SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 33
Baixar para ler offline
อริยสัจ ๔
  ความจริงอันประเสริฐ
หลักการแก้ปัญหาแบบพุทธ
ขันธ์ ๕
             ทุกข์
                                          สมบัติ ๔
                         หลักกรรม
            สมุทัย                        วิบัติ ๔
                         อบายมุข ๖
อริยสัจ ๔
            นิโรธ          สุข ๒
                     บุพพนิมิตของมัชฌิม
                          ปฏิปทา
                       ดรุณธรรม ๖
            มรรค
                     กุลจิรัฏฐิติธรรม ๔

                         มงคล ๓๘
อริยสัจ ๔
                       ผล
 ทุกข์ ปัญหา                         สอบตก

                       เหตุ
 สมุทัย สาเหตุ                  ไม่อ่านหนังสือ ฯลฯ
                       ผล
นิโรธ ดับทุกข์ได้                สอบไม่ตก (ผ่าน)
                       เหตุ
 มรรค วิธีการ                    อ่านหนังสือ ฯลฯ
สอนให้
                  แก้ปัญหาด้วย
                   ปัญญาและ
                     เหตุผล

สอนให้เห็นสิ่ง
 ต่าง ๆ ตาม
                 คุณของ          สอนให้ไม่
                                 ประมาท
ความเป็นจริง     อริยสัจ ๔
                    สอนให้
                 แก้ปัญหาด้วย
                    ตัวเอง
คาคมวันนี้
It's much easier to giveness
then to ask for permission.

การให้อภัยง่ายกว่า
การขออนุญาตมากมาย
ทุกข์
ขันธ์
๑.   รูป คือ สิ่งที่จับต้องได้ มองเห็นได้
๒.   เวทนา คือ ความรู้สึกมี ๓ คือ สุข ทุกข์ อุเบกขา
๓.   สัญญา คือ ความจา
๔.   สังขาร คือ การปรุงแต่งของจิต หรือแรงจูงใจ
๕.   วิญญาณ คือ การรับรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง ๖ได้แก่
     - ตา เรียกว่า จักขุวิญญาณ
     - หู เรียกว่า โสตวิญญาณ
     - จมูก เรียกว่า ฆานวิญญาณ
     - ลิ้น เรียกว่า ชิวหาวิญญาณ
     - กาย เรียกว่า กายวิญญาณ
     - ใจ เรียกว่า มโนวิญญาณ
Timeless 2
คาคมวันนี้
ในวันทีคุณไม่มีความสุข
       ่
ขออย่ามัวคิดจะหาความสุข
มาให้ตัวเองได้อย่างไร
แต่จงแบ่งปันความสุขให้แก่คนอื่น
การแบ่งปันความสุขออกไปนั่นแหละ
จะทาให้คุณได้รับความสุขกลับมา
อย่างแน่นอน
สมุทัย
(ธรรมที่ควรละ)
กรรม
กรรม คือการกระทาแบ่งตามประเภทมี ๓ ประเภท
กุศลกรรม คือ กรรมดี
อกุศลกรรม คือ กรรมชั่ว
อพยากตกรรม คือ กรรมไม่ดีไม่ชั่ว เป็นกรรมของ
พระอรหันต์
กรรม (ต่อ)
แบ่งตามบ่อเกิด มี ๓ ทาง คือ
• กายกรรม กรรมเกิดทางกาย เช่น ฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์
• วจีกรรม กรรมเกิดทางวาจา เช่น พูดโกหก ส่อเสียด เพ้อเจ้อ
• มโนกรรม กรรมเกิดทางใจ เช่น คิดพยาบาทปองร้ายผู้อื่น
ผลของกรรม

• ระดับจิต      ทาดีจิตของผู้ทาย่อมสงบ ไม่เดือดร้อน
• ระดับบุคคล    คนทาดีย่อมได้รับความดี ดีในตัวเอง
• ระดับภายนอก   เป็นที่ยอมรับของสังคม ได้รับการสรรเสริญ
คุณของกรรม

•   สอนให้รู้จกเหตุผล
              ั
•   เป็นมาตรฐานชี้วัดคน
•   สอนให้พึ่งตนเอง
•   สอนให้มีความรับผิดชอบ
กายกรรม ๓


วจีกรรม ๔


มโนกรรม ๓
กายกรรม ๓

- ปาณาติบาต
- อทินนาทาน
- กาเมสุมิจฉาจาร
วจีกรรม ๔

- มุสาวาท พูดเท็จ
- ปิสุณวาจา พูดส่อเสียด
- ผรุสวาจา พูดคาหยาบ
- สัมผัปปลาปะ พูดเพ้อเจ้อ
มโนกรรม ๓

