SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 13
4.การพัฒนาความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 
ความคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking ) 
อาจนิยมได้หลายลักษณะด้วยกนัคือเป็นการค้นคิดสิ่งประดิษฐ์หรือวิธีการใหมๆ่ 
จากการศึกษาทดลอง ทา ให้จินตนาการเป็นจริงขึ้น เป็นความคิดอเนกนัย 
ซึ่งเป็นความคิดที่กวา้งไกลสลับสับซ้อน 
มีหลายแง่มุม หลายรูปแบบ ความคิดในลักษณะนี้จะนาไปสู่การคิดประดิษฐ์สิ่งแปลกใหม่ หรืแกไ้ขปัญหา 
ยากๆได้สาเร็จเป็นจินตนาการหรือความฝัน ซึ่งมีความสาคัญกวา่ความรู้ และเป็นบอ่เกิดของการแสวงหาค 
วามรู้มาพิสูจน์ จินตนาการ หรือทา จินตนาการให้เป็นจริงเป็นความรู้สึกที่ไว 
เข้าใจอะไรได้เร็วแมจ้ะเป็นเรื่องยากและซับซ้อน มีปฏิกิริยาหรืออารมณ์ร่วมกับเรื่องนั้นๆ 
บทบาทและความสาคัญของความคิดสร้างสรรค์ 
มนุษย์เราโชคดีที่ธรรมชาติสร้างให้มีพลังความคิดสามารถ ๔ ประการคือ 
ความสามารถในการรับความรู้ (adsorbknowledge) 
ความสามารถในการจดจา และระลึกถึงความรู้เหลา่นั้นได้ (memorize and recall 
knowledge) ความสามารถในการให้เหตุผล (to create) 
ลักษณะของบุคคลทมีี่ความคิดสร้างสรรค์ 
จากการรวบร่วมผลการศึกษาของนักจิตวิทยา ซึ่งค้นควา้เรื่องความคิดสร้างสรรค์ เชน่ มาสโลว์ (ma 
slow) สตาร์คเวธเซอร์ (Starkweather) และครอพลีย์ (Corpley) พอสรุปลักษณะของบุคคลที่มีความคิดสร้างส 
รรค์ได้ดังนี้คือ คนที่มีความคิดสร้างสรรค์ 
จะเป็นตัวของตัวเองผู้ที่มีความคิดริเริ่มจะไมย่อมคล้อยตามความคิดเห็นของผู้อื่นๆ ได้ง่ายๆ 
และจะมีความมานะบากบั่นอยา่งยิ่ง 
ในการเรียนให้เด็กมีความคิดสร้างสรรค์ ครูจะต้องพัฒนาตนเองให้เป็นคนที่มีความคิดสร้างสรรค์เสียก่ 
อน ต้องแสวงหาความรู้ใหมๆ่ ตลอดเวลา ฝึกคิดฝึกจินตนาการกล้าคิดค้นวิธีสอนใหม่
ๆ ที่น่าสนใจ และพัฒนาวิธีการ 
ทา งานของตนเองให้เหมาะสมกบัการเจริญเติบโตของเด็กและความกา้วหน้าทางวิชาการด้วย ครูควรมีควา 
มรู้ในเรื่องความคิดสร้างสรรค์ซึ่งสามารถพัฒนาให้เกิดประโยชน์ต่อนักเรียนและตอ่สังคมได้ ครูควรเปิดโอ 
กาสให้นักเรียนได้แสดงความคิดใหม่ ได้ศึกษาหาความรู้ สารวจ และทดลองในสิ่งที่เขาสนใจ ให้คา แนะ 
นาเกยี่วกบัแหลง่ความรู้ตา่ง ๆ 
และให้ความรัก เอาใจใส่นักเรียนอยา่งทั่งถึงและ การสร้างความคิดสร้างสรรค์ในนักเรียน และ ครูจะปร 
ะสบความสาเร็จมากน้อยเพียงไรย่อมขึ้นอยูกั่บความคิดสร้างสรรค์ของผู้บริหารโรงเรียน ผู้บริหารระดับกา 
รศึกษาสูงด้วย ผู้บริหารที่สังคมต้องการ จะต้องเป็นผู้ที่สามารถริเริ่มสิ่งใหมๆ่ ที่เกิดประโยชน์ตอ่ส่วนรวม 
และเพื่อความสาเร็จของตนเอง เพื่อผู้ใต้บังคับบัญชาหรือผู้ร่วมงานจะได้ปฏิบัติตามและเกิดความกระตือรือ 
ร้นที่จะสร้างสรรค์สิ่งใหมๆ่ บ้าง 
ส่วนหลักการส่งเสริมการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ให้แก่ผู้บริหารสถานศึกษา 
ผู้มีเอตทัคคะในเรื่องความคิดสร้างสรรค์ เชน่ แมคเคนซีย์ 
และคอรีย์ (Mackenzie and Corey) ได้เสนอแนวทางในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของผู้บริหารไว้ดัง 
นี้ คือ 
๑.ผู้บริหารไมค่วรยึดมนั่กับวิธีการบริหารอยา่งใดอยา่งหนึ่งตลอดไปในชีวิตการบริหาร 
๒.พยายามค้นหาแนวทางปฏิบัติที่ดีกวา่และที่ใหมก่วา่เสมอ โดยไมผู่กพันอยูก่บัความจา เจ 
๓.รู้จักฟัง อา่น 
และวิสาสะกบัผู้บริหารคนอื่นๆในระดับเดียวกนัหรือสูงกวา่ เรียนรู้การค้นพบ การทดลองสิ่งแปลกๆ ใหม่ 
ๆ ที่ให้ประโยชน์ตอ่การนาไปประยุกต์ใช้ในการบริหาร 
๔. หมนั่ตรวจสอบประสบการณ์ 
และการฝึกอบรมของตนเอง เพื่อหาจุดออ่นและพยายามชดเชยจุดออ่นนั้นด้วยการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมอ 
ยา่งจริงจัง 
๕. 
พยายามวิเคราะห์พฤติกรรมการบริหารของตนเสมอ การวิเคราะห์พฤติกรรมของตนจะชว่ยให้เข้าใจธรรมช 
าติของตนได้ดีขึ้น 
๖. 
วิเคราะห์เหตุแห่งพฤติกรรม หรือเหตุแห่งการตัดสินใจเพื่อการแกไ้ขพฤติกรรมการบริหารงานให้สร้างสรร 
ค์ยิ่งขึ้น
http://www.kroobannok.com/blog/16705 
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์เป็นความสามารถที่จะสร้างสิ่งใหม่ๆ ขึ้นโดยอาศัยประสบการณ์ที่มีอยูเ่ดิม 
และพัฒนาขึ้นเป็นความคิดใหมที่่ต่อเนื่องและมีคุณคา่ 
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อาจแยกออกได้เป็นสองคา คือ ความคิดริเริ่มกับความคิดสร้างสรรค์ 
สาหรับความ คิดริเริ่ม คือ ความสามารถที่จะสร้างสิ่งใหม่ๆ เป็นความคิดเริ่มแรกที่ไมซ่้า แบบใคร 
ส่วนความคิดสร้างสรรค์ คือ ความสามารถที่จะสร้างสิ่งใหม่ๆ ขึ้นโดยอาศัยประสบการณ์ที่มีอยูเ่ดิม 
และพัฒนาขึ้นเป็นความคิดใหมที่่ต่อเนื่องและมีคุณคา่ 
ลักษณะต่าง ๆ ของความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 
1. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในลักษณะกระบวนการ (Creative Process) 
ตามลักษณะนี้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาอยา่งเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ 
ซึ่งเป็นกระบวนการทา งานของสมองอยา่งเป็นขั้นตอนตั้งแตเ่ริ่มต้นจนสามารถแกปั้ญหาได้สาเร็จ 
ขั้นตอนตา่ง ๆของกระบวนการทา งานของสมองมีผู้เสนอไวห้ลายแบบ 
2. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในลักษณะบุคคล (Creative Person) 
ตามลักษณะนี้เป็นการมองดูบุคคลที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ วา่มีลักษณะเป็นอยา่งไร 
หรือประกอบด้วย ลักษณะอยา่งใดบ้าง ได้มีผู้เสนอไวห้ลายลักษณะ เชน่ 
โรเจอร์ (Roger อ้างถึงใน สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2550 : 19) กลา่วไวว้า่ 
บุคคลที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์จะมีลักษณะดังนี้ 
1. เป็นผู้ที่เผชิญกบัปัญหาตา่ง ๆ โดยไมถ่อยหนี รับประสบการณ์ตา่ง ๆ โดยไมห่ลีกเลี่ยงหรือหลบถอย 
2. เป็นผู้ที่ทา งานเพื่อความสุขของตนเอง มิใชเ่พื่อหวงัการประเมินผล หรือการยกยอ่งจากบุคคลอื่น 
3. มีความสามารถในการคิดและประดิษฐ์สิ่งตา่ง ๆ 
ฟรอมม์ (Fromm อ้างถึงใน เกรียงศักด์ิ เจริญวงศ์ศักด์ิ, 
2545) กลา่วถึงลักษณะของคนที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ไว้วา่ 
1. มีความรู้สึก ประหลาดใจที่ได้พบได้เห็นสิ่งใหม่ๆ ที่น่าทึ่งน่าประหลาดใจ สนใจสิ่งที่เกิดขึ้นใหม่ๆ 
หรือของใหม่ๆ 
2. มีสมาธิสูง 
เป็นผู้ที่สามารถให้ความสนใจหรือมีสมาธิจิตใจจดจ่ออยู่กบัเรื่องหนึ่งเรื่องใดที่สนใจได้เป็นเวลานาน ๆ 
ไมว่อกแวก เพื่อใช้เวลานั้นไตร่ตรองหรือคิดในเรื่องที่กา ลังสนใจอยู่
3. สามารถยอมรับสิ่งตา่ง ๆ ได้ ยอมรับความไมแ่น่นอน หรือสิ่งที่เป็นข้อขัดแย้งและความตึงเครียด 
4. มีความเต็มใจที่จะทา ในสิ่งใหม่ๆ มีความกล้าหาญที่จะเผชิญกบัสิ่งแปลกใหมไ่ด้ทุกวนั 
อนาตาสี (Anatasi อ้างถึงใน อเนก ตรีภูมิ, 2550 : 18) กลา่วถึงผู้ที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์วา่ 
จะต้องเป็นผู้ที่มีลักษณะตอ่ไปนี้ 
1. มีความรู้สึกไวตอ่ปัญหา 
2. มองเห็นการณ์ไกล 
3. มีความเป็นตัวของตัวเอง 
4. มีความสามารถในการคิดหลายแง่หลายมุม 
5. มีความสามารถในการเปลี่ยนแปลงความคิดอยา่งคลอ่งแคล่ว 
การิสัน (Garison อ้างถึงใน อเนก ตรีภูมิ, 2550 : 
19) กลา่วถึงลักษณะของบุคคลที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ไวว้า่ 
1. เป็นคนที่สนใจปัญหา ยอมรับการเปลี่ยนแปลง กล้าเผชิญปัญหา 
กระตือรือร้นที่จะแกปั้ญหาและพยายามหาทางปรับปรุงเปลี่ยนแปลงสิ่งตา่ง ๆ อยูเ่สมอ 
2. เป็นคนที่มีความสนใจกวา้งขวาง ทันตอ่เหตุการณ์รอบด้าน สนใจที่จะศึกษาเพิ่มเติมอยูเ่สมอ 
ยอมรับฟังความคิดเห็นที่มีสารประโยชน์ และนาข้อมูลมาประกอบการพิจารณาปรับปรุงงานของตน 
3. เป็นคนที่ชอบคิดหาทางแกไ้ขปัญหาไวห้ลาย ๆ ทาง 
เตรียมทางเลือกสาหรับการแกปั้ญหาไว้มากกวา่หนึ่งเสมอเป็นการชว่ยให้คลอ่งตัวประสบผลสาเร็จ 
4. เป็นคนที่มีสุขภาพสมบูรณ์ ร่างกายแข็งแรง สุขภาพจิตดี มีการพักผอ่นเพียงพอ 
เป็นคนชา่งซักถามจดจา เรื่องราวได้แมน่ และสามารถนาข้อมูลที่จดจา ได้มาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ดี 
5. เป็นคนที่ยอมรับและเชื่อในบรรยากาศและสภาพแวดล้อมวา่มีผลกระทบต่อความคิดริเริ่มสร้างสรรค์จึ 
งจัดบรรยากาศ 
และสถานที่ให้เหมาะสมกบัการพัฒนาความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และขจัดสิ่งรบกวนหรืออุปสรรคออกไป 
3. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในลักษณะผลิตผล (Creative Product) 
ตามลักษณะนี้เป็นการมองดูสิ่งที่เป็นผลิตผลจากความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 
ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งรูปธรรมและนามธรรม 
นิวเวลล์ ชอว์ และซิมสัน (Newell Shaw and Simson อ้างถึงใน อเนก ตรีภูมิ, 2550 : 
19) ได้กลา่วถึงหลักการพิจารณาวา่ผลิตผลใดที่จะจัดเป็นผลิตผลจากความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ไว้ดังนี้ 
1. เป็นผลิตผลที่แปลกใหม่มีคา่ตอ่ผู้คิด สังคมและวฒันธรรม 
2. เป็นผลิตผลที่ไมเ่ป็นไปตามปรากฏการณ์นิยม ในเชิงที่วา่มีการคิดดัดแปลงหรือยกเลิกผลผลิต หรือ
ความคิดที่เคยยอมรับกนัมากอ่น 
3. เป็นผลผลิตที่เกิดขึ้นจากการได้รับการกระตุ้นอยา่งสูงและมนั่คงเป็นระยะเวลายาวหรือความพยายามอ 
ยา่งสูง 
ทมี่าของความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ที่เกิดขึ้นหรือมีในบุคคลนั้น เมื่อพิจารณาถึงที่มาแล้วอาจจา แนกออกได้ดังนี้ 
1. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ทเี่กิดขึ้นเพราะความจาเป็น ซึ่งแยกออกเป็น 2 ลักษณะ ได้แก่ 
1. ความจา เป็นอันเนื่องมาจากสภาวะแวดล้อม 
คือภาวะบางอยา่งทา ให้เกิดความจา เป็นที่คนจะต้องคิดหาทางแก้ปัญหาที่ได้ประสบอยู่ 
วิธีการแกปั้ญหามกัจะคา นึงถึงสาเหตุที่เกิดของปัญหากอ่น 
การพิจารณาหาสาเหตุและทางแกปั้ญหาหรือหาทางป้องกนัทา ให้เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในเรื่องนั้นขึ้นได้ 
เชน่ ฝนตกลงมาและหลังคาบ้านที่มุงด้วยจากเกิดมีรูรั่วน้าฝนไหลลงมาถูกสิ่งของในบ้านเปียก 
เกิดความจา เป็นที่จะต้องแก้ไขปัญหานี้ การเอาวสัดุใด ๆ เชน่ 
แผน่กระดาษแข็งไปแซมหลังคาแทนจากชั่วคราวเพื่อกนัไมใ่ห้น้ารั่วลงมา 
ก็นับวา่เป็นความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ที่แกไ้ขปัญหาได้ ยิ่งกวา่นั้น ถ้ามีการนาวสัดุหลาย ๆ แบบมาใช้กนัน้าฝน 
ก็นับวา่มีความคิดยืดหยุน่ในเรื่องนั้น ๆ ด้วย 
2. ความจา เป็นอันเนื่องมาจากคา สั่ง กฎเกณฑ์หรือระเบียบบังคับ บางครั้งคนเราก็อาจถูกบังคับให้ทา 
บางสิ่งบางอยา่งตามกฎเกณฑ์ที่วางไว้ทา ให้เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ขึ้นมาได้ เชน่ 
เมอื่ได้รับมอบหมายให้ทา โครงการหรือทา งานในโครงการที่มีอยูแ่ล้ว 
บุคคลก็ต้องพยายามหาวิถีทางดา เนินงานตามที่ได้รับมอบหมายมาหาวิธีการตา่ง 
ๆทา ให้เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ได้ แตอ่ยา่งไรก็ตาม 
บางครั้งคนเราก็อาจอยากจะฝ่าฝืนกฎหรือระเบียบข้อบังคับตา่ง ๆ ด้วยการพยายามหาทางเลี่ยงกฎ ฝ่าฝืนระเบียบ 
ก็อาจทา ให้เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ได้เชน่เดียวกนั 
2. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ทเี่กิดจากความบังเอิญ 
บอ่ยครั้งที่ความบังเอิญกอ่ให้เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์โดยที่ไมจ่งใจที่จะทา แตเ่มื่อผลงานออกมามี 
ความแปลกใหม่สามารถแกปั้ญหาหรือใช้ได้ดี ก็ได้รับการยอมรับวา่เป็นความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ได้ 
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์แบบนี้ต้องอาศัยความชา่งสังเกตมากกวา่ปกติ จึงจะพบแนวคิดซึ่งเกิดจากความบังเอิญ 
เชน่ คนโบราณทา เนื้อหลน่ลงในกองไฟ เมื่อรีบหยิบออกมากินกอ่นที่จะไหมพ้บวา่มีรสชาติดีขึ้น 
ซึ่งเป็นที่มาของการปิ้ง ยา่งเนื้อให้สุกกอ่นรับประทานในทุกวนันี้ 
3. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ทเี่กิดจากความจงใจหรือตั้งใจ
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์แบบนี้นับวา่เป็นความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ที่แท้จริง การที่มนุษย์จะคิดทา อะไรก็ต้อง 
มีการวิเคราะห์ สังเคราะห์ จนเกิดแนวคิดในการทา สิ่งนั้น ๆ ขึ้นเ 
http://learners.in.th/blog/putaiwan/256054 
การคิดแบบนักบริหาร 
ความคิดเป็นผลจากการทา งานของสมองในการกอ่รูป (Formulate) บางสิ่งบางอยา่งขึ้นในมโนคติ 
(mind) ผา่นการทา งานของระบบการรับรู้ทางจิต 
(cognitive system) โดยในส่วนของความคิดจะทา หน้าที่แยกแยะการกระทา และความรู้สึก ผา่นกระบวนก 
ารทางความคิดอันจะนาไปสู่พฤติกรรมที่ตอบสนองสถานการณ์นั้น การคิดเป็นเรี่องที่สาคัญ การคิดไมเ่ห 
มือนกนั การคิดแบบจินตนาการ การคิดหวนราลึกถึง การคิดใช้เหตุผล และการคิดแกปั้ญหา 
การคิดเกี่ยวข้องกับผู้บริหารอย่างไร 
การคิดเกยี่วข้องกบัความอยูร่อด ทา ให้คนอยากคิด 
เพื่อความอยูร่อดก็จะเริ่มคิดอะไรออกมา หากไมมี่ก็เป็นเรื่องยากที่จะอยู่รอด 
ความต้องการสิ่งแปลกใหม่ กระตุ้นให้คิด คนอยากคิดก็คือไมอ่ยากยึดติดของเดิม ๆ พยายาม 
หารูปแบบใหม่ 
ๆ นักคิดก็คือ กบฏตัวน้อย มีใครคิดทฤษฎีใหมที่่ไมคิ่ดกบฏตอ่ทฤษฎีเดิม ไมพ่อใจของเดิมแตห่าดีกวา่จึงจะกล้ 
าคิด หากเราบอกตัวเองวา่ เขาเป็นข้าราชการที่เสียแล้ว หากเราไมคิ่ดจะเปลี่ยนแปลงในขณะที่รุ่นพี่ของเราเป็น 
อยา่งนี้เราต้องนาการเปลี่ยนแปลงที่ดีมาสู่เรา 
ความสงสัย กระตุ้นให้คิด สร้างให้เกิดความรู้ ความอยากรู้อยากเห็น 
บางครั้งเด็กอยากรู้อยากเห็น แตค่นที่เป็นพอ่เป็นแมต่อบวา่ ถามอยูไ่ด้อยา่งนี้ตัดความคิดเห็น พอ่แมต่้องเป็นผู้ส 
ร้างการอยากรู้อยากเห็น 
สภาพปัญหา กระตุ้นให้คิด ปัญหาทา ให้เราคิดสารพัด เราต้องหาวิธีออก วิธีคิด การที่เราพบปัญหานั้ 
นทา ให้เรานามาใช้ประโยชน์ได้ การทา งานไมท่า ให้ออกมาเป็นรูปแบบเดิม 
ๆ ยุคนี้เป็นยุคที่ทา ให้เกิดวิธีการคิดโดยมีวิธีการคิด 10 มิติ การคิด 10 มิติ เกิดจากการประชุมระดับชาติ เป็นกา 
รสอนให้คนเกิดการคิด นอกกรอบ 
วิธีคิดแบบผู้บริหารผ่านการคิด 10 มิติ 
1. การคิดเชิงกลยุทธ์ 
2. การคิดเชิงอนาคต
3. การคิดเชิงสร้างสรรค์ 
4. การคิดเชิงวิพากษ์ 
5. การคิดเชิงบูรณาการ 
6. การคิดเชิงวิเคราะห์ 
7. การคิดเชิงเปรียบเทียบ 
8. การคิดเชิงสังเคราะห์ 
9. การคิดเชิงมโนทัศน์ 
10. การคิดเชิงประยุกต์ 
1. การคิดเชิงกลยุทธ์ 
การคิดเชิงกลยุทธ์เป็นเรื่องที่จา เป็น จริงๆ 
แล้วความคิดทั้ง 10 มิติ เป็นการใช้ตลอดเวลา และจา เป็นต้องใช้ในอนาคต สาหรับอันดับแรกเป็นการคิดเชิงก 
ลยุทธ์ ผู้บริหารเป็นคนชี้ขาด คือ คนที่นาในองค์กร คนแรกที่ต้องพบปัญหา คนแรกที่ตัดสินวา่จะไปซ้ายหรือ 
ไปขวา ฉะนั้นการคิดเชิงกลยุทธ์เปลี่ยนมาก สถานการณ์เปลี่ยนตลอดเวลา และมีทรัพยากรจา กดั บุคลากรก็มี 
จา กดั สถานการณ์ปัจจุบันไมส่ามารถแกปั้ญหาตามเคยชินได้ ฉะนั้นการคิดเชิงกลยุทธ์จึงมีความจา เป็นสาหรับ 
ผู้บริหารมากในการเผชิญปัญหาตา่งๆ ในการวางแผน การบริหารจัดการ การกา หนดวา่จะทา อะไรกอ่นหลัง นั 
กวิชาการด้านการบริหารบอกวา่ การคิดเชิงกลยุทธ์เป็นการวางแผนเพื่ออนาคต เพื่อการตัดสินใจในอนาคต มี 
2 วิธีที่จะเผชิญในอนาคต วิธีที่หนึ่งเหตุการณ์จะเกิดขึ้น เดินไปเรื่อยๆ 
ชีวิตนี้ปลอ่ยไปตามเวรตามกรรม ตามสภาวะแวดล้อม ตายเอาดาบหน้า อีกวิธีหนึ่ง คือ แน่นอนทา่นไมส่ามาร 
ถรู้อนาคตได้ เราคิดไปกอ่นแล้วเราวางแผนไว้ แตสิ่่งนั้นเกิดขึ้นและต้องตัดสินใจ ณ 
วนันี้ นักวิชาการอีกคนหนึ่งนายไมเคิลบอกวา่ ขบวนการคิดเชิงกลยุทธ์ เป็นการกา หนดเป้าหมายที่ชัดเจนทั้งร 
ะยะสั้นและระยะยาว โดยการจัดสรรทรัพยากรตั้งแต่วนันี้ เพราะฉะนั้นผู้บริหารต้องกา หนดแนวทางที่ดีที่สุดภ 
ายใต้เงื่อนไขและทรัพยากรที่จา กดั ภายใต้การเปลี่ยนแปลงทุกอยา่ง บริหารงบประมาณ บริหารบุคลากรให้บร 
รลุเป้าหมาย การจะให้บรรลุตามเป้าหมายต้องมีการวางแผนอยา่งรัดกุม การประเมินความได้เปรียบและเสียเปรี 
ยบของสถานการณ์ ที่เกิดขึ้นและการคาดการณ์ของอนาคต การเลือกกลยุทธ์เป็นสิ่งสาคัญมากในการประสบคว 
ามสาเร็จ หลักการคิดเชิงกลยุทธ์มีดังนี้ 
ขั้นทหี่นึ่ง กาหนดเป้าหมายทตี่้องการจะไปให้ถึง 
ขั้นทสี่อง วิเคราะห์และประเมินสถานะ
ขั้นทสี่าม การหาทางเลือกกลยุทธ์ 
ขั้นทสีี่่ การวางแผนปฏิบัติการ 
ขั้นทหี่้า การวางแผนคู่ขนาน 
ขั้นทหี่ก การทดสอบในสถานการณ์จาลอง 
ขั้นทเี่จ็ด การลงมือปฏิบัติการ 
ขั้นทแี่ปด การประเมินผล 
2. การคิดเชิงอนาคต 
มีประโยชน์มากและจา เป็นอยา่งยิ่ง เพราะเป็นการคาดการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้นอยา่งมีหลักเกณฑ์ที่เหมาะสม 
การคิดเชิงอนาคตมีหลายวิธี แต่ใช้วิธีทเี่หมาะสมและประกอบด้วย 6 หลักดังนี้คือ 
