ที่
เห็นได้ชัด ลักษณะของดาวรวมถึงสภาพบรรยากาศคล้ายคลึงกับดาว
พฤหัสบดี แต่มีมวลน้อยกว่ามาก โดยมีมวลโดยประมาณ 95 เท่าของ
มวลโลก ดาวเสาร์มีดวงจันทร์บริวารที่รู้จักแล้ว 60 ดวง (มีอีก 3 ดวง
ยังไม่ได้รับการรับรอง) ในจานวนดวงจันทร์ทั้งหมดมีอยู่ 2 ดวงคือ ไท
ทันและเอนเซลาดัส แสดงให้เห็นสัญญาณของการเปลี่ยนแปลงทาง
ธรณีวิทยา แม้ว่าองค์ประกอบส่วนใหญ่จะเป็นน้าแข็งก็ตาม] ดวงจันทร์
ไททันมีขนาดใหญ่กว่าดาวพุธ และเป็นดวงจันทร์บริวารเพียงดวงเดียว
ในระบบสุริยะที่มีชั้นบรรยากาศ
ดาวยูเรนัส มีขนาดประมาณ 14 เท่าของมวลโลก เป็นดาวเคราะห์มวล
น้อยที่สุดในระบบสุริยะชั้นนอก ลักษณะการโคจรของดาวยูเรนัสไม่
เหมือนดาวเคราะห์ดวงอื่น มันจะโคจรรอบดวงอาทิตย์แบบตะแคงข้าง
โดยมีความเอียงของแกนมากกว่า 90 องศาเมื่อเทียบกับระนาบสุริย
วิถี แกนกลางของดาวค่อนข้างเย็นกว่าดาวแก๊สยักษ์ดวงอื่น ๆ และแผ่
ความร้อนออกมาสู่อวกาศภายนอกเพียงน้อยนิด[64] ดาวยูเรนัสมีดวง
จันทร์บริวารที่รู้จักแล้ว 27 ดวง กลุ่มของดวงจันทร์ขนาดใหญ่
ได้แก่ ไททาเนีย โอบิรอน อัมเบรียล เอเรียลและมิรันดา
ดาวเนปจูน แม้จะมีขนาดเล็กกว่าดาวยูเรนัส แต่มีมวลมากกว่า คือ
ประมาณ 17 เท่าของมวลโลก ดังนั้นมันจึงเป็นดาวที่มีความหนาแน่น
มาก ดาวเนปจูนแผ่รังสีความร้อนจากแกนกลางออกมามาก แต่ก็ยัง
น้อยกว่าดาวพฤหัสบดีหรือดาวเสาร์[65] เนปจูนมีดวงจันทร์บริวารที่
รู้จักแล้ว 13 ดวง ดวงที่ใหญ่ที่สุดคือ ไทรทัน มีสภาพการเปลี่ยนแปลง
ทางธรณีวิทยาอยู่ เช่นมีน้าพุร้อนไนโตรเจนเหลว[66] และเป็นดาว
บริวารขนาดใหญ่เพียงดวงเดียวที่มีวงโคจรย้อนถอยหลัง ดาวเนปจูน
ยังส่งดาวเคราะห์เล็ก ๆ จานวนหนึ่งหรือเนปจูนโทรจัน เข้าไปในวงโคจร
ของดวงจันทร์ไทรทันด้วย โดยมีการสั่นพ้องของวงโคจรแบบ 1:1 กับ
ดวงจันทร์
ระบบสุริยะ

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1Jariya Jaiyot
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)Wichai Likitponrak
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)Miewz Tmioewr
 
ดาวฤกษ์คือะไร อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์คือะไร อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์ดาวฤกษ์คือะไร อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์คือะไร อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์yadanoknun
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศdnavaroj
 
งานpowerpoind กลุ่ม5
งานpowerpoind กลุ่ม5งานpowerpoind กลุ่ม5
งานpowerpoind กลุ่ม5maitree khanrattaban
 
งานคอมยิม
งานคอมยิมงานคอมยิม
งานคอมยิมPornthip Nabnain
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3Sukumal Ekayodhin
 
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลกโครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลกttt ttt
 
ความหมายของดาวฤกษ์
ความหมายของดาวฤกษ์ความหมายของดาวฤกษ์
ความหมายของดาวฤกษ์Noknun Luesat
 
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาลโครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาลMeanz Mean
 
Universe
UniverseUniverse
Universeyokyoi
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์T
 
สารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารสารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารZee Gopgap
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra1111
 

Mais procurados (19)