- อภิชฌา เพ่งอยากได้ของเขา
- พยาบาท คิดร้ายผู้อนื่
- มิจฉาทิฏฐิ เห็นผิดจากคลองธรรม
สมบัติ สิ่งที่สนับสนุนให้กรรมดีให้ผล (ชั้นนอก) และ
                    ขัดขวางกรรมชั่วให้ผล (ชั้นนอก)

•   คติสมบัติ             เกิดในภพ ถิน หรือประเทศที่เจริญ
                                      ่
•   อุปธสมบัติ            เกิดมามีร่างกายสง่างาม แข็งแรง
•   กาลสมบัติ             เกิดมาในสมัยที่มีความสงบสุข
•   ปโยคสมบัติ            การทาอย่างเต็มความสามารถ

วิบัติ     สิ่งที่สนับสนุนให้กรรมชั่วให้ผล (ชั้นนอก) และ
           และขัดขวางการให้ผล (ชันนอก) ของกรรมดี
                                      ้
อบายมุข ๖ ทางแห่งความเสื่อม


•   สุรา              (สุรา)
•   เที่ยวกลางคืน     (นารี)
•   ดูการละเล่น       (ภาชี)
•   ติดการพนัน        (กีฬาบัตร)
•   คบคนชั่วเป็นมิตร (ฝึกหัดคบชั่ว)
•   เกียจคร้านทาการงาน (มัวแต่เกียจคร้าน)
คาคมวันนี้

     Am I not destroying my enemies
      when I make friends of them ?
 ผมไม่ได้ทาลายศัตรูของผมไปดอกหรือ
เมื่อผมทาให้พวกเขากลายเป็นมิตรของผม
นิโรธ
(ธรรมที่ควรบรรลุ)
สุข ๒
• สามิสสุข คือ สุขทางวัตถุ เช่น ได้โทรศัพท์มือถือรุ่น (พี่ทราย) ใหม่
              คฤหัสถ์สุข
       - อัตถิสุข สุขจากการมีทรัพย์
       - โภคสุข สุขการการใช้จ่ายทรัพย์
       - อนณสุข สุขจากการไม่มีหนี้
       - อนวัชชสุข สุขจากการประพฤติสุจริต
• นิรามิสสุข คือ ความสุขไม่อิงอาศัยวัตถุ (ทางใจ) เช่น ความสบายใจ
ลายอง
คาคมวันนี้

ไม่มีใครไปถึงดวงดาวได้โดย
 ปราศจากมือที่เปื้อนโคลน
มรรค
(ธรรมที่ควรเจริญ)
•      กัลยาณมิตร
       - ปิโย         น่ารัก
       - ครุ          น่าเคารพ
       - ภาวนีโย      มีความรู้จริง
       - วัตตา        รู้จักชี้แจงให้เข้าใจ
       - วจนักขโม อดทนที่จะรับฟัง
       - คัมภีรญจะ กะถัง กัตตา แถลงเรื่องลึกซึ้งได้
       - โน จัฏฐาเน นิโยชะเย ไม่ชักจูงไปในทางเสื่อเสีย
• โยนิโสมนสิการ
•   สุขภาพดี       (อโรคยะ)
•   มีวินัย        (ศีล)
•   ใส่ใจคนดี      (พุทธานุวัติ)
•   มีการศึกษา     (สุตะ)
•   ใฝ่หาคุณธรรม (ธรรมานุวัติ)
•   เลิศล้าความเพียร     (วิริยะ)
•   จัดหาสิ่งของแทนสิ่งที่หายไป
•   ซ่อมแซมของเก่า
•   เอาแต่พอประมาณ
•   พ่อบ้านแม่เรือน
• ประพฤติธรรม
• เว้นความชั่ว
• เว้นจากการดื่มน้าเมา
คาคมวันนี้
Never fear shadow.
They simply mean there's a light shining
some where near by.

อย่ากลัวเงา เพราะเงาหมายความว่ามีแสงสว่าง
ส่องอยู่ใกล้ ๆ สักแห่ง

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
Thongsawan Seeha
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
Thiranan Suphiphongsakorn
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
ขนิษฐา ทวีศรี
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
พัน พัน
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
อุษณีษ์ ศรีสม
 

Mais procurados (20)

พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
แบบตั้งฉายาพระ.pdf
แบบตั้งฉายาพระ.pdfแบบตั้งฉายาพระ.pdf
แบบตั้งฉายาพระ.pdf
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
โวหารการเขียน ม.6
โวหารการเขียน ม.6โวหารการเขียน ม.6
โวหารการเขียน ม.6
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
อินธนูครู
อินธนูครูอินธนูครู
อินธนูครู
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขา
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 

Semelhante a อริยสัจ ๔ ม.๒

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
magicgirl123
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
olivemu
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
Nhui Srr
 