1. หลักการมองอย่างองค์รวม (Holistic Approach) ต้องมองทุกด้านที่เกยี่วข้องกนั 
2. หลักความต่อเนื่อง (Continuity) การคาดการณ์ในอนาคตต้องคาดการณ์อยา่งตอ่เนื่องเพื่อให้เกิดความสัมพันธ์ 
กนั 
3. หลักความสัมพันธ์เชิงเหตุผล (Causal Relationship) การคิดเชิงอนาคตไมใ่ชเ่ป็นการคิดแบบเดาสุ่ม แตเ่ป็น 
หลักของความคิดแบบมีความสัมพันธ์อยา่งมีเหตุผลได้ 
4. หลักการอุปมา (Analogy) โดยยึดหลักวา่ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตา่ง 
ๆในโลกนี้ล้วนมีแบบแผน ล้วนดา เนินไปอยา่งมีระบบ เหตุการณ์ใดที่เกิดขึ้นก็มกัจะเกิดเหตุการณ์อื่นตามมาด้ว 
ย 
5. หลักการจินตนาการ (Imagination) การใช้จินตนาการเป็นการที่ทา ให้การวาดภาพได้ในอนาคตเป็นการท้าท้า 
ย การจะใช้หลักจินตนาการเราต้องใช้หลักเหตุผล เพื่อที่จะให้การจินตนาการไมไ่ร้หลักการ 
6. หลักดุลยภาพ (Equilibrium) เป็นหลักการที่บอกวา่ในโลกแห่งความเป็นจริง ต้องปรับเข้าหาส่วนดีเสมอ หา 
กมีการเสียสมดุลย์เกิดขึ้นระบบก็จะพยายามปรับให้เกิดความสมดุลย์แกตั่วเอง ไมว่า่จะเป็นความสมดุลย์ทางด้า 
นเศรษฐกิจ ความสมดุลย์ในร่างกายของเราเอง 
3. การคิดเชิงสร้างสรรค์ 
ผู้บริหารมีความจาเป็นอยา่งยิ่งที่จะต้องมีการคิดเชิงสร้างสรรค์ โจทย์ไมเ่หมือนเดิม คา ตอบไมเ่หมือนเดิม 
วิธีตอบคา ถามคือไมเ่หมือนเดิม จึงมีความแปลกใหม่ ต้องการนวตักรรมในการตอบคา ถาม ในการบริหารงา 
นตา่ง ๆถูกบังคับให้เราต้องเอาชนะสิ่งตา่งๆ ด้วยวิธีการใหมๆ่ การคิดเชิงสร้างสรรค์ไปสู่ความคิดใหม่ 
ๆ ที่ไมเ่คยมีมากอ่นสามารถทา ให้เราค้นหาคา ตอบที่ดีที่สุด และอีกอยา่งการคิดเชิงสร้างสรรค์เป็นการฝ่าวงล้อ
มในการคิดเล็ก ๆ หรือการแวกมา่นความคิดตา่ง 
ๆออกไปเพื่อค้นพบในการแกปั้ญหาใหมที่่ไมเ่คยมีมากอ่น ใครคิดกอ่นได้เปรียบ หลักการคิดสร้างสรรค์ได้แก่ 
1. ฝึกถามคาถามทกี่ระตุ้นให้เกิดความคิดใหม่ ๆ 
2. อย่าละทงิ้ความคิดใด ๆจนกว่าจะพิสูจน์ได้ว่าไร้ประโยชน์ 
3. การพัฒนาเทคนิคช่วยคิดสร้างสรรค์ 
วงการโฆษณามกัจะใช้ขอบเขตทั้ง 3 ข้อดังกลา่ว 
4. การคิดเชิงวิพากษ์ 
หมายถึง ความตั้งใจพิจารณาตัดสินเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยไมเ่ห็นคล้อยตามข้อเสนอ ไมด่ว่นสรุปการเห็นคล้อยต 
าม เป็นการตั้งคา ถามท้าท้ายหรือโต้แย้งสมมุติฐานที่อยูเ่บื้องหลัง พยายามเปิดกวา้งทางความคิดออกสู่ความแต 
กตา่งในด้านตา่ง ๆมากขึ้นให้ได้ประโยชน์มากกวา่เดิม หลักการคิดเชิงวิพากษ์ได้แก่ 
หลักที่ 1 ให้สงสัยไว้ก่อน................อย่าเพงิ่เชื่อ 
หลักที่ 2 เผื่อใจไว้...............อาจจะจริงหรืออาจจะไม่จริงก็ได้ 
หลักที่ 3 เป็นพยานฝ่ายมาร............ตั้งคาถามซักค้าน 
5. การคิดเชิงบูรณาการ 
ผู้บริหารต้องคิดแกปั้ญหาในเชิงบูรณาการ ผู้บริหารต้องคิดไมแ่ยกส่วน ต้องคิดแบบแกนหลักได้อยา่งเห 
มาะสม ครบถ้วนทุกมุมมอง ไมแ่ยกส่วนในการแกปั้ญหา หลักการคิดเชิงบูรณาการได้แก่ 
1. ตั้ง “แกนหลัก” 
2. หาความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับแกนหลัก 
3. วิพากษ์เพอื่ให้เกิดการบูรณาการครบถ้วน 
6. การคิดเชิงวิเคราะห์ 
ผู้บริหารมีความจาเป็นในการคิดเชิงวิเคราะห์ เชน่การวิเคราะห์จุดแข็งจุดออ่น เพื่อจา แนกอุปกรณ์ของจุด 
ใดจุดหนึ่งแล้วค้นหาสิ่งที่แท้จริงที่เกิดขึ้น สิ่งที่เกิดขึ้นยอ่มมีที่มาที่ไป มีเหตุมีผลยอ่มมีองค์ประกอบย่อย 
ๆที่ซอ่นอยูด่้วย และองค์ประกอบนั้นมีความสอดคล้องหรือตรงข้ามกนักบัสิ่งที่ปรากฏภายนอกหรือเปลา่ หลักก 
ารคิดเชิงวิเคราะห์ประกอบด้วย
1. หาความสัมพันธ์เชิงเหตุผลของข้อมูลทไี่ด้รับ 
2. ใช้หลักการตั้งคาถาม 
3. ใช้หลักการแยกแยะความจริง เช่น 
แยกแยะระหว่าง ความจริง (truth) กับความเชื่อ (belief) 
แยกแยะโดยจากฎขั้วตรงข้าม (the principle of contradiction) 
แยกแยะระหว่างข้อเท็จจริง (facts) กับข้อคิดเห็น (opinions) 
7. การคิดเชิงเปรียบเทียบ 
การคิดเชิงเปรียบเทียบมีประโยชน์มากสาหรับผู้บริหาร 3 ด้านคือ 
1. คิดเปรียบเทียบใช้วิเคราะห์ 
2. คิดเปรียบเทียบใช้อธิบาย 
3. คิดเปรียบเทียบเพอื่แก้ปัญหา 
การคิดเปรียบเทียบเพื่อวิเคราะห์กับเหตุการณ์ที่มีลักษณะใกล้เคียงกนั มีความสัมพันธ์ใกล้เคียงกนัเพื่อให้เ 
ราลดความผิดพลาด เชน่ สมมุติมีเหตุการณ์ใดเกิดขึ้นแตยั่งไมชั่ดเจนอาจไมส่ามารถวิเคราะห์ได้หรือตัดสินใจไ 
ด้ ก็นามาเปรียบเทียบมาวิเคราะห์ได้วา่เหตุการณ์ไหนดีเหตุการณ์ไหนไมดี่ การคิดเปรียบเทียบเพื่อแกปั้ญหาเป็ 
นการจุดประกายความคิดและการสร้างสรรค์ใหม่ๆ หลักการคิดเชิงเปรียบเทียบได้แก่ 
1. กาหนดวัตถุประสงค์ของการเปรียบเทียบ 
2. กาหนดเกณฑ์ (criteria) การเปรียบเทียบ 
3. แจกแจงรายละเอียดของแต่ละเกณฑ์ 
4. เปรียบเทียบและตอบวัตถุประสงค์ 
8. การคิดเชิงสังเคราะห์ 
เป็นความสามารถขององค์ประกอบตา่งๆ 
แล้วนามาผสมผสานเข้าด้วยกนัเพื่อให้ได้สิ่งใหมต่ามความประสงค์ที่เราต้องการ ในคา ตอบจะตอบได้หลาย 
ๆอยา่ง นาข้อดีของแตล่ะอันมาสังเคราะห์เพื่อเป็นวิธีใหมที่่นามาใช้ในหน่วยงานของเราได้เลย เชน่ การสังเคร 
าะห์ชว่ยให้เราไมต่้องคิดสิ่งตา่ง 
ๆจากสูตร หากเราไมรู่้ประโยชน์จากความคิดของคนรุ่นเกา่แทบจะไมมี่อะไรที่ยากที่ทา ไมไ่ด้ ทุกอยา่งมกัจะมีแ 
ง่มุมที่ทา ไวแ้ล้ว แตเ่ราใช้แรงสักหน่อย นามาศึกษา นามาสังเคราะห์ ดูจากเรื่องเดียวกนัวา่มีปัญหาเคยเกิดไหม 
การคิดจากเชิงสังเคราะห์เริ่มต้นจากการตั้งคา ถามวา่
มีอะไรที่เกี่ยวกบัเรื่องการสังเคราะห์นาเอาสิ่งนั้นมาแยกแยะออกจากกนั ที่นามาใช้ประโยชน์ร่วมกนั การกา หน 
ดลักษณะและขอบเขตข้อมูลที่จะนามาสังเคราะห์เป็นเรื่องสาคัญ เชน่ การเลือกเฉพาะข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้ โด 
ยเลือกขอบเขตที่ชัดเจน 
9. การคิดเชิงมโนทัศน์ 
หมายถึง การประสานข้อมูลทั้งหมดที่มีอยูใ่นเรื่องใดเรื่องหนึ่งเข้าด้วยกนัโดยไมขั่ดแย้ง การคิดเชิงมโนทั 
ศน์เป็นการมอบภาพตา่ง ๆ 
ให้มีความสอดคล้องกนัให้เป็นภาพที่คมชัด กระชับสามารถอธิบายได้ เป็นการคิดรวบยอด สร้างกรอบความคิ 
ดให้ชัดเจน สามารถถา่ยทอดออกไปได้ การที่เราต้องเรียนรู้เชิงมโนทัศน์นั้นเพราะวา่ กรอบความคิดเรื่องประ 
สบการณ์และความรู้ ฉะนั้นการปรับมโนทัศน์ของเราและสร้างมโนทัศน์ใหมจ่ะเป็นเรื่องสาคัญ ยกตัวอยา่งเชน่ 
คา วา่ “นายอา เภอ” นั้น เบื้องหลังสะท้อนถึงโครงสร้างการบริหารงาน สะท้อนถึงหน้าที่ บุคลิก บทบาทของ 
ขอบขา่ยงาน เมื่อทุกสิ่งทุกอยา่งถูกมาเรียงไว้ แล้วคิดออกมาเป็นมโนทัศน์ เชน่ มโนทัศน์เรื่องของยาเสพติด เ 
มอื่กอ่นเรามีมโนทัศน์หมายถึง เสพแล้วติดให้โทษ แตปั่จจุบัน ยาเสพติดที่ขายตามท้องตลาดซื้อได้ตามร้านขา 
ยยาด้วย ที่กินแล้วอาจไมไ่ด้ให้โทษมากมาย 
วิธีการสร้างมโนทัศน์ประกอบด้วย 
1. การเป็นนักสังเกต 
2. การตีความ 
3. การเปรียบเทียบระหว่างข้อมูลทไี่ด้รับมากับกรอบความคิดเดิม 
ก. สามารถเปรียบเทียบความแตกต่าง/เหมือนกันในรายละเอียด 
ข. สามารถแยกมโนทัศน์หลัก - มโนทัศน์ย่อยได้ 
4. การปรับกรอบมโนทัศน์ใหม่ 
ก. การปรับกรอบเพมิ่ในรายละเอียดมากขึ้น 
ข. การขยายกรอบความคิดออกไปแนวข้างมากขึ้น 
5. การรับกรอบความคิดใหม่เข้ามาทั้งหมด 
6. การสร้างมโนทัศน์ใหม่ทไี่ม่เคยปรากฏมาก่อน 
10. การคิดเชิงประยุกต์ 
หมายถึง ความสามารถที่มีอยูเ่ดิมมาปรับใช้ในบริบทใหม่ คล้าย 
ๆกบันาต้นไม้ เชน่ นาต้นยางจากภาคใต้ไปปลูกภาคเหนือ ภาคอีสาน ต้นยางไมเ่ปลี่ยนแปลงแตส่ภาพแวด
ล้อมเปลี่ยนแปลงเป็นเหมือนวา่เรานากรอบ วิธีการหรือหลักเกณฑ์ตา่ง 
ๆที่มีอยูน่ั้น นามาประยุกต์พวกนี้เกิดจากการคิดวา่ เหลา่นี้นามาประยุกต์ใช้ได้ไหม เกิดผลดีผลเสียอยา่งไร 
นามาประยุกต์ใช้กบัสถานการณ์ที่เราเผชิญอยู่ หลักการคิดเชิงประยุกต์ประกอบด้วย 
1. ใช้หลักการทดแทนคุณสมบัติหลัก 
2. ใช้หลักปรับสิ่งเดิมให้เข้ากบัสถานการณ์ 
3. ใช้หลักการหาสิ่งทดแทน 
การคิด 10 มิติ นามาจากหนังสือการคิดเชิงเปรียบเทียบ 
จา นวน 10 เลม่ สามารถอา่นจากหนังสือเพิ่มเติมได้ หากทุกคนรู้จักวิธีการคิดและรู้จักพัฒนาความคิดทั้ง 10 
มิติ ก็จะเป็นประโยชน์และเป็นพื้นฐานสาหรับนักบริหารให้รู้จักคิด รู้จักไตร่ตรอง หาวิธีการแกปั้ญหาที่เ 
หมาะสมหรือรู้จักดา เนินชีวิตอยา่งมีกลยุทธ์ ทา ให้ไมเ่ผชิญสถานการณ์แบบหนัก ๆ 
เทคนคิการพฒันาความคดิสรา้งสรรค์ 
1. ฝึกคดิเชงิบวก (Positive Thinking) หลายคนคงจะเคยไดย้นิคานี้กันมามากต่อมากแลว้ แต่เราเคย 
นาไปใชใ้นชีวติประจาวันกันมากนอ้ยเพยีงใด การคดิเชงิบวก ไม่ใช่เป็นเพยีงการมองโลกในแง่ดีเพยีง 
