SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 27
ตำแหน่งของกำรเกิดเสียง (Place of Articulation)
หลังจำกที่เรำได้เห็นหน้ำตำของ IPA chart กันไปแล้ว เรำก็คงสงสัยว่ำ แต่ละตัวอักษรนั้นมีเสียงอย่ำงไร บอกได้เลยว่ำ
เรำต้องรู้ลักษณะวิธีกำรออกเสียงและตำแหน่งที่ใช้ในกำรออกเสียง
ในบทควำมนี้เรำจะพูดถึงตำแหน่งของกำรออกเสียงหรือ Place of articulation ก่อนนะคะ
 คอลัมน์แถวบนสุดแสดงตำแหน่งของกำรเกิดเสียง(Placeof Articulation) หรือเรียกได้สั่นๆ ว่ำฐำนกรณ์
(Articulator)
 Bilabial - ริมฝีปำกทั้งคู่
 Labiodental - ริมฝีปำกล่ำงและฟันบน
 Dental - ปลำยลิ้นหรือส่วนถัดปลำยลิ้นกับฟันบน
 Alveolar - ปลำยลิ้นหรือส่วนถัดปลำยลิ้นกับปุ่มเหงือก
 Retroflex - ปลำยลิ้นหรือส่วนใต้ปลำยลิ้นกับส่วนปลำยสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับเพดำนแข็ง
 Palatal-Alveolar - ส่วนถัดจำกปลำยลิ้นกับส่วนปลำยุสดของปุ่มเหงือก
 Palatal - ลิ้นส่วนต้นกับเพดำนแข็ง
 Velar - ลิ้นส่วนหลังกับเพดำนอ่อน
 Uvalar - ลิ้นส่วนหลังกับลิ้นไก่
 Pharyngeal - โคนลิ้นกับผนังช่องคอด้ำนหลัง
 Glottal - เสียงที่เกิดจำกเส้นเสียง
Face diagram แสดงตำแหน่งต่ำงๆ ของ Speech Organs
ตำแหน่งของก่ำรออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง(Placeand Manner of Articulation)
ในกำรแปรเสียงหรือกล่อมเกลำเสียง (Articulation) เพื่อให้เกิดเป็นเสียงพยัญชนะต่ำงๆในภำษำนั้น
กำรแปรเสียงหรือกล่อมเกลำเสียงจะเกิดขึ้นณจุดต่ำงๆ(Placeof Articulation) ภำยในช่องออกเสียง (Vocal Tract)
ของเรำ ในบทนี้จะกล่ำวถึงบริเวณต่ำงๆที่มีควำมเป็นไปได้ที่จะเป็นตำแหน่งที่เกิดของเสียงในภำษำต่ำงๆ
ตลอดจนลักษณะวิธีออกเสียง(Manner of Articulation) แบบต่ำงๆที่สำมำรถจะเกิดขึ้นได้ในภำษำต่ำงๆ
โดยละเอียดโดยจะยกตัวอย่ำงเสียงต่ำงในภำษำประกอบด้วย
ตำแหน่งของกำรเกิดเสียงบริเวณต่ำงๆ(Place of Articulation)
คำนี้ถ้ำจะเรียกให้สั้นและย่อมีชื่อเฉพำะว่ำฐำนกรณ์
ซึ่งหมำยถึงอวัยวะแปรเสียงหรือกล่อมเกลำเสียงโดยรวม
แต่ถ้ำจะแยกกลุ่มของอวัยวะแปรเสียงออกมำตำมลักษณะของกำรเคลื่อนไหวก็จะแบ่งได้เป็น2กลุ่มคือ
1. กลุ่มที่เคลื่อนที่ไม่ได้ (Passive Articulator หรือ Upper Articulator) หรือมีชื่อเฉพำะสั้นๆ
ว่ำฐำน ซึ่งได้แก่อวัยวะต่อไปนี้
- ริมฝีปำกบน (upper lip)
- ฟันบน (upper teeth)
- ปุ่มเหงือก (gum ridge หรือ alveolar ridge)
- เพดำนแข็ง (hard palate)
- เพดำนอ่อน (soft palate หรือ velum)