กาแลกซี (Galaxy)
กาแลกซี (Galaxy)กาแลกซี (Galaxy)
กาแลกซี (Galaxy)
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
 
ดาวฤกษ
ดาวฤกษ ดาวฤกษ
ดาวฤกษ
 
ดาวฤกษ์คือะไร อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์คือะไร อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์ดาวฤกษ์คือะไร อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์คือะไร อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
งานpowerpoind กลุ่ม5
งานpowerpoind กลุ่ม5งานpowerpoind กลุ่ม5
งานpowerpoind กลุ่ม5
 
งานคอมยิม
งานคอมยิมงานคอมยิม
งานคอมยิม
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3
 
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลกโครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
 
Univers1
Univers1Univers1
Univers1
 
ความหมายของดาวฤกษ์
ความหมายของดาวฤกษ์ความหมายของดาวฤกษ์
ความหมายของดาวฤกษ์
 
ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์
 
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาลโครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
 
Universe
UniverseUniverse
Universe
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
สารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารสารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสาร
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 

Destaque (20)

2
22
2
 
T Seay Liebherr (2)
T Seay Liebherr (2)T Seay Liebherr (2)
T Seay Liebherr (2)
 
20150220 社内LT 代表取締役取扱説明書
20150220 社内LT 代表取締役取扱説明書20150220 社内LT 代表取締役取扱説明書
20150220 社内LT 代表取締役取扱説明書
 
MT Reference Letter
MT Reference LetterMT Reference Letter
MT Reference Letter
 
AMU - Progetto Fraternità con l'Africa 2014
AMU - Progetto Fraternità con l'Africa 2014AMU - Progetto Fraternità con l'Africa 2014
AMU - Progetto Fraternità con l'Africa 2014
 
don ray
don raydon ray
don ray
 
TfL Business Risk Management
TfL Business Risk ManagementTfL Business Risk Management
TfL Business Risk Management
 
Presentacion.docx para blog apps
Presentacion.docx para blog appsPresentacion.docx para blog apps
Presentacion.docx para blog apps
 
Flyer_SCAA_2012
Flyer_SCAA_2012Flyer_SCAA_2012
Flyer_SCAA_2012
 
Analisis de tesis maria castillo
Analisis de tesis maria castilloAnalisis de tesis maria castillo
Analisis de tesis maria castillo
 
Security Clearence and reliability status
Security Clearence and reliability statusSecurity Clearence and reliability status
Security Clearence and reliability status
 
AwardCertificate
AwardCertificateAwardCertificate
AwardCertificate
 
Testes e exercícios
Testes e exercíciosTestes e exercícios
Testes e exercícios
 
Sena McLellan Resume
Sena McLellan ResumeSena McLellan Resume
Sena McLellan Resume
 
csd logo-all colours
csd logo-all colourscsd logo-all colours
csd logo-all colours
 
good standing
good standinggood standing
good standing
 
Sin título 2
Sin título 2Sin título 2
Sin título 2
 
10-11
10-1110-11
10-11
 
Ajourney
AjourneyAjourney
Ajourney
 
Memorial day
Memorial dayMemorial day
Memorial day
 

Semelhante a ระบบสุริยะ

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Piyamon1997
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะpangpon
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะpangpon
 
ระบบสุริยะ รร.บางกะปิ
ระบบสุริยะ รร.บางกะปิระบบสุริยะ รร.บางกะปิ
ระบบสุริยะ รร.บางกะปิปอนด์ ปอนด์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์pimnarayrc
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1 งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1 kanjana23
 
โครงงานคอมฯ
โครงงานคอมฯโครงงานคอมฯ
โครงงานคอมฯpimnarayrc
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra1111
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra2556
 
ม642(แก้)
ม642(แก้)ม642(แก้)
ม642(แก้)BEll Apinya
 

Semelhante a ระบบสุริยะ (20)

ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์
 
tf10391100.potx
tf10391100.potxtf10391100.potx
tf10391100.potx
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Contentastrounit4
Contentastrounit4Contentastrounit4
Contentastrounit4
 
ระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาลระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาล
 
ระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาลระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาล
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ รร.บางกะปิ
ระบบสุริยะ รร.บางกะปิระบบสุริยะ รร.บางกะปิ
ระบบสุริยะ รร.บางกะปิ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
42101 3
42101 342101 3
42101 3
 
งาน2
งาน2งาน2
งาน2
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1 งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
โครงงานคอมฯ
โครงงานคอมฯโครงงานคอมฯ
โครงงานคอมฯ
 
Solarsystem
SolarsystemSolarsystem
Solarsystem
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ม642(แก้)
ม642(แก้)ม642(แก้)
ม642(แก้)
 