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
Taweedham Dhamtawee
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
Tongsamut vorasan
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนา
kruudompcccr
 
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ (power point)
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ  (power point)การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ  (power point)
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ (power point)
Boukee Singlee
 
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
Tongsamut vorasan
 

Semelhante a อริยสัจ ๔ ม.๒ (20)

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Sp1 sp5
Sp1 sp5Sp1 sp5
Sp1 sp5
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
 
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
 
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
 
มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ
มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ
มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ
 
สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา
 
04 develop2
04 develop204 develop2
04 develop2
 
ตั้งแกนใหม่ ให้ใจนิ่ง ก่อการครู.pptx
ตั้งแกนใหม่ ให้ใจนิ่ง ก่อการครู.pptxตั้งแกนใหม่ ให้ใจนิ่ง ก่อการครู.pptx
ตั้งแกนใหม่ ให้ใจนิ่ง ก่อการครู.pptx
 
073หลักธรรมพื้นฐาน
073หลักธรรมพื้นฐาน073หลักธรรมพื้นฐาน
073หลักธรรมพื้นฐาน
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนา
 
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ (power point)
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ  (power point)การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ  (power point)
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ (power point)
 
นวโกวาท
นวโกวาทนวโกวาท
นวโกวาท
 
Immortality Thama.Pps
Immortality Thama.PpsImmortality Thama.Pps
Immortality Thama.Pps
 
คุณธรรม
คุณธรรมคุณธรรม
คุณธรรม
 
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตรครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
 