อย่างเดียวแต่จะตอ้งแสวงหาโอกาสจากบุคคล สงิ่ของ หรือเหตุการณ์ที่เกดิขนึ้ในชีวติประจาวันดว้ย ไม่ว่า 
จะเกดิอะไรขนึ้เราตอ้งฝึกคดิว่ามีอะไรที่เป็นประโยชน์กับเราบา้ง เช่น ถา้เราตกงานเราก็คดิว่าเป็นโอกาส 
ที่ดีที่เราจะไดมี้เวลาพฒันาตัวเองแบบเต็มเวลา ถา้เราอกหักก็คดิเสียว่าเป็นโอกาสดีที่จะไดเ้ปิดโอกาสให้ 
กับคนดีๆอีกหลายคนเขา้มาในชีวติของเรา ถา้เราเครียดมากๆ ก็ใหค้ดิเสียว่าจะไดเ้ป็นการทดสอบความ 
แข่งแกร่งของจติใจว่าจะสามารถรับมือกับสภาพความเครียดไดม้ากนอ้ยเพียงใด เพราะในอนาคตเราอาจจะ มีเรื่องที่เครียดมากกว่านี้ก็ได้ 
การฝึกคดิเชงิบวก นอกจากจะช่วยใหเ้ราฝึกการแสวงหาโอกาสแลว้ยังช่วยให้เราเกดิการเรียนรูที้่เหนือกว่าคนอื่น 
เพราะถา้เหตุการณ์หนงึ่เกดิขนึ้ เราสามารถเรียนรูทั้ง้สงิ่ที่คนทั่วไป เขารูกั้นแลว้เรายังเรียนรูใ้นสงิ่ที่คนอื่นๆ เขามองขา้มไป 
เมื่อเราฝึกแบบนี้ไปนานๆ หลายๆครัง้เขา้ จานวน เท่าของความรูข้องเราจะเหนือกว่าคนทั่วไปอย่างนอ้ยสองสามเท่าตัว 
2. ฝึกคดิยอ้นศร (Backward Thinking) ใครก็ตามที่คดิไปในแนวทางเดียวกันกับที่คนทั่วๆไปคดิ 
ความคดิเราจะไม่เกดิความแตกต่าง แต่เมื่อไหร่ก็ตามเราคดิสวนทางกับคนอื่น อาจจะทาใหเ้ราเกดิความคดิ สรา้งสรรค์ที่ดีๆขนึ้มาก็ได้ 
เราจะเห็นไดจ้ากคนหลายคนไดดี้จากการทาธุรกจิที่ตรงกันขา้มจากคนอื่น เช่น ปกตริถเสียตอ้งพารถไปหาอู่ แต่เมื่อคดิใหม่คือเอาอู่ไปหารถ 
จงึทาใหเ้กดิธุรกจิบรกิารซ่อมรถฉุกเฉนิขนึ้มา มากมายหรือเมื่อก่อนถา้เราจะกนิพซิซ่า เราจะตอ้งไปที่รา้น แต่เมื่อมีคนคดิยอ้นศรคือ 
ใหพ้ซิซ่าไปหาลูกคา้ ก็เลยเกดิธุรกจิ Home Delivery ขนึ้มามากมาย ปัจจุบันนี้ไม่เพยีงแต่การซ่อมรถหรือการขายพซิซ่าเท่านัน้ 
แต่การคดิยอ้นศรในลักษณะนี้ก่อใหเ้กดิธุรกจิอีกมากมาย ไม่ว่าการส่งดอกไม้ รา้นหนังสือ รา้นวีดีโอ เป็นตน้ 
การคดิยอ้นศรนี้จะช่วยใหเ้ราไม่หลงไปกับกระแสของสังคม การฝึกคดิเช่นนี้บ่อยๆ จะช่วยใหเ้ราสามารถปรับตัว 
ไดดี้ในกรณีที่กระแสเกดิการเปลี่ยนทศิอย่างกระทันหัน เหมือนกับการที่เราขับรถ ถา้เราขับเป็นแต่เกียร์เดนิ หนา้เพยีงอย่างเดียว 
ลองนกึดูเอาเองก็แลว้กันนะครับว่าจะเกดิอะไรขนึ้ ถา้เราขับเขา้ไปตดิอยู่ในซอยตัน การพฒันาศักยภาพทางการคดิก็เช่นเดียวกัน 
ตอ้งเตรียมพรอ้มทัง้คดิไปขา้งหนา้ตามกระแส แต่อย่าลืมคดิ ยอ้นกลับหลังบา้งเป็นระยะๆ 
3. ฝึกคดิในสงิ่ทเี่ป็นไปไมไ่ด้(Impossible Thinking) จากอดีตถงึปัจจุบันเราคงเคยมีประสบการณ์ที่ว่า 
บางสงิ่บางอย่างที่เราเคยคดิว่ามันเป็นไปไม่ไดใ้นอดีต แต่ในปัจจุบันมันเป็นไปไดแ้ละเป็นไปแลว้ สงิ่ที่เรา คดิว่าเป็นไปไม่ไดใ้นวันนี้ 
เหตุการณ์นี้ สถานที่นี้ มันอาจจะเป็นไปไดใ้นอนาคต ในเหตุการณ์ หรือสภาพ 
แวดลอ้มอื่นสถานที่อื่น ดังนัน้อะไรก็ตามที่เราคดิว่าเป็นไปไม่ได้อย่าเพงิ่ด่วนตัดทงิ้ไป เพราะ นั่นเท่ากับเป็น 
การดับอนาคตแห่งความคดิสรา้งสรรค์ของตัวเราเอง 
ความคดิสรา้งสรรค์แบบนี้ เราสามารถเห็นตัวอย่างไดจ้ากภาพยนต์การ์ตูน หรือภาพยนต์บางประเภทที่เราคดิว่า มันเป็นไปไม่ได้ 
แต่เราอย่าลืมว่าความคดิที่เป็นไปไม่ไดเ้หล่านี้แหละที่จะเป็นตัวจุดชนวนทางความคดิใหกั้บ 
นักวทิยาศาสตร์นาไปคน้ควา้วจิัยเพอื่นาไปสู่ความเป็นไปไดต้่อไป ในอดีตใครเคยคดิบา้งว่าเรื่องการ Copy 
หรือการโคลนนงิ่สัตว์หรือมนุษย์จะเป็นไปได้ใครเคยคดิบา้งว่ามนุษย์จะมีธุรกจิการท่องเที่ยวในอวกาศ ใคร 
จะคดิบา้งว่าคนที่อยู่กันคนละโลกสามารถพดูคุยกันแบบเห็นหนา้ค่าตาไดเ้หมือนสมัยนี้ ถา้นาเอาความคดิในลักษณะ 
นี้มาประยุกต์ใชใ้นชีวติการทางาน จะพบว่าเรามักจะตกหลุมพรางทางความคดิของเราเองกันอยู่บ่อยๆ พอคดิ จะทาโน่นทานี่
เราก็มักจะถกูขัดขวางดว้ยความคดิที่ว่ามันทาไม่ไดห้รอก หัวหนา้เขาคงไม่มีงบประมาณ ผูบ้รหิาร คงไม่สนับสนุนหรอก 
บรษิัทนี้เขางกจะตายไป คนไม่พอหรอก ทายากไม่มีเครื่องมือ ฯลฯ ความคดิในลักษณะนี้เกดิ ขนึ้มากมายกับคนทางาน สาเหตุที่สาคัญคือ 
เรามักจะนาเอาสภาพแวดลอ้มภายนอกมาทาลายตน้กลา้แห่งความคดิ สรา้งสรรค์ของเราเสียเอง 
ทาใหเ้ราไม่มีโอกาสไดค้ดิไปถงึที่สุดว่าจรงิๆแลว้ที่เราคดิว่ามันเป็นไปไม่ไดนั้น้ จรงิๆ แลว้มันเป็นจรงิเช่นนัน้หรือไม่ 
มีผูเ้ขา้สัมมนาท่านหนงึ่เคยถามผมว่าถา้เรามีความคดิออกแบบอะไรสักอย่างหนึ่งแลว้ และคดิว่ามันเป็นนวตกรรม ใหม่ 
แต่เราไม่มีเงนิทุนที่จะทาธุรกจิ เราจะทาไดอ้ย่างไร ผมก็ถามต่อว่าคุณคดิว่าจาเป็นหรือไม่ที่การลงทุนจะตอ้งตามมาดว้ย 
เงนิทุนจากกระปุกออมสนิของเราเสมอ เขาก็ตอบว่าไม่แน่ แลว้ผมก็ถามต่อว่าแลว้ทาอย่างไรไดบ้า้ง เขาก็ตอบว่ากูเ้งนิ ร่วมทุนกับคนอื่น 
ขายลขิสทิธใิหกั้บคนอื่น แลว้ผมจงึถามเพอื่ความแน่ใจอีกครัง้ว่าที่คุณคดิว่า ความคดิของคุณเป็น ไปไม่ไดใ้นการทาธุรกจินัน้ จรงิๆ 
แลว้มันเป็นไปไดห้รือไม่ เขาก็ตอบว่าเป็นไปได้นี่เป็นเพยีงตัวอย่างเล็กๆ นอ้ยๆ 
ที่จะบอกเราว่าคนเราส่วนมากมักจะด่วนสรุปว่าสงิ่ที่เราคดินัน้เป็นไปไม่ได้หรือเป็นไปไดย้ากมาก เพราะเรามักจะยดึ 
ตดิกับกรอบการคดิแบบเดมิๆ แบบที่คนทั่วๆไปเขาคดิกัน 
4 .ฝึกคดิบนหลกัของความเป็นจรงิ (Thinking Based Principle) การฝึกคดิแบบนี้คือการคดิ วเิคราะห์สงิ่ต่างๆ 
โดยยอ้นกลับไปหาหลักความเป็นจรงิของสงิ่นัน้ๆว่าคืออะไร เช่น คนที่สามารถผลติเครื่องบนิไดนั้น้จะตอ้งเขา้ใจ 
ถงึหลักความเป็นจรงิในเรื่องแรงโนม้ถว่งของโลกก่อนจงึจะส ามารถออกแบบเครื่องบนิได้ ตอ้งเขา้ใจว่าการบนิไดนั้น้ 
จะตอ้งมีพลังขับเคลื่อนเท่าไหร่ มีความเร็วเท่าไหร่ จงึจะสามารถหนีออกจากแรงโนม้ถว่งของโลกได้ 
ถา้เราพดูถงึการผ่าตัด เรามักจะยดึตดิกับมีดเพยีงอย่างเดียว แต่หลักความเป็นจรงิของการผ่าหรือการตัด หมายถงึ 
การทาใหส้งิ่ใดสงิ่หนงึ่แยกออกจากกัน ถา้เรายดึเอาวธิีการเป็นตัวตัง้เราก็จะตอบไดเ้พยีงอย่างเดียวว่า การผ่าตัด คือการใชมี้ด 
แต่ถา้เราเอาหลักความเป็นจรงิเป็นตัวตัง้ วธิีการเป็นตัวตามแปร การผ่าตัดอาจจะทาไดม้ากกว่าการใชมี้ด เช่น 
การใชค้วามรอ้น ใชล้วด ใชก้รรไกร ใชค้วามเย็น ใชรั้งสี ใชค้วามคมของกระดาษ เป็นตน้ 
5. ฝึกคดิขา้มกล่องความรู้(Lateral Thinking ) การคดิขา้มกล่องความรูคื้อการนาเอาความรูที้่เรามีอยู่ในหัว ในเรื่องต่างๆ 
มาคดิไขวกั้น ยงิ่เรามีกล่องความรูห้ลากหลาย โอกาสที่เราจะคดิขา้มกล่องเพอื่ใหเ้กดิความคิดใหม่ๆ ก็มีมากยงิ่ขนึ้ ถา้เรามีกล่องความรูเ้พยีง 
2 กล่อง โอกาสที่เราจะคดิไขวห้รือขา้มกล่องก็มีเพยีง 1 ชุด แต่ถา้เรามีกล่อง ความรู้3 กล่อง โอกาสที่เราจะคดิไขวกั้นก็มีมากขนึ้เป็น 2 ชุด 
ยงิ่มีกล่องมากเท่าไหร่ จานวนชุดของความคดิไขวก้็จะยงิ่เพมิ่ขนึ้ เป็นทวีคูณ 
เราคงเคยไดย้นิก๋วยเตี๋ยวตม้ยา ที่ผูค้ดิคน้ไดน้าเอากล่องความรูเ้กี่ยวกับการปรุงก๋วยเตี๋ยวมาผสมกับกล่องความรู้ 
ในการทาตม้ยา(น้าขน้หรือน้าใส) เราคงเคยไดย้นิผลติภัณฑ์ที่เรียกว่าแอร์มุง้ที่เป็นการผสมผสานระหว่างกล่อง 
ความรูด้า้นแอร์กับกล่องความรูด้า้นมุง้ เราคงเคยไดย้นิคนเลี้ยงปลาดุกในหอ้งเช่าที่เป็นการผสมผสานความคดิระหว่าง 
กล่องความรูเ้รื่องหอ้งเช่ากับกล่องความรูเ้รื่องการเลี้ยงปลาในบ่อดนิ 
6. ฝึกคดิแบบแตกหนอ่ทางความคดิ (Germination Thinking) เป็นการคดิโดยกาหนดจุดเรมิ่ตน้จากสงิ่ที่ 
เป็นอยู่หรือมีอยู่ในปัจจุบัน แลว้แตกความคดิออกไปสู่ทศิทางต่างๆ รอบตัว 
การคดิสรา้งสรรค์แบบนี้จะช่วยใหง้่ายต่อการจัดกระบวนการคดิ เพราะเป็นการคดิพฒันาจากสงิ่ที่มีอยู่แลว้ เพมิ่สงิ่ใหม่ๆ 
เขา้มาที่ละเล็กละนอ้ย จากตัวอย่างนี้ จะเห็นว่าเมื่อเราคดิแตกหน่อจากปากกาออกไปเป็นปากกาไม่ตอ้งเตมิน้าหมกึแลว้ 
ก็สามารถคดิต่อไปอีกว่าปากกาที่ไม่ตอ้งเตมิน้าหมกึนัน้ สามารถพฒันาต่อในดา้นอื่นๆอีกหรือไม่ เมื่อเราคดิพฒันา แตกหน่อออกไปเรื่อยๆ 
เราจะพบว่าความคดิที่หน่อสุดทา้ย อาจจะมีความแตกต่างอย่างสิ้นเชงิกับจุดเรมิ่ตน้(ปากกา) 
การคดิในลักษณะนี้จาเป็นตอ้งอาศัยเทคนคิการคดิขา้มกล่องเขา้มาช่วยในการคดิแตกหน่อจากหน่อเดมิไปสู่หน่อใหม่ๆ 
และที่สาคัญเราสามารถมองเห็นทัง้กระบวนการคดิและผลลัพธ์ทางการคดิในลักษณะของแผนผังความสัมพนัธ์ไดอ้ย่าง ชัดเจน 
จากวธิีการฝึกเพอื่พฒันาศักยภาพการคดิสรา้งสรรค์ดังกล่าว จะเห็นว่าเราสามารถพฒันารูปแบบการคดิของเราได้หลายวธิี 
เพยีงแต่เราตอ้งใหค้วามสาคัญกับการคดิสรา้งสรรค์อย่างจริงจัง นาเอาวธิีการดังกล่าวนี้ไปฝึกคดิกับเหตุการณ์ ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา 
เราก็สามารถพฒันาศักยภาพการคดิใหสู้งขนึ้ไปได้