ระบบสุริยะ

  • 1.
  • 2. ระบบสุริยะชั้นใน เป็นชื่อดั้งเดิมของย่านอวกาศที่ประกอบด้วยกลุ่ม ดาวเคราะห์ใกล้โลกและแถบดาวเคราะห์น้อย มีส่วนประกอบหลัก เป็นซิลิเกตกับโลหะ เทหวัตถุในระบบสุริยะชั้นในจะเกาะกลุ่มอยู่ ด้วยกันและใกล้กับดวงอาทิตย์มาก รัศมีของย่านระบบสุริยะชั้นในนี้ ยังสั้นกว่าระยะห่างจากดาวพฤหัสบดีไปดาวเสาร์เสียอีก
  • 3. ดาวเคราะห์ชั้นในหรือดาวเคราะห์ใกล้โลก มี 4 ดวง โดยมาก ประกอบด้วยส่วนประกอบหิน มีความหนาแน่นสูง มีดวงจันทร์น้อย หรืออาจไม่มีเลย และไม่มีระบบวงแหวนรอบตัวเอง สสารที่เป็น องค์ประกอบมักเป็นแร่ธาตุที่มีจุดหลอมเหลวสูง เช่นซิลิเกตที่ชั้น เปลือกและผิว หรือโลหะ เหล็ก นิเกิล ที่เป็นแกนกลางของดาว สาม ในสี่ของดาวเคราะห์กลุ่มนี้ (ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร) มีชั้น บรรยากาศที่เห็นได้ชัด พื้นผิวมีร่องรอยของหลุมบ่อที่เกิดจากการ ปะทะโดยชิ้นส่วนจากอวกาศ และมีความเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา ที่พื้นผิวด้วยเช่น การแยกตัวของร่องหุบเขาและภูเขาไฟ
  • 4. ดาวพุธ คือดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด และเป็นดาวเคราะห์ที่ มีขนาดเล็กที่สุด (0.055 เท่าของมวลโลก) ดาวพุธไม่มีดาวบริวารของ ตัวเอง สภาพพื้นผิวที่มีนอกเหนือจากหลุมบ่อจากการปะทะ ก็จะเป็นสันเขา สูงชัน ชั้นบรรยากาศของดาวพุธเบาบางมากจนแทบจะเรียกได้ว่าไม่มี บรรยากาศ ประกอบด้วยอะตอมที่ถูกลมสุริยะพัดพาขับไล่ไปจนเกือบ หมด แกนกลางของดาวเป็นเหล็กที่มีขนาดค่อนข้างใหญ่มาก ต่อมาเป็นชั้น เปลือกบาง ๆ ที่ยังไม่สามารถอธิบายได้อย่างชัดเจน ทฤษฎีเกี่ยวกับชั้น เปลือกของดาวจานวนหนึ่งอธิบายถึงชั้นผิวรอบนอกที่ถูกฉีกออกด้วยการ ปะทะครั้งใหญ่ บ้างก็ว่ามันถูกกีดกันจากการพอกรวมของชั้นผิวเนื่องจาก พลังงานมหาศาลของดวงอาทิตย์อันเยาว์
  • 5.  ดาวศุกร์ มีขนาดใกล้เคียงกับโลก (0.815 เท่าของมวลโลก) และมีลักษณะคล้าย โลกมาก มีชั้นเปลือกซิลิเกตอย่างหนาปกคลุมรอบแกนกลางของดาวซึ่งเป็นเหล็ก มีชั้นบรรยากาศ และมีหลักฐานแสดงถึงความเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาภายใน ของดาว ทว่าดาวศุกร์แห้งแล้งกว่าโลกมาก ชั้นบรรยากาศของมันก็หนาแน่นกว่า โลกถึงกว่า 90 เท่า ดาวศุกร์ไม่มีดาวบริวารของตัวเอง กล่าวได้ว่า ดาวศุกร์เป็น ดาวเคราะห์ที่ร้อนที่สุด ด้วยอุณหภูมิพื้นผิวสูงถึงกว่า 400 °C ซึ่งเป็นผลจาก ปริมาณแก๊สเรือนกระจกที่มีอยู่เป็นจานวนมากในชั้นบรรยากาศ ในปัจจุบันไม่มี การตรวจพบการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาใหม่ ๆ บนดาวศุกร์อีกแล้ว แต่ดาว ศุกร์ไม่มีสนามแม่เหล็กของตัวเองที่จะช่วยป้ องกันการสูญเสียชั้นบรรยากาศ ดังนั้นการที่ดาวศุกร์ยังรักษาชั้นบรรยากาศของตัวเองไว้ได้จึงคาดว่าน่าจะเกิด จากการระเบิดของภูเขาไฟ