- ลิ้นไก่(uvula) อวัยวะชิ้นนี้แม้ว่ำจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มที่เรียกว่ำupper
articulators หรืออวัยวะที่อยู่ส่วนบนของช่องปำกหรือเพดำนปำกก็ตำมแต่เป็นอวัยวะที่สำมำรถเคลื่อนที่ได้
2. กลุ่มที่เคลื่อนที่ได้ (Active Articulator หรือLower Articulator) หรือมีชื่อเฉพำะสั้นๆ
ว่ำกรณ์ ซึ่งได้แก่อวัยวะต่อไปนี้ คือ
- ริมฝีปำกล่ำง (Lower lip)
- ลิ้น (tongue) ซิงเป็นอวัยวะที่มีควำมยืดหยุ่นตัวสูงที่สุดดังที่กล่ำวมำแล้วในตอนต้น
ในบทที่ว่ำด้วยเรื่องอวัยวะในกำรแกเสียงในกำรทำให้เกิดเสียงพยัญชนะเสียงใดเสียงหนึ่งขึ้นมำนั้น
กระแสอำกำซที่เดินทำงผ่ำนเข้ำมำในช่องออกเสียง (vocaltract) จะต้องถูกกักกั้นในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง
กำรกักกั้นกระแสอำกำศก็จะกระทำได้โดยอวัยวะกลุ่มที่เคลื่อนที่ได้(ActiveArticulators) จะเคลื่อนที่เข้ำไปหำ,
เข้ำไปใกล้,หรือเข้ำไปชิดอวัยวะกลุ่มที่เคลื่อนที่ไม่ได้(PassiveArticulator)
เมื่อกระแสอำกำศเดินทำงผ่ำนจุดกักกั้นเหล่ำนั้นก็จะก่อให้เกิดเสยงพยัญชนะประเภทต่ำงๆ
ที่แตกต่ำงกันไปตำมรูปแบบของกำรกักกั้นกระแสอำกำศหรือที่เรียกว่ำลักษณะวิธีออกเสียง(Mannerof
Articulation) ณ จุดเกิดเสียงต่ำงๆกัน
และคำที่ใช้สำหรับเรียกชื่อพยัญชนะส่วนหนึ่งก็มำจำกคำระบุตำแหน่งของกำรกักกั้นกระแสอำกำศดังกล่ำว
ซึ่งได้แก่
Bilabial (เสียงที่เกิดจำกริมฝีปำกทั้งคู่)เกิดจำกริมฝีปำกล่ำงเคลื่อนเข้ำไปหำริมฝีปำกบนเช่น
เสียงแรกของคำว่ำ“my”ในภำษอังกฤษเสียงแรกของคำว่ำ“ปู”ในภำษำไทย
Labiodental (เสียงที่เกิดจำกริมฝีปำกล่ำงและฟันบน)เกิดจำกริมฝีปำกล่ำงเคลื่อนเข้ำไปหำฟันบนด้ำนหน้ำ
เช่น เสียงแรกของคำว่ำ“เฝ้ำ” ในภำษำไทย,เสียงแรกของคำว่ำ“van” ในภำษำอังกฤษ
Dental (เสียงที่เกิดจำกปลำยลิ้นหรือส่วนถัดจำกปลำยลิ้นกับฟันบน)
เกิดจำกปลำยลิ้นหรือส่วนถัดจำกปลำยลิ้นเคลื่อนเข้ำไปหำฟันบนด้ำนหน้ำเช่น
เสียงแรกของคำว่ำ“thin” ในภำษำอังกฤษ
Alveolar (เสียงที่เกิดจำกปลำยลิ้นหรือส่วนถัดจำกปลำยลิ้นกับปุ่มเหงือก)
เกิดจำกปลำยลิ้นหรือส่วนถัดจำกปลำยลิ้นเคลื่อนเข้ำไปหำปุ่มเหงือกเช่นเสียงแรกของคำว่ำ“นก”ในภำษำไทย,
เสียงแรกของคำว่ำ“tip” ในภำษำอังกฤษ
Retroflex (เสียงที่เกิดจำกปลำยลิ้นหรือส่วนใต้ปลำยลิ้นกับส่วนปลำยสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับเพดำนแข็ง)
เกิดจำกปลำยลิ้นซึ่งอำจจะเป็นผิวบน(uppersurface)
หรือส่วนใต้ปลำยลิ้นเคลื่อนเข้ำไปหำส่วนปลำยสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับเพดำนแข็งเช่นเสียงตัว “ร”หรือ “ส”