Mais conteúdo relacionado

Destaque

Destaque (6)

Identidades trigonometricas
Identidades trigonometricasIdentidades trigonometricas
Identidades trigonometricas
 
Daur Ulang Limbah Rumah Tangga
Daur Ulang Limbah Rumah TanggaDaur Ulang Limbah Rumah Tangga
Daur Ulang Limbah Rumah Tangga
 
Learn Test Automation using Selenium - Lesson 1
Learn Test Automation using Selenium - Lesson 1Learn Test Automation using Selenium - Lesson 1
Learn Test Automation using Selenium - Lesson 1
 
THE STORY OF CRICKET
THE STORY OF CRICKETTHE STORY OF CRICKET
THE STORY OF CRICKET
 
Test penal 1
Test penal 1Test penal 1
Test penal 1
 
Pediculosis
PediculosisPediculosis
Pediculosis
 

Semelhante a 4

ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดNote Na-ngam
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matSiriphan Kristiansen
 
การคิดเชิงสร้างสรรค์
การคิดเชิงสร้างสรรค์การคิดเชิงสร้างสรรค์
การคิดเชิงสร้างสรรค์sarocha_joy
 
บทความ
บทความบทความ
บทความaorchalisa
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการSupattra Rakchat
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...Kobwit Piriyawat
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1olivemu
 
เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11Benjarat Meechalat
 
อบรม "ห้องเรียนสร้างสรรค์" วันที่ 1
อบรม "ห้องเรียนสร้างสรรค์" วันที่ 1อบรม "ห้องเรียนสร้างสรรค์" วันที่ 1
อบรม "ห้องเรียนสร้างสรรค์" วันที่ 1Wichit Thepprasit
 
หน่วยที่๖
หน่วยที่๖หน่วยที่๖
หน่วยที่๖panjit
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตfreelance
 
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้Tawanat Ruamphan
 
การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์teacherhistory
 

Semelhante a 4 (20)

ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
 
การคิดเชิงสร้างสรรค์
การคิดเชิงสร้างสรรค์การคิดเชิงสร้างสรรค์
การคิดเชิงสร้างสรรค์
 
บทความ
บทความบทความ
บทความ
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
 
เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11
 
อบรม "ห้องเรียนสร้างสรรค์" วันที่ 1
อบรม "ห้องเรียนสร้างสรรค์" วันที่ 1อบรม "ห้องเรียนสร้างสรรค์" วันที่ 1
อบรม "ห้องเรียนสร้างสรรค์" วันที่ 1
 
หน่วยที่๖
หน่วยที่๖หน่วยที่๖
หน่วยที่๖
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
เรียงความ
เรียงความเรียงความ
เรียงความ
 