  • 6. โลก เป็ นดาวเคราะห์ที่ค่อนข้างใหญ่และมีความหนาแน่นมากที่สุด ในกลุ่มดาวเคราะห์ชั้นใน เป็ นดาวเคราะห์เพียงดวงเดียวที่พบว่า ยังมีปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาอยู่ และเป็ นดาวเคราะห์เพียง ดวงเดียวเท่าที่ทราบว่ามีสิ่งมีชีวิต โลกเป็ นดาวเคราะห์ที่มีน้ามาก เป็ นเอกลักษณ์ที่แตกต่างจากกลุ่มดาวเคราะห์ใกล้โลกทั้งหมด และยังเป็ นดาวเคราะห์เพียงดวงเดียวที่ยังมีการเปลี่ยนแปลงของ เปลือกโลกอยู่ ชั้นบรรยากาศของโลกค่อนข้างจะแตกต่างกับดาว เคราะห์ดวงอื่น เนื่องจากการที่มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ ในบรรยากาศ จึงมีออกซิเจนอิสระอยู่ถึง 21% โลกมีดาวเคราะห์บริวารหนึ่งดวง คือ ดวงจันทร์ ซึ่งเป็ นดาวเคราะห์บริวารขนาดใหญ่เพียงดวง เดียวในเขตระบบสุริยะชั้นใน
  • 7. ดาวอังคาร มีขนาดเล็กกว่าโลกและดาวศุกร์ (0.107 เท่าของมวล โลก) มีชั้นบรรยากาศเจือจางที่เต็มไปด้วยคาร์บอนไดออกไซด์ พื้นผิว ของดาวอังคารระเกะระกะด้วยภูเขาไฟจานวนมาก เช่น Olympus Mons และหุบเขาลึกชันมากมายเช่น Valles Marineris แสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาที่เคยเกิดขึ้นก่อนหน้า นี้ สีของดาวอังคารที่เราเห็นเป็นสีแดง เป็นเพราะสนิมที่มีอยู่ในพื้นดิน อันเต็มไปด้วยเหล็ก ดาวอังคารมีดวงจันทร์บริวารขนาดเล็กสองดวง (คือ ไดมอส กับ โฟบอส) ซึ่งคาดว่าน่าจะเป็นดาวเคราะห์น้อยที่ บังเอิญถูกแรงดึงดูดของดาวอังคารจับตัวเอาไว้
  • 8. บริเวณรอบนอกของระบบสุริยะเป็นถิ่นที่อยู่ของดาวแก๊สยักษ์และ บรรดาดาวบริวารของมันที่มีขนาดใหญ่พอจะเป็นดาวเคราะห์ได้ นอกจากนี้ยังมีดาวหางคาบสั้น และเซนทอร์ ที่โคจรอยู่ในย่านนี้ เช่นกัน วัตถุตันที่อยู่ในย่านนี้จะมีองค์ประกอบของสสารที่ระเหยง่าย (เช่น น้าแอมโมเนีย มีเทน ในทางวิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์จะเรียกว่า เป็น น้าแข็ง) ไม่ค่อยมีส่วนประกอบของสสารประเภทหินเหมือน อย่างเทหวัตถุในระบบสุริยะชั้นใน
  • 9. ดาวเคราะห์ชั้นนอก 4 ดวง หรือดาวแก๊สยักษ์ (บางครั้งเรียกว่า ดาวเคราะห์โจเวียน) มีมวลรวมกันถึงกว่า 99% ของมวลสาร ทั้งหมดที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ ดาวพฤหัสบดีกับดาวเสาร์มี องค์ประกอบเต็มไปด้วยไฮโดรเจนและฮีเลียม ดาวยูเรนัสกับดาว เนปจูนมีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นน้าแข็ง นักดาราศาสตร์จานวน หนึ่งเห็นว่าดาวสองดวงหลังนี้ควรจัดเป็นประเภทเฉพาะของมันเอง คือ "ดาวน้าแข็งยักษ์" ดาวแก๊สยักษ์ทั้งสี่มีวงแหวนอยู่รอบตัว แม้ เมื่อมองจากโลกจะเห็นได้ชัดแต่เพียงวงแหวนของดาวเสาร์เท่านั้น