ในตำแหน่งพยัญชนะต้นของภำษำไทยถิ่นใต้บำงสำเนียงและเสียง “r” ในภำษำอังกฤษสำเนียงอเมริกันบำงสำเนียง
Palato-Alveolar (เสียงที่เกิดจำกส่วนถัดจำกปลำยลิ้นกับส่วนปลำยสุดของปุ่มเหงือก)
เกิดจำกกำรใช้ส่วนถัดปลำยลิ้นเคลื่อนเข้ำไปหำส่วนปลำยสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับเพดำนแข็งเช่น
เสียงแรกของคำว่ำ“show” ในภำษำอังกฤษ
Palatal (เสียงที่เกิดจำกลิ้นส่วนต้นกับเพดำนแข็ง)เกิดจำกกำรใช้ลิ้นส่วนต้น(frontof the tongue)
เคลื่อนเข้ำไปหำเพดำนแข็งเช่นเสียงแรกของคำที่แปลว่ำ“ยำก”ในภำษำไทยถิ่นอีสำน[ø] และเสียงแรกของคำว่ำ
“nyamuk” ในภำษำมำเลเซียซึ่งแปลว่ำยุง
Velar (เสียงที่เกิดจำกลิ้นส่วนหลังกับเพดำนอ่อน)เกิดจำกกำรใช้ลิ้นส่วนหลังเคลื่อนเข้ำไปหำเพดำนอ่อน
เช่น เสียงแรกของคำว่ำ“คน”ในภำษำไทย เสียงแรกของคำว่ำ “give”ในภำษำอังกฤษ
Uvular (เสียงที่เกิดจำกลิ้นส่วนหลังกับลิ้นไก่)เกิดจำกกำรยกลิ้นส่วนหลังเข้ำไปหำลิ้นไก่เช่น
เสียงแรกของคำว่ำ“rouge” ในภำษำฝรั่งเศส
Pharyngeal(เสียงที่เกิดจำกโคนลิ้นกับผนังช่องคอด้ำนหลัง)
เกิดจำกกำรดึงโคนลิ้นไปทำงด้ำนหลังเข้ำหำผนังช่องคอด้ำนหลังเช่นเสียงแรกในคำที่แปลว่ำ “ลุง”
ในภำษำอำหรับ ([?amm])
Glottal (เสียงที่เกิดจำกเส้นเสียง) เกิดจำกกำรเคลื่อนเข้ำหำกันของเส้นเสียงทั้งคู่
โดยอำจจะเคลื่อนเข้ำมำติดกันเช่นเสียงแรกของคำว่ำ “home”ในภำษำอังกฤษ,เสียงแรกของคำว่ำ“อู่”
ในภำษำไทย
ตารางแสดงตาแหน่งของการเกิดเสียง
Point ofarticulation Active articulators Passive articulators Examples
1. Bilabial Lowerlip Upper lip [m,p,b,¸,B,º,‡]
2. Labiodental Lowerlip Upper teeth [M,f,v,V]
3. Dental Tip of the tongue Upper teeth [T,D]
4. Alveolar Tip of the tongue Alveolarridge [n,t,d,s,z,Z,Â,l,r,t',ë]
5. Postalveolar Tip of the tongue Postalveolar [S,!]
6. Retroflex Tip of the tongue Postalveolar [÷,ê,§,½,ñ,]
7. Palato-alveolar Tip of the tongue Hard palate [S,Z]
8. Palatal Front of the tongue Hard palate [ø,c,ï,þ,´]
9. Velar Back of the tongue Softpalate [N,k,g,x]
10. Uvular Back of the tongue Uvular [N, q,G, X,Ò,R]
11. Pharyngeal Root of the tongue Back wall of the pharynx [ð,?]
12. Glottal Vocal cords Vocal cords [?,h,ú,]
13. Labial-palatal Lowerlip
Centerof the tongue
Upper lip
Hard palate
[ç]
14. Labial-Velar Lowerlip
Back of the tongue
Upper lip
Softpalate
[kƒp,gƒb,w]
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