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
 
การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์
 

4

  • 1. 4.การพัฒนาความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking ) อาจนิยมได้หลายลักษณะด้วยกนัคือเป็นการค้นคิดสิ่งประดิษฐ์หรือวิธีการใหมๆ่ จากการศึกษาทดลอง ทา ให้จินตนาการเป็นจริงขึ้น เป็นความคิดอเนกนัย ซึ่งเป็นความคิดที่กวา้งไกลสลับสับซ้อน มีหลายแง่มุม หลายรูปแบบ ความคิดในลักษณะนี้จะนาไปสู่การคิดประดิษฐ์สิ่งแปลกใหม่ หรืแกไ้ขปัญหา ยากๆได้สาเร็จเป็นจินตนาการหรือความฝัน ซึ่งมีความสาคัญกวา่ความรู้ และเป็นบอ่เกิดของการแสวงหาค วามรู้มาพิสูจน์ จินตนาการ หรือทา จินตนาการให้เป็นจริงเป็นความรู้สึกที่ไว เข้าใจอะไรได้เร็วแมจ้ะเป็นเรื่องยากและซับซ้อน มีปฏิกิริยาหรืออารมณ์ร่วมกับเรื่องนั้นๆ บทบาทและความสาคัญของความคิดสร้างสรรค์ มนุษย์เราโชคดีที่ธรรมชาติสร้างให้มีพลังความคิดสามารถ ๔ ประการคือ ความสามารถในการรับความรู้ (adsorbknowledge) ความสามารถในการจดจา และระลึกถึงความรู้เหลา่นั้นได้ (memorize and recall knowledge) ความสามารถในการให้เหตุผล (to create) ลักษณะของบุคคลทมีี่ความคิดสร้างสรรค์ จากการรวบร่วมผลการศึกษาของนักจิตวิทยา ซึ่งค้นควา้เรื่องความคิดสร้างสรรค์ เชน่ มาสโลว์ (ma slow) สตาร์คเวธเซอร์ (Starkweather) และครอพลีย์ (Corpley) พอสรุปลักษณะของบุคคลที่มีความคิดสร้างส รรค์ได้ดังนี้คือ คนที่มีความคิดสร้างสรรค์ จะเป็นตัวของตัวเองผู้ที่มีความคิดริเริ่มจะไมย่อมคล้อยตามความคิดเห็นของผู้อื่นๆ ได้ง่ายๆ และจะมีความมานะบากบั่นอยา่งยิ่ง ในการเรียนให้เด็กมีความคิดสร้างสรรค์ ครูจะต้องพัฒนาตนเองให้เป็นคนที่มีความคิดสร้างสรรค์เสียก่ อน ต้องแสวงหาความรู้ใหมๆ่ ตลอดเวลา ฝึกคิดฝึกจินตนาการกล้าคิดค้นวิธีสอนใหม่
  • 2. ๆ ที่น่าสนใจ และพัฒนาวิธีการ ทา งานของตนเองให้เหมาะสมกบัการเจริญเติบโตของเด็กและความกา้วหน้าทางวิชาการด้วย ครูควรมีควา มรู้ในเรื่องความคิดสร้างสรรค์ซึ่งสามารถพัฒนาให้เกิดประโยชน์ต่อนักเรียนและตอ่สังคมได้ ครูควรเปิดโอ กาสให้นักเรียนได้แสดงความคิดใหม่ ได้ศึกษาหาความรู้ สารวจ และทดลองในสิ่งที่เขาสนใจ ให้คา แนะ นาเกยี่วกบัแหลง่ความรู้ตา่ง ๆ และให้ความรัก เอาใจใส่นักเรียนอยา่งทั่งถึงและ การสร้างความคิดสร้างสรรค์ในนักเรียน และ ครูจะปร ะสบความสาเร็จมากน้อยเพียงไรย่อมขึ้นอยูกั่บความคิดสร้างสรรค์ของผู้บริหารโรงเรียน ผู้บริหารระดับกา รศึกษาสูงด้วย ผู้บริหารที่สังคมต้องการ จะต้องเป็นผู้ที่สามารถริเริ่มสิ่งใหมๆ่ ที่เกิดประโยชน์ตอ่ส่วนรวม และเพื่อความสาเร็จของตนเอง เพื่อผู้ใต้บังคับบัญชาหรือผู้ร่วมงานจะได้ปฏิบัติตามและเกิดความกระตือรือ ร้นที่จะสร้างสรรค์สิ่งใหมๆ่ บ้าง ส่วนหลักการส่งเสริมการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ให้แก่ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้มีเอตทัคคะในเรื่องความคิดสร้างสรรค์ เชน่ แมคเคนซีย์ และคอรีย์ (Mackenzie and Corey) ได้เสนอแนวทางในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของผู้บริหารไว้ดัง นี้ คือ ๑.ผู้บริหารไมค่วรยึดมนั่กับวิธีการบริหารอยา่งใดอยา่งหนึ่งตลอดไปในชีวิตการบริหาร ๒.พยายามค้นหาแนวทางปฏิบัติที่ดีกวา่และที่ใหมก่วา่เสมอ โดยไมผู่กพันอยูก่บัความจา เจ ๓.รู้จักฟัง อา่น และวิสาสะกบัผู้บริหารคนอื่นๆในระดับเดียวกนัหรือสูงกวา่ เรียนรู้การค้นพบ การทดลองสิ่งแปลกๆ ใหม่ ๆ ที่ให้ประโยชน์ตอ่การนาไปประยุกต์ใช้ในการบริหาร ๔. หมนั่ตรวจสอบประสบการณ์ และการฝึกอบรมของตนเอง เพื่อหาจุดออ่นและพยายามชดเชยจุดออ่นนั้นด้วยการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมอ ยา่งจริงจัง ๕. พยายามวิเคราะห์พฤติกรรมการบริหารของตนเสมอ การวิเคราะห์พฤติกรรมของตนจะชว่ยให้เข้าใจธรรมช าติของตนได้ดีขึ้น ๖. วิเคราะห์เหตุแห่งพฤติกรรม หรือเหตุแห่งการตัดสินใจเพื่อการแกไ้ขพฤติกรรมการบริหารงานให้สร้างสรร ค์ยิ่งขึ้น
  • 3. http://www.kroobannok.com/blog/16705 ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์เป็นความสามารถที่จะสร้างสิ่งใหม่ๆ ขึ้นโดยอาศัยประสบการณ์ที่มีอยูเ่ดิม และพัฒนาขึ้นเป็นความคิดใหมที่่ต่อเนื่องและมีคุณคา่ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อาจแยกออกได้เป็นสองคา คือ ความคิดริเริ่มกับความคิดสร้างสรรค์ สาหรับความ คิดริเริ่ม คือ ความสามารถที่จะสร้างสิ่งใหม่ๆ เป็นความคิดเริ่มแรกที่ไมซ่้า แบบใคร ส่วนความคิดสร้างสรรค์ คือ ความสามารถที่จะสร้างสิ่งใหม่ๆ ขึ้นโดยอาศัยประสบการณ์ที่มีอยูเ่ดิม และพัฒนาขึ้นเป็นความคิดใหมที่่ต่อเนื่องและมีคุณคา่ ลักษณะต่าง ๆ ของความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 1. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในลักษณะกระบวนการ (Creative Process) ตามลักษณะนี้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาอยา่งเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ ซึ่งเป็นกระบวนการทา งานของสมองอยา่งเป็นขั้นตอนตั้งแตเ่ริ่มต้นจนสามารถแกปั้ญหาได้สาเร็จ ขั้นตอนตา่ง ๆของกระบวนการทา งานของสมองมีผู้เสนอไวห้ลายแบบ 2. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในลักษณะบุคคล (Creative Person) ตามลักษณะนี้เป็นการมองดูบุคคลที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ วา่มีลักษณะเป็นอยา่งไร หรือประกอบด้วย ลักษณะอยา่งใดบ้าง ได้มีผู้เสนอไวห้ลายลักษณะ เชน่ โรเจอร์ (Roger อ้างถึงใน สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2550 : 19) กลา่วไวว้า่ บุคคลที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์จะมีลักษณะดังนี้ 1. เป็นผู้ที่เผชิญกบัปัญหาตา่ง ๆ โดยไมถ่อยหนี รับประสบการณ์ตา่ง ๆ โดยไมห่ลีกเลี่ยงหรือหลบถอย 2. เป็นผู้ที่ทา งานเพื่อความสุขของตนเอง มิใชเ่พื่อหวงัการประเมินผล หรือการยกยอ่งจากบุคคลอื่น 3. มีความสามารถในการคิดและประดิษฐ์สิ่งตา่ง ๆ ฟรอมม์ (Fromm อ้างถึงใน เกรียงศักด์ิ เจริญวงศ์ศักด์ิ, 2545) กลา่วถึงลักษณะของคนที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ไว้วา่ 1. มีความรู้สึก ประหลาดใจที่ได้พบได้เห็นสิ่งใหม่ๆ ที่น่าทึ่งน่าประหลาดใจ สนใจสิ่งที่เกิดขึ้นใหม่ๆ หรือของใหม่ๆ 2. มีสมาธิสูง เป็นผู้ที่สามารถให้ความสนใจหรือมีสมาธิจิตใจจดจ่ออยู่กบัเรื่องหนึ่งเรื่องใดที่สนใจได้เป็นเวลานาน ๆ ไมว่อกแวก เพื่อใช้เวลานั้นไตร่ตรองหรือคิดในเรื่องที่กา ลังสนใจอยู่
  • 4. 3. สามารถยอมรับสิ่งตา่ง ๆ ได้ ยอมรับความไมแ่น่นอน หรือสิ่งที่เป็นข้อขัดแย้งและความตึงเครียด 4. มีความเต็มใจที่จะทา ในสิ่งใหม่ๆ มีความกล้าหาญที่จะเผชิญกบัสิ่งแปลกใหมไ่ด้ทุกวนั อนาตาสี (Anatasi อ้างถึงใน อเนก ตรีภูมิ, 2550 : 18) กลา่วถึงผู้ที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์วา่ จะต้องเป็นผู้ที่มีลักษณะตอ่ไปนี้ 1. มีความรู้สึกไวตอ่ปัญหา 2. มองเห็นการณ์ไกล 3. มีความเป็นตัวของตัวเอง 4. มีความสามารถในการคิดหลายแง่หลายมุม 5. มีความสามารถในการเปลี่ยนแปลงความคิดอยา่งคลอ่งแคล่ว การิสัน (Garison อ้างถึงใน อเนก ตรีภูมิ, 2550 : 19) กลา่วถึงลักษณะของบุคคลที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ไวว้า่ 1. เป็นคนที่สนใจปัญหา ยอมรับการเปลี่ยนแปลง กล้าเผชิญปัญหา กระตือรือร้นที่จะแกปั้ญหาและพยายามหาทางปรับปรุงเปลี่ยนแปลงสิ่งตา่ง ๆ อยูเ่สมอ 2. เป็นคนที่มีความสนใจกวา้งขวาง ทันตอ่เหตุการณ์รอบด้าน สนใจที่จะศึกษาเพิ่มเติมอยูเ่สมอ ยอมรับฟังความคิดเห็นที่มีสารประโยชน์ และนาข้อมูลมาประกอบการพิจารณาปรับปรุงงานของตน 3. เป็นคนที่ชอบคิดหาทางแกไ้ขปัญหาไวห้ลาย ๆ ทาง เตรียมทางเลือกสาหรับการแกปั้ญหาไว้มากกวา่หนึ่งเสมอเป็นการชว่ยให้คลอ่งตัวประสบผลสาเร็จ 4. เป็นคนที่มีสุขภาพสมบูรณ์ ร่างกายแข็งแรง สุขภาพจิตดี มีการพักผอ่นเพียงพอ เป็นคนชา่งซักถามจดจา เรื่องราวได้แมน่ และสามารถนาข้อมูลที่จดจา ได้มาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ดี 5. เป็นคนที่ยอมรับและเชื่อในบรรยากาศและสภาพแวดล้อมวา่มีผลกระทบต่อความคิดริเริ่มสร้างสรรค์จึ งจัดบรรยากาศ และสถานที่ให้เหมาะสมกบัการพัฒนาความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และขจัดสิ่งรบกวนหรืออุปสรรคออกไป 3. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในลักษณะผลิตผล (Creative Product) ตามลักษณะนี้เป็นการมองดูสิ่งที่เป็นผลิตผลจากความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งรูปธรรมและนามธรรม นิวเวลล์ ชอว์ และซิมสัน (Newell Shaw and Simson อ้างถึงใน อเนก ตรีภูมิ, 2550 : 19) ได้กลา่วถึงหลักการพิจารณาวา่ผลิตผลใดที่จะจัดเป็นผลิตผลจากความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ไว้ดังนี้ 1. เป็นผลิตผลที่แปลกใหม่มีคา่ตอ่ผู้คิด สังคมและวฒันธรรม 2. เป็นผลิตผลที่ไมเ่ป็นไปตามปรากฏการณ์นิยม ในเชิงที่วา่มีการคิดดัดแปลงหรือยกเลิกผลผลิต หรือ
  • 5. ความคิดที่เคยยอมรับกนัมากอ่น 3. เป็นผลผลิตที่เกิดขึ้นจากการได้รับการกระตุ้นอยา่งสูงและมนั่คงเป็นระยะเวลายาวหรือความพยายามอ ยา่งสูง ทมี่าของความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ที่เกิดขึ้นหรือมีในบุคคลนั้น เมื่อพิจารณาถึงที่มาแล้วอาจจา แนกออกได้ดังนี้ 1. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ทเี่กิดขึ้นเพราะความจาเป็น ซึ่งแยกออกเป็น 2 ลักษณะ ได้แก่ 1. ความจา เป็นอันเนื่องมาจากสภาวะแวดล้อม คือภาวะบางอยา่งทา ให้เกิดความจา เป็นที่คนจะต้องคิดหาทางแก้ปัญหาที่ได้ประสบอยู่ วิธีการแกปั้ญหามกัจะคา นึงถึงสาเหตุที่เกิดของปัญหากอ่น การพิจารณาหาสาเหตุและทางแกปั้ญหาหรือหาทางป้องกนัทา ให้เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในเรื่องนั้นขึ้นได้ เชน่ ฝนตกลงมาและหลังคาบ้านที่มุงด้วยจากเกิดมีรูรั่วน้าฝนไหลลงมาถูกสิ่งของในบ้านเปียก เกิดความจา เป็นที่จะต้องแก้ไขปัญหานี้ การเอาวสัดุใด ๆ เชน่ แผน่กระดาษแข็งไปแซมหลังคาแทนจากชั่วคราวเพื่อกนัไมใ่ห้น้ารั่วลงมา ก็นับวา่เป็นความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ที่แกไ้ขปัญหาได้ ยิ่งกวา่นั้น ถ้ามีการนาวสัดุหลาย ๆ แบบมาใช้กนัน้าฝน ก็นับวา่มีความคิดยืดหยุน่ในเรื่องนั้น ๆ ด้วย 2. ความจา เป็นอันเนื่องมาจากคา สั่ง กฎเกณฑ์หรือระเบียบบังคับ บางครั้งคนเราก็อาจถูกบังคับให้ทา บางสิ่งบางอยา่งตามกฎเกณฑ์ที่วางไว้ทา ให้เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ขึ้นมาได้ เชน่ เมอื่ได้รับมอบหมายให้ทา โครงการหรือทา งานในโครงการที่มีอยูแ่ล้ว บุคคลก็ต้องพยายามหาวิถีทางดา เนินงานตามที่ได้รับมอบหมายมาหาวิธีการตา่ง ๆทา ให้เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ได้ แตอ่ยา่งไรก็ตาม บางครั้งคนเราก็อาจอยากจะฝ่าฝืนกฎหรือระเบียบข้อบังคับตา่ง ๆ ด้วยการพยายามหาทางเลี่ยงกฎ ฝ่าฝืนระเบียบ ก็อาจทา ให้เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ได้เชน่เดียวกนั 2. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ทเี่กิดจากความบังเอิญ บอ่ยครั้งที่ความบังเอิญกอ่ให้เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์โดยที่ไมจ่งใจที่จะทา แตเ่มื่อผลงานออกมามี ความแปลกใหม่สามารถแกปั้ญหาหรือใช้ได้ดี ก็ได้รับการยอมรับวา่เป็นความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ได้ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์แบบนี้ต้องอาศัยความชา่งสังเกตมากกวา่ปกติ จึงจะพบแนวคิดซึ่งเกิดจากความบังเอิญ เชน่ คนโบราณทา เนื้อหลน่ลงในกองไฟ เมื่อรีบหยิบออกมากินกอ่นที่จะไหมพ้บวา่มีรสชาติดีขึ้น ซึ่งเป็นที่มาของการปิ้ง ยา่งเนื้อให้สุกกอ่นรับประทานในทุกวนันี้ 3. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ทเี่กิดจากความจงใจหรือตั้งใจ