  • 10. ดาวพฤหัสบดี มีมวลประมาณ 318 เท่าของมวลโลก นับเป็นมวลมหาศาล ถึง 2.5 เท่าของมวลรวมทั้งหมดของดาวเคราะห์ที่เหลือรวมกัน ประกอบด้วยก๊าซไฮโดรเจนและฮีเลียมจานวนมาก ความร้อนที่สูงมาก ภายในของดาวทาให้เกิดคุณลักษณะแบบกึ่งถาวรหลายประการในสภาพ บรรยากาศของดาว เช่นแถบเมฆ และจุดแดงใหญ่ ดาวพฤหัสบดีมีดวง จันทร์บริวารที่รู้จักแล้วทั้งสิ้น 63 ดวง ดวงที่ใหญ่ที่สุด 4 ดวงคือ แกนิ มีด คัลลิสโต ไอโอ และยูโรปา มีลักษณะคล้ายคลึงกับลักษณะของดาว เคราะห์ใกล้โลก เช่นมีภูเขาไฟ และมีกระบวนการความร้อนภายในของ ดาว ดวงจันทร์แกนิมีดเป็นดาวบริวารที่ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ มีขนาด ใหญ่กว่าดาวพุธเสียอีก
  • 11. ดาวเสาร์ เป็นดาวเคราะห์ที่โดดเด่นเนื่องจากระบบวงแหวนขนาดใหญ่ที่ เห็นได้ชัด ลักษณะของดาวรวมถึงสภาพบรรยากาศคล้ายคลึงกับดาว พฤหัสบดี แต่มีมวลน้อยกว่ามาก โดยมีมวลโดยประมาณ 95 เท่าของ มวลโลก ดาวเสาร์มีดวงจันทร์บริวารที่รู้จักแล้ว 60 ดวง (มีอีก 3 ดวง ยังไม่ได้รับการรับรอง) ในจานวนดวงจันทร์ทั้งหมดมีอยู่ 2 ดวงคือ ไท ทันและเอนเซลาดัส แสดงให้เห็นสัญญาณของการเปลี่ยนแปลงทาง ธรณีวิทยา แม้ว่าองค์ประกอบส่วนใหญ่จะเป็นน้าแข็งก็ตาม] ดวงจันทร์ ไททันมีขนาดใหญ่กว่าดาวพุธ และเป็นดวงจันทร์บริวารเพียงดวงเดียว ในระบบสุริยะที่มีชั้นบรรยากาศ
  • 12. ดาวยูเรนัส มีขนาดประมาณ 14 เท่าของมวลโลก เป็นดาวเคราะห์มวล น้อยที่สุดในระบบสุริยะชั้นนอก ลักษณะการโคจรของดาวยูเรนัสไม่ เหมือนดาวเคราะห์ดวงอื่น มันจะโคจรรอบดวงอาทิตย์แบบตะแคงข้าง โดยมีความเอียงของแกนมากกว่า 90 องศาเมื่อเทียบกับระนาบสุริย วิถี แกนกลางของดาวค่อนข้างเย็นกว่าดาวแก๊สยักษ์ดวงอื่น ๆ และแผ่ ความร้อนออกมาสู่อวกาศภายนอกเพียงน้อยนิด[64] ดาวยูเรนัสมีดวง จันทร์บริวารที่รู้จักแล้ว 27 ดวง กลุ่มของดวงจันทร์ขนาดใหญ่ ได้แก่ ไททาเนีย โอบิรอน อัมเบรียล เอเรียลและมิรันดา
  • 13. ดาวเนปจูน แม้จะมีขนาดเล็กกว่าดาวยูเรนัส แต่มีมวลมากกว่า คือ ประมาณ 17 เท่าของมวลโลก ดังนั้นมันจึงเป็นดาวที่มีความหนาแน่น มาก ดาวเนปจูนแผ่รังสีความร้อนจากแกนกลางออกมามาก แต่ก็ยัง น้อยกว่าดาวพฤหัสบดีหรือดาวเสาร์[65] เนปจูนมีดวงจันทร์บริวารที่ รู้จักแล้ว 13 ดวง ดวงที่ใหญ่ที่สุดคือ ไทรทัน มีสภาพการเปลี่ยนแปลง ทางธรณีวิทยาอยู่ เช่นมีน้าพุร้อนไนโตรเจนเหลว[66] และเป็นดาว บริวารขนาดใหญ่เพียงดวงเดียวที่มีวงโคจรย้อนถอยหลัง ดาวเนปจูน ยังส่งดาวเคราะห์เล็ก ๆ จานวนหนึ่งหรือเนปจูนโทรจัน เข้าไปในวงโคจร ของดวงจันทร์ไทรทันด้วย โดยมีการสั่นพ้องของวงโคจรแบบ 1:1 กับ ดวงจันทร์