แบบฝึกทักษะที่ 1 signs
แบบฝึกทักษะที่  1  signsแบบฝึกทักษะที่  1  signs
แบบฝึกทักษะที่ 1 signs
kanpapruk
 
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
Mameaw Mameaw
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
ณัฐพล แสงทวี
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
Jeerapob Seangboonme
 

Mais procurados (20)

ใบความรู้ อังกฤษ ม.1
ใบความรู้ อังกฤษ ม.1ใบความรู้ อังกฤษ ม.1
ใบความรู้ อังกฤษ ม.1
 
โครงสร้างทางไวยากรณ์
โครงสร้างทางไวยากรณ์โครงสร้างทางไวยากรณ์
โครงสร้างทางไวยากรณ์
 
แบบฝึกทักษะที่ 1 signs
แบบฝึกทักษะที่  1  signsแบบฝึกทักษะที่  1  signs
แบบฝึกทักษะที่ 1 signs
 
Phrases ppt
Phrases pptPhrases ppt
Phrases ppt
 
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
 
Adjective describing places
Adjective describing placesAdjective describing places
Adjective describing places
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals
 
ตำแหน่งของการออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียงตำแหน่งของการออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
 
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
 
1276933222 morpheme
1276933222 morpheme1276933222 morpheme
1276933222 morpheme
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
 
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ เรื่อง At Home
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ เรื่อง At Homeแบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ เรื่อง At Home
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ เรื่อง At Home
 
การใช้ Infinitive และ gerund
การใช้ Infinitive และ gerundการใช้ Infinitive และ gerund
การใช้ Infinitive และ gerund
 
เรียนรู้เรื่อง Phrase วลี หรือกลุ่มคำ
เรียนรู้เรื่อง Phrase วลี หรือกลุ่มคำเรียนรู้เรื่อง Phrase วลี หรือกลุ่มคำ
เรียนรู้เรื่อง Phrase วลี หรือกลุ่มคำ
 
คำสมาส
คำสมาสคำสมาส
คำสมาส
 
Unit 1 about myself
Unit 1 about myselfUnit 1 about myself
Unit 1 about myself
 
Cause effect essaysjune2013
Cause effect essaysjune2013Cause effect essaysjune2013
Cause effect essaysjune2013
 
Present perfect tense
Present  perfect  tensePresent  perfect  tense
Present perfect tense
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
 

Semelhante a สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ

นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน รหัส 56030566
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน  รหัส 56030566นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน  รหัส 56030566
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน รหัส 56030566
0884947335
 
ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล
ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล
ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล
nuengrutaii
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง
Sunthon Aged
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง
Sunthon Aged
 
ตำแหน่งของการออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียงตำแหน่งของการออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียง
nuengrutaii
 
Place of articulation and Phonetics
Place of articulation and PhoneticsPlace of articulation and Phonetics
Place of articulation and Phonetics
chepeach
 
Place of articulation&phonetics
Place of articulation&phoneticsPlace of articulation&phonetics
Place of articulation&phonetics
chepeach
 
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
Sunthon Aged
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
ตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากลตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
ตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
Oil Panadda'Chw
 

Semelhante a สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ (20)

นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน รหัส 56030566
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน  รหัส 56030566นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน  รหัส 56030566
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน รหัส 56030566
 
ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล
ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล
ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง
 
56030648
5603064856030648
56030648
 
สรุป
สรุปสรุป
สรุป
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง
 
ตำแหน่งของการเกิดเสียง
ตำแหน่งของการเกิดเสียงตำแหน่งของการเกิดเสียง
ตำแหน่งของการเกิดเสียง
 
ตำแหน่งของการออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียงตำแหน่งของการออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียง
 
Phonetic 56030521
Phonetic 56030521Phonetic 56030521
Phonetic 56030521
 
ตำแหน่งของการออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียงตำแหน่งของการออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียง
 
Place of articulation and Phonetics
Place of articulation and PhoneticsPlace of articulation and Phonetics
Place of articulation and Phonetics
 
Place of articulation&phonetics
Place of articulation&phoneticsPlace of articulation&phonetics
Place of articulation&phonetics
 
56030479
5603047956030479
56030479
 
56030479
5603047956030479
56030479
 
เสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทยเสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทย
 
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
ตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากลตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
ตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
 