  • 6. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์แบบนี้นับวา่เป็นความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ที่แท้จริง การที่มนุษย์จะคิดทา อะไรก็ต้อง มีการวิเคราะห์ สังเคราะห์ จนเกิดแนวคิดในการทา สิ่งนั้น ๆ ขึ้นเ http://learners.in.th/blog/putaiwan/256054 การคิดแบบนักบริหาร ความคิดเป็นผลจากการทา งานของสมองในการกอ่รูป (Formulate) บางสิ่งบางอยา่งขึ้นในมโนคติ (mind) ผา่นการทา งานของระบบการรับรู้ทางจิต (cognitive system) โดยในส่วนของความคิดจะทา หน้าที่แยกแยะการกระทา และความรู้สึก ผา่นกระบวนก ารทางความคิดอันจะนาไปสู่พฤติกรรมที่ตอบสนองสถานการณ์นั้น การคิดเป็นเรี่องที่สาคัญ การคิดไมเ่ห มือนกนั การคิดแบบจินตนาการ การคิดหวนราลึกถึง การคิดใช้เหตุผล และการคิดแกปั้ญหา การคิดเกี่ยวข้องกับผู้บริหารอย่างไร การคิดเกยี่วข้องกบัความอยูร่อด ทา ให้คนอยากคิด เพื่อความอยูร่อดก็จะเริ่มคิดอะไรออกมา หากไมมี่ก็เป็นเรื่องยากที่จะอยู่รอด ความต้องการสิ่งแปลกใหม่ กระตุ้นให้คิด คนอยากคิดก็คือไมอ่ยากยึดติดของเดิม ๆ พยายาม หารูปแบบใหม่ ๆ นักคิดก็คือ กบฏตัวน้อย มีใครคิดทฤษฎีใหมที่่ไมคิ่ดกบฏตอ่ทฤษฎีเดิม ไมพ่อใจของเดิมแตห่าดีกวา่จึงจะกล้ าคิด หากเราบอกตัวเองวา่ เขาเป็นข้าราชการที่เสียแล้ว หากเราไมคิ่ดจะเปลี่ยนแปลงในขณะที่รุ่นพี่ของเราเป็น อยา่งนี้เราต้องนาการเปลี่ยนแปลงที่ดีมาสู่เรา ความสงสัย กระตุ้นให้คิด สร้างให้เกิดความรู้ ความอยากรู้อยากเห็น บางครั้งเด็กอยากรู้อยากเห็น แตค่นที่เป็นพอ่เป็นแมต่อบวา่ ถามอยูไ่ด้อยา่งนี้ตัดความคิดเห็น พอ่แมต่้องเป็นผู้ส ร้างการอยากรู้อยากเห็น สภาพปัญหา กระตุ้นให้คิด ปัญหาทา ให้เราคิดสารพัด เราต้องหาวิธีออก วิธีคิด การที่เราพบปัญหานั้ นทา ให้เรานามาใช้ประโยชน์ได้ การทา งานไมท่า ให้ออกมาเป็นรูปแบบเดิม ๆ ยุคนี้เป็นยุคที่ทา ให้เกิดวิธีการคิดโดยมีวิธีการคิด 10 มิติ การคิด 10 มิติ เกิดจากการประชุมระดับชาติ เป็นกา รสอนให้คนเกิดการคิด นอกกรอบ วิธีคิดแบบผู้บริหารผ่านการคิด 10 มิติ 1. การคิดเชิงกลยุทธ์ 2. การคิดเชิงอนาคต
  • 7. 3. การคิดเชิงสร้างสรรค์ 4. การคิดเชิงวิพากษ์ 5. การคิดเชิงบูรณาการ 6. การคิดเชิงวิเคราะห์ 7. การคิดเชิงเปรียบเทียบ 8. การคิดเชิงสังเคราะห์ 9. การคิดเชิงมโนทัศน์ 10. การคิดเชิงประยุกต์ 1. การคิดเชิงกลยุทธ์ การคิดเชิงกลยุทธ์เป็นเรื่องที่จา เป็น จริงๆ แล้วความคิดทั้ง 10 มิติ เป็นการใช้ตลอดเวลา และจา เป็นต้องใช้ในอนาคต สาหรับอันดับแรกเป็นการคิดเชิงก ลยุทธ์ ผู้บริหารเป็นคนชี้ขาด คือ คนที่นาในองค์กร คนแรกที่ต้องพบปัญหา คนแรกที่ตัดสินวา่จะไปซ้ายหรือ ไปขวา ฉะนั้นการคิดเชิงกลยุทธ์เปลี่ยนมาก สถานการณ์เปลี่ยนตลอดเวลา และมีทรัพยากรจา กดั บุคลากรก็มี จา กดั สถานการณ์ปัจจุบันไมส่ามารถแกปั้ญหาตามเคยชินได้ ฉะนั้นการคิดเชิงกลยุทธ์จึงมีความจา เป็นสาหรับ ผู้บริหารมากในการเผชิญปัญหาตา่งๆ ในการวางแผน การบริหารจัดการ การกา หนดวา่จะทา อะไรกอ่นหลัง นั กวิชาการด้านการบริหารบอกวา่ การคิดเชิงกลยุทธ์เป็นการวางแผนเพื่ออนาคต เพื่อการตัดสินใจในอนาคต มี 2 วิธีที่จะเผชิญในอนาคต วิธีที่หนึ่งเหตุการณ์จะเกิดขึ้น เดินไปเรื่อยๆ ชีวิตนี้ปลอ่ยไปตามเวรตามกรรม ตามสภาวะแวดล้อม ตายเอาดาบหน้า อีกวิธีหนึ่ง คือ แน่นอนทา่นไมส่ามาร ถรู้อนาคตได้ เราคิดไปกอ่นแล้วเราวางแผนไว้ แตสิ่่งนั้นเกิดขึ้นและต้องตัดสินใจ ณ วนันี้ นักวิชาการอีกคนหนึ่งนายไมเคิลบอกวา่ ขบวนการคิดเชิงกลยุทธ์ เป็นการกา หนดเป้าหมายที่ชัดเจนทั้งร ะยะสั้นและระยะยาว โดยการจัดสรรทรัพยากรตั้งแต่วนันี้ เพราะฉะนั้นผู้บริหารต้องกา หนดแนวทางที่ดีที่สุดภ ายใต้เงื่อนไขและทรัพยากรที่จา กดั ภายใต้การเปลี่ยนแปลงทุกอยา่ง บริหารงบประมาณ บริหารบุคลากรให้บร รลุเป้าหมาย การจะให้บรรลุตามเป้าหมายต้องมีการวางแผนอยา่งรัดกุม การประเมินความได้เปรียบและเสียเปรี ยบของสถานการณ์ ที่เกิดขึ้นและการคาดการณ์ของอนาคต การเลือกกลยุทธ์เป็นสิ่งสาคัญมากในการประสบคว ามสาเร็จ หลักการคิดเชิงกลยุทธ์มีดังนี้ ขั้นทหี่นึ่ง กาหนดเป้าหมายทตี่้องการจะไปให้ถึง ขั้นทสี่อง วิเคราะห์และประเมินสถานะ
  • 8. ขั้นทสี่าม การหาทางเลือกกลยุทธ์ ขั้นทสีี่่ การวางแผนปฏิบัติการ ขั้นทหี่้า การวางแผนคู่ขนาน ขั้นทหี่ก การทดสอบในสถานการณ์จาลอง ขั้นทเี่จ็ด การลงมือปฏิบัติการ ขั้นทแี่ปด การประเมินผล 2. การคิดเชิงอนาคต มีประโยชน์มากและจา เป็นอยา่งยิ่ง เพราะเป็นการคาดการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้นอยา่งมีหลักเกณฑ์ที่เหมาะสม การคิดเชิงอนาคตมีหลายวิธี แต่ใช้วิธีทเี่หมาะสมและประกอบด้วย 6 หลักดังนี้คือ 1. หลักการมองอย่างองค์รวม (Holistic Approach) ต้องมองทุกด้านที่เกยี่วข้องกนั 2. หลักความต่อเนื่อง (Continuity) การคาดการณ์ในอนาคตต้องคาดการณ์อยา่งตอ่เนื่องเพื่อให้เกิดความสัมพันธ์ กนั 3. หลักความสัมพันธ์เชิงเหตุผล (Causal Relationship) การคิดเชิงอนาคตไมใ่ชเ่ป็นการคิดแบบเดาสุ่ม แตเ่ป็น หลักของความคิดแบบมีความสัมพันธ์อยา่งมีเหตุผลได้ 4. หลักการอุปมา (Analogy) โดยยึดหลักวา่ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตา่ง ๆในโลกนี้ล้วนมีแบบแผน ล้วนดา เนินไปอยา่งมีระบบ เหตุการณ์ใดที่เกิดขึ้นก็มกัจะเกิดเหตุการณ์อื่นตามมาด้ว ย 5. หลักการจินตนาการ (Imagination) การใช้จินตนาการเป็นการที่ทา ให้การวาดภาพได้ในอนาคตเป็นการท้าท้า ย การจะใช้หลักจินตนาการเราต้องใช้หลักเหตุผล เพื่อที่จะให้การจินตนาการไมไ่ร้หลักการ 6. หลักดุลยภาพ (Equilibrium) เป็นหลักการที่บอกวา่ในโลกแห่งความเป็นจริง ต้องปรับเข้าหาส่วนดีเสมอ หา กมีการเสียสมดุลย์เกิดขึ้นระบบก็จะพยายามปรับให้เกิดความสมดุลย์แกตั่วเอง ไมว่า่จะเป็นความสมดุลย์ทางด้า นเศรษฐกิจ ความสมดุลย์ในร่างกายของเราเอง 3. การคิดเชิงสร้างสรรค์ ผู้บริหารมีความจาเป็นอยา่งยิ่งที่จะต้องมีการคิดเชิงสร้างสรรค์ โจทย์ไมเ่หมือนเดิม คา ตอบไมเ่หมือนเดิม วิธีตอบคา ถามคือไมเ่หมือนเดิม จึงมีความแปลกใหม่ ต้องการนวตักรรมในการตอบคา ถาม ในการบริหารงา นตา่ง ๆถูกบังคับให้เราต้องเอาชนะสิ่งตา่งๆ ด้วยวิธีการใหมๆ่ การคิดเชิงสร้างสรรค์ไปสู่ความคิดใหม่ ๆ ที่ไมเ่คยมีมากอ่นสามารถทา ให้เราค้นหาคา ตอบที่ดีที่สุด และอีกอยา่งการคิดเชิงสร้างสรรค์เป็นการฝ่าวงล้อ
  • 9. มในการคิดเล็ก ๆ หรือการแวกมา่นความคิดตา่ง ๆออกไปเพื่อค้นพบในการแกปั้ญหาใหมที่่ไมเ่คยมีมากอ่น ใครคิดกอ่นได้เปรียบ หลักการคิดสร้างสรรค์ได้แก่ 1. ฝึกถามคาถามทกี่ระตุ้นให้เกิดความคิดใหม่ ๆ 2. อย่าละทงิ้ความคิดใด ๆจนกว่าจะพิสูจน์ได้ว่าไร้ประโยชน์ 3. การพัฒนาเทคนิคช่วยคิดสร้างสรรค์ วงการโฆษณามกัจะใช้ขอบเขตทั้ง 3 ข้อดังกลา่ว 4. การคิดเชิงวิพากษ์ หมายถึง ความตั้งใจพิจารณาตัดสินเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยไมเ่ห็นคล้อยตามข้อเสนอ ไมด่ว่นสรุปการเห็นคล้อยต าม เป็นการตั้งคา ถามท้าท้ายหรือโต้แย้งสมมุติฐานที่อยูเ่บื้องหลัง พยายามเปิดกวา้งทางความคิดออกสู่ความแต กตา่งในด้านตา่ง ๆมากขึ้นให้ได้ประโยชน์มากกวา่เดิม หลักการคิดเชิงวิพากษ์ได้แก่ หลักที่ 1 ให้สงสัยไว้ก่อน................อย่าเพงิ่เชื่อ หลักที่ 2 เผื่อใจไว้...............อาจจะจริงหรืออาจจะไม่จริงก็ได้ หลักที่ 3 เป็นพยานฝ่ายมาร............ตั้งคาถามซักค้าน 5. การคิดเชิงบูรณาการ ผู้บริหารต้องคิดแกปั้ญหาในเชิงบูรณาการ ผู้บริหารต้องคิดไมแ่ยกส่วน ต้องคิดแบบแกนหลักได้อยา่งเห มาะสม ครบถ้วนทุกมุมมอง ไมแ่ยกส่วนในการแกปั้ญหา หลักการคิดเชิงบูรณาการได้แก่ 1. ตั้ง “แกนหลัก” 2. หาความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับแกนหลัก 3. วิพากษ์เพอื่ให้เกิดการบูรณาการครบถ้วน 6. การคิดเชิงวิเคราะห์ ผู้บริหารมีความจาเป็นในการคิดเชิงวิเคราะห์ เชน่การวิเคราะห์จุดแข็งจุดออ่น เพื่อจา แนกอุปกรณ์ของจุด ใดจุดหนึ่งแล้วค้นหาสิ่งที่แท้จริงที่เกิดขึ้น สิ่งที่เกิดขึ้นยอ่มมีที่มาที่ไป มีเหตุมีผลยอ่มมีองค์ประกอบย่อย ๆที่ซอ่นอยูด่้วย และองค์ประกอบนั้นมีความสอดคล้องหรือตรงข้ามกนักบัสิ่งที่ปรากฏภายนอกหรือเปลา่ หลักก ารคิดเชิงวิเคราะห์ประกอบด้วย
  • 10. 1. หาความสัมพันธ์เชิงเหตุผลของข้อมูลทไี่ด้รับ 2. ใช้หลักการตั้งคาถาม 3. ใช้หลักการแยกแยะความจริง เช่น แยกแยะระหว่าง ความจริง (truth) กับความเชื่อ (belief) แยกแยะโดยจากฎขั้วตรงข้าม (the principle of contradiction) แยกแยะระหว่างข้อเท็จจริง (facts) กับข้อคิดเห็น (opinions) 7. การคิดเชิงเปรียบเทียบ การคิดเชิงเปรียบเทียบมีประโยชน์มากสาหรับผู้บริหาร 3 ด้านคือ 1. คิดเปรียบเทียบใช้วิเคราะห์ 2. คิดเปรียบเทียบใช้อธิบาย 3. คิดเปรียบเทียบเพอื่แก้ปัญหา การคิดเปรียบเทียบเพื่อวิเคราะห์กับเหตุการณ์ที่มีลักษณะใกล้เคียงกนั มีความสัมพันธ์ใกล้เคียงกนัเพื่อให้เ ราลดความผิดพลาด เชน่ สมมุติมีเหตุการณ์ใดเกิดขึ้นแตยั่งไมชั่ดเจนอาจไมส่ามารถวิเคราะห์ได้หรือตัดสินใจไ ด้ ก็นามาเปรียบเทียบมาวิเคราะห์ได้วา่เหตุการณ์ไหนดีเหตุการณ์ไหนไมดี่ การคิดเปรียบเทียบเพื่อแกปั้ญหาเป็ นการจุดประกายความคิดและการสร้างสรรค์ใหม่ๆ หลักการคิดเชิงเปรียบเทียบได้แก่ 1. กาหนดวัตถุประสงค์ของการเปรียบเทียบ 2. กาหนดเกณฑ์ (criteria) การเปรียบเทียบ 3. แจกแจงรายละเอียดของแต่ละเกณฑ์ 4. เปรียบเทียบและตอบวัตถุประสงค์ 8. การคิดเชิงสังเคราะห์ เป็นความสามารถขององค์ประกอบตา่งๆ แล้วนามาผสมผสานเข้าด้วยกนัเพื่อให้ได้สิ่งใหมต่ามความประสงค์ที่เราต้องการ ในคา ตอบจะตอบได้หลาย ๆอยา่ง นาข้อดีของแตล่ะอันมาสังเคราะห์เพื่อเป็นวิธีใหมที่่นามาใช้ในหน่วยงานของเราได้เลย เชน่ การสังเคร าะห์ชว่ยให้เราไมต่้องคิดสิ่งตา่ง ๆจากสูตร หากเราไมรู่้ประโยชน์จากความคิดของคนรุ่นเกา่แทบจะไมมี่อะไรที่ยากที่ทา ไมไ่ด้ ทุกอยา่งมกัจะมีแ ง่มุมที่ทา ไวแ้ล้ว แตเ่ราใช้แรงสักหน่อย นามาศึกษา นามาสังเคราะห์ ดูจากเรื่องเดียวกนัวา่มีปัญหาเคยเกิดไหม การคิดจากเชิงสังเคราะห์เริ่มต้นจากการตั้งคา ถามวา่