หลักอริยสัจ4
หลักอริยสัจ4หลักอริยสัจ4
หลักอริยสัจ4
 
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
 

อริยสัจ ๔ ม.๒

  • 1. อริยสัจ ๔ ความจริงอันประเสริฐ หลักการแก้ปัญหาแบบพุทธ
  • 2. ขันธ์ ๕ ทุกข์ สมบัติ ๔ หลักกรรม สมุทัย วิบัติ ๔ อบายมุข ๖ อริยสัจ ๔ นิโรธ สุข ๒ บุพพนิมิตของมัชฌิม ปฏิปทา ดรุณธรรม ๖ มรรค กุลจิรัฏฐิติธรรม ๔ มงคล ๓๘
  • 3. อริยสัจ ๔ ผล ทุกข์ ปัญหา สอบตก เหตุ สมุทัย สาเหตุ ไม่อ่านหนังสือ ฯลฯ ผล นิโรธ ดับทุกข์ได้ สอบไม่ตก (ผ่าน) เหตุ มรรค วิธีการ อ่านหนังสือ ฯลฯ
  • 4. สอนให้ แก้ปัญหาด้วย ปัญญาและ เหตุผล สอนให้เห็นสิ่ง ต่าง ๆ ตาม คุณของ สอนให้ไม่ ประมาท ความเป็นจริง อริยสัจ ๔ สอนให้ แก้ปัญหาด้วย ตัวเอง
  • 5.
  • 6. คาคมวันนี้ It's much easier to giveness then to ask for permission. การให้อภัยง่ายกว่า การขออนุญาตมากมาย
  • 8. ขันธ์ ๑. รูป คือ สิ่งที่จับต้องได้ มองเห็นได้ ๒. เวทนา คือ ความรู้สึกมี ๓ คือ สุข ทุกข์ อุเบกขา ๓. สัญญา คือ ความจา ๔. สังขาร คือ การปรุงแต่งของจิต หรือแรงจูงใจ ๕. วิญญาณ คือ การรับรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง ๖ได้แก่ - ตา เรียกว่า จักขุวิญญาณ - หู เรียกว่า โสตวิญญาณ - จมูก เรียกว่า ฆานวิญญาณ - ลิ้น เรียกว่า ชิวหาวิญญาณ - กาย เรียกว่า กายวิญญาณ - ใจ เรียกว่า มโนวิญญาณ
  • 10. คาคมวันนี้ ในวันทีคุณไม่มีความสุข ่ ขออย่ามัวคิดจะหาความสุข มาให้ตัวเองได้อย่างไร แต่จงแบ่งปันความสุขให้แก่คนอื่น การแบ่งปันความสุขออกไปนั่นแหละ จะทาให้คุณได้รับความสุขกลับมา อย่างแน่นอน
  • 12. กรรม กรรม คือการกระทาแบ่งตามประเภทมี ๓ ประเภท กุศลกรรม คือ กรรมดี อกุศลกรรม คือ กรรมชั่ว อพยากตกรรม คือ กรรมไม่ดีไม่ชั่ว เป็นกรรมของ พระอรหันต์
  • 13. กรรม (ต่อ) แบ่งตามบ่อเกิด มี ๓ ทาง คือ • กายกรรม กรรมเกิดทางกาย เช่น ฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ • วจีกรรม กรรมเกิดทางวาจา เช่น พูดโกหก ส่อเสียด เพ้อเจ้อ • มโนกรรม กรรมเกิดทางใจ เช่น คิดพยาบาทปองร้ายผู้อื่น
  • 14. ผลของกรรม • ระดับจิต ทาดีจิตของผู้ทาย่อมสงบ ไม่เดือดร้อน • ระดับบุคคล คนทาดีย่อมได้รับความดี ดีในตัวเอง • ระดับภายนอก เป็นที่ยอมรับของสังคม ได้รับการสรรเสริญ
  • 15. คุณของกรรม • สอนให้รู้จกเหตุผล ั • เป็นมาตรฐานชี้วัดคน • สอนให้พึ่งตนเอง • สอนให้มีความรับผิดชอบ
  • 17. กายกรรม ๓ - ปาณาติบาต - อทินนาทาน - กาเมสุมิจฉาจาร
  • 18. วจีกรรม ๔ - มุสาวาท พูดเท็จ - ปิสุณวาจา พูดส่อเสียด - ผรุสวาจา พูดคาหยาบ - สัมผัปปลาปะ พูดเพ้อเจ้อ
  • 19. มโนกรรม ๓ - อภิชฌา เพ่งอยากได้ของเขา - พยาบาท คิดร้ายผู้อนื่ - มิจฉาทิฏฐิ เห็นผิดจากคลองธรรม
  • 20. สมบัติ สิ่งที่สนับสนุนให้กรรมดีให้ผล (ชั้นนอก) และ ขัดขวางกรรมชั่วให้ผล (ชั้นนอก) • คติสมบัติ เกิดในภพ ถิน หรือประเทศที่เจริญ ่ • อุปธสมบัติ เกิดมามีร่างกายสง่างาม แข็งแรง • กาลสมบัติ เกิดมาในสมัยที่มีความสงบสุข • ปโยคสมบัติ การทาอย่างเต็มความสามารถ วิบัติ สิ่งที่สนับสนุนให้กรรมชั่วให้ผล (ชั้นนอก) และ และขัดขวางการให้ผล (ชันนอก) ของกรรมดี ้
  • 21. อบายมุข ๖ ทางแห่งความเสื่อม • สุรา (สุรา) • เที่ยวกลางคืน (นารี) • ดูการละเล่น (ภาชี) • ติดการพนัน (กีฬาบัตร) • คบคนชั่วเป็นมิตร (ฝึกหัดคบชั่ว) • เกียจคร้านทาการงาน (มัวแต่เกียจคร้าน)
  • 22. คาคมวันนี้ Am I not destroying my enemies when I make friends of them ? ผมไม่ได้ทาลายศัตรูของผมไปดอกหรือ เมื่อผมทาให้พวกเขากลายเป็นมิตรของผม
  • 24. สุข ๒ • สามิสสุข คือ สุขทางวัตถุ เช่น ได้โทรศัพท์มือถือรุ่น (พี่ทราย) ใหม่ คฤหัสถ์สุข - อัตถิสุข สุขจากการมีทรัพย์ - โภคสุข สุขการการใช้จ่ายทรัพย์ - อนณสุข สุขจากการไม่มีหนี้ - อนวัชชสุข สุขจากการประพฤติสุจริต • นิรามิสสุข คือ ความสุขไม่อิงอาศัยวัตถุ (ทางใจ) เช่น ความสบายใจ
  • 28. กัลยาณมิตร - ปิโย น่ารัก - ครุ น่าเคารพ - ภาวนีโย มีความรู้จริง - วัตตา รู้จักชี้แจงให้เข้าใจ - วจนักขโม อดทนที่จะรับฟัง - คัมภีรญจะ กะถัง กัตตา แถลงเรื่องลึกซึ้งได้ - โน จัฏฐาเน นิโยชะเย ไม่ชักจูงไปในทางเสื่อเสีย • โยนิโสมนสิการ
  • 29. สุขภาพดี (อโรคยะ) • มีวินัย (ศีล) • ใส่ใจคนดี (พุทธานุวัติ) • มีการศึกษา (สุตะ) • ใฝ่หาคุณธรรม (ธรรมานุวัติ) • เลิศล้าความเพียร (วิริยะ)
  • 30. จัดหาสิ่งของแทนสิ่งที่หายไป • ซ่อมแซมของเก่า • เอาแต่พอประมาณ • พ่อบ้านแม่เรือน
  • 31. • ประพฤติธรรม • เว้นความชั่ว • เว้นจากการดื่มน้าเมา
  • 32.
  • 33. คาคมวันนี้ Never fear shadow. They simply mean there's a light shining some where near by. อย่ากลัวเงา เพราะเงาหมายความว่ามีแสงสว่าง ส่องอยู่ใกล้ ๆ สักแห่ง