สรุป พรรณปพร สะอาดเอี่ยม 56030525
สรุป พรรณปพร สะอาดเอี่ยม 56030525สรุป พรรณปพร สะอาดเอี่ยม 56030525
สรุป พรรณปพร สะอาดเอี่ยม 56030525
 
สรุป
สรุปสรุป
สรุป
 

สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ

  • 1. ตำแหน่งของกำรเกิดเสียง (Place of Articulation) หลังจำกที่เรำได้เห็นหน้ำตำของ IPA chart กันไปแล้ว เรำก็คงสงสัยว่ำ แต่ละตัวอักษรนั้นมีเสียงอย่ำงไร บอกได้เลยว่ำ เรำต้องรู้ลักษณะวิธีกำรออกเสียงและตำแหน่งที่ใช้ในกำรออกเสียง ในบทควำมนี้เรำจะพูดถึงตำแหน่งของกำรออกเสียงหรือ Place of articulation ก่อนนะคะ  คอลัมน์แถวบนสุดแสดงตำแหน่งของกำรเกิดเสียง(Placeof Articulation) หรือเรียกได้สั่นๆ ว่ำฐำนกรณ์ (Articulator)  Bilabial - ริมฝีปำกทั้งคู่  Labiodental - ริมฝีปำกล่ำงและฟันบน  Dental - ปลำยลิ้นหรือส่วนถัดปลำยลิ้นกับฟันบน  Alveolar - ปลำยลิ้นหรือส่วนถัดปลำยลิ้นกับปุ่มเหงือก  Retroflex - ปลำยลิ้นหรือส่วนใต้ปลำยลิ้นกับส่วนปลำยสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับเพดำนแข็ง  Palatal-Alveolar - ส่วนถัดจำกปลำยลิ้นกับส่วนปลำยุสดของปุ่มเหงือก  Palatal - ลิ้นส่วนต้นกับเพดำนแข็ง  Velar - ลิ้นส่วนหลังกับเพดำนอ่อน
  • 2.  Uvalar - ลิ้นส่วนหลังกับลิ้นไก่  Pharyngeal - โคนลิ้นกับผนังช่องคอด้ำนหลัง  Glottal - เสียงที่เกิดจำกเส้นเสียง Face diagram แสดงตำแหน่งต่ำงๆ ของ Speech Organs
  • 3. ตำแหน่งของก่ำรออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง(Placeand Manner of Articulation) ในกำรแปรเสียงหรือกล่อมเกลำเสียง (Articulation) เพื่อให้เกิดเป็นเสียงพยัญชนะต่ำงๆในภำษำนั้น กำรแปรเสียงหรือกล่อมเกลำเสียงจะเกิดขึ้นณจุดต่ำงๆ(Placeof Articulation) ภำยในช่องออกเสียง (Vocal Tract) ของเรำ ในบทนี้จะกล่ำวถึงบริเวณต่ำงๆที่มีควำมเป็นไปได้ที่จะเป็นตำแหน่งที่เกิดของเสียงในภำษำต่ำงๆ ตลอดจนลักษณะวิธีออกเสียง(Manner of Articulation) แบบต่ำงๆที่สำมำรถจะเกิดขึ้นได้ในภำษำต่ำงๆ โดยละเอียดโดยจะยกตัวอย่ำงเสียงต่ำงในภำษำประกอบด้วย ตำแหน่งของกำรเกิดเสียงบริเวณต่ำงๆ(Place of Articulation) คำนี้ถ้ำจะเรียกให้สั้นและย่อมีชื่อเฉพำะว่ำฐำนกรณ์ ซึ่งหมำยถึงอวัยวะแปรเสียงหรือกล่อมเกลำเสียงโดยรวม แต่ถ้ำจะแยกกลุ่มของอวัยวะแปรเสียงออกมำตำมลักษณะของกำรเคลื่อนไหวก็จะแบ่งได้เป็น2กลุ่มคือ 1. กลุ่มที่เคลื่อนที่ไม่ได้ (Passive Articulator หรือ Upper Articulator) หรือมีชื่อเฉพำะสั้นๆ ว่ำฐำน ซึ่งได้แก่อวัยวะต่อไปนี้ - ริมฝีปำกบน (upper lip) - ฟันบน (upper teeth) - ปุ่มเหงือก (gum ridge หรือ alveolar ridge) - เพดำนแข็ง (hard palate) - เพดำนอ่อน (soft palate หรือ velum) - ลิ้นไก่(uvula) อวัยวะชิ้นนี้แม้ว่ำจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มที่เรียกว่ำupper articulators หรืออวัยวะที่อยู่ส่วนบนของช่องปำกหรือเพดำนปำกก็ตำมแต่เป็นอวัยวะที่สำมำรถเคลื่อนที่ได้ 2. กลุ่มที่เคลื่อนที่ได้ (Active Articulator หรือLower Articulator) หรือมีชื่อเฉพำะสั้นๆ ว่ำกรณ์ ซึ่งได้แก่อวัยวะต่อไปนี้ คือ - ริมฝีปำกล่ำง (Lower lip)
  • 4. - ลิ้น (tongue) ซิงเป็นอวัยวะที่มีควำมยืดหยุ่นตัวสูงที่สุดดังที่กล่ำวมำแล้วในตอนต้น ในบทที่ว่ำด้วยเรื่องอวัยวะในกำรแกเสียงในกำรทำให้เกิดเสียงพยัญชนะเสียงใดเสียงหนึ่งขึ้นมำนั้น กระแสอำกำซที่เดินทำงผ่ำนเข้ำมำในช่องออกเสียง (vocaltract) จะต้องถูกกักกั้นในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง กำรกักกั้นกระแสอำกำศก็จะกระทำได้โดยอวัยวะกลุ่มที่เคลื่อนที่ได้(ActiveArticulators) จะเคลื่อนที่เข้ำไปหำ, เข้ำไปใกล้,หรือเข้ำไปชิดอวัยวะกลุ่มที่เคลื่อนที่ไม่ได้(PassiveArticulator) เมื่อกระแสอำกำศเดินทำงผ่ำนจุดกักกั้นเหล่ำนั้นก็จะก่อให้เกิดเสยงพยัญชนะประเภทต่ำงๆ ที่แตกต่ำงกันไปตำมรูปแบบของกำรกักกั้นกระแสอำกำศหรือที่เรียกว่ำลักษณะวิธีออกเสียง(Mannerof Articulation) ณ จุดเกิดเสียงต่ำงๆกัน และคำที่ใช้สำหรับเรียกชื่อพยัญชนะส่วนหนึ่งก็มำจำกคำระบุตำแหน่งของกำรกักกั้นกระแสอำกำศดังกล่ำว ซึ่งได้แก่ Bilabial (เสียงที่เกิดจำกริมฝีปำกทั้งคู่)เกิดจำกริมฝีปำกล่ำงเคลื่อนเข้ำไปหำริมฝีปำกบนเช่น เสียงแรกของคำว่ำ“my”ในภำษอังกฤษเสียงแรกของคำว่ำ“ปู”ในภำษำไทย Labiodental (เสียงที่เกิดจำกริมฝีปำกล่ำงและฟันบน)เกิดจำกริมฝีปำกล่ำงเคลื่อนเข้ำไปหำฟันบนด้ำนหน้ำ เช่น เสียงแรกของคำว่ำ“เฝ้ำ” ในภำษำไทย,เสียงแรกของคำว่ำ“van” ในภำษำอังกฤษ Dental (เสียงที่เกิดจำกปลำยลิ้นหรือส่วนถัดจำกปลำยลิ้นกับฟันบน) เกิดจำกปลำยลิ้นหรือส่วนถัดจำกปลำยลิ้นเคลื่อนเข้ำไปหำฟันบนด้ำนหน้ำเช่น เสียงแรกของคำว่ำ“thin” ในภำษำอังกฤษ Alveolar (เสียงที่เกิดจำกปลำยลิ้นหรือส่วนถัดจำกปลำยลิ้นกับปุ่มเหงือก) เกิดจำกปลำยลิ้นหรือส่วนถัดจำกปลำยลิ้นเคลื่อนเข้ำไปหำปุ่มเหงือกเช่นเสียงแรกของคำว่ำ“นก”ในภำษำไทย, เสียงแรกของคำว่ำ“tip” ในภำษำอังกฤษ Retroflex (เสียงที่เกิดจำกปลำยลิ้นหรือส่วนใต้ปลำยลิ้นกับส่วนปลำยสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับเพดำนแข็ง) เกิดจำกปลำยลิ้นซึ่งอำจจะเป็นผิวบน(uppersurface) หรือส่วนใต้ปลำยลิ้นเคลื่อนเข้ำไปหำส่วนปลำยสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับเพดำนแข็งเช่นเสียงตัว “ร”หรือ “ส” ในตำแหน่งพยัญชนะต้นของภำษำไทยถิ่นใต้บำงสำเนียงและเสียง “r” ในภำษำอังกฤษสำเนียงอเมริกันบำงสำเนียง