  • 11. มีอะไรที่เกี่ยวกบัเรื่องการสังเคราะห์นาเอาสิ่งนั้นมาแยกแยะออกจากกนั ที่นามาใช้ประโยชน์ร่วมกนั การกา หน ดลักษณะและขอบเขตข้อมูลที่จะนามาสังเคราะห์เป็นเรื่องสาคัญ เชน่ การเลือกเฉพาะข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้ โด ยเลือกขอบเขตที่ชัดเจน 9. การคิดเชิงมโนทัศน์ หมายถึง การประสานข้อมูลทั้งหมดที่มีอยูใ่นเรื่องใดเรื่องหนึ่งเข้าด้วยกนัโดยไมขั่ดแย้ง การคิดเชิงมโนทั ศน์เป็นการมอบภาพตา่ง ๆ ให้มีความสอดคล้องกนัให้เป็นภาพที่คมชัด กระชับสามารถอธิบายได้ เป็นการคิดรวบยอด สร้างกรอบความคิ ดให้ชัดเจน สามารถถา่ยทอดออกไปได้ การที่เราต้องเรียนรู้เชิงมโนทัศน์นั้นเพราะวา่ กรอบความคิดเรื่องประ สบการณ์และความรู้ ฉะนั้นการปรับมโนทัศน์ของเราและสร้างมโนทัศน์ใหมจ่ะเป็นเรื่องสาคัญ ยกตัวอยา่งเชน่ คา วา่ “นายอา เภอ” นั้น เบื้องหลังสะท้อนถึงโครงสร้างการบริหารงาน สะท้อนถึงหน้าที่ บุคลิก บทบาทของ ขอบขา่ยงาน เมื่อทุกสิ่งทุกอยา่งถูกมาเรียงไว้ แล้วคิดออกมาเป็นมโนทัศน์ เชน่ มโนทัศน์เรื่องของยาเสพติด เ มอื่กอ่นเรามีมโนทัศน์หมายถึง เสพแล้วติดให้โทษ แตปั่จจุบัน ยาเสพติดที่ขายตามท้องตลาดซื้อได้ตามร้านขา ยยาด้วย ที่กินแล้วอาจไมไ่ด้ให้โทษมากมาย วิธีการสร้างมโนทัศน์ประกอบด้วย 1. การเป็นนักสังเกต 2. การตีความ 3. การเปรียบเทียบระหว่างข้อมูลทไี่ด้รับมากับกรอบความคิดเดิม ก. สามารถเปรียบเทียบความแตกต่าง/เหมือนกันในรายละเอียด ข. สามารถแยกมโนทัศน์หลัก - มโนทัศน์ย่อยได้ 4. การปรับกรอบมโนทัศน์ใหม่ ก. การปรับกรอบเพมิ่ในรายละเอียดมากขึ้น ข. การขยายกรอบความคิดออกไปแนวข้างมากขึ้น 5. การรับกรอบความคิดใหม่เข้ามาทั้งหมด 6. การสร้างมโนทัศน์ใหม่ทไี่ม่เคยปรากฏมาก่อน 10. การคิดเชิงประยุกต์ หมายถึง ความสามารถที่มีอยูเ่ดิมมาปรับใช้ในบริบทใหม่ คล้าย ๆกบันาต้นไม้ เชน่ นาต้นยางจากภาคใต้ไปปลูกภาคเหนือ ภาคอีสาน ต้นยางไมเ่ปลี่ยนแปลงแตส่ภาพแวด
  • 12. ล้อมเปลี่ยนแปลงเป็นเหมือนวา่เรานากรอบ วิธีการหรือหลักเกณฑ์ตา่ง ๆที่มีอยูน่ั้น นามาประยุกต์พวกนี้เกิดจากการคิดวา่ เหลา่นี้นามาประยุกต์ใช้ได้ไหม เกิดผลดีผลเสียอยา่งไร นามาประยุกต์ใช้กบัสถานการณ์ที่เราเผชิญอยู่ หลักการคิดเชิงประยุกต์ประกอบด้วย 1. ใช้หลักการทดแทนคุณสมบัติหลัก 2. ใช้หลักปรับสิ่งเดิมให้เข้ากบัสถานการณ์ 3. ใช้หลักการหาสิ่งทดแทน การคิด 10 มิติ นามาจากหนังสือการคิดเชิงเปรียบเทียบ จา นวน 10 เลม่ สามารถอา่นจากหนังสือเพิ่มเติมได้ หากทุกคนรู้จักวิธีการคิดและรู้จักพัฒนาความคิดทั้ง 10 มิติ ก็จะเป็นประโยชน์และเป็นพื้นฐานสาหรับนักบริหารให้รู้จักคิด รู้จักไตร่ตรอง หาวิธีการแกปั้ญหาที่เ หมาะสมหรือรู้จักดา เนินชีวิตอยา่งมีกลยุทธ์ ทา ให้ไมเ่ผชิญสถานการณ์แบบหนัก ๆ เทคนคิการพฒันาความคดิสรา้งสรรค์ 1. ฝึกคดิเชงิบวก (Positive Thinking) หลายคนคงจะเคยไดย้นิคานี้กันมามากต่อมากแลว้ แต่เราเคย นาไปใชใ้นชีวติประจาวันกันมากนอ้ยเพยีงใด การคดิเชงิบวก ไม่ใช่เป็นเพยีงการมองโลกในแง่ดีเพยีง อย่างเดียวแต่จะตอ้งแสวงหาโอกาสจากบุคคล สงิ่ของ หรือเหตุการณ์ที่เกดิขนึ้ในชีวติประจาวันดว้ย ไม่ว่า จะเกดิอะไรขนึ้เราตอ้งฝึกคดิว่ามีอะไรที่เป็นประโยชน์กับเราบา้ง เช่น ถา้เราตกงานเราก็คดิว่าเป็นโอกาส ที่ดีที่เราจะไดมี้เวลาพฒันาตัวเองแบบเต็มเวลา ถา้เราอกหักก็คดิเสียว่าเป็นโอกาสดีที่จะไดเ้ปิดโอกาสให้ กับคนดีๆอีกหลายคนเขา้มาในชีวติของเรา ถา้เราเครียดมากๆ ก็ใหค้ดิเสียว่าจะไดเ้ป็นการทดสอบความ แข่งแกร่งของจติใจว่าจะสามารถรับมือกับสภาพความเครียดไดม้ากนอ้ยเพียงใด เพราะในอนาคตเราอาจจะ มีเรื่องที่เครียดมากกว่านี้ก็ได้ การฝึกคดิเชงิบวก นอกจากจะช่วยใหเ้ราฝึกการแสวงหาโอกาสแลว้ยังช่วยให้เราเกดิการเรียนรูที้่เหนือกว่าคนอื่น เพราะถา้เหตุการณ์หนงึ่เกดิขนึ้ เราสามารถเรียนรูทั้ง้สงิ่ที่คนทั่วไป เขารูกั้นแลว้เรายังเรียนรูใ้นสงิ่ที่คนอื่นๆ เขามองขา้มไป เมื่อเราฝึกแบบนี้ไปนานๆ หลายๆครัง้เขา้ จานวน เท่าของความรูข้องเราจะเหนือกว่าคนทั่วไปอย่างนอ้ยสองสามเท่าตัว 2. ฝึกคดิยอ้นศร (Backward Thinking) ใครก็ตามที่คดิไปในแนวทางเดียวกันกับที่คนทั่วๆไปคดิ ความคดิเราจะไม่เกดิความแตกต่าง แต่เมื่อไหร่ก็ตามเราคดิสวนทางกับคนอื่น อาจจะทาใหเ้ราเกดิความคดิ สรา้งสรรค์ที่ดีๆขนึ้มาก็ได้ เราจะเห็นไดจ้ากคนหลายคนไดดี้จากการทาธุรกจิที่ตรงกันขา้มจากคนอื่น เช่น ปกตริถเสียตอ้งพารถไปหาอู่ แต่เมื่อคดิใหม่คือเอาอู่ไปหารถ จงึทาใหเ้กดิธุรกจิบรกิารซ่อมรถฉุกเฉนิขนึ้มา มากมายหรือเมื่อก่อนถา้เราจะกนิพซิซ่า เราจะตอ้งไปที่รา้น แต่เมื่อมีคนคดิยอ้นศรคือ ใหพ้ซิซ่าไปหาลูกคา้ ก็เลยเกดิธุรกจิ Home Delivery ขนึ้มามากมาย ปัจจุบันนี้ไม่เพยีงแต่การซ่อมรถหรือการขายพซิซ่าเท่านัน้ แต่การคดิยอ้นศรในลักษณะนี้ก่อใหเ้กดิธุรกจิอีกมากมาย ไม่ว่าการส่งดอกไม้ รา้นหนังสือ รา้นวีดีโอ เป็นตน้ การคดิยอ้นศรนี้จะช่วยใหเ้ราไม่หลงไปกับกระแสของสังคม การฝึกคดิเช่นนี้บ่อยๆ จะช่วยใหเ้ราสามารถปรับตัว ไดดี้ในกรณีที่กระแสเกดิการเปลี่ยนทศิอย่างกระทันหัน เหมือนกับการที่เราขับรถ ถา้เราขับเป็นแต่เกียร์เดนิ หนา้เพยีงอย่างเดียว ลองนกึดูเอาเองก็แลว้กันนะครับว่าจะเกดิอะไรขนึ้ ถา้เราขับเขา้ไปตดิอยู่ในซอยตัน การพฒันาศักยภาพทางการคดิก็เช่นเดียวกัน ตอ้งเตรียมพรอ้มทัง้คดิไปขา้งหนา้ตามกระแส แต่อย่าลืมคดิ ยอ้นกลับหลังบา้งเป็นระยะๆ 3. ฝึกคดิในสงิ่ทเี่ป็นไปไมไ่ด้(Impossible Thinking) จากอดีตถงึปัจจุบันเราคงเคยมีประสบการณ์ที่ว่า บางสงิ่บางอย่างที่เราเคยคดิว่ามันเป็นไปไม่ไดใ้นอดีต แต่ในปัจจุบันมันเป็นไปไดแ้ละเป็นไปแลว้ สงิ่ที่เรา คดิว่าเป็นไปไม่ไดใ้นวันนี้ เหตุการณ์นี้ สถานที่นี้ มันอาจจะเป็นไปไดใ้นอนาคต ในเหตุการณ์ หรือสภาพ แวดลอ้มอื่นสถานที่อื่น ดังนัน้อะไรก็ตามที่เราคดิว่าเป็นไปไม่ได้อย่าเพงิ่ด่วนตัดทงิ้ไป เพราะ นั่นเท่ากับเป็น การดับอนาคตแห่งความคดิสรา้งสรรค์ของตัวเราเอง ความคดิสรา้งสรรค์แบบนี้ เราสามารถเห็นตัวอย่างไดจ้ากภาพยนต์การ์ตูน หรือภาพยนต์บางประเภทที่เราคดิว่า มันเป็นไปไม่ได้ แต่เราอย่าลืมว่าความคดิที่เป็นไปไม่ไดเ้หล่านี้แหละที่จะเป็นตัวจุดชนวนทางความคดิใหกั้บ นักวทิยาศาสตร์นาไปคน้ควา้วจิัยเพอื่นาไปสู่ความเป็นไปไดต้่อไป ในอดีตใครเคยคดิบา้งว่าเรื่องการ Copy หรือการโคลนนงิ่สัตว์หรือมนุษย์จะเป็นไปได้ใครเคยคดิบา้งว่ามนุษย์จะมีธุรกจิการท่องเที่ยวในอวกาศ ใคร จะคดิบา้งว่าคนที่อยู่กันคนละโลกสามารถพดูคุยกันแบบเห็นหนา้ค่าตาไดเ้หมือนสมัยนี้ ถา้นาเอาความคดิในลักษณะ นี้มาประยุกต์ใชใ้นชีวติการทางาน จะพบว่าเรามักจะตกหลุมพรางทางความคดิของเราเองกันอยู่บ่อยๆ พอคดิ จะทาโน่นทานี่
  • 13. เราก็มักจะถกูขัดขวางดว้ยความคดิที่ว่ามันทาไม่ไดห้รอก หัวหนา้เขาคงไม่มีงบประมาณ ผูบ้รหิาร คงไม่สนับสนุนหรอก บรษิัทนี้เขางกจะตายไป คนไม่พอหรอก ทายากไม่มีเครื่องมือ ฯลฯ ความคดิในลักษณะนี้เกดิ ขนึ้มากมายกับคนทางาน สาเหตุที่สาคัญคือ เรามักจะนาเอาสภาพแวดลอ้มภายนอกมาทาลายตน้กลา้แห่งความคดิ สรา้งสรรค์ของเราเสียเอง ทาใหเ้ราไม่มีโอกาสไดค้ดิไปถงึที่สุดว่าจรงิๆแลว้ที่เราคดิว่ามันเป็นไปไม่ไดนั้น้ จรงิๆ แลว้มันเป็นจรงิเช่นนัน้หรือไม่ มีผูเ้ขา้สัมมนาท่านหนงึ่เคยถามผมว่าถา้เรามีความคดิออกแบบอะไรสักอย่างหนึ่งแลว้ และคดิว่ามันเป็นนวตกรรม ใหม่ แต่เราไม่มีเงนิทุนที่จะทาธุรกจิ เราจะทาไดอ้ย่างไร ผมก็ถามต่อว่าคุณคดิว่าจาเป็นหรือไม่ที่การลงทุนจะตอ้งตามมาดว้ย เงนิทุนจากกระปุกออมสนิของเราเสมอ เขาก็ตอบว่าไม่แน่ แลว้ผมก็ถามต่อว่าแลว้ทาอย่างไรไดบ้า้ง เขาก็ตอบว่ากูเ้งนิ ร่วมทุนกับคนอื่น ขายลขิสทิธใิหกั้บคนอื่น แลว้ผมจงึถามเพอื่ความแน่ใจอีกครัง้ว่าที่คุณคดิว่า ความคดิของคุณเป็น ไปไม่ไดใ้นการทาธุรกจินัน้ จรงิๆ แลว้มันเป็นไปไดห้รือไม่ เขาก็ตอบว่าเป็นไปได้นี่เป็นเพยีงตัวอย่างเล็กๆ นอ้ยๆ ที่จะบอกเราว่าคนเราส่วนมากมักจะด่วนสรุปว่าสงิ่ที่เราคดินัน้เป็นไปไม่ได้หรือเป็นไปไดย้ากมาก เพราะเรามักจะยดึ ตดิกับกรอบการคดิแบบเดมิๆ แบบที่คนทั่วๆไปเขาคดิกัน 4 .ฝึกคดิบนหลกัของความเป็นจรงิ (Thinking Based Principle) การฝึกคดิแบบนี้คือการคดิ วเิคราะห์สงิ่ต่างๆ โดยยอ้นกลับไปหาหลักความเป็นจรงิของสงิ่นัน้ๆว่าคืออะไร เช่น คนที่สามารถผลติเครื่องบนิไดนั้น้จะตอ้งเขา้ใจ ถงึหลักความเป็นจรงิในเรื่องแรงโนม้ถว่งของโลกก่อนจงึจะส ามารถออกแบบเครื่องบนิได้ ตอ้งเขา้ใจว่าการบนิไดนั้น้ จะตอ้งมีพลังขับเคลื่อนเท่าไหร่ มีความเร็วเท่าไหร่ จงึจะสามารถหนีออกจากแรงโนม้ถว่งของโลกได้ ถา้เราพดูถงึการผ่าตัด เรามักจะยดึตดิกับมีดเพยีงอย่างเดียว แต่หลักความเป็นจรงิของการผ่าหรือการตัด หมายถงึ การทาใหส้งิ่ใดสงิ่หนงึ่แยกออกจากกัน ถา้เรายดึเอาวธิีการเป็นตัวตัง้เราก็จะตอบไดเ้พยีงอย่างเดียวว่า การผ่าตัด คือการใชมี้ด แต่ถา้เราเอาหลักความเป็นจรงิเป็นตัวตัง้ วธิีการเป็นตัวตามแปร การผ่าตัดอาจจะทาไดม้ากกว่าการใชมี้ด เช่น การใชค้วามรอ้น ใชล้วด ใชก้รรไกร ใชค้วามเย็น ใชรั้งสี ใชค้วามคมของกระดาษ เป็นตน้ 5. ฝึกคดิขา้มกล่องความรู้(Lateral Thinking ) การคดิขา้มกล่องความรูคื้อการนาเอาความรูที้่เรามีอยู่ในหัว ในเรื่องต่างๆ มาคดิไขวกั้น ยงิ่เรามีกล่องความรูห้ลากหลาย โอกาสที่เราจะคดิขา้มกล่องเพอื่ใหเ้กดิความคิดใหม่ๆ ก็มีมากยงิ่ขนึ้ ถา้เรามีกล่องความรูเ้พยีง 2 กล่อง โอกาสที่เราจะคดิไขวห้รือขา้มกล่องก็มีเพยีง 1 ชุด แต่ถา้เรามีกล่อง ความรู้3 กล่อง โอกาสที่เราจะคดิไขวกั้นก็มีมากขนึ้เป็น 2 ชุด ยงิ่มีกล่องมากเท่าไหร่ จานวนชุดของความคดิไขวก้็จะยงิ่เพมิ่ขนึ้ เป็นทวีคูณ เราคงเคยไดย้นิก๋วยเตี๋ยวตม้ยา ที่ผูค้ดิคน้ไดน้าเอากล่องความรูเ้กี่ยวกับการปรุงก๋วยเตี๋ยวมาผสมกับกล่องความรู้ ในการทาตม้ยา(น้าขน้หรือน้าใส) เราคงเคยไดย้นิผลติภัณฑ์ที่เรียกว่าแอร์มุง้ที่เป็นการผสมผสานระหว่างกล่อง ความรูด้า้นแอร์กับกล่องความรูด้า้นมุง้ เราคงเคยไดย้นิคนเลี้ยงปลาดุกในหอ้งเช่าที่เป็นการผสมผสานความคดิระหว่าง กล่องความรูเ้รื่องหอ้งเช่ากับกล่องความรูเ้รื่องการเลี้ยงปลาในบ่อดนิ 6. ฝึกคดิแบบแตกหนอ่ทางความคดิ (Germination Thinking) เป็นการคดิโดยกาหนดจุดเรมิ่ตน้จากสงิ่ที่ เป็นอยู่หรือมีอยู่ในปัจจุบัน แลว้แตกความคดิออกไปสู่ทศิทางต่างๆ รอบตัว การคดิสรา้งสรรค์แบบนี้จะช่วยใหง้่ายต่อการจัดกระบวนการคดิ เพราะเป็นการคดิพฒันาจากสงิ่ที่มีอยู่แลว้ เพมิ่สงิ่ใหม่ๆ เขา้มาที่ละเล็กละนอ้ย จากตัวอย่างนี้ จะเห็นว่าเมื่อเราคดิแตกหน่อจากปากกาออกไปเป็นปากกาไม่ตอ้งเตมิน้าหมกึแลว้ ก็สามารถคดิต่อไปอีกว่าปากกาที่ไม่ตอ้งเตมิน้าหมกึนัน้ สามารถพฒันาต่อในดา้นอื่นๆอีกหรือไม่ เมื่อเราคดิพฒันา แตกหน่อออกไปเรื่อยๆ เราจะพบว่าความคดิที่หน่อสุดทา้ย อาจจะมีความแตกต่างอย่างสิ้นเชงิกับจุดเรมิ่ตน้(ปากกา) การคดิในลักษณะนี้จาเป็นตอ้งอาศัยเทคนคิการคดิขา้มกล่องเขา้มาช่วยในการคดิแตกหน่อจากหน่อเดมิไปสู่หน่อใหม่ๆ และที่สาคัญเราสามารถมองเห็นทัง้กระบวนการคดิและผลลัพธ์ทางการคดิในลักษณะของแผนผังความสัมพนัธ์ไดอ้ย่าง ชัดเจน จากวธิีการฝึกเพอื่พฒันาศักยภาพการคดิสรา้งสรรค์ดังกล่าว จะเห็นว่าเราสามารถพฒันารูปแบบการคดิของเราได้หลายวธิี เพยีงแต่เราตอ้งใหค้วามสาคัญกับการคดิสรา้งสรรค์อย่างจริงจัง นาเอาวธิีการดังกล่าวนี้ไปฝึกคดิกับเหตุการณ์ ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา เราก็สามารถพฒันาศักยภาพการคดิใหสู้งขนึ้ไปได้