  • 5. Palato-Alveolar (เสียงที่เกิดจำกส่วนถัดจำกปลำยลิ้นกับส่วนปลำยสุดของปุ่มเหงือก) เกิดจำกกำรใช้ส่วนถัดปลำยลิ้นเคลื่อนเข้ำไปหำส่วนปลำยสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับเพดำนแข็งเช่น เสียงแรกของคำว่ำ“show” ในภำษำอังกฤษ Palatal (เสียงที่เกิดจำกลิ้นส่วนต้นกับเพดำนแข็ง)เกิดจำกกำรใช้ลิ้นส่วนต้น(frontof the tongue) เคลื่อนเข้ำไปหำเพดำนแข็งเช่นเสียงแรกของคำที่แปลว่ำ“ยำก”ในภำษำไทยถิ่นอีสำน[ø] และเสียงแรกของคำว่ำ “nyamuk” ในภำษำมำเลเซียซึ่งแปลว่ำยุง Velar (เสียงที่เกิดจำกลิ้นส่วนหลังกับเพดำนอ่อน)เกิดจำกกำรใช้ลิ้นส่วนหลังเคลื่อนเข้ำไปหำเพดำนอ่อน เช่น เสียงแรกของคำว่ำ“คน”ในภำษำไทย เสียงแรกของคำว่ำ “give”ในภำษำอังกฤษ Uvular (เสียงที่เกิดจำกลิ้นส่วนหลังกับลิ้นไก่)เกิดจำกกำรยกลิ้นส่วนหลังเข้ำไปหำลิ้นไก่เช่น เสียงแรกของคำว่ำ“rouge” ในภำษำฝรั่งเศส Pharyngeal(เสียงที่เกิดจำกโคนลิ้นกับผนังช่องคอด้ำนหลัง) เกิดจำกกำรดึงโคนลิ้นไปทำงด้ำนหลังเข้ำหำผนังช่องคอด้ำนหลังเช่นเสียงแรกในคำที่แปลว่ำ “ลุง” ในภำษำอำหรับ ([?amm]) Glottal (เสียงที่เกิดจำกเส้นเสียง) เกิดจำกกำรเคลื่อนเข้ำหำกันของเส้นเสียงทั้งคู่ โดยอำจจะเคลื่อนเข้ำมำติดกันเช่นเสียงแรกของคำว่ำ “home”ในภำษำอังกฤษ,เสียงแรกของคำว่ำ“อู่” ในภำษำไทย
  • 6. ตารางแสดงตาแหน่งของการเกิดเสียง Point ofarticulation Active articulators Passive articulators Examples 1. Bilabial Lowerlip Upper lip [m,p,b,¸,B,º,‡] 2. Labiodental Lowerlip Upper teeth [M,f,v,V] 3. Dental Tip of the tongue Upper teeth [T,D] 4. Alveolar Tip of the tongue Alveolarridge [n,t,d,s,z,Z,Â,l,r,t',ë] 5. Postalveolar Tip of the tongue Postalveolar [S,!]
  • 7. 6. Retroflex Tip of the tongue Postalveolar [÷,ê,§,½,ñ,] 7. Palato-alveolar Tip of the tongue Hard palate [S,Z] 8. Palatal Front of the tongue Hard palate [ø,c,ï,þ,´] 9. Velar Back of the tongue Softpalate [N,k,g,x] 10. Uvular Back of the tongue Uvular [N, q,G, X,Ò,R] 11. Pharyngeal Root of the tongue Back wall of the pharynx [ð,?] 12. Glottal Vocal cords Vocal cords [?,h,ú,] 13. Labial-palatal Lowerlip Centerof the tongue Upper lip Hard palate [ç] 14. Labial-Velar Lowerlip Back of the tongue Upper lip Softpalate [kƒp,gƒb